The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วาระการประชุม ครั้งที่ 4-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaae.jung24, 2021-04-21 04:29:16

วาระการประชุม ครั้งที่ 4-2564

วาระการประชุม ครั้งที่ 4-2564

เรื่องเสนอทป่ี ระชุม
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน

ประจา บริษัท ไปรษณีย์ไทย จากดั
ในการประชุมครั้งที่ 4/๒๕๖4
วนั จนั ทร์ที่ 26 เมษายน 2564

ณ ห้องประชุม รจป.๓ ช้นั ๒ โซน D อาคารบริหาร ปณท หลกั ส่ี กรุงเทพฯ

วาระที่ ๑ เรอื่ งทีป่ ระธานแจ้งใหท้ ปี่ ระชุมทราบ
1.1 ......................................................................................................................................................
1.2 ......................................................................................................................................................

วาระท่ี 2 เรอื่ งรบั รองรายงานการประชุม
คป. ได้จดั ส่งรายงานการประชุมคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ ประจา บริษทั ไปรษณยี ์ไทย จากดั

ครั้งที่ 3/2564 วนั ที่ ๒9 มีนาคม 256๔ ให้คณะกรรมการความปลอดภัยฯ ทราบแล้วเม่ือวนั ที่ ๙ เมษายน 2564
มติท่ีประชมุ ........................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

วาระท่ี ๓ เร่อื งติดตามผลการดาเนินงาน
3.1 ร่างแบบตรวจสอบสภาพรถยนต์/รถจักรยานยนต์
ตามท่ที ป่ี ระชมุ มีมติ
๑. ในส่วนของแบบรายงานการตรวจสอบสภาพรถยนต์/รถบรรทุกให้ คป. จัดส่งร่างแบบ

รายงานการตรวจสอบสภาพรถยนต์/รถบรรทุกให้ ยส. พร้อมหารือว่า ปัจจุบนั ยส. จัดให้มีการตรวจสภาพ
รถยนต/์ รถบรรทุก/รถอนื่ ๆ กอ่ นออกปฏิบตั ิหน้าท่ีหรือไม่ หากไม่มีขอความอนุเคราะหร์ ับรา่ งแบบรายงานฯ
ดังกลา่ วไว้ใช้ประโยชนต์ ่อไป และรับข้อสงั เกตของทป่ี ระชุมไวพ้ จิ ารณาวา่ การตรวจสภาพรถยนต/์ รถบรรทกุ /
รถอ่ืน ๆ ก่อนออกปฏบิ ัติหนา้ ท่คี วรตรวจสอบทกุ วันหรอื ตรวจตามรอบระยะทางวิ่ง

คป. ได้จดั ทาบนั ทึกลงวนั ท่ี ๙ เมษายน ๒๕๖๔ แจง้ ยส. รบั ไวเ้ ปน็ แนวทางในการ
ดาเนนิ งานตรวจสอบก่อนออกปฏิบัติหนา้ ท่ขี องพนักงานขับรถยนต์ ตามความเหมาะสมในแต่ละประเภท
ยานพาหนะที่ใชง้ านต่อไป แล้ว

๒. ในส่วนของแบบรายงานการตรวจสอบรถจักรยานยนต์ เห็นสมควรให้จดั ทาโปสเตอร์
เพอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ยา้ เตือนให้ผู้ปฏิบตั ิหนา้ ท่นี าจ่ายทราบว่า ควรตรวจสภาพของรถจักรยานยนต์/ตรวจ
สภาพความพร้อมของร่างกาย/ตรวจความพรอ้ มของอุปกรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล ก่อนออก
ปฏิบัติหนา้ ทที่ กุ ครัง้ เพ่ือความปลอดภยั ในการทางาน โดยติดภายในทีท่ าการ รวมทง้ั จัดทาในส่วนของรถยนต์/
รถบรรทกุ เชน่ เดียวกัน

2

คป. ขอเสนอรา่ งรูปแบบและเนอื้ หาของโปสเตอร์ประชาสมั พนั ธ์การตรวจสภาพรถยนต/์
รถบรรทุก/รถจักรยานยนต์ ก่อนออกปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ที กุ ครงั้ เพอ่ื นาไปตดิ ประกาศภายในหนว่ ยงาน
(เอกสารแนบ ๑)

ประเดน็ ท่ีเสนอ : เพื่อพจิ ารณา
มติที่ประชมุ ............................................................................................................................. ...
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

3.2 เรอื่ งความปลอดภยั ของคนขา้ มถนนตรงสันชะลอความเร็วบริเวณใตท้ างเชื่อม
ตามที่ คป. ได้รายงานให้ที่ประชุมทราบวา่ ได้ทาบันทึกถงึ กร. ขอหารอื การตเี สน้ บรเิ วณทาง

คนข้ามและเส้นชะลอความเร็ว (Rumble Strip) ซ่งึ คป. ได้สารวจบรเิ วณพ้ืนที่โดยรอบสานกั งานใหญ่ ปณท
ในจดุ ทเ่ี หน็ สมควรตีเสน้ ทางคนขา้ ม (ทางมา้ ลาย) และเส้นชะลอความเร็ว (Rumble Strip) โดยขอความ
อนุเคราะห์ กร. ชว่ ยพิจารณาความเหมาะสมวา่ สามารถดาเนินการตเี ส้นเครื่องหมายดังกล่าวได้หรอื ไม่
อยา่ งไร หรือมแี ผนหรือแนวทางการปรับปรงุ ในรปู แบบอืน่ พรอ้ มประมาณการค่าใชจ้ า่ ยในการดาเนินการ
ดังกลา่ วด้วย น้นั

เมื่อวนั ท่ี ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๔ กร. ร่วมกบั คป. ลงพืน้ ทีส่ ารวจโดยรอบสานกั งานใหญ่ ปณท
ในจดุ ทเี่ ห็นสมควรตีเส้นทางคนขา้ ม (ทางม้าลาย) และเส้นชะลอความเรว็ (Rumble Strip) ท่ีจะทาการ
ปรบั ปรุงเพื่อจะได้นาข้อมลู ไปออกแบบและประมาณการค่าใช้จา่ ยต่อไป ขณะนี้อย่รู ะหวา่ งดาเนินการของ กร.

ประเด็นท่เี สนอ : เพ่ือทราบ
มตทิ ปี่ ระชมุ ............................................................................................................................. ...
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
3.๓ เรอ่ื ง การจัดทาบนั ทกึ ขอความร่วมมอื ท่ที าการไปรษณยี ท์ ่ีมีบริการรบั ฝากส่งรถจักรยานยนต์

หลกี เลย่ี งถา่ ยนา้ มนั เชื้อเพลิงรถจักรยานยนตข์ องผใู้ ช้บริการภายในอาคารทที่ าการ
ตามทท่ี ี่ประชุมมีมติให้ คป. จัดทาบนั ทึกขอความรว่ มมือท่ีทาการไปรษณีย์ท่ีมบี ริการ
รบั ฝากสง่ รถจกั รยานยนต์ให้หลกี เล่ยี งการถ่ายน้ามนั เชือ้ เพลงิ รถจักรยานยนต์ภายในอาคารท่ีทาการโดยใน
เบื้องตน้ ให้ คป. ประสานงานกับ ผป. เพ่ือตรวจสอบว่า มรี ะเบียบ/บันทึกของ ผป. ทีก่ าหนดใหส้ ามารถทาการถา่ ย
นา้ มนั เชือ้ เพลงิ จากรถจักรยานยนต์ภายในอาคารท่ที าการไดห้ รือไม่ เพื่อป้องกันการออกบนั ทกึ ซา้ ซ้อนในแนว
ปฏิบตั ิ
คป. ได้ประสานกับ ผป. แล้วทราบวา่ ปัจจบุ ันไม่มีระเบียบ/บันทกึ ของ ผป. ที่กาหนดให้สามารถ
ทาการถ่ายนา้ มันเชอื้ เพลิงจากรถจกั รยานยนตภ์ ายในอาคารทท่ี าการได้ และขณะนี้อยู่ระหวา่ ง คป. รวบรวม
จดั ทาบันทึกซักซ้อมต่อไป
ประเดน็ ทีเ่ สนอ : เพอ่ื ทราบ
มติที่ประชุม ............................................................................................................................. ...
....................................................................................... .......................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

3
๓.๔ เรอ่ื ง มาตรการความปลอดภยั ในการใช้รถโฟลค์ ลิฟท์ (forklift)

ตามที่ท่ปี ระชุมมีมตใิ ห้ คป. ดาเนนิ การกาหนดมาตรการความปลอดภยั ในการใชร้ ถโฟลค์ ลิฟท์
ตอ่ ไป

ขณะน้ีอยรู่ ะหวา่ งดาเนินการของ คป.
ประเดน็ ทีเ่ สนอ : เพ่อื ทราบ
มตทิ ปี่ ระชุม ............................................................................................................................. ...
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
วาระที่ 4 เรื่องที่เสนอให้ท่ีประชุมทราบ
4.๑ สถติ กิ ารประสบอันตรายอนั เน่อื งจากการทางาน
คป. ขอรายงานสถติ ิการประสบอันตรายอันเน่ืองจากการทางานของพนักงาน ลูกจ้างประจา
ลกู จา้ ง และผู้รับจา้ งทาของ (จ้างเหมา) ของ ปณท ประจาเดือนมีนาคม ๒๕๖๔
มีจานวน 7 ราย เป็นพนักงาน จานวน 3 ราย ลกู จ้างประจา จานวน 1 ราย
ลูกจ้าง จานวน 2 ราย และผ้รู บั จา้ งทาของ (จา้ งเหมา) จานวน 1 ราย (เอกสารแนบ 2)

- รถยกไฟฟา้
- เครอ่ื งคดั แยก (Cross belt
sorter)

รถจกั รยานยนต์

ประเดน็ ที่เสนอ : เพ่ือทราบ
มติทีป่ ระชุม ............................................................................................................................. ...
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
4.๒ สรปุ ผลการดาเนินงานดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
คป. ขอสรุปผลการดาเนนิ งานด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัยและสภาพแวดลอ้ ม
ในการทางานของฝา่ ยในสานักงานใหญ/่ ปน./ปข./ศน. ประจาเดอื นมีนาคม ๒๕๖๔

4

ปญั หาความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ของฝา่ ยในสานักงาน
ใหญ่/ปน./ปข./ศน. ประจาเดือนมนี าคม ๒๕๖๔ สว่ นใหญเ่ ปน็ ปัญหาฯ ที่สามารถดาเนนิ การแก้ไขได้เองซึ่งอยู่
ระหวา่ งดาเนินการแก้ไข

ประเด็นท่ีเสนอ : เพื่อทราบ
มตทิ ป่ี ระชมุ ............................................................................................................................. ...
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

4.๓ รายงานกฎหมายท่ีประกาศบงั คับใช้ใหม่ทีเ่ ก่ียวข้องกับการดาเนนิ งานด้านความปลอดภยั
อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานของ ปณท
เพือ่ ให้ท่ปี ระชมุ รบั ทราบกฎหมายใหมท่ ี่ประกาศบังคับใช้และเกี่ยวข้องกบั การดาเนนิ งานด้าน

ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ประจาเดือนเมษายน ๒๕๖๔ ดงั นี้
๑. กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบรหิ าร จดั การ และดาเนินการดา้ นความปลอดภัย

อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางานเกีย่ วกบั นั่งร้านและคา้ ยัน พ.ศ. ๒๕๖๔
มีสาระสาคัญสรุปไดด้ ังนี้
1. จัดให้มีและดแู ลใหล้ กู จ้างสวมใส่อปุ กรณ์ค้มุ ครองความปลอดภัยส่วนบคุ คล
2. จดั ใหม้ ีข้อบังคับและขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานเพ่ือความปลอดภยั ในการทางานกบั น่ังรา้ น

หรอื คา้ ยัน
3. ตอ้ งกาหนดเขตอนั ตราย ในบริเวณพ้ืนท่ีท่ีมกี ารติดต้ัง การใชก้ ารเคลือ่ นย้ายและการร้ือถอน

นง่ั ร้านหรอื ค้ายนั
4. ตดิ หรอื ตั้งป้ายสัญลกั ษณ์เตอื นอนั ตรายและเครือ่ งหมายป้ายบังคบั เกย่ี วกับความปลอดภยั

อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานทีเ่ หมาะสมกับลักษณะงาน
5. ปฏบิ ัตติ ามรายละเอยี ดคุณลกั ษณะและคมู่ ือการใช้งานทีผ่ ้ผู ลิตกาหนดไว้ในการสร้าง

ประกอบ ตดิ ตง้ั ทดสอบ ตรวจสอบ ใช้ เคลอื่ นยา้ ย และรือ้ ถอนน่ังรา้ น
หากไม่มีรายละเอียดคุณลักษณะและคมู่ ือการใชง้ านดังกลา่ ว นายจ้างต้องดาเนินการใหว้ ิศวกร

เปน็ ผู้จัดทารายละเอยี ดคุณลักษณะและคมู่ ือการใช้งานเป็นหนังสือ และต้องมสี าเนาเอกสารดังกล่าวไว้ให้
พนักงานตรวจความปลอดภยั ตรวจสอบได้

