The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วาระการประชุม ครั้งที่ 4-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaae.jung24, 2021-04-21 04:29:16

วาระการประชุม ครั้งที่ 4-2564

วาระการประชุม ครั้งที่ 4-2564

18

2.4 ความปลอดภัยในการทางานกบั คอมพิวเตอร์
- น่ังในท่ำท่ีเหมำะสม และห่ำงจำกจอคอมพิวเตอร์ประมำณ 2 ฟุต
หรอื ระยะหำ่ งประมำณหนึ่งช่วงแขน
- จอคอมพวิ เตอรใ์ หอ้ ย่ตู ่ำกว่ำระดับสำยตำประมำณ 20 – 26 องศำ
- ปรับควำมสงู เก้ำอใี้ หเ้ หมำะสม เทำ้ วำงรำบกับพ้ืนได้
- จัดเอกสำรท่ีต้องใช้ดูประกอบไว้ใกล้กับจอเคร่ืองคอมพิวเตอร์จะได้
ลดกำรส่ำยศีรษะไปมำ และลดกำรเปลี่ยนระยะกำรมองของสำยตำ
ในระยะท่ีต่ำงกนั มำก
- จัดแสงของจอภำพให้อยู่ในระดับท่ีตำเรำรู้สึกสบำยและปรับตัว
หนังสอื และภำพหน้ำจอให้ชัดเจน
- จัดหำอุปกรณป์ ้องกนั ไฟฟำ้ สถติ
- ควรทำควำมสะอำดจอภำพและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อย่ำง
สมำ่ เสมอ และไม่วำ่ งอำหำร หรือเครือ่ งดืม่ ไว้บนโตะ๊ คอมพวิ เตอร์
- ควรปรับเปล่ียนอิริยำบถและพักสำยตำทุก ๆ 20 นำที เพ่ือป้องกัน
อำกำรอ่อนลำ้
- กระพริบตำบ้ำง ถ้ำร้สู ึกแสบตำ หรือใชน้ ้ำตำเทียมหยดเปน็ คร้ังครำว

19

2.5 ความปลอดภัยในการใช้เครอ่ื งถา่ ยเอกสาร
- กำรติดต้ังเครื่องถำ่ ยเอกสำร ควรตงั้ ในห้องที่มีอำกำศถ่ำยเทสะดวก
และไม่ติดผนัง เพื่อให้สำรเคมีที่ออกมำจำกเครื่องในขณะปฏิบัติงำน
เจือจำงไปในอำกำศที่ล้อมรอบ เป็นกำรลดควำมเส่ียงต่อกำรสัมผัส
สำรเคมีของผู้ปฏบิ ัติงำนได้ ถ้ำสำมำรถติดต้ังเคร่ืองในที่โล่งท่ีไม่ใช่ใน
มุมอับก็จะดีมำก หรือแยกเครื่องถ่ำยเอกสำรออกจำกห้องที่มี
ผู้ปฏิบัตงิ ำนจะดที ี่สดุ
- ถ่ำยเอกสำรทุกคร้ังควรปิดฝำครอบให้สนิท ในกรณีท่ีไม่สำมำรถปดิ
ให้สนิทได้ ควรหลีกเล่ียงกำรมองที่ประจำในเคร่ืองถ่ำยเอกสำร
ขณะทีห่ ลอดไฟในเคร่ืองทำงำน
- ระมดั ระวังไมใ่ หล้ วดเยบ็ กระดำษตกเขำ้ ไปในเครอ่ื งถำ่ ยเอกสำร
- ควรสวมถุงมือขณะเติม หรือเคล่ือนย้ำยผงหมึก และในกรณีที่
เปลย่ี นตลับผงหมกึ ควรสวมหน้ำกำกกนั ฝุ่นเพ่ือป้องกันละอองผงหมึก
เข้ำสู่ทำงเดินหำยใจ และถ้ำเป็นไปได้ควรขอเอกสำรข้อมูลเคมีภัณฑ์
(MSDS) จำกผู้ผลิตหรือผู้จำหน่ำยเคร่ืองถ่ำยเอกสำรเพื่อให้ทรำบ
ข้อมูลของสำรเคมีหรือเคมีภัณฑ์เกี่ยวกับลักษณะควำมเป็นอันตรำย
พิษ วิธีใช้ กำรเก็บรักษำ กำรขนส่ง กำรกำจัดและกำรจัดกำรอื่น ๆ
เพ่ือให้กำรดำเนินกำรเก่ียวกับสำรเคมีนั้นเป็นไปอย่ำงถูกต้อง
ปลอดภัย
- ตลับผงหมึกท่ีใช้แล้ว ผงหมึกท่ีหก หรือฟุ้งกระจำยออกมำขณะทำ
กำรเติมผลหมึก หำกไม่ได้รับกำรจัดกำรอย่ำงถูกต้องเมื่อนำไปท้ิง
จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งกำรปนเปื้อนของหมึกเหลว

