The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaae.jung24, 2021-04-21 04:31:47

คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน

คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน

ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน



คานา

บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (ปณท) ได้ตระหนักถึงควำมสำคัญของ
ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนของผู้ปฏิบัติงำนเป็นอย่ำงยิ่ง เน่ืองจำก
ควำมปลอดภัยเป็นปัจจัยสำคัญประกำรหน่ึงในกำรก้ำวสู่ควำมสำเร็จสูงสุด
ขององค์กร ดังนั้น ปณท จึงสนับสนุนให้มีมำตรกำรด้ำนควำมปลอดภัย
ควบคู่กับกำรปฏิบัติงำนของพนักงำน ทั้งน้ี เพรำะควำมปลอดภัยช่วยลด
ควำมสูญเสีย ลดต้นทุนกำรผลิต และยังเสริมสร้ำง สวัสดิภำพอันดี
แก่ผู้ปฏิบัติงำนทุกคน เพ่ือพัฒนำให้เป็นทรัพยำกรบุคคลที่มีคุณภำพ และ
สำมำรถตอบสนองนโยบำยกำรทำงำนได้อย่ำงเต็มประสิทธิภำพ ด้วยเหตุน้ี
ปณท โดยฝ่ำยควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัยและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน
จึงจัดทำคู่มือควำมปลอดภัยในกำรทำงำนขึ้นเพื่อเผยแพร่ควำมรู้ และแนะนำ
แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนอยำ่ งปลอดภยั

ปณท หวังเป็นอยำ่ งยิ่งว่ำคมู่ อื เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์กับผปู้ ฏบิ ัติงำน
ของ ปณท ทกุ คน

สารบญั หน้ำ

1. กฎควำมปลอดภยั ทว่ั ไป 1
1.1 คำจำกัดควำม 3-4
1.2 สำเหตขุ องอุบตั เิ หตุ
1.3 ผลกระทบจำกอุบตั ิเหตุ 5
1.4 มำตรกำรป้องกนั อบุ ัตเิ หตุ 6-9
1.5 ขอ้ หำ้ มสำหรบั ยำเสพติดและเคร่ืองดม่ื มนึ เมำ 10-12
1.6 กฎในกำรปฏิบัติงำนทั่วไป 13

2. ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนภำยในสถำนทท่ี ำงำน 15
2.1 ควำมปลอดภัยในกำรใชต้ ู้เก็บแฟ้มเอกสำร 16
2.2 ควำมปลอดภยั บริเวณทำงเดินและบนั ได 17
2.3 ควำมปลอดภัยในกำรใช้วสั ดสุ ำนักงำน 18
2.4 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกับคอมพิวเตอร์ 19-21
2.5 ควำมปลอดภัยในกำรใชเ้ ครอื่ งถ่ำยเอกสำร

หนำ้

2.6 ควำมปลอดภัยในกำรเคลื่อนยำ้ ยของ 22

2.7 ควำมปลอดภัยในกำรใช้เครือ่ งมือไฟฟำ้ /อปุ กรณ์ไฟฟ้ำ 23

2.8 กำรป้องกันอัคคภี ัยและเคร่อื งดับเพลงิ 24

2.9 กำรปฐมพยำบำลฉกุ เฉิน 25

3. หลักควำมปลอดภัยในกำรทำงำนของผู้ปฏบิ ตั งิ ำนนำจำ่ ย 26

1

1. กฎแหง่ ความปลอดภยั ทว่ั ไป

1.1 คาจากัดความ

1.1.1 ภัย (Hazard) เป็นสภำพกำรณ์ซ่ึงมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิด
กำรบำดเจ็บต่อบุคคล หรือควำมเสียหำยต่อทรัพย์สินหรือวัสดุหรือ
ก ร ะ ท บ ก ร ะ เ ทื อ น ต่ อ ขี ด ค ว ำ ม ส ำ ม ำ ร ถ ใ น ก ำ ร ป ฏิ บั ติ ง ำ น ป ก ติ
ของบุคคล