ส่งิ ที่ ปณท ตอ้ งปฏบิ ตั ิ
เพือ่ ดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามกฎกระทรวงฉบบั ดังกลา่ ว ในกรณที ี่ ปณท มกี ารก่อสรา้ งสิ่ง
ปลกู สรา้ ง ปรบั ปรุง ซ่อมแซม ดัดแปลง ต่อเตมิ อาคารรวมถึงการปฏบิ ตั งิ านอ่ืน ๆ ทีต่ ้องใชน้ ง่ั ร้านและคา้ ยัน
ในฐานะนายจ้าง ปณท จึงมหี น้าทต่ี อ้ งปฏบิ ัติตามมาตรฐานในการบริหารจัดการและดาเนนิ การด้านความ
ปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกบั นงั่ ร้านและคา้ ยันตามที่กาหนดไว้ใน
กฎกระทรวง หรือกากับดูแลผู้รบั เหมาชน้ั ตน้ หรอื ผู้รบั เหมาช่วงต้องปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงฯ ฉบบั น้ี
หนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ ง : ฝ่ายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน (คป.)
ฝ่ายก่อสรา้ งและบารุงรกั ษา (กร.) และหนว่ ยงานในสงั กัดของ ปณท ท่ีมกี ารใช้นง่ั รา้ นหรือคา้ ยัน ควรถือปฏบิ ัตติ าม
กฎกระทรวงน้ีเป็นแนวทางควบคมุ มาตรฐานของการใช้นั่งร้านและคา้ ยัน

5
แนวทางการปฏิบตั ิ
1. ฝา่ ยความปลอดภัยอาชวี อนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน (คป.)
พิจารณาจัดทาข้อบังคบั หรือมาตรการดา้ ยความปลอดภยั ในงานที่เกยี่ วกบั น่ังร้านและคา้ ยัน
2. ฝา่ ยก่อสรา้ งและบารงุ รกั ษา (กร.) และหน่วยงานในสงั กัดของ ปณท ทีม่ กี ารใช้นง่ั รา้ นหรือค้ายัน
ดูแลผปู้ ฏบิ ัติงานใหส้ วมใสอ่ ุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่เหมาะสมกบั สภาพของการทางานกบั
นั่งร้านหรอื คา้ ยัน กาหนดข้อบังคับและข้นั ตอนการปฏิบัติงานเพอื่ ความปลอดภัยในการทางานกบั น่ังรา้ นหรอื
ค้ายัน การกาหนดเขตอันตรายตดิ หรือต้งั ปา้ ยสญั ลักษณ์เตือนอนั ตรายและเคร่ืองหมายปา้ ยบังคบั เกี่ยวกบั ความ
ปลอดภัยฯ ปฏิบตั ิตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานน่ังรา้ นและค้ายัน ใชว้ ศิ วกรคานวณออกแบบ
และควบคุมการใช้น่ังรา้ น ห้ามลกู จ้างทางานบนน่ังรา้ นที่มีความเสย่ี ง กาหนดมาตรการป้องกันวัสดรุ ว่ งหลน่
และตรวจสอบนัง่ ร้านและคา้ ยันอย่างสม่าเสมอ
ในกรณที ห่ี น่วยงานที่เกี่ยวข้องทาสัญญาจ้างบุคคลภายนอกให้ดาเนนิ การก่อสรา้ งส่งิ ปลูกสร้างที่
มีการใช้นง่ั รา้ นและคา้ ยนั เห็นควรให้ระบุไวใ้ นข้อสญั ญาจา้ งใหผ้ รู้ ับจา้ งมหี นา้ ที่ดาเนินการตามกฎกระทรวง
ดงั กลา่ วดว้ ย
ระยะเวลาบงั คับใช้กฎหมาย : ตง้ั แตว่ ันท่ี 29 พฤษภาคม ๒๕๖๔

๒. กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบรหิ าร จัดการ และดาเนินการ ด้านความ
ปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกบั งานก่อสรา้ ง พ.ศ. ๒๕๖๔

มีสาระสาคัญสรปุ ได้พอสังเขป ดังน้ี
หมวด 1 บททัว่ ไป
1. แจ้งข้อมลู งานกอ่ สร้างกอ่ นเรม่ิ งานก่อสร้างไม่น้อยกว่า 15 วัน
2. ต้องทาให้พ้นื ทีท่ างานก่อสร้างมัน่ คงแขง็ แรง
3. ตอ้ งจัดให้มผี ู้ควบคุมงานตรวจความปลอดภัยในการทางาน ท้ังก่อนและขณะทางานทุก
ขัน้ ตอน
๔. ต้องห้ามลูกจา้ งทางานก่อสรา้ งในขณะทีเ่ กดิ ภัยธรรมชาติ หรอื มเี หตกุ ารณท์ ี่เกดิ ขึ้นโดย
ธรรมชาติ หรือมีเหตุอ่ืนใดที่อาจจะทาใหเ้ กดิ ความไมป่ ลอดภยั ในการทางานของลกู จ้าง เวน้ แต่เพ่อื ให้เกดิ ความ
ปลอดภยั ในงานก่อสร้างหรือเพือ่ การช่วยเหลอื หรือการบรรเทาเหตุ
๕. ต้องติดหรอื ตั้งป้ายสัญลกั ษณเ์ ตือนอนั ตรายและเครื่องหมายป้ายบงั คบั เก่ียวกับความ
ปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานท่ีเหมาะสมกับลักษณะงาน โดยใช้ข้อความท่เี ขา้ ใจ
งา่ ยและเห็นไดอ้ ยา่ งชัดเจน
๖. ตอ้ งจดั และดูแลให้ลูกจ้างใชอ้ ปุ กรณ์คุม้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คลตลอดเวลาทีท่ างาน
ก่อสรา้ ง
หมวด 2 งานเจาะและงานขุด
1. ตอ้ งเคล่อื นย้ายสาธารณปู โภคซึง่ อาจจะเกิดอนั ตรายต่อลูกจ้างหรือบุคคลอื่น หากไม่สามารถ
ดาเนินการได้ตอ้ งจัดใหม้ มี าตรการป้องกนั มิใหล้ ูกจา้ งหรือบุคคลอ่ืนไดร้ ับอนั ตรายจากการเจาะหรือขุดดังกล่าว
2. ตอ้ งจดั ให้มรี าวกันตก ป้ายเตอื นอันตราย มีสญั ญาณแสงสีส้มหรือปา้ ยสีสะท้อนแสงเวลา
กลางคนื
3. ตอ้ งจัดให้มแี ผน่ โลหะหรอื วัสดุอ่ืนที่มคี วามแข็งแรงเพียงพอปดิ คลมุ บนบริเวณท่ีลูกจา้ งอาจ
พลัดตก

6
4. ต้องจดั ใหม้ ีปลอกเหลก็ แผ่นเหล็ก ค้ายัน หรืออุปกรณ์อืน่ ที่มีความม่นั คงแข็งแรงเพ่ือปอ้ งกนั
อันตรายทเี่ กิดจากดินพงั ทลาย และตรวจสอบความม่ันคงแขง็ แรงเพอื่ ให้เกิดความปลอดภัย โดยได้รบั ความ
เหน็ ชอบจากวศิ วกร
๕. จดั ใหม้ มี าตรการและอุปกรณป์ อ้ งกันอันตรายท่ีอาจเกิดขน้ึ ได้ และต้องแจ้งให้ลกู จา้ งทราบถงึ
อันตรายท่ีอาจจะเกดิ ข้นึ จากการทางานก่อนเข้าทางาน หากลูกจา้ งตอ้ งลงไปทางานในรู หลมุ บ่อ คู หรือส่งิ อืน่
ที่มลี ักษณะเดยี วกนั
๖. ต้องมใิ ห้ลูกจ้างลงไปทางานในรู หลมุ บ่อ คู หรือสิ่งอื่นทม่ี ีลักษณะเดียวกนั ท่มี ีขนาดกวา้ ง
น้อยกว่า ๗๕ เซนตเิ มตร และมีความลึกตัง้ แต่ ๒ เมตรข้ึนไป
หมวด 3 งานกอ่ สร้างที่มีเสาเขม็ และกาแพงพดื
1. ต้องปฏิบตั ิตามรายละเอียดคุณลักษณะและคูม่ ือการใชง้ านเคร่อื งตอกเสาเข็มหรือเคร่ืองขดุ
ทผ่ี ้ผู ลิตกาหนดไว้
๒. ตอ้ งจดั ใหม้ ผี ้คู วบคุมงานทาหน้าทีต่ รวจสอบความเรยี บร้อยของช้ินส่วนหรือกลไกการทางาน
ของเครอื่ งจักรเครื่องมือ อุปกรณ์ และพื้นที่การทางานก่อนเร่ิมงานเสาเขม็ งานกาแพงพืด และเคร่ืองขุดเจาะ
ในแตล่ ะวัน
๓. ตอ้ งดาเนนิ การให้มรี ะยะห่างและมาตรการป้องกันอนั ตรายจากการติดตง้ั เคล่อื นย้าย หรือ
การทางานของเครื่องตอกเสาเขม็ หรือเครื่องขดุ เจาะที่อยใู่ กลส้ ายไฟฟ้า
๔. ต้องมิให้ลูกจา้ งใช้เครอ่ื งตอกเสาเข็มหรือเคร่อื งขุดเจาะขัดข้อง ชารดุ หรอื อยู่ในสภาพท่ไี ม่
ปลอดภัย และติดป้ายหา้ มใช้งานแสดงให้เห็นอยา่ งชดั เจน จนกว่าจะได้ซ่อมแซมแก้ไข
๕. จัดให้มีมาตรการเพ่อื ความปลอดภยั ของลูกจา้ งในการปฏบิ ัติงานเกีย่ วกบั เครื่องตอกเสาเขม็
ระบบ ไอน้า ระบบลม ระบบไฮดรอลิค ระบบเครื่องยนตเ์ ผาไหมภ้ ายใน ระบบดเี ซลแฮมเมอร์ หรือระบบอนื่
รวมถงึ เครื่องขุดเจาะ
หมวด 4 ลฟิ ตช์ ั่วคราวท่ใี ช้ในงานก่อสร้าง
1. ต้องปฏบิ ัตติ ามรายละเอยี ดคณุ ลักษณะและคมู่ ือการใชง้ านทผี่ ู้ผลติ กาหนดไวใ้ นการสร้าง
ประกอบ ตดิ ตง้ั ทดสอบ ตรวจสอบ ใช้ ซอ่ มบารุง และร้ือถอนลฟิ ต์ขนสง่ วสั ดชุ วั่ คราว ลิฟต์โดยสารช่ัวคราว
ลฟิ ตท์ ีใ่ ชท้ ้งั ขนส่งวัสดแุ ละโดยสารชวั่ คราว และจัดใหม้ ีขอ้ กาหนดในการสรา้ งและขอ้ ปฏิบัติในการใช้งาน
๒. จดั ให้มกี ารตรวจสอบสว่ นประกอบและอุปกรณข์ องลิฟต์ขนสง่ วัสดุชั่วคราว ลฟิ ต์โดยสาร
ช่ัวคราว หรอื ลฟิ ต์ท่ใี ช้ทัง้ ขนส่งวัสดแุ ละโดยสารช่ัวคราวอย่างน้อยเดือนละหนงึ่ คร้งั โดยวศิ วกร
๓. ลฟิ ตข์ นสง่ วสั ดชุ ่วั คราว - ต้องติดป้ายบอกน้าหนกั บรรทุกสูงสุดไว้ภายในและภายนอกลิฟต์
ใหเ้ หน็ ไดอ้ ย่างชดั เจน

ลฟิ ต์โดยสารชั่วคราวหรอื ลิฟต์ทใี่ ชท้ ั้งขนส่งวัสดุและโดยสารชั่วคราว - ต้องตดิ ปา้ ยบอก
น้าหนักบรรทุกและจานวนผูโ้ ดยสารสูงสดุ ไวภ้ ายในและภายนอกลิฟตใ์ หเ้ ห็นได้อย่างชดั เจน

๔. ตอ้ งควบคมุ ดูแลมิให้บุคคลใดโดยสารลิฟต์ขนสง่ วสั ดชุ ั่วคราวและใหต้ ิดป้ายห้ามโดยสารให้
เห็นได้อยา่ งชัดเจน ยกเว้นเป็นการตดิ ต้งั ตรวจสอบ บารงุ รักษา และรอื้ ถอนโดยผู้ซ่ึงมหี น้าทเ่ี กี่ยวข้องเท่าน้นั
และตอ้ งจัดให้มีมาตรการป้องกนั อันตรายดว้ ย

๕. การใชล้ ฟิ ต์ขนส่งวสั ดุช่ัวคราว ลิฟตโ์ ดยสารชั่วคราว หรอื ลฟิ ต์ท่ีใช้ทั้งขนส่งวัสดุและโดยสาร
ชั่วคราว นายจา้ งตอ้ งดาเนนิ การเพอ่ื ให้เกดิ ความปลอดภัยในการทางาน ดังตอ่ ไปน้ี

(๑) จัดใหม้ ขี ้อกาหนดการปฏิบัตงิ านเพ่ือความปลอดภยั ในการทางานติดไวบ้ ริเวณที่มีการใช้
ลิฟตใ์ หเ้ ห็นได้อย่างชัดเจน และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามข้อกาหนดดังกล่าวโดยเครง่ ครดั