20

หรือผงหมึกที่ตกค้ำงในตลับหมึกอำจทำให้เกิดกำรสะสมและเป็น
อันตรำยต่อสิ่งมีชีวิตได้ ดังน้ัน ควรท้ิงผงหมึกหรือตลับหมึกที่ใช้แล้ว
ลงในถุงพลำสติกแล้วปิดปำกถุงให้สนิทพร้อมติดฉลำกหรือป้ำยคำว่ำ
“ของเสียอันตรำย” ท่ีถุงพลำสติกดังกล่ำว ก่อนนำไปทิ้งในถังขยะ
ประเภทขยะอนั ตรำย
- ควรเลอื กใช้เครอ่ื งถ่ำยเอกสำรท่ีมี

* ระบบเติมผงหมึกท่ีปลอดภยั และมภี ำชนะบรรจเุ ศษผงหมึก
ภำยในเครอื่ ง
* ระบบตัดกำรทำงำนอัตโนมัติเมอื่ ภำชนะบรรจเุ ศษผงหมึกเตม็
* อุปกรณ์กรองกำ๊ ซโอโซนทท่ี ำจำก activated carbon
* ควรใช้เครื่องถ่ำยเอกสำรที่ได้รับกำรรับรองฉลำก
ส่ิงแวดล้อม ประเภทท่ี 1 (Type 1 ecolabelling) เช่น
ฉลำกเขียว (Green Label)
- ควรมีกำรบำรุงรักษำเคร่ืองถ่ำยเอกสำรเป็นประจำ เพ่ือช่วยลด
ปรมิ ำณสำรเคมที ี่ตกคำ้ งจำกกำรใชง้ ำน
- ผู้มีหน้ำที่ซ่อมบำรุงเครื่องถ่ำยเอกสำรควรสวมถุงมือแบบใช้แล้วท้ิง
ขณะทำงำนและหลีกเลย่ี งกำรสัมผสั โดยตรงกบั ลูกกลิ้งด้วย
- ไม่ควรกำหนดให้มีผู้ใดต้องทำหน้ำที่ถ่ำยเอกสำรตลอดท้ังวัน
โดยเฉพำะอยำ่ งยง่ิ ผู้ทมี่ ีปัญหำระบบทำงเดินหำยใจ
- ผใู้ ช้เคร่ืองถ่ำยเอกสำร ควรศึกษำคู่มือวิธกี ำรใช้งำนเคร่ืองถ่ำยเอกสำร
ให้เขำ้ ใจก่อนใชง้ ำน

21

- ถำ้ ไดก้ ลิน่ ฉนุ หรอื ไหม้ เน่ืองจำกเครื่องฯ ถกู ใช้งำนมำก ต้องเลิกใช้
ชวั่ ครำว ถำ้ กลน่ิ ยงั ไมห่ ำยก็แจง้ ช่ำงหรือผู้รบั ผดิ ชอบมำแกไ้ ข
- กำรบำรุงรักษำเคร่ืองเป็นประจำอยู่เสมอ จะช่วยป้องกันมิให้
สำรเคมกี ระจำยออกมำในบรรยำกำศมำกเกนิ ไปจำกกำรใชง้ ำน
- อย่ำมองแสงอัลตรำไวโอเลตขณะถ่ำยเอกสำรและต้องใช้
แผ่นปิดแสงทกุ ครัง้ ท่มี กี ำรถ่ำยเอกสำร
- ขณะท่ีเปล่ียนถ่ำยสำรเคมี หรือผงคำร์บอน ผู้ปฏิบัติงำนควรใส่
อุปกรณ์ป้องกันอันตรำยจำกสำรเคมี ได้แก่ ถุงมือยำง ผ้ำกันฝุ่น
(Mask)