1.1.2 อนั ตราย (Danger) ระดับควำมรนุ แรงทเี่ ป็นผลเนื่องมำจำกภัย
(Hazard) จะสงู มำกหรือน้อย ข้นึ อย่กู ับมำตรกำรในกำรปอ้ งกัน

1.1.3 ความเสียหาย (Damage) ควำมรุนแรงของกำรบำดเจ็บหรือ
ควำมสูญเสียทำงกำยภำพท่ีเกิดข้ึนต่อกำรปฏิบัติงำน หรือทำงด้ำน
กำรเงนิ

1.1.4 อุบัติเหตุ (Accident) เหตุกำรณ์ที่เกิดข้ึนโดยมิได้วำงแผนไว้
ล่วงหน้ำ ซ่ึงก่อให้เกิดกำรบำดเจ็บ พิกำร ตำย หรือทำให้ทรัพย์สิน
ได้รับควำมเสยี หำย

2

1 . 1 . 5 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย (Safety) ใ น ท ำ ง ท ฤ ษ ฎี ห ม ำ ย ถึ ง
“กำรปรำศจำกภัย” แต่สำหรับในทำงปฏิบัติอำจยอมรับได้ใน
ควำมหมำยทวี่ ำ่ “กำรปรำศจำกอันตรำย ที่มีโอกำสจะเกดิ ขึ้น”

3

1.2 สาเหตุของอุบัติเหตุ

1.2.1 สภาพการทางานทีไ่ มป่ ลอดภัย (Unsafe Conditions)

- เครื่องจักร เคร่ืองมือ อุปกรณ์ชำรุด ขำดกำรซ่อมแซมหรือ
บำรงุ รักษำ
- ควำมไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยและสกปรกในกำรจัดเก็บ
วัสดสุ งิ่ ของ
- สิ่งแวดล้อมในกำรทำงำนไม่เหมำะสม เช่น แสงสว่ำง
ไม่เพียงพอ กำรระบำยอำกำศไม่ดี เสียงดัง ฝุ่นละออง
ควำมรอ้ นสงู และไอระเหยของสำรเคมี เป็นต้น
- ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรำยจำกเคร่ืองจักรครอบป้องกัน
ส่วนท่ีเป็นอันตรำย หรือส่วนท่ีเคล่ือนไหวต่ำง ๆ เช่น
เฟือง โซ่ พูลเลย์ ฟลำยวีล ควำมร้อน ระบบไฟฟ้ำ หรือ
อุปกรณ์ไฟฟำ้ ชำรุดบกพร่อง เปน็ ตน้

1.2.2 การกระทาทไี่ มป่ ลอดภัย (Unsafe Acts)

- กำรมีทัศนคติไม่ถูกต้อง เชน่ อุบตั ิเหตเุ ปน็ เร่ืองของเครำะห์
กรรมแกไ้ ขปอ้ งกันไม่ได้
- รเู้ ทำ่ ไมถ่ ึงกำรณ์ คำดกำรณผ์ ดิ ประมำทเลินเล่อ พลั้งเผลอ
เหมอ่ ลอย ขำดควำมระมัดระวัง
- เรง่ รีบ ลดั ขน้ั ตอน
- ไม่หยดุ เคร่ืองจักรก่อนซอ่ มแซมหรือบำรุงรักษำ

4

- ถอดอุปกรณ์ป้องกันอันตรำยจำกเคร่ืองจักรออกแล้ว
ไมใ่ สค่ นื
- หยอกลอ้ เลน่ กันระหว่ำงปฏบิ ตั ิงำน
- ไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอนั ตรำยส่วนบคุ คลในขณะทำงำน
ทอ่ี นั ตรำย
- สภำพร่ำงกำยไม่พร้อมหรือผิดปกติ เช่น ดื่มสุรำ เมำค้ำง
มีปัญหำครอบครัว ใชส้ งิ่ เสพตดิ เป็นตน้