7
(๒) จัดใหม้ ีลูกจา้ งซ่งึ อายุไมต่ ่ากว่าสบิ แปดปีที่ได้รับการฝึกอบรมการบงั คับลิฟตอ์ ย่าง
ปลอดภัยมาแล้ว ทาหนา้ ท่ีเป็นผูบ้ ังคบั ลฟิ ต์ประจาตลอดเวลาท่ีใช้ลฟิ ต์
(๓) บริเวณท่ีผู้บงั คบั ลิฟต์ทางานตอ้ งจดั ให้มหี ลงั คาท่ีมัน่ คงแข็งแรงเพยี งพอ เพอ่ื ป้องกันมิให้
เกิดอนั ตรายจากการตกหลน่ ของวัสดสุ ่ิงของ
(๔) ก่อนการใชง้ านทกุ วัน ใหม้ กี ารตรวจสอบลิฟต์ หากสว่ นใดชารุดเสียหาย ตอ้ งซ่อมแซม
ให้อยู่ในสภาพพร้อมใชง้ าน
(๕) ในกรณีทลี่ ิฟต์ไม่อยใู่ นสภาพพร้อมใช้งานหรือไมม่ ผี บู้ ังคับลิฟต์ ตอ้ งปิดสวติ ช์ พรอ้ มท้ัง
ใสก่ ุญแจและติดป้ายห้ามใชล้ ิฟต์ใหล้ กู จา้ งทราบ
(๖) จดั วางและป้องกนั มใิ ห้วัสดตุ กหรือย่ืนเข้าไปในโครงหอลฟิ ต์
(๗) ในการใช้ลฟิ ต์ขนรถหรือเคร่อื งมือที่มีลอ้ ต้องป้องกันมิให้รถหรือเคร่ืองมือนนั้ เคลื่อนทีไ่ ด้
(๘) จัดใหม้ ีสัญญาณเตือนเป็นเสียงหรือแสงเม่ือมีการใช้ลฟิ ต์
หมวด 5 เชอื ก ลวดสลงิ และรอก
1. ควบคุมดูแลให้มีการใชเ้ ชอื กหรอื ลวดสลงิ ทม่ี ีขนาดเหมาะสมกับร่องรอก
2. จัดหาลูกกล้งิ รองทีจ่ ุดทเ่ี ชือกหรือลวดสลิงจะครดู เพือ่ ป้องกนั การครูด
หมวด 6 ทางเดินช่วั คราวยกระดบั สงู
สรา้ งทางเดินชั่วคราวยกระดับสูงและมรี าวกนั ตกตลอดทางเดิน สาหรบั งานก่อสร้างทม่ี ีทางเดนิ
ชั่วคราวยกระดับสงู ต้งั แต่ ๑.๕๐ เมตรข้ึนไป
หมวด 7 งานอุโมงค์
1. จดั ให้มีคู่มอื การปฏิบตั ิงานเพ่ือความปลอดภัยในการทางานในอุโมงคแ์ ละมอบให้ลูกจ้างที่
ทางานในอโุ มงคส์ ามารถศึกษาได้ตลอดเวลากบั จัดการอบรมลูกจ้างก่อนเข้าทางานในอุโมงค์ และให้ลกู จ้างท่ี
ผ่านการอบรมเข้าทางาน รวมทง้ั ตอ้ งอบรมทบทวน หรอื เพ่ิมเตมิ เป็นประจาไม่น้อยกว่าเดอื นละหนึง่ ครง้ั
2. จดั ให้มวี ิศวกรท่ีมีประสบการณ์ด้านอุโมงค์และด้านปฐพีวศิ วกรรมเป็นผู้ออกแบบและ
กาหนดวิธปี ฏบิ ัติงานในการขุดเจาะอุโมงค์ และต้องมวี ิศวกรซงึ่ มีประสบการณ์ด้านงานขุดเจาะอโุ มงคเ์ ปน็ ผู้
ควบคุมงานตลอดเวลา
การขุดเจาะอโุ มงคโ์ ดยใช้วตั ถุระเบดิ ต้องจัดให้มผี ้ชู านาญการด้านวตั ถุระเบดิ เป็นผู้ควบคุม
การใช้และปริมาณการใช้วตั ถุระเบิด และต้องมวี ศิ วกรซงึ่ มีประสบการณ์ดา้ นงานขุดเจาะอุโมงคโ์ ดยใช้วัตถุ
ระเบิดเปน็ ผ้คู วบคุมงานและกาหนดวธิ ปี อ้ งกนั อนั ตรายตลอดเวลาทางาน
หมวด 8 งานกอ่ สร้างในนา้
1. กอ่ นใหล้ กู จ้างทางานก่อสร้างในนา้ นายจา้ งต้องดาเนนิ การ ดังต่อไปนี้
(๑) จดั ทาแผนการปฏิบัตงิ านและป้องกนั อนั ตรายที่อาจเกิดขึน้ จากการทางานและตดิ
ประกาศหรอื แจง้ ใหล้ ูกจา้ งทราบเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
(๒) จัดทาแผนฉุกเฉนิ กรณเี กิดภยั จากธรรมชาติหรอื เหตอุ ื่นอนั อาจก่อใหเ้ กิดอนั ตรายในงาน
ก่อสรา้ งในน้าและจัดการอบรมและฝกึ ซ้อมตามแผนฉุกเฉนิ นน้ั
(๓) จดั ใหม้ ีอปุ กรณ์ช่วยชวี ิตตามข้อกาหนดของกรมเจ้าทา่ หรอื หน่วยงานอื่น โดยมจี านวนไม่
น้อยกวา่ จานวนลูกจ้างซึ่งทางานกอ่ สรา้ งในนา้
(๔) จัดใหม้ ีการตรวจสอบการข้ึนลงของระดบั น้า
2. ต้องจดั ให้มแี ละดูแลใหบ้ ริภณั ฑไ์ ฟฟา้ ในงานกอ่ สร้างในน้า เป็นชนดิ ท่สี ามารถป้องกนั น้าและ
ความช้นื ซง่ึ อาจทาให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรหรอื ในกรณีทมี่ ีการทางานทมี่ ีไอระเหยของสารเคมีทีม่ คี วามไวไฟต้องมี
มาตรการท่ีป้องกันการลุกไหม้หรอื การระเบิดจากสารเคมนี ั้น

8
3. ในการทางานบนแคร่ลอย นงั่ ร้าน หรือส่วนของส่ิงกอ่ สร้างเหนอื พื้นนา้ นายจา้ งต้อง
ดาเนินการ ดังตอ่ ไปน้ี

(๑) ยึดโยงหรอื ติดตรงึ โครงสร้างรองรับและโครงเคร่ืองจักร รวมท้งั อปุ กรณท์ ีต่ ิดตง้ั บนแคร่
ลอย นัง่ ร้าน หรอื สว่ นของสง่ิ ก่อสรา้ งให้ม่ันคงปลอดภยั

(๒) จดั ทาและดแู ลสะพานทางเดินและบันไดเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งแครล่ อยกับฝ่งั หรอื สถานที่อน่ื
ท่ีอยู่ใกล้เคยี งให้ม่ันคงปลอดภัย พรอ้ มจดั ใหม้ รี าวกนั ตกตลอดทางเดนิ หรือบันไดนน้ั

(๓) ดแู ลใหเ้ กิดความปลอดภยั และรักษาความสะอาดพ้นื แคร่ลอย น่งั ร้าน หรอื ส่วนของ
ส่ิงก่อสร้างตลอดเวลาทางาน

(๔) ควบคุมใหล้ ูกจา้ งสวมใสช่ ูชพี ตลอดเวลาทางาน และถา้ มีการทางานในเวลากลางคนื ชชู พี
นั้นต้องติดพรายนา้ หรือวสั ดุเรืองแสงดว้ ย

หมวด 9 งานร้ือถอนหรือทาลายสง่ิ ก่อสร้าง
๑. จัดให้มีการอบรมหรือชแี้ จงลูกจ้างเกี่ยวกบั ขั้นตอนและวิธกี ารรอื้ ถอนหรือทาลายก่อนทจ่ี ะ
เริ่มปฏิบัตงิ านและควบคมุ ดูแลการทางานของลูกจ้างให้มีความปลอดภัย
๒. การร้อื ถอนหรือทาลายสงิ่ กอ่ สรา้ งที่ไมต่ ้องขออนญุ าตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
นายจ้างต้องกาหนดขน้ั ตอนและวิธกี ารร้อื ถอนหรอื ทาลายให้เหมาะสมกบั ลักษณะงาน รวมทัง้ จดั การอบรมหรือ
ช้แี จงลูกจ้างก่อนท่ีจะเรม่ิ ปฏิบัติงาน
๓. นายจา้ งต้องดาเนินการเพื่อความปลอดภัยในการรื้อถอนหรือทาลายสง่ิ ก่อสร้าง ดงั นี้

(๑) ตดั ไฟฟา้ ก๊าซ ประปา ไอนา้ หรอื พลังงานอยา่ งอ่นื ทใ่ี ชอ้ ย่ใู นสิ่งที่จะร้ือถอนทาลาย
(๒) ขจัดหรือเคล่ือนย้ายสารเคมี ถงั กา๊ ซ วตั ถไุ วไฟ วตั ถรุ ะเบิด หรอื วัตถอุ นั ตรายอื่นๆ ท่ี
คลา้ ยคลงึ กนั ให้ออกจากบริเวณทีท่ าการรอ้ื ถอนหรือทาลายให้ถูกวิธีและปลอดภยั
(๓) นาวัสดแุ หลมคม กระจก หรอื วัสดอุ ่นื ที่อาจหลดุ ร่วงหรือแตกไดง้ ่ายออกใหห้ มดก่อนการ
ร้ือถอนทาลาย
(๔) จัดให้มีแผงรบั วัสดทุ ่ีอาจร่วงหลน่ จากการรอื้ ถอนหรือทาลายนั้น และแผงรบั วสั ดุ
ดงั กลา่ วตอ้ งมคี วามมนั่ คงแขง็ แรงและขนาดใหญ่เพยี งพอที่จะสามารถรองรบั วัสดุทีร่ ว่ งหลน่ ไดอ้ ย่างปลอดภัย
(๕) จดั ใหม้ หี ลังคาที่มีความม่ันคงแข็งแรงครอบตลอดทางเดินบรเิ วณรือ้ ถอน หรอื วธิ กี ารอื่น
ใดที่เหมาะสมกรณีต้องเดนิ ใกล้บริเวณพน้ื ท่ที ่ีมีงานร้อื ถอนหรอื ทาลาย
(๖) จัดใหม้ กี ารฉีดนา้ หรือใชว้ ิธอี ื่นทเี่ หมาะสมเพ่อื ป้องกันหรอื ขจดั ฝ่นุ ตลอดเวลาทางาน
หากมคี วามจาเปน็ ต้องใช้ไฟฟ้า นา้ หรอื พลังงานอย่างอื่นในระหว่างการรื้อถอนหรอื ทาลาย
นายจ้างตอ้ งจัดใหม้ มี าตรการปอ้ งกันอนั ตรายในการใช้สิ่งเหลา่ นนั้
๔. นายจ้างต้องจัดใหม้ ีการขนย้ายวสั ดุทร่ี อื้ ถอนหรอื ทาลายแลว้ ออกจากบรเิ วณท่ีรื้อถอน
ทาลาย หรือจดั เกบ็ ใหป้ ลอดภัย
ในกรณีที่มกี ารขนยา้ ยวสั ดทุ ร่ี ้ือถอนหรือทาลายในที่ตา่ งระดับ ให้กระทาอย่างเหมาะสมกับ
สภาพของวัสดุท่รี ้ือถอนหรือทาลา่ ย โดยวิธที ีป่ ลอดภยั และนายจ้างต้องจัดใหม้ ีมาตรการเพอ่ื ป้องกันอนั ตราย
๕. หากมีการเคลื่อนตัวของสงิ่ ทีก่ าลังร้อื ถอนหรือทาลายสิง่ กอ่ สร้างหรือมีสงิ่ บอกเหตุหรือ
พฤติการณ์ที่อาจจะทาให้เกดิ อันตรายแกล่ ูกจ้าง นายจ้างต้องสัง่ ให้หยดุ การทางานและใหเ้ คล่ือนย้ายลูกจ้าง
ออกจากบริเวณนนั้ ทนั ที เวน้ แตเ่ ป็นการทางานเพื่อบรรเทาอนั ตรายท่ีอาจเกดิ ข้นึ และนายจ้างตอ้ งจัดให้มี
มาตรการป้องกนั อันตรายเปน็ กรณพี เิ ศษด้วย