22

2.6 ความปลอดภยั ในการเคล่อื นยา้ ยของ (Transfer Work)
- ต้องเลือกชนิดและสวมถงุ มอื ให้เหมำะสมกับวสั ดุทจี่ ะทำกำรยก
- สำรวจเสน้ ทำง และกำจัดสงิ่ กดี ขวำงกอ่ น
- น่ังลงย่อเข่ำขำ้ งที่ไม่ถนดั และชนั เข่ำท่ถี นดั ต้ังฉำกกับพืน้
- จับส่ิงของใหแ้ นน่ ขอ้ ศอกชดิ ลำตวั และแขนขนำนกับพ้นื
- ใชก้ ำลงั ยกขน้ึ ในแนวด่งิ จำกกลำ้ มเน้ือขำ
- หำ้ มยกดว้ ยกล้ำมเนอ้ื หลงั เพรำะอำจเกิดกำรบำดเจบ็ ได้
- หำกของมนี ้ำหนกั มำกควรมีคนชว่ ยยกหรือใช้รถเขน็
- หำกจำเป็นต้องยกลังของขนำดใหญ่ที่บดบังสำยตำควรมีคนช่วย
บอกทำง หรอื ใชร้ ถเข็น

23

2.7 ความปลอดภัยในการใช้เครอ่ื งมือไฟฟา้ /อปุ กรณไ์ ฟฟ้า
- ติดต้ังอุปกรณ์ป้องกันกำรใช้กระแสไฟฟ้ำเกินพิกัด (Circuit
Breaker)
- สว่ นทเี่ ป็นโลหะของแผงสวิตชต์ อ้ งตอ่ สำยดนิ
- เครอ่ื งมอื ที่ใช้ปฏิบัติงำนเกี่ยวกับไฟฟ้ำต้องมีฉนวนหุ้ม
- อุปกรณ์ไฟฟ้ำท่ีมเี ปลือกนอกเปน็ โลหะต้องตอ่ สำยดนิ
- มกี ำรตรวจสอบสภำพสำยไฟฟ้ำและอุปกรณ์ไฟฟ้ำเปน็ ประจำ
- เมื่อพบกำรชำรุดหรือมีกระแสไฟฟ้ำรั่ว ให้ซ่อมแซมหรือดำเนินกำร
ให้อยู่ในสภำพท่ใี ช้งำนได้อย่ำงปลอดภยั ในทนั ที
- ห้ำมใช้เครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณ์ไฟฟำ้ ขณะเปยี กน้ำ
- หลีกเล่ียงกำรใช้ปล๊ักพ่วงสำยไฟ หำกจำเป็นให้เลือกใช้ปล๊ักพ่วง
สำยไฟที่ได้มำตรฐำน (มอก.) มีสำยไฟขนำดใหญ่ และหลีกเลี่ยง
กำรเสียบปลั๊กไฟเพ่ือใช้งำนอุปกรณ์ไฟฟ้ำหลำยชิ้นจำกปล๊ักพ่วง
อันเดียวกัน เพรำะจะเกิดกำรสะสมควำมร้อนและเป็นสำเหตุทำให้
เกิดเพลิงไหมไ้ ด้
- ในหอ้ งเกบ็ พัสดอุ ุปกรณ/์ บ้ำนพัก ทไ่ี ม่ค่อยไดใ้ ช้งำนหรือยังไม่มีผู้พัก
อำศัย ควรติดต้ังสวิตช์ตัดกระแสไฟ ไว้บริเวณหน้ำห้องเก็บพัสดุฯ
หรือบ้ำนพัก เพ่ือตัดกระแสไฟเม่ือไม่ได้ใช้งำนและเป็นกำรป้องกัน
กำรเกิดเพลิงไหม้