1.2.3 การขาดความรว่ มมือในเรือ่ งความปลอดภัย

- ไมร่ ว่ มกิจกรรมควำมปลอดภัย
- ไมป่ ฏิบัตติ ำมกฎระเบียบของควำมปลอดภยั ในกำรทำงำน
- ไม่รำยงำนอบุ ัติเหตุ
- ขำดจิตสำนึกควำมปลอดภยั

5

1.3 ผลกระทบจากอุบัติเหตุ

1.3.1 ผลกระทบทางตรง (Direct Effect)

- อวัยวะ ร่ำงกำยไดร้ บั บำดเจ็บ เกิดบำดแผล
- เกดิ เจบ็ ป่วยด้วยโรคจำกกำรประกอบอำชพี
- สูญเสยี อวัยวะ พกิ ำร สูญเสยี ชวี ติ

1.3.2 ผลกระทบทางอ้อม (Indirect Effect)

- ขำดงำน หยดุ งำน ทำใหข้ ำดรำยได้
- สญู เสยี เวลำในกำรรักษำพยำบำล ค่ำใช้จ่ำย
- สญู เสียโอกำสในควำมกำ้ วหน้ำทำงกำรงำน
- หำกเกดิ ควำมพกิ ำรจะเพิม่ ภำระให้ครอบครัว
- สูญเสยี โอกำสทำงสังคม
- หำกสูญเสยี ชวี ิตจะส่งผลกระทบตอ่ สมำชิกในครอบครวั
- องค์กรสูญเสียบุคลำกรท่ีมีควำมรู้ ควำมสำมำรถ ประเทศ
สูญเสียประชำกรที่มีค่ำ อันเป็นกำลังสำคัญในกำรพัฒนำ
ประเทศ

6

1.4 มาตรการปอ้ งกนั อุบัติเหตุ

1.4. เครอ่ื งจักรหรือแหล่งกาเนิด (Source)

- ออกแบบเครื่องจกั รโดยคำนงึ ถงึ ควำมปลอดภยั เปน็ พ้ืนฐำน
- กำหนดพ้นื ท่ที ี่เปน็ เขตอนั ตรำย
- สรำ้ งสิง่ กัน้ ขวำงไม่ให้คนเขำ้ ใกลส้ ่วนทเ่ี ป็นอันตรำย
- ตดิ ต้ังสวติ ช์ไวใ้ นที่สะดวกต่อกำรทำงำน
- มีกำรตรวจรักษำและซ่อมบำรุงเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใชง้ ำน
เปน็ ประจำสม่ำเสมอ

1.4. ทางสอ่ื หรอื ทางผา่ น (Path)

- กำหนดข้ันตอนกำรทำงำนทีป่ ลอดภยั เป็นระเบยี บปฏิบตั ิ
- จัดสถำนท่ีทำงำนให้สะอำดเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย
- จัดเก็บเคร่ืองมอื วัสดุอปุ กรณ์ ไวใ้ นตำแหนง่ ทก่ี ำหนด
- ติดต้งั ปำ้ ยหรอื สญั ญำณเตอื นอันตรำย
- ไม่วำงส่ิงของกีดขวำงทำงเดิน ประตูทำงเข้ำ ทำงออก
ฉกุ เฉนิ หรือเคร่อื งดบั เพลิง
- สรำ้ งฉำกเพอ่ื แยกส่วนพ้ืนท่ีเป็นพืน้ ท่ีอันตรำยแยกออกจำก
พ้นื ทป่ี ฏบิ ตั งิ ำน

1.4.3 ผูป้ ฏบิ ัติงาน (Receiver)

- ถ้ำมีควำมกังวลที่เก่ียวกับงำน ผู้ปฏิบัติงำนควรปรึกษำ
หัวหน้ำงำน หรือผู้บังคับบัญชำ

7

- ไม่ทำงำนในที่ลับตำคนเพียงคนเดียวโดยไม่มีใครทรำบ
โดยเฉพำะกำรทำงำนหลงั เวลำทำงำนปกติ
- เข้ำรับกำรฝึกอบรมให้ควำมรู้ด้ำนควำมปลอดภัย
ในกำรทำงำนที่บริษัทจัดข้ึน
- ใช้อุปกรณ์คุ้มครองควำมปลอดภัยส่วนบุคคลที่จัดไว้
ให้ถกู ต้องและเหมำะสมกบั ลักษณะงำน