9
สง่ิ ท่ี ปณท ตอ้ งปฏบิ ัติ
เพอื่ ดาเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามกฎกระทรวงฉบบั ดังกลา่ ว ในกรณที ่ี ปณท มีการทางานเก่ียวกบั
งานกอ่ สร้างในฐานะนายจา้ ง ปณท จงึ มหี นา้ ท่ีตอ้ งปฏบิ ัติตามมาตรฐานในการบรหิ ารจัดการ และดาเนินการ
ดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางานเกีย่ วกบั งานก่อสรา้ งตามท่ีกาหนดไว้ใน
กฎกระทรวง
หนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง : ฝ่ายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (คป.)
ฝา่ ยก่อสรา้ งและบารุงรักษา (กร.) และหนว่ ยงานในสงั กัดของ ปณท ทีม่ กี ารก่อสรา้ ง ควรถือปฏิบัตติ ามกฎกระทรวงน้ี
เป็นแนวทางควบคุมมาตรฐานของงานก่อสร้าง หรือกากับดูแลผู้รับเหมาชน้ั ตน้ หรอื ผรู้ บั เหมาช่วงตอ้ งปฏิบตั ติ าม
กฎกระทรวงฯ ฉบับนี้
แนวทางการปฏบิ ัติ :
1. ฝา่ ยความปลอดภัยอาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (คป.) พิจารณาจัดทา
ข้อบงั คบั หรือมาตรการด้านความปลอดภยั ในงานกอ่ สรา้ งให้สอดคลอ้ งกับกฎกระทรวง
2. กรณี กร. ดาเนนิ การก่อสร้างเอง หรอื ใหผ้ ้รู บั จา้ งตามสัญญาจ้างดาเนินการก่อสร้างแทนใน
ส่วนของงานทีเ่ กี่ยวข้องกับงานเจาะและงานขดุ งานก่อสรา้ งทีม่ ีเสาเข็มและกาแพงพดื ลิฟต์ชัว่ คราวท่ีใชใ้ นงาน
ก่อสร้าง การใชเ้ ชือก ลวดสลงิ และรอก งานรือ้ ถอนหรือทาลายสงิ่ ก่อสร้างอาคารทท่ี าการทเี่ กา่ สภาพทรุด
โทรม ต้องดาเนนิ การ เช่น แจ้งขอ้ มลู งานก่อสร้างก่อนเรมิ่ งานก่อสรา้ งไมน่ ้อยกวา่ 15 วัน มผี ูค้ วบคุมงานตรวจ
ความปลอดภัยในการทางาน รักษาความสะอาดในบรเิ วณเขตก่อสรา้ ง มีบันไดหรือทางลาดพรอ้ มท้งั ติดตง้ั ราว
กันตก ห้ามลูกจ้างทางานก่อสรา้ งในขณะอย่ใู นสภาวะท่ีไมป่ ลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ตดิ ป้ายหรือ
สัญญาณแสงสีสม้ เตือนอนั ตราย จดั หาและดูแลใหล้ ูกจ้างใชอ้ ุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยสว่ นบุคคล
ตลอดเวลาท่ที างานก่อสร้าง เป็นต้น
ระยะเวลาบงั คับใชก้ ฎหมาย : วนั ที่ 30 พฤษภาคม 2564

๓. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จดั การ และดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน ในสถานทีท่ ่ีมีอนั ตรายจากการตกจากท่ีสงู และทล่ี าดชนั
จากวัสดุกระเดน็ ตกหลน่ และพังทลาย และจากการตกลงไปในภาชนะเกบ็ หรือรองรับวัสดุ พ.ศ. ๒๕๖๔

มสี าระสาคัญสรปุ ได้พอสงั เขบดังน้ี
หมวด 1 บทท่ัวไป
1. ต้องจดั ใหม้ ีข้อบังคับและขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านเพื่อความปลอดภยั ในการทางานฯ
๒. จัดให้มอี ุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบุคคลท่ีมีมาตรฐานเหมาะสมกบั สภาพของการ
ทางานฯ เชน่ เข็มขดั นริ ภัย เชือกนริ ภยั หรือสายช่วยชีวิตหมวกนริ ภยั รองเท้าชนดิ ห้มุ ส้นพน้ื ยาง หรือถงุ มือ
และดแู ลใหล้ กู จ้างใช้อุปกรณ์นน้ั ในกรณที ่ใี หล้ ูกจ้างใช้เข็มขดั นิรภยั และเชอื กนริ ภัยหรือสายช่วยชวี ติ พร้อม
อุปกรณ์ประกอบ นายจา้ งตอ้ งจดั ทาจดุ ยดึ ตรึงเชือกนริ ภยั หรือสายชว่ ยชีวิตไวก้ ับส่วนหน่งึ สว่ นใดของอาคาร
หรือโครงสรา้ งอน่ื ใดที่มีความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัยตอ่ การใช้งาน
๓. จัดใหม้ กี ารบารุงรกั ษาอปุ กรณ์ป้องกันอันตราย และอุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภยั ส่วน
บุคคลตามมาตรฐานท่ผี ูผ้ ลติ กาหนด และจดั ใหม้ ีการตรวจสอบสภาพของอปุ กรณใ์ หม้ ีความปลอดภัยก่อนการใช้
งานทกุ ครัง้ และต้องมีสาเนา เอกสารดังกล่าวไว้ให้พนักงานตรวจความปลอดภยั ตรวจสอบได้

10
หมวด 2 การปอ้ งกนั อนั ตรายจากการตกจากที่สงู และทล่ี าดชนั
1. ต้องจดั ให้มนี ั่งร้าน กรณีท่ีนายจา้ งให้ลกู จ้างทางานในที่สูง
2. ต้องจัดทาราวกนั้ หรือรวั้ กันตก ตาขา่ ยนริ ภยั จัดให้มีการใช้เขม็ ขดั นริ ภยั และเชือกนริ ภยั หรือ
สายชว่ ยชวี ิตพรอ้ มอุปกรณ์ตลอดระยะเวลาทล่ี กู จ้างทางานในที่สูงต้ังแต่ 4 เมตรขึ้นไป
3. จัดทาฝาปดิ ที่แข็งแรง ราวกน้ั ร้ัวกนั ตก หรอื แผงทึบ พรอ้ มทัง้ ติดป้ายเตือนอันตราย หากมี
ปลอ่ งหรอื ชอ่ งเปิดต่างๆ ซ่งึ อาจทาใหล้ ูกจ้างพลัดตก
4. มใิ ห้ลกู จ้างทางานในท่ีสงู นอกอาคารหรือพ้ืนทเ่ี ปิดโลง่ ในขณะท่มี ีพายลุ มแรง ฝนตกหรอื ฟา้
คะนอง เว้นแต่ มีเหตจุ าเปน็ ที่จะต้องใหล้ กู จ้างทางานเพ่อื ให้เกดิ ความปลอดภัย หรือบรรเทาเหตอุ ันตรายท่ี
เกิดข้ึน โดยต้องจดั ใหม้ ีมาตรการเพ่ือความปลอดภยั ของลูกจา้ ง
หมวด 3 การปอ้ งกันอันตรายจากวสั ดุกระเดน็ ตกหลน่ และพังทลาย
๑. ต้องกาหนดเขตอนั ตรายในบรเิ วณพ้ืนท่ีที่อาจมีการกระเดน็ ตกหล่น หรอื พังทลายของวัสดุ
สง่ิ ของ และตดิ ป้ายเตือนอนั ตรายบริเวณพืน้ ทดี่ ังกลา่ ว พร้อมทัง้ จัดให้มีมาตรการควบคมุ ดูแลเพอื่ ใหเ้ กดิ ความ
ปลอดภยั จนกวา่ งานจะแล้วเสรจ็
๒. ต้องจดั ให้มมี าตรการควบคมุ ดูแลเพือ่ ให้เกิดความปลอดภยั แกล่ กู จา้ งตลอดระยะเวลาการ
ทางานบริเวณใกลเ้ คยี งหรือทางานในสถานท่ีที่อาจมกี ารกระเด็น ตกหล่น หรอื พงั ทลายของวัสดสุ ่ิงของ
๓. จดั ทาผนังกนั้ คา้ ยนั หรือใช้วิธกี ารอน่ื ใดที่สามารถป้องกันอนั ตรายจากการพงั ทลายท่ีอาจ
เกิดขนึ้ จากการให้ลูกจา้ งทางานในทอ่ ชอ่ ง โพรง บ่อ หรอื สถานทอ่ี ืน่ ใดที่อาจเกิดการพงั ทลายได้
หมวด 4 การป้องกันอันตรายจากการตกลงไปในภาชนะเก็บหรือรองรบั วัสดุ
1. ตอ้ งจดั ให้มีสิ่งปดิ กัน้ ที่มั่นคงแข็งแรง จดั ทาราวกนั้ หรือรัว้ กันตกที่มั่นคงแข็งแรงล้อมรอบ
ภาชนะเก็บหรือรองรับวัสดุ เชน่ ถัง บอ่ กรวย เพ่ือปอ้ งกนั การพลดั ตกลงไปของลูกจา้ ง หากไม่อาจดาเนินการ
ได้ นายจา้ งต้องจดั ให้ลกู จ้างสวมใส่เขม็ ขัดนิรภยั และเชือกนิรภัยหรือสายช่วยชวี ิตตลอดระยะเวลาการทางาน
2. มิให้ลกู จา้ งทางานบนภาชนะเกบ็ หรือรองรบั วสั ดุ เชน่ ถัง บ่อ กรวย ภาชนะหรอื สิง่ อ่ืนใดที่
มีลักษณะเดียวกันทลี่ กู จ้างอาจพลัดตกลงไปได้ เวน้ แต่นายจ้างได้จัดให้มีส่ิงปิดกั้นจัดทาราวก้ันหรอื รวั้ กนั ตก
หรือส่งิ ป้องกันอ่นื ใดที่มนั่ คงแขง็ แรงเหมาะสมกบั สภาพของการทางานหรือจดั ให้ลูกจา้ งสวมใสเ่ ขม็ ขัดนริ ภัยและ
เชอื กนิรภยั หรอื สายชว่ ยชวี ติ ตลอดระยะเวลาการทางาน หากลูกจา้ งต้องทางานในภาชนะเกบ็ หรือรองรับวัสดุ
ต้องใหล้ ูกจ้างสวมใส่เขม็ ขดั นิรภัยและเชือกนริ ภัยหรอื สายชว่ ยชีวิตตลอดระยะเวลาการทางานดว้ ย

หากลกู จ้างต้องทางานบนภาชนะเก็บหรือรองรับวัสดทุ มี่ ีความสูงตงั้ แต่ 4 เมตรขนึ้ ไป ตอ้ ง
จัดให้มสี ง่ิ ปิดกนั้ จดั ทาราวกน้ั หรอื รวั้ กันตก หรือสิ่งป้องกนั อน่ื ใดที่มัน่ คงแข็งแรงเหมาะสมกับสภาพของการ
ทางาน และต้องให้ลูกจา้ งสวมใสเ่ ขม็ ขัดนริ ภัยและเชอื กนิรภยั หรือสายช่วยชวี ิตตลอดระยะเวลาการทางานด้วย

ส่งิ ท่ี ปณท ตอ้ งปฏิบัติ
เพอื่ ดาเนินการให้เป็นไปตามกฎกระทรวงฉบบั ดงั กลา่ ว ในกรณีท่ี ปณท มสี ถานท่ที ่ีมีอนั ตราย
เสีย่ งต่อการตกจากทสี่ ูงและท่ีลาดชนั จากวัสดุกระเด็น ตกหลน่ และพังทลาย และจากการตกลงไปในภาชนะ
เกบ็ หรอื รองรบั วัสดุ ในฐานะนายจา้ ง ปณท จึงมีหนา้ ทต่ี ้องปฏบิ ัติตามมาตรฐานในการบริหารจดั การ และ
ดาเนนิ การดา้ นความปลอดภัยอาชวี อนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานในสถานทด่ี ังกลา่ วตามที่กาหนดไว้
ในกฎกระทรวง หรอื กากับดูแลผู้รบั เหมาช้นั ตน้ หรือผรู้ บั เหมาช่วงตอ้ งปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงฯ ฉบับน้ี