24

2.8 การป้องกันอคั คีภัย และเครื่องดับเพลิง
- จัดให้มีกำรฝึกอบรมกำรป้องกันอัคคีภัยและแผนฉุกเฉินให้กับ
ผปู้ ฏบิ ัติงำนอยูเ่ สมอ
- ผูป้ ฏิบัติงำนต้องทรำบสถำนท่ีใกลท้ ี่สุดของสัญญำณบอกเหตุเพลิงไหม้
และรู้ถึงวธิ ีกำรใช้งำน
- ผู้ปฏิบัติงำนต้องทรำบถึงชนิดและป้ำยสัญลักษณ์ ต่ำง ๆ
ของสัญญำณบอกเหตุ เช่น ไฟไหม้ กำรอพยพ หรือภัยอื่น ๆ และ
รเู้ ส้นทำงหนีไฟตลอดจนจุดนัดพบ
- ตรวจสอบสภำพของอุปกรณ์ท่ีใช้ในกำรดับเพลิงให้อยู่ในสภำพ
พรอ้ มใช้งำนอย่ำงสม่ำเสมอ
- ผู้ปฏิบัติงำนต้องทรำบถึงสถำนท่ีที่ใกล้ที่สุดของถังดับเพลิงและ
รูว้ ิธีกำรใช้งำน
- วัสดไุ วไฟตอ้ งเก็บใหห้ ่ำงจำกแหล่งกำเนดิ ประกำยไฟ
- เมื่อเติมน้ำมันให้กับเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่ำง ๆ จะต้องปิดเคร่ือง
หรือเคร่ืองยนตน์ นั้ ตอ้ งไม่รอ้ น
- ท้ิงบุหร่ีในท่ีที่จดั หำไว้ให้ ไมท่ ิ้งในตะกรำ้ หรือถงั ขยะท่ัวไป
- จุดและสถำนที่ติดตั้งสัญญำณแจ้งเหตุ จะต้องติดประกำศบนบอร์ด
ประชำสัมพันธ์ในที่ทท่ี กุ คนสำมำรถมองเห็นได้ชดั
- เมอ่ื เกิดเพลงิ ไหม้ ผู้ประสบเหตตุ ้องรบี ระงบั เหตใุ นเบ้อื งตน้ ทนั ที

25

2.9 การปฐมพยาบาลฉกุ เฉิน
ถ้ำมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น ผู้ปฏิบัติงำนต้องประเมินสถำนกำรณ์ เช่น ยังมี

ลมหำยใจอยู่หรือไม่ ใครบำดเจ็บหนักที่สุด และรับติดต่อขอรับกำรช่วยเหลือ
จำกหัวหน้ำงำนหรือผู้ปฏิบัติงำนท่ีได้ผ่ำนกำรอบรมกำรปฐมพยำบำลเบ้ืองต้น
มำแล้ว และหำกกรณีคนเจ็บมีกำรเสียเลือดมำก กระดูกหัก หมดสติ
ไม่รู้สึกตัว ถูกสำรพิษ หรือถูกไฟไหม้ ถ้ำเป็นอำกำรบำดเจ็บรุนแรง ให้จัดรถ
เพอื่ นำผูบ้ ำดเจบ็ ส่งโรงพยำบำลที่ใกล้ท่สี ุดทนั ที

26

3.หลกั ความปลอดภัยในการทางานของผ้ปู ฏบิ ัติงานนาจ่าย

3.1. เตรียมบุคคล หมำยถึง กำรตรวจประเมินผู้ปฏิบัติงำนนำจ่ำย
ว่ำอยู่ในสภำพท่ีพร้อมจะปฏิบัติงำนหรือไม่ ไม่มีอำกำรพักผ่อน
ไม่เพียงพอ เมำค้ำง หรือมีอำกำรเจ็บป่วยซึ่งเมื่อให้ออกไปปฏิบัตงิ ำน
อำจได้รับอันตรำยจำกอุบัติเหตุได้ หำกพบให้ทำกำรแก้ไขอำกำร
ดังกล่ำว และหำกอำกำรยังไม่ดีข้ึนก็ให้พิจำรณำปรับเปลี่ยนตัว
ผู้ปฏบิ ตั ิงำนท่ำนอื่นมำปฏิบัตงิ ำนแทน
3.2 เตรียมอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล หมำยถึง
กำรดูแลและควบคุมให้ผู้ปฏิบัติงำนนำจ่ำยต้องสวมใส่หมวกนิรภัย
(หมวกกนั น็อก) เสือ้ คลมุ นำจำ่ ย รองเทำ้ และถุงมือทกุ ครั้ง
3.3 เตรียมรถนาจ่าย หมำยถึง ดูแลและควบคุมให้มีกำรตรวจเช็ค
ระบบเบรก โช๊คอัพ ล้อ รวมทั้งกำรตรวจเช็คตำมรอบระยะท่ีคู่มือรถ
นน้ั กำหนด

.

บริษทั ไปรษณยี ์ไทย จากัด
ฝำ่ ยควำมปลอดภยั อำชีวอนำมัยและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน
โทรศพั ท์ 02-8313333, 02-8313084

บริษทั ไปรษณยี ไ์ ทย จากัด
ฝำ่ ยควำมปลอดภัย อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน
โทรศัพท์ 02-8313333, 02-8313084


Click to View FlipBook Version