8

- สวมเคร่ืองแบบที่ถกู ตอ้ ง เรียบรอ้ ย เช่น
* ชำยเสอ้ื แขนเสอื้ ขำกำงเกง เขม็ ขัด ไมร่ มุ่ รำ่ ม
* ตดิ กระดมุ เสือ้ ทกุ เม็ดใหเ้ รียบรอ้ ย
* รวบผม หรือสวมหมวกคลุมผมให้เรียบร้อย
เมอื่ ทำงำนกบั เครื่องจกั ร
* ไมถ่ อดเส้อื ขณะทำงำน
* ไม่สวมเสื้อผ้ำที่เปียกน้ำหรือน้ำมัน เพรำะอำจ
ถกู ไฟดดู หรอื เป็นเชอื้ ไฟได้
* ไม่นำเคร่ืองมือท่ีมีควำมแหลมคมหรือสำรไวไฟ
ไวใ้ นกระเป๋ำชดุ ทำงำน
* ปฏิบัติตำมระเบียบและคู่มอื ปฏิบัตงิ ำนอยำ่ งเครง่ ครดั

9

1.4.4 การจดั สถานท่ที างานให้เป็นระเบียบ

- สถำนท่ีปฏิบัติงำนต้องปรำศจำกส่ิงท่ีจะก่อให้เกิดอันตรำย
ท่ีอำจจะเป็นอุปสรรคต่อกำรทำงำน และต้องไม่มีเศษขยะ
ครำบน้ำมนั และนำ้ บนพ้นื ในสถำนทที่ ำงำน
- ห้ำมจัดวำงวัสดุที่ง่ำยต่อกำรลุกไหม้ใกล้กับจุดติดต้ัง
หลอดไฟ หรือวัสดทุ ี่มคี วำมรอ้ นหรือแหล่งกำเนดิ ประกำยไฟ
- จัดทำงเดินให้โล่งหรือสำมำรถเข้ำไปยังที่ปฏิบัติงำน
ไดอ้ ย่ำงปลอดภัย
- ห้องน้ำตลอดจนสุขภัณฑ์ต่ำง ๆ ต้องอยู่ในสภำพที่สะอำด
และถูกสขุ ลักษณะ
- ไม่จดั เก็บอำหำรไว้ในสถำนที่ปฏบิ ตั งิ ำน

10

1.5 ข้อกาหนด/ข้อห้ามสาหรับเครือ่ งดืม่ มนึ เมา และยาเสพตดิ

- ห้ำมผู้อยู่ในสภำพมึนเมำเข้ำมำปฏิบัติงำนผู้ปฏิบัติงำนทุกระดับ
ต้องไม่ จำหนำ่ ย เสพ หรือมพี ฤติกรรมเกี่ยวข้องกบั ยำเสพตดิ
- ผบู้ งั คบั บัญชำทุกระดับ จะตอ้ งกระทำตนเปน็ แบบอยำ่ งทดี่ ีให้คำปรกึ ษำ
แนะนำชว่ ยเหลือผูป้ ฏิบตั งิ ำนที่มปี ญั หำ ทำกำรบำบดั รักษำและฟืน้ ฟู
ผู้ปฏิบัตงิ ำน ใหม้ แี นวทำงกำรดำเนนิ ชวี ิตทเี่ หมำะสม เพือ่ สุขภำพ
อนำมยั ท่ีดีข้นึ
- ผู้ปฏิบัติงำนมีบทบำทและมีส่วนร่วมในกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำ
ยำเสพติดในสถำนประกอบกิจกำร ร่วมกันสอดส่องดูและกำรกระทำท่ี
มีกำรจำหน่ำย เสพ หรือมีบุคคลท่ีมีพฤติกรรมน่ำสงสัย โดยแจ