11
หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง : ฝ่ายความปลอดภยั อาชวี อนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (คป.)
พิจารณาจดั ทาข้อบังคบั หรือมาตรการด้านความปลอดภยั ในสถานท่ที ีม่ ีอนั ตรายจากการตกจากท่สี งู และท่ีลาด
ชัน จากวัสดกุ ระเดน็ ตกหลน่ และพังทลาย และจากการตกลงไปในภาชนะเก็บหรือรองรับวสั ดุให้สอดคล้องกบั
กฎกระทรวง ฝ่ายก่อสร้างและบารงุ รักษา (กร.) และหน่วยงานในสงั กดั ของ ปณท ทมี่ ีผ้ปู ฏิบัตงิ านซง่ึ ตอ้ งทางานใน
สถานท่ีทีม่ ีอันตรายเส่ยี งต่อการตกจากท่สี งู และทีล่ าดชัน จากวสั ดุกระเดน็ ตกหลน่ และพังทลาย และจากการ
ตกลงไปในภาชนะเก็บหรือรองรับวสั ดุ เชน่ ฝา่ ยงานท่ดี ูแลคลงั พัสด/ุ ส่งิ ของของ ปณท ทมี่ ีการเรียงพัสดสุ ิ่งของ
ในชั้นสงู เสย่ี งตอ่ การหลน่ พังทลายได้ ควรถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงดงั กลา่ วเป็นแนวทางควบคุมไมใ่ หเ้ กดิ
อบุ ัติเหตุหรอื ความเสียหายต่อชีวติ และทรพั ย์สนิ
แนวทางการปฏิบัติ : หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องควรดาเนินการ ดงั นี้
1. จัดทาข้อบงั คับและขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ านเพื่อความปลอดภยั ในการทางานฯ และอบรม
ชี้แจงใหผ้ ู้ปฏบิ ัติงานทราบก่อนเร่มิ ปฏบิ ัตงิ าน
2. ปฏบิ ตั ิตามรายละเอยี ดคุณลักษณะ และคู่มือการใช้งานอปุ กรณ์ป้องกนั อันตรายจากการตก
จากทีส่ งู และท่ลี าดชนั จากวัสดกุ ระเด็น ตกหลน่ หรอื พังทลาย และจากการตกลงไปในภาชนะเกบ็ หรือรองรบั
วัสดุ ที่ผู้ผลติ กาหนดไว้ ในการประกอบ การติดต้ัง การตรวจสอบ และใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภยั สว่ น
บคุ คลให้มีมาตรฐานเหมาะสมกบั สภาพของการทางานฯ เช่น เขม็ ขัดนริ ภยั เชือกนริ ภยั หรือสายช่วยชีวติ หมวก
นริ ภัย รองเท้าชนิดหุ้มสน้ พน้ื ยาง หรอื ถุงมือ และดูแลใหผ้ ู้ปฏิบตั ิงานใชอ้ ุปกรณ์นนั้
3. บารงุ รกั ษาอุปกรณป์ ้องกนั อนั ตรายและอปุ กรณ์คุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบุคคลตาม
มาตรฐานท่ผี ผู้ ลติ กาหนดและตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ใหม้ คี วามปลอดภัยก่อนการใช้งานทุกครง้ั
4. ดาเนินการป้องกันอันตรายจากการตกจากท่สี งู และทลี่ าดชัน เชน่ การจัดใหม้ นี ัง่ รา้ นท่ี
เหมาะสมกบั สภาพของการทางานแก่ผปู้ ฏิบัติงานทีต่ อ้ งทางานในท่ีสงู หรอื บนทีล่ าดชัน จัดทาราวกั้นหรือร้ัวกนั
ตก ตาข่ายนริ ภัย จดั ให้มีการใช้เขม็ ขดั นริ ภัยและเชือกนริ ภัยหรือสายชว่ ยชวี ิต สารวจปลอ่ งหรือช่องเปิดต่างๆ
ทีอ่ าจทาใหผ้ ้ปู ฏิบตั งิ านพลัดตก แล้วจัดทาฝาปดิ ที่แขง็ แรง ราวกนั้ รัว้ กนั ตก หรอื แผงทึบพรอ้ มท้งั ตดิ ป้ายเตือน
อนั ตราย ตอ้ งดูแลการตั้งบันไดให้ลกู จ้างท่ตี ้องใช้บนั ไดไตช่ นิดเคล่ือนยา้ ยได้เพอื่ ทางานในทีส่ งู
5. ดาเนินการป้องกนั อนั ตรายจากวสั ดุกระเดน็ ตกหลน่ และพงั ทลาย เช่น จดั ให้มรี าง ปล่อง
เครื่องจักร หรืออุปกรณ์ทีเ่ หมาะสมในการลาเลยี งวัสดสุ ่ิงของขึ้นหรือลงจากที่สูง หรอื ลาเลียงวัสดสุ งิ่ ของบนที่
สงู เพ่อื ป้องกันอนั ตรายจากวสั ดสุ ิง่ ของกระเด็นหรือตกหล่น
6. ต้องกาหนดเขตอนั ตรายในบริเวณพนื้ ทีท่ ี่อาจมีการกระเดน็ ตกหลน่ หรอื พังทลายของวัสดุ
ส่งิ ของ และติดปา้ ยเตือนอันตรายบรเิ วณพื้นทด่ี ังกล่าว พร้อมทง้ั จดั ให้มีมาตรการควบคมุ ดแู ลเพ่ือให้เกิดความ
ปลอดภัยจนกว่างานจะแล้วเสร็จ
7. ตอ้ งจดั ทาขอบกนั ของตกหรอื มาตรการป้องกันอนื่ ใดทีเ่ หมาะสมกับสภาพของการทางาน
หากมีวสั ดุสิง่ ของอยูบ่ นท่สี งู ท่ีอาจกระเดน็ ตกหล่น หรอื พังทลายลงมาได้
8. สารวจการจัดเรียงวสั ดุส่งิ ของใหเ้ กดิ ความมนั่ คงปลอดภัย ดว้ ยการทาผนังก้นั หรือใช้วิธีการ
อ่นื ใดบรเิ วณที่เกบ็ หรือกองวัสดุส่งิ ของท่ีอาจทาใหเ้ กิดอนั ตรายจากการตกหล่น หรอื พังทลายของวสั ดุสิง่ ของนั้น
หากมกี ารเคล่ือนยา้ ยวัสดสุ ่งิ ของต้องจัดใหม้ ีมาตรการปอ้ งกันอนั ตรายจากการตกหลน่ หรอื พังทลายของวสั ดุ
สงิ่ ของทจ่ี ะทาการเคล่ือนย้ายน้นั ดว้ ย
9. จดั ทาผนังกัน้ ค้ายนั หรอื ใชว้ ธิ กี ารอื่นใดทส่ี ามารถป้องกันอันตรายจากการพังทลายท่ีอาจ
เกดิ ขนึ้ จากการใหล้ ูกจา้ งทางานในทอ่ ช่อง โพรง บ่อ หรอื สถานทีอ่ ่ืนใดท่ีอาจเกิดการพังทลายได้
ระยะเวลาบังคบั ใชก้ ฎหมาย : วนั ที่ 3 มนี าคม 2564

12
ท้ังนี้ กฎกระทรวงฯ ทง้ั ๓ ฉบับขา้ งตน้ ลก. จะได้จดั ส่งให้ กร. ทราบและพิจารณาดาเนนิ การ
ในสว่ นท่เี ก่ยี วข้องต่อไป

4. กฎกระทรวง การข้นึ ทะเบียนและการอนุญาตให้บรกิ ารเพื่อสง่ เสริมความปลอดภัย อาชี
วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๔

มสี าระสาคญั สรุปไดพ้ อสังเขบดังน้ี
กาหนดประเภทการให้บริการดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน โดยแบง่ เปน็ 3 ประเภท ดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) การตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ และรับรอง
(๒) การประเมนิ ความเสยี่ ง
(๓) การจดั ฝกึ อบรมหรือให้คาปรกึ ษา
ซึ่งจะดาเนินการโดยวิธีการทางอเิ ล็กทรอนิกส์เป็นหลัก แตใ่ นระหว่างทีย่ งั ไมส่ ามารถ
ดาเนนิ การโดยวิธดี งั กลา่ ว ใหด้ าเนินการโดยวธิ กี ารทางไปรษณียไ์ ปพลางกอ่ น ไดแ้ ก่ การยื่นคาขอขึ้นทะเบยี น
การข้นึ ทะเบียน การออกใบสาคัญ การออกใบแทนใบสาคัญ การยนื่ คาขออนญุ าต การอนุญาต การขอต่ออายุ
ใบอนญุ าต การออกใบแทนใบอนญุ าต การแจ้งหรอื การรายงาน
หมวด 1 การข้ึนทะเบียนและการอนุญาต
ผูป้ ระสงค์จะขอขน้ึ ทะเบยี นเปน็ ผใู้ หบ้ ริการดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และ
สภาพแวดลอ้ มในการทางานในกรณีบคุ คลธรรมดาหรอื นติ ิบุคคลจะต้องมีคณุ สมบัติตามท่ีกาหนด และผู้ขอขน้ึ
ทะเบยี นหรือขออนญุ าตตอ้ งจัดให้มอี ปุ กรณแ์ ละสถานท่สี าหรบั การตรวจวดั ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง
ประเมินความเสี่ยง และจัดฝึกอบรมหรือให้คาปรกึ ษา เพ่ือสง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานตามมาตรฐานที่กาหนดในกฎกระทรวงตามประเภทของงานท่ขี อขึ้นทะเบียนหรอื
ขออนญุ าตดว้ ย โดยให้ยน่ื คาขอต่ออธบิ ดีพร้อมดว้ ยขอ้ มูล เอกสาร หรอื หลักฐานตามที่กาหนดไวใ้ น
กฎกระทรวงข้อ 10 หรอื 11 แลว้ แตก่ รณีอธบิ ดีจะตรวจสอบคาขอ ดังกลา่ ว รวมทั้งข้อมูล เอกสาร และ
หลกั ฐานวา่ มคี วามถูกต้องและครบถว้ นหรือไม่
ผลการพจิ ารณา
คาสง่ั ขนึ้ ทะเบยี นหรืออนุญาต : กรณผี ู้ขอขึ้นทะเบียนหรือผู้ขอรับใบอนญุ าตมคี ุณสมบัติและมี
อุปกรณห์ รือสถานที่ที่พรอ้ มในการใหบ้ รกิ าร โดยจะมหี นังสือแจง้ ผู้ขอฯ ทราบภายใน 7 วนั นบั แตว่ ันท่มี คี าสงั่
ดงั กล่าว และให้ผูข้ อขึ้นทะเบียน หรือผขู้ อรบั ใบอนญุ าตชาระคา่ ธรรมเนียมภายใน 30 วันนับแตว่ ันทีไ่ ดร้ ับ
หนังสอื แจ้งดงั กลา่ ว
คา่ ธรรมเนยี ม มดี ังต่อไปนี้
(๑) ใบอนุญาต ฉบบั ละ ๒๐,๐๐๐ บาท
(๒) ใบสาคัญ ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท
(๓) ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ ๕๐๐ บาท
(๔) ใบแทนใบสาคญั ฉบบั ละ ๕๐๐ บาท
(๕) การต่ออายุใบอนุญาต ครั้งละเท่ากบั ค่าธรรมเนยี มใบอนุญาต
วิธกี ารใหบ้ ริการ ผรู้ บั ใบสาคัญหรอื ผ้รู ับใบอนุญาตต้อง...
(๑) ตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง ประเมนิ ความเสยี่ ง และจดั ฝกึ อบรมหรือให้
คาปรึกษาเพื่อสง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานที่
กาหนดในกฎกระทรวง และมาตรฐานของวชิ าชีพทเ่ี กย่ี วข้องกับการให้บริการ
(๒) จดั เตรียมอุปกรณ์และสถานทใี่ ห้มคี วามพร้อมตลอดเวลาทมี่ ีการดาเนินการให้บริการ

13

(๓) ไมเ่ ปดิ เผยความลบั ของผู้รับบริการซ่ึงล่วงรหู้ รอื ไดม้ าจากการใหบ้ ริการ
(๔) จดั ทาค่าบริการท่ีกาหนดรายละเอียดของคา่ ใชจ้ ่ายในการให้บรกิ ารและค่าตอบแทนที่
ไดร้ บั เสนอต่อผูร้ บั บรกิ ารกอ่ นการให้บรกิ าร
(๕) ในกรณีเป็นการใหบ้ ริการการตรวจวดั ตรวจสอบ ทดสอบ และรับรอง หรือการประเมิน
ความเสีย่ ง

ให้สง่ รายงานสรปุ ผลการใหบ้ รกิ าร พร้อมด้วยเอกสารหรือหลักฐานตามที่อธิบดี
ประกาศกาหนดต่ออธบิ ดีภายใน 30 วันนบั แต่วนั ที่เสรจ็ สิ้นการให้บริการ

(๖) ในกรณเี ป็นการใหบ้ ริการจัดฝึกอบรมหรือใหค้ าปรกึ ษา
ใหแ้ จง้ กาหนดการใหบ้ ริการแตล่ ะครั้ง ก่อนการใหบ้ ริการไม่น้อยกว่า 7 วัน และ

รายงานสรปุ ผลการให้บรกิ ารพรอ้ มด้วยเอกสารหรือหลกั ฐาน ตามท่อี ธบิ ดปี ระกาศกาหนดตอ่ อธบิ ดีภายใน 30
วันนบั แตว่ นั ท่เี สร็จสิ้นการใหบ้ ริการ

สง่ิ ที่ ปณท ตอ้ งปฏบิ ัติ
ในกรณีที่ ปณท มีการดาเนินงานด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการ
ทางาน ท้ังในสว่ นของการตรวจวัด ประเมนิ ผล การจดั อบรมจะต้องใชบ้ ริการจากบคุ คลที่ได้รับการขน้ึ ทะเบยี น
หรอื หน่วยงานที่ได้รบั อนุญาตเป็นผู้ใหบ้ รกิ ารดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการ
ทางานตามกฎกระทรวงน้ี
หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้อง : ฝา่ ยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(คป.) สานักงานไปรษณีย์นครหลวง (ปน. และ ศน.) สานกั งานไปรษณีย์เขต (ปข.)
แนวทางการปฏิบัติ : หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องควรดาเนนิ การ ดงั น้ี
ในกรณีหนว่ ยงานต้องดาเนนิ การตรวจวดั ประเมินผล การจดั อบรมเกย่ี วกับงานด้านความ
ปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานตา่ ง ๆ กับหน่วยงานใดจะตอ้ งตรวจสอบกับกรม
สวสั ดกิ ารและคุม้ ครองแรงงานก่อนว่าเป็นบุคคลท่ีได้รบั การขนึ้ ทะเบยี นหรือหน่วยงานที่ได้รับอนญุ าตเป็นผู้ให้
บริการฯ ถูกต้องตามกฎกระทรวงน้ีหรอื ไม่ และใช้บริการจากหน่วยงานเหล่านนั้ เพ่อื เป็นการส่งเสริมใหผ้ ใู้ ห้
บรกิ ารดาเนินการข้ึนทะเบยี นหรอื ได้รับอนญุ าตถกู ต้องตามกฎหมายและอยู่ในระบบทะเบยี นของหน่วยงานรัฐ
ทสี่ ามารถตรวจสอบได้มากขึ้น
ระยะเวลาบังคบั ใช้กฎหมาย : วันท่ี 27 กันยายน 2564
ประเด็นท่ีเสนอ : เพ่อื ทราบ
มตทิ ปี่ ระชมุ ............................................................................................................................. ...
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

4.4 เรื่อง ข้อมลู ความรู้เก่ียวกับการปฏบิ ัตติ นเมื่อต้องปฏิบตั ิงานกลางแจ้ง
เนอ่ื งดว้ ยในปจั จบุ นั เข้าส่ฤู ดรู ้อนซ่งึ สภาพอากาศจะรอ้ นอบอา้ ว ประกอบกับอุณหภูมิความรอ้ น

ของอากาศมีแนวโนม้ เพ่มิ สูงขึ้น โดยทีผ่ ปู้ ฏบิ ัติงานของ ปณท บางกลุ่มต้องออกไปปฏบิ ตั ิหนา้ ทีภ่ ายนอกท่ีทา
การ อาทิ งานลกู คา้ สัมพนั ธ์ งานรับฝากนอกที่ทาการ งานนาจา่ ย งานไขตู้ไปรษณยี ์ ซึง่ มีความสุม่ เสยี่ งตอ่ การ
เกดิ โรคลมแดด (Heat Stroke) ได้

14

คป. จงึ ได้จดั ทาบันทกึ ท่ี ปณท คป. (ผป.)/๐๔๒ ลงวนั ท่ี ๗ เมษายน ๒๕๖๔ เรือ่ ง ข้อมูลความรู้
เกีย่ วกบั การปฏบิ ัตติ นเมอ่ื ต้องปฏบิ ตั งิ านกลางแจ้ง แจง้ เวียนใหท้ ุกหนว่ ยงานแจ้งผู้ปฏบิ ัติงานในสงั กดั ไดท้ ราบและ
ใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏิบตั ติ นไดอ้ ย่างเหมาะสมเมื่อต้องออกไปปฏิบตั ิงานภายนอกท่ีทาการ (เอกสารแนบ ๓)

ประเด็นทีเ่ สนอ : เพอื่ ทราบ
มตทิ ่ีประชุม ............................................................................................................................. ...
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

วาระท่ี 5 เร่อื งทเ่ี สนอให้ท่ีประชุมพิจารณา
5.1 ร่างคมู่ ือความปลอดภัยในการทางาน
ตามคาสั่ง ปณท ที่ ๕๒ (คป)/๒๕๖๒ เรอ่ื ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามยั

และสภาพแวดล้อมในการทางาน ประจา ปณท ส่ัง ณ วนั ที่ ๑๓ กนั ยายน ๒๕๖๒ กาหนดให้คณะกรรมการฯ
มหี นา้ ทพี่ ิจารณาข้อบังคับและคูม่ ือว่าด้วยความปลอดภัยในการทางาน รวมท้ังมาตรฐานด้านความปลอดภยั ใน
การทางานของ ปณท นัน้

คป. จึงไดจ้ ดั ทารา่ งคู่มือความปลอดภยั ในการทางานขึ้นมาเพอื่ เผยแพร่ความรู้ และแนะนา
แนวทางในการปฏิบตั งิ านอยา่ งปลอดภยั เพราะความปลอดภัยช่วยลดความสูญเสีย ลดตน้ ทุนการผลิต และ
เสรมิ สรา้ งสวัสดภิ าพอนั ดีแกผ่ ู้ปฏิบตั ิงานทุกคน (เอกสารแนบ ๔)

ประเด็นท่เี สนอ : เพ่ือพจิ ารณา
มตทิ ป่ี ระชมุ ............................................................................................................................. ...
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

วาระที่ 6 เร่ืองอนื่ ๆ

มาตรการเตรียมรถก่อน
ตรวจเช
ตรวจเช็ค ระบบหล่อ
นา้ มันเคร่ือง
ตรวจเช็ค
แบตเตอรี่

ตรวจเช็ค
ระบบไฟส่ อง

ตรวจเช็คล้อ
และยาง

นเดินทางของไปรษณีย์
ช็ค ตรวจสภาพตู้
อเยน็

ตรวจเช็ค ตรวจเช็ค
ระดบั นา้ มัน ระบบไฟท้าย

จัดทำโดย ฝ่ ำยอำชวี อนำมยั ควำมปลอดภยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน

มาตรการเตรียมรถก่อน
ตรวจเช็ค
ระบบหล่อเย
ตรวจเช็ค
แบตเตอรี่

ตรวจเช็ค ตรวจเช็ค
ระบบไฟส่ อง นา้ มันเครื่อง

นเดินทางของไปรษณีย์

ยน็ ตรวจสภาพตู้

ตรวจเช็ค
ระบบเทลเกต

ตรวจเช็ค
ระบบไฟท้าย

ตรวจเช็คล้อ ตรวจเช็ค
และยาง ระดบั นา้ มนั

จัดทำโดย ฝ่ ำยควำมปลอดภัย อำชวี อนำมัยและสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน

!อย่าลืม สวมหมวกกนั น๊อค โดยจากการสารวจพ

ความรุนแรงการบาดเจบ็ ทศ่ี ีรษะลง 72% และลดอตั

มาตรการเตรียมรถก่อนเด

1.เช็คสัญญาณไฟหน้า ไฟท้ายและ
แตร ให้ใช้งานได้ปกติ

2.ลองเช็คระบบเบรกท้งั หน้า-
หลงั เช็คระบบเบรคให้อย่ใู น

ระดับทก่ี าหนด

3.เช็คระยะฟรีคลทั ช์ดูว่าเมื่อบีบ 4.เช็คสภาพยาง ลมยาง
แล้วเข้าเกยี ร์ได้นุ่มนวลเป็ นปกติ เกณฑ์ทกี่ าหนด

พบว่า หมวกกนั นิรภัยสามารถลด
ตราการเสียชีวติ ได้ 39%*

ดินทางของไปรษณีย์

7.เช็คระดบั นา้ มนั รถ

6.เช็คน๊อต ขนั น๊อตให้แน่นทกุ ตัว
บนรถ

งให้อย่ใู น 5.เช็คระดบั นา้ มนั เครื่องให้อยู่
ด ระดบั กลางของก้านวดั หากถงึ

จัดทำโดย หนว่ ยงำนควำมปลอดภัย อำชวี อนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน

มาตรการเตรียมรถก่อน

ตรวจเช็คทน่ี ่ัง

ตรวจเช็ค
แบตเตอรี่

ตรวจเช็ค ตรวจ
ระบบไฟท้าย ระดบั น

ตรวจเช็ค
นา้ มนั เคร่ือง

นเดินทางของไปรษณีย์
ตรวจเช็ค
ระบบหล่อเยน็
ตรวจสภาพ
หน้ารถ
ตรวจเช็ค
จเช็ค ระบบไฟส่อง
นา้ มัน ตรวจเช็คล้อ
และยาง
จัดทำโดย ฝ่ ำยควำมปลอดภัย อำชวี อนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน

สถติ ิการประสบอนั ตรายอันเนอ่ื งจากการทำ
และผรู บั จา งทำของ (จางเหมา) ของ

ลำดบั ว/ด/ป ชือ่ – สกุล ตำแหนง กลุมงาน สังกดั

1 2 ม.ี ค. 64 นายโสภณ โชตยิ านนท พนกั งาน สง ตอ ศฝ.แจงวฒั นะ นาย
(13.30 น.) พปท.3 ปน.1 พิเศ
เลีย้
2 4 มี.ค. 64 นายวนั เฉลมิ มาตรดว ง ลกู จาง นำจาย ปณ.ปากเกรด็ นาย
(15.30 น.) ปน.1 ไดข
รบั จ
3 11 ม.ี ค. 64 น.ส.นันทิชา แฟมไธสง ผรู บั จางทำของ สง ตอ ศป.ลส. น.ส
(16.30 น.) (09.00 - 17.00 น.) (จา งเหมา) ศน. ลงท

เคร
นาง
รอย
ปมุ ห

4 25 ม.ี ค. 64 นายอรรถศักด์ิ แนวพะนา ลูกจา งประจำ นำจาย ปจ.ระยอง นาย
(13.00 น.) จนจ. ปข.2 ขณ
หลกั
5 26 ม.ี ค. 64 นายเจชานนท แยม พลาย ลูกจาง นำจา ย ปณ.นนทบรุ ี นาย
(14.00 น.) ปน.1 sam
มาเ
6 29 มี.ค. 64 นายรณชัย พลสีลัง พนักงาน นำจา ย ปณ.ดา นขุนทด นาย
(17.00 น.) พนจ.3 ปข.3 รถย
คนข
ไดร

7 31 มี.ค. 64 น.ส.กาลชญาภคั เครอื แตง พนกั งาน นำจาย ปณ.ปทุมธานี น.ส
(11.00 น.) พนจ.3 ปน.2 ถูกร

ำงานของพนกั งาน ลกู จา งประจำ ลูกจา ง เอกสารแนบ 2
ง ปณท ประจำเดือนมีนาคม ๒๕๖๔

สาเหตุ ลักษณะการบาดเจ็บ จำนวน ปจ จัย
วนั หยุดงาน ปจจยั
ยโสภณฯ ไดขับรถยกไฟฟาเขามาในพ้ืนท่ี ศป.ดวน ทายทอย กลางหลงั ภายใน
ศษกรงุ เทพ เพ่อื รบั -สง มอบเมล ขณะปฏิบัติหนา ทไ่ี ด และขาชา -

ยวรถยกไฟฟา กะทันหนั ทำใหพลัดตกจากรถยกไฟฟา
ยวันเฉลิมฯ ปฏบิ ัตหิ นาที่นำจา ยไปรษณียด ว นพิเศษ มีบาดแผลถลอกตาม ไมไดห ยุดงาน ปจ จัย
ขบั ขี่รถจักรยานยนตไปเฉ่ยี วชนกับรถจกั รยานยนต รา งกาย ภายนอก
จาง
ส.นันทิชาฯ ปฏบิ ตั งิ านแผนกไปรษณียภณั ฑ นวิ้ มือดา นขวา จำนวน หยุดงาน 1 ปจจยั
ทะเบยี น ขณะทนี่ ำไปรษณียภัณฑสแกนบารโคดเขา ๓ นิ้ว (นิว้ กลาง นวิ้ นาง วัน ภายใน
ร่ืองคดั แยก (Cross belt sorter) นิว้ มอื ของ นิ้วกอย)
งสาวนันทซิ าฯ ถกู เครื่องคดั แยกดดู เขาไปบรเิ วณ
ยตอ ของสายพานลำเลยี ง โดยผพู บเหตุการณไ ดกด
หยุดฉกุ เฉิน และดงึ นวิ้ มีออกจากเครือ่ งคัดแยก

ยอรรถศักดิ์ฯ ปฏบิ ตั ิหนา ท่ีนำจา ยไปรษณียดวนพเิ ศษ หลงั แขน และขา ไมไ ดหยดุ งาน ปจ จัย
ณะปฏบิ ัตหิ นาท่ีนำจาย ไดขบั ขี่รถจกั รยานยนตเสีย ภายใน
กชนทา ยรถยนตก ระบะ
ยเจชานนทฯ ปฏิบัติหนา ทนี่ ำจา ยไปรษณียด ว นพิเศษ ขาหกั - ปจจัย
me day ขณะปฏบิ ตั ิหนา ทีไ่ ดถกู รถจักรยานยนตขบั ภายนอก
เฉย่ี วชน
ยรณชยั ฯ ปฏิบัตหิ นาทนี่ ำจายสิ่งของชน้ิ ใหญ ไดขบั ไมไ ดร บั บาดเจบ็ ไมไ ดห ยดุ งาน ปจ จยั
ยนต ปณท ไปเฉี่ยวชนกบั รถจกั รยานยนตเปนเหตุให ภายนอก
ขบั รถจักรยานยนตไ ดร บั บาดเจ็บ และรถยนต ปณท
รับความเสียหาย - ปจจยั
ภายนอก
ส.กาลชญาภคั ฯ ขณะปฏิบตั ิหนา ท่ดี ว ยรถจกั รยานยนต ขาหัก กระดูกสะโพก
รถยนตขับมาชนทา ย หลดุ







ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน



คานา

บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (ปณท) ได้ตระหนักถึงควำมสำคัญของ
ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนของผู้ปฏิบัติงำนเป็นอย่ำงยิ่ง เน่ืองจำก
ควำมปลอดภัยเป็นปัจจัยสำคัญประกำรหน่ึงในกำรก้ำวสู่ควำมสำเร็จสูงสุด
ขององค์กร ดังนั้น ปณท จึงสนับสนุนให้มีมำตรกำรด้ำนควำมปลอดภัย
ควบคู่กับกำรปฏิบัติงำนของพนักงำน ทั้งน้ี เพรำะควำมปลอดภัยช่วยลด
ควำมสูญเสีย ลดต้นทุนกำรผลิต และยังเสริมสร้ำง สวัสดิภำพอันดี
แก่ผู้ปฏิบัติงำนทุกคน เพ่ือพัฒนำให้เป็นทรัพยำกรบุคคลที่มีคุณภำพ และ
สำมำรถตอบสนองนโยบำยกำรทำงำนได้อย่ำงเต็มประสิทธิภำพ ด้วยเหตุน้ี
ปณท โดยฝ่ำยควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัยและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน
จึงจัดทำคู่มือควำมปลอดภัยในกำรทำงำนขึ้นเพื่อเผยแพร่ควำมรู้ และแนะนำ
แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนอยำ่ งปลอดภยั

ปณท หวังเป็นอยำ่ งยิ่งว่ำคมู่ อื เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์กับผปู้ ฏบิ ัติงำน
ของ ปณท ทกุ คน

สารบญั หนำ้

1. กฎควำมปลอดภยั ท่วั ไป 1
1.1 คำจำกัดควำม 3-4
1.2 สำเหตขุ องอุบัตเิ หตุ
1.3 ผลกระทบจำกอุบัติเหตุ 5
1.4 มำตรกำรป้องกันอบุ ัติเหตุ 6-9
1.5 ขอ้ ห้ำมสำหรับยำเสพติดและเคร่ืองดม่ื มนึ เมำ 10-12
1.6 กฎในกำรปฏิบตั งิ ำนทั่วไป 13

2. ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนภำยในสถำนทท่ี ำงำน 15
2.1 ควำมปลอดภัยในกำรใช้ตู้เก็บแฟ้มเอกสำร 16
2.2 ควำมปลอดภัยบริเวณทำงเดินและบนั ได 17
2.3 ควำมปลอดภัยในกำรใชว้ สั ดสุ ำนักงำน 18
2.4 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกับคอมพิวเตอร์ 19-21
2.5 ควำมปลอดภยั ในกำรใชเ้ ครอื่ งถ่ำยเอกสำร

หน้ำ

2.6 ควำมปลอดภัยในกำรเคลื่อนยำ้ ยของ 22

2.7 ควำมปลอดภัยในกำรใช้เครือ่ งมือไฟฟำ้ /อปุ กรณ์ไฟฟ้ำ 23

2.8 กำรป้องกันอัคคีภัยและเคร่อื งดับเพลงิ 24

2.9 กำรปฐมพยำบำลฉกุ เฉิน 25

3. หลักควำมปลอดภัยในกำรทำงำนของผู้ปฏบิ ัตงิ ำนนำจำ่ ย 26

1

1. กฎแหง่ ความปลอดภยั ทว่ั ไป

1.1 คาจากัดความ
1.1.1 ภัย (Hazard) เป็นสภำพกำรณ์ซ่ึงมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิด
กำรบำดเจ็บต่อบุคคล หรือควำมเสียหำยต่อทรัพย์สินหรือวัสดุหรือ
ก ร ะ ท บ ก ร ะ เ ทื อ น ต่ อ ขี ด ค ว ำ ม ส ำ ม ำ ร ถ ใ น ก ำ ร ป ฏิ บั ติ ง ำ น ป ก ติ
ของบุคคล
1.1.2 อนั ตราย (Danger) ระดับควำมรนุ แรงทเี่ ป็นผลเนื่องมำจำกภัย
(Hazard) จะสงู มำกหรือน้อย ข้นึ อย่กู ับมำตรกำรในกำรปอ้ งกัน
1.1.3 ความเสียหาย (Damage) ควำมรุนแรงของกำรบำดเจ็บหรือ
ควำมสูญเสียทำงกำยภำพท่ีเกิดข้ึนต่อกำรปฏิบัติงำน หรือทำงด้ำน
กำรเงนิ
1.1.4 อุบัติเหตุ (Accident) เหตุกำรณ์ที่เกิดข้ึนโดยมิได้วำงแผนไว้
ล่วงหน้ำ ซ่ึงก่อให้เกิดกำรบำดเจ็บ พิกำร ตำย หรือทำให้ทรัพย์สิน
ได้รับควำมเสยี หำย

2

1 . 1 . 5 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย (Safety) ใ น ท ำ ง ท ฤ ษ ฎี ห ม ำ ย ถึ ง
“กำรปรำศจำกภัย” แต่สำหรับในทำงปฏิบัติอำจยอมรับได้ใน
ควำมหมำยทวี่ ำ่ “กำรปรำศจำกอันตรำย ที่มีโอกำสจะเกดิ ขึ้น”

3

1.2 สาเหตุของอุบัติเหตุ
1.2.1 สภาพการทางานทีไ่ มป่ ลอดภัย (Unsafe Conditions)
- เครื่องจักร เคร่ืองมือ อุปกรณ์ชำรุด ขำดกำรซ่อมแซมหรือ
บำรงุ รักษำ
- ควำมไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยและสกปรกในกำรจัดเก็บ
วัสดสุ งิ่ ของ
- สิ่งแวดล้อมในกำรทำงำนไม่เหมำะสม เช่น แสงสว่ำง
ไม่เพียงพอ กำรระบำยอำกำศไม่ดี เสียงดัง ฝุ่นละออง
ควำมรอ้ นสงู และไอระเหยของสำรเคมี เป็นต้น
- ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรำยจำกเคร่ืองจักรครอบป้องกัน
ส่วนท่ีเป็นอันตรำย หรือส่วนท่ีเคล่ือนไหวต่ำง ๆ เช่น
เฟือง โซ่ พูลเลย์ ฟลำยวีล ควำมร้อน ระบบไฟฟ้ำ หรือ
อปุ กรณ์ไฟฟำ้ ชำรุดบกพร่อง เปน็ ตน้
1.2.2 การกระทาทไี่ มป่ ลอดภยั (Unsafe Acts)
- กำรมีทัศนคติไม่ถูกต้อง เชน่ อุบตั ิเหตเุ ปน็ เร่ืองของเครำะห์
กรรมแกไ้ ขปอ้ งกันไม่ได้
- รเู้ ทำ่ ไมถ่ ึงกำรณ์ คำดกำรณผ์ ดิ ประมำทเลินเล่อ พลั้งเผลอ
เหมอ่ ลอย ขำดควำมระมัดระวัง
- เรง่ รีบ ลดั ขน้ั ตอน
- ไม่หยดุ เคร่ืองจักรกอ่ นซอ่ มแซมหรือบำรุงรักษำ

4

- ถอดอุปกรณ์ป้องกันอันตรำยจำกเคร่ืองจักรออกแล้ว
ไม่ใส่คืน
- หยอกลอ้ เลน่ กันระหว่ำงปฏบิ ตั ิงำน
- ไมส่ วมใส่อุปกรณ์ป้องกันอนั ตรำยส่วนบคุ คลในขณะทำงำน
ทอี่ ันตรำย
- สภำพร่ำงกำยไม่พร้อมหรือผิดปกติ เช่น ดื่มสุรำ เมำค้ำง
มปี ญั หำครอบครัว ใชส้ งิ่ เสพตดิ เป็นตน้
1.2.3 การขาดความรว่ มมือในเรือ่ งความปลอดภัย
- ไมร่ ว่ มกิจกรรมควำมปลอดภัย
- ไม่ปฏบิ ัตติ ำมกฎระเบียบของควำมปลอดภยั ในกำรทำงำน
- ไม่รำยงำนอบุ ัติเหตุ
- ขำดจติ สำนึกควำมปลอดภยั

5

1.3 ผลกระทบจากอบุ ัตเิ หตุ
1.3.1 ผลกระทบทางตรง (Direct Effect)
- อวยั วะ รำ่ งกำยไดร้ บั บำดเจ็บ เกิดบำดแผล
- เกิดเจบ็ ป่วยด้วยโรคจำกกำรประกอบอำชพี
- สญู เสยี อวัยวะ พกิ ำร สูญเสยี ชวี ติ
1.3.2 ผลกระทบทางอ้อม (Indirect Effect)
- ขำดงำน หยดุ งำน ทำใหข้ ำดรำยได้
- สูญเสียเวลำในกำรรักษำพยำบำล ค่ำใช้จ่ำย
- สูญเสียโอกำสในควำมกำ้ วหน้ำทำงกำรงำน
- หำกเกดิ ควำมพกิ ำรจะเพิม่ ภำระให้ครอบครัว
- สญู เสียโอกำสทำงสังคม
- หำกสูญเสียชวี ิตจะส่งผลกระทบตอ่ สมำชิกในครอบครวั
- องค์กรสูญเสียบุคลำกรท่ีมีควำมรู้ ควำมสำมำรถ ประเทศ
สูญเสียประชำกรที่มีค่ำ อันเป็นกำลังสำคัญในกำรพัฒนำ
ประเทศ

6

1.4 มาตรการปอ้ งกันอบุ ตั ิเหตุ
1.4. เครือ่ งจักรหรอื แหล่งกาเนิด (Source)
- ออกแบบเครื่องจกั รโดยคำนงึ ถงึ ควำมปลอดภยั เปน็ พ้ืนฐำน
- กำหนดพ้นื ท่ที ี่เปน็ เขตอนั ตรำย
- สรำ้ งสิง่ กัน้ ขวำงไม่ให้คนเขำ้ ใกลส้ ่วนทเ่ี ป็นอันตรำย
- ตดิ ตง้ั สวิตช์ไวใ้ นที่สะดวกต่อกำรทำงำน
- มีกำรตรวจรักษำและซ่อมบำรุงเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใชง้ ำน
เปน็ ประจำสม่ำเสมอ
1.4. ทางส่ือหรอื ทางผา่ น (Path)
- กำหนดข้ันตอนกำรทำงำนทีป่ ลอดภยั เป็นระเบยี บปฏิบตั ิ
- จัดสถำนท่ีทำงำนให้สะอำดเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย
- จดั เกบ็ เคร่ืองมอื วัสดุอปุ กรณ์ ไวใ้ นตำแหนง่ ทก่ี ำหนด
- ติดตั้งป้ำยหรอื สญั ญำณเตอื นอันตรำย
- ไม่วำงสิ่งของกีดขวำงทำงเดิน ประตูทำงเข้ำ ทำงออก
ฉุกเฉิน หรือเคร่อื งดบั เพลิง
- สรำ้ งฉำกเพอ่ื แยกส่วนพ้ืนท่ีเป็นพืน้ ท่ีอันตรำยแยกออกจำก
พน้ื ท่ปี ฏบิ ตั งิ ำน
1.4.3 ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน (Receiver)
- ถ้ำมีควำมกังวลที่เก่ียวกับงำน ผู้ปฏิบัติงำนควรปรึกษำ
หัวหน้ำงำน หรือผู้บังคับบัญชำ

7

- ไม่ทำงำนในที่ลับตำคนเพียงคนเดียวโดยไม่มีใครทรำบ
โดยเฉพำะกำรทำงำนหลงั เวลำทำงำนปกติ
- เข้ำรับกำรฝึกอบรมให้ควำมรู้ด้ำนควำมปลอดภัย
ในกำรทำงำนที่บริษัทจัดข้ึน
- ใช้อุปกรณ์คุ้มครองควำมปลอดภัยส่วนบุคคลที่จัดไว้
ให้ถกู ต้องและเหมำะสมกบั ลักษณะงำน

8

- สวมเครือ่ งแบบที่ถกู ตอ้ ง เรียบรอ้ ย เช่น
* ชำยเสอ้ื แขนเสอื้ ขำกำงเกง เขม็ ขัด ไมร่ มุ่ รำ่ ม
* ตดิ กระดมุ เสือ้ ทกุ เม็ดใหเ้ รียบรอ้ ย
* รวบผม หรือสวมหมวกคลุมผมให้เรียบร้อย
เมอื่ ทำงำนกบั เครื่องจกั ร
* ไมถ่ อดเส้อื ขณะทำงำน
* ไม่สวมเสื้อผ้ำที่เปียกน้ำหรือน้ำมัน เพรำะอำจ
ถกู ไฟดดู หรอื เป็นเชอื้ ไฟได้
* ไม่นำเคร่ืองมือท่ีมีควำมแหลมคมหรือสำรไวไฟ
ไวใ้ นกระเป๋ำชดุ ทำงำน
* ปฏิบัติตำมระเบียบและคู่มอื ปฏิบัตงิ ำนอยำ่ งเครง่ ครดั

9

1.4.4 การจดั สถานท่ที างานให้เป็นระเบียบ
- สถำนท่ีปฏิบัติงำนต้องปรำศจำกส่ิงท่ีจะก่อให้เกิดอันตรำย
ท่ีอำจจะเป็นอุปสรรคต่อกำรทำงำน และต้องไม่มีเศษขยะ
ครำบน้ำมนั และนำ้ บนพ้นื ในสถำนทที่ ำงำน
- ห้ำมจัดวำงวัสดุที่ง่ำยต่อกำรลุกไหม้ใกล้กับจุดติดต้ัง
หลอดไฟ หรือวัสดทุ ี่มคี วำมรอ้ นหรือแหล่งกำเนดิ ประกำยไฟ
- จัดทำงเดินให้โล่งหรือสำมำรถเข้ำไปยังที่ปฏิบัติงำน
ไดอ้ ย่ำงปลอดภัย
- ห้องน้ำตลอดจนสุขภัณฑ์ต่ำง ๆ ต้องอยู่ในสภำพที่สะอำด
และถูกสขุ ลักษณะ
- ไม่จดั เก็บอำหำรไว้ในสถำนที่ปฏบิ ตั งิ ำน

10

1.5 ข้อกาหนด/ข้อห้ามสาหรับเครือ่ งดืม่ มนึ เมา และยาเสพตดิ
- ห้ำมผู้อยู่ในสภำพมึนเมำเข้ำมำปฏิบัติงำนผู้ปฏิบัติงำนทุกระดับ
ต้องไม่ จำหนำ่ ย เสพ หรือมพี ฤติกรรมเกี่ยวข้องกบั ยำเสพตดิ
- ผบู้ งั คบั บัญชำทุกระดับ จะตอ้ งกระทำตนเปน็ แบบอยำ่ งทดี่ ีให้คำปรกึ ษำ
แนะนำชว่ ยเหลือผูป้ ฏิบตั งิ ำนที่มปี ญั หำ ทำกำรบำบดั รักษำและฟืน้ ฟู
ผู้ปฏิบัตงิ ำน ใหม้ แี นวทำงกำรดำเนนิ ชวี ิตทเี่ หมำะสม เพือ่ สุขภำพ
อนำมยั ท่ีดีข้นึ
- ผู้ปฏิบัติงำนมีบทบำทและมีส่วนร่วมในกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำ
ยำเสพติดในสถำนประกอบกิจกำร ร่วมกันสอดส่องดูและกำรกระทำท่ี
มีกำรจำหน่ำย เสพ หรือมีบุคคลท่ีมีพฤติกรรมน่ำสงสัย โดยแจ้งหรือ
ส่งข่ำวให้พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ พนักงำนฝ่ำยปกครอง หรือเจ้ำหน้ำที่
ตำรวจทรำบทันที
- ผู้ปฏิบัติงำนต้องให้ควำมร่วมมือ ในกรณีที่ ปณท จะทำกำร
สุ่มตรวจหำสำรเสพติดและหำกตรวจพบจะดำเนินกำรตักเตือนและ
สง่ ไปบำบัดรักษำทนั ที
- ปณท ได้กำหนดแนวทำงกำรดำเนินกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำ
ยำเสพติด โดยกำรสุ่มตรวจสอบผู้ปฏิบัติงำนเพ่ือหำสำรเสพติด
ในกรณีที่เห็นว่ำผู้ปฏิบัติงำนในสังกัดมีควำมเสี่ยงท่ีอำจจะใช้ยำเสพ
ติดหรือมีพฤติกรรมอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องกับยำเสพติด รวมท้ังกรณี
บคุ คลทจี่ ะรบั เข้ำปฏิบัติงำนเป็นผรู้ ับจ้ำงทำของ (จ้ำงเหมำ) ดงั น้ี

11

 การสุ่มตรวจสอบผู้ปฏิบัติงานเพ่ือหาสารเสพติด
หนว่ ยงำนอำจพิจำรณำจดั ให้มกี ำรตรวจปัสสำวะเพื่อหำ
สำรเสพติดของผู้ปฏิบัติงำนในสังกัดตำมที่เห็นสมควร
และเป็นไปด้วยควำมสมัครใจ ดงั น้ี
1. หน่วยงานในสานักงานใหญ่ สำมำรถตรวจได้
ณ สถำนพยำบำลไปรษณีย์ไทย 2 (หลักสี่) โดย
ประสำนงำนกับ สส. กำหนดวันเวลำในกำรเข้ำรับกำร
ตรวจปัสสำวะเพ่ือหำสำรเสพติด และรวบรวมสรุปผล
กำรตรวจสง่ คป. ภำยใน 15 วนั นบั แต่วนั ท่ที ำกำรตรวจ
2. ปน/ปข./ศน. ให้จัดหำหน่วยงำนภำยนอกเข้ำ
มำทำกำรตรวจปัสสำวะเพื่อหำสำรเสพติดหรอื ประสำน
กับโรงพยำบำลของรัฐหรือเอกชน และรวบรวมสรุปผล
กำรตรวจส่ง คป. ภำยใน 15 วนั นบั แตว่ ันทที่ ำกำรตรวจ
3. หน่วยงานในสังกัดของ ปน./ปข./ศน. หำกมี
เหตอุ นั สมควรจะสมุ่ ตรวจ ให้แจ้งควำมประสงคไ์ ปยังต้น
สังกัด (ปน./ปข./ศน.) เพื่อพิจำรณำ หำก ปน./ปข./
ศน. เห็นสมควรก็ให้จัดหำหน่วยงำนภำยนอกเข้ำมำ
ทำกำรตรวจปัสสำวะเพ่ือหำสำรเสพติดหรือประสำนกับ
โรงพยำบำลของรัฐหรือเอกชน และรวบรวมสรุปผล
กำรตรวจส่ง คป. ภำยใน 15 วนั นบั แตว่ นั ท่ที ำกำรตรวจ

12

 การรับบุคคลท่ีจะรับเข้าปฏิบัติงานเป็นผู้รับจ้าง
ทาของ (จ้างเหมา) ให้บุคคลดังกล่ำวแนบผลกำรตรวจ
ปัสสำวะเพ่ือหำสำรเสพติดซึ่งออกโดยโรงพยำบำล
ของรัฐ หรือโรงพยำบำลเอกชนมำแสดงว่ำไม่ได้มี
ส่วนเกี่ยวข้องกับยำเสพติด เว้นแต่กรณีกำรจ้ำงทำของ
(จ้ำงเหมำ) ทม่ี ีระยะเวลำไมเ่ กนิ 7 วัน ตอ่ กำรจำ้ ง 1 คร้ัง

13

1.6 กฎในการปฏิบตั งิ านท่ัวไป
- ก่อนและหลังปฏิบัติงำนกับเครื่องจักรและเคร่ืองมือต่ำง ๆ ต้อง
ตรวจสภำพควำมพร้อมใช้งำนเสมอ หำกตรวจพบควำมผิดปกติให้
หยดุ เครื่องจกั รทนั ทแี ละแจ้งใหห้ วั หนำ้ งำนทรำบ
- ห้ำมเคล่ือนย้ำยหรือถอดอุปกรณ์ป้องกันอันตรำยจำกเคร่ืองจักร
(Guard) ออกจำกเครอ่ื งจกั ร
- ปฏิบัติตำมระเบียบปฏิบัติ ป้ำยเตือน ป้ำยห้ำมต่ำง ๆ ที่ติดไว้
อย่ำงเคร่งครดั
- ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงำนโดยเด็ดขำด เพรำะอำจเกิด
อนั ตรำยได้
- เม่ือเกิดอุบัติเหตุหรือเหตุกำรณ์อันอำจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ ต้องแจ้ง
ใหห้ วั หนำ้ งำนหรอื เจำ้ หน้ำท่ีควำมปลอดภัยประจำหนว่ ยงำนทรำบทันที
- ต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองควำมปลอดภัยส่วนบุคคลท่ีกำหนด
ตำมลักษณะงำนเมอ่ื มกี ำรปฏบิ ตั ิงำนน้ันตลอดเวลำทป่ี ฏิบัติงำน
- เก็บรักษำเคร่ืองมือเครื่องใช้ให้เป็นหมวดหมู่ และเป็นระเบียบ
เรียบร้อย
- สูบบหุ ร่ใี นพน้ื ทีท่ ี่กำหนดให้เท่ำนัน้
- หำกทำงำนเก่ียวกับสำรเคมี ต้องล้ำงมือให้สะอำดก่อนรับประทำน
อำหำรทุกคร้ัง
- ห้ำมวำงสิ่งของกีดขวำงเคร่ืองดับเพลิง บันได ทำงหนีไฟ ทำงออก
ฉุกเฉนิ

14

- ในกรณีที่พนักงำนได้รับคำสั่งจำกแพทย์ให้ใช้ยำประเภทซ่ึงอำจ
ส่งผลกระทบต่อควำมสำมำรถในกำรทำงำน ให้แจ้งผู้บังคับบัญชำ
ทรำบทันที
- ไม่อนุญำตให้ใช้ทำงออกหรือประตูฉุกเฉินในสถำนกำรณ์ปกติ
- ห้ำมฉีดเคร่ืองดับเพลิงหรือกดสัญญำณแจ้งเหตุฉุกเฉินเล่น
โดยไม่มีเหตอุ ันควร
- ร่วมมือกันในกำรดำเนินกิจกรรม 5ส และดูแลรักษำควำมสะอำด
พืน้ ทีท่ ำงำน

15

2. ความปลอดภัยในการทางานภายในสถานท่ีทางาน

2.1 ความปลอดภัยในการใช้ตเู้ ก็บแฟม้ เอกสาร
- ปดิ ล้ินชักตู้เก็บแฟ้มเอกสำรทกุ ครัง้ ท่ีไม่ใช้
- ห้ำมเปดิ ลิน้ ชกั หลำย ๆ ชั้น ในเวลำเดียวกัน
- กำรจัดวำงตู้แบบมีลิ้นชักในลักษณะที่เม่ือใช้งำนต้องไม่เกะกะหรือ
กดี ขวำงทำงเดนิ ไมว่ ำงต้ตู ดิ ฝำพนังทีม่ ปี ลก๊ั ไฟ
- จัดใสเ่ อกสำรจำกชนั้ ลำ่ งสุดขน้ึ ไปเพื่อกำรถว่ งนำ้ หนัก
- จัดวำงตู้ให้ตดิ พื้นหรือผนงั เพ่ือควำมปลอดภัย
- ทุกคร้งั ท่ีจะเปดิ – ปดิ ลิ้นชกั ควรจับทีห่ ลู ิน้ ชัก
- หลกี เลีย่ งกำรใสแ่ ฟ้มในแตล่ ะช้ันท่ีมำกเกนิ ไป
- ห้ำมวำงสิ่งของหนกั ไว้บนตู้เก็บเอกสำร

16

2.2 ความปลอดภยั บริเวณทางเดินและบนั ได
- ทำควำมสะอำดพ้ืน ใหป้ รำศจำกน้ำ โคลน รอยเป้อื น
- เก็บเศษวัสดุต่ำง ๆ ออกจำกพ้ืน เพรำะไม่ว่ำจะเป็นเศษกระดำษ
ดนิ สอ หรอื ยำงลบ ก็สำมำรถเปน็ สำเหตใุ ห้ลนื่ หกลม้ ได้
- พ้ืนกระเบื้อง หรือพื้นขัดมันที่ล่ืนบริเวณทำงเดินหรือบันได
ควรตดิ วสั ดกุ นั ลื่น
- ตรวจสอบรำวบันไดใหอ้ ยใู่ นสภำพพรอ้ มใชง้ ำนเสมอ
- อย่ำติดตั้งส่ิงดึงดูดควำมสนใจ เช่น กระจกเงำ ภำพโปสเตอร์
บรเิ วณบันได
- หำ้ มว่งิ โดยเฉพำะอย่ำงยงิ่ บรเิ วณมุมอับทอ่ี ำจเกดิ อุบตั เิ หตุไดง้ ำ่ ย
- ติดต้ังกระจกเงำทำมมุ ในบรเิ วณทำงเดนิ มมุ อบั
- ห้ำมวำง จัดเก็บอุปกรณ์ กล่อง ส่ิงของต่ำง ๆ ในบริเวณทำงเดิน
ประตู หรอื บันได
- หำ้ มถือสง่ิ ของจำนวนมำกท่ีซอ้ นกนั จนสูงบังสำยตำ
- หำ้ มเลน่ หยอกล้อกนั ขณะขึ้น – ลงบันได

17

2.3 ความปลอดภยั ในการใช้วสั ดุสานกั งาน
- เก็บอุปกรณ์เคร่ืองเขียนและของมีคม โดยเอำปลำยชี้ลง
หรอื วำงรำบในลนิ้ ชกั
- หบุ ขำกรรไกร ทีเ่ ปิดซองจดหมำย ใบมดี คัตเตอร์ หรอื ของมีคมอน่ื ๆ
ให้เขำ้ ทีก่ อ่ นเกบ็
- ดแู ลให้ท่ตี ดั กระดำษอยู่ในลักษณะปลอดภยั ดงั นี้
* ให้ใบมดี อยู่ในลักษณะลอ็ กเสมอ
* ใชเ้ ครื่องปอ้ งกัน
* ดูแลรกั ษำดำ้ มมีดใหอ้ ยู่ในสภำพเรยี บรอ้ ย
* อย่ำงตดั กระดำษพรอ้ มกนั ครงั้ เดียวในจำนวนที่มำกเกินไป
* ใช้ทแี่ กะลวดเย็บกระดำษแทนกำรใช้มือแกะ
* ใช้บันได หรือช้ันเหยียบเมื่อต้องกำรหยิบของในท่ีสูง
ไมค่ วรใช้กลอ่ ง โต๊ะ หรือเกำ้ อต้ี ิดล้อ


Click to View FlipBook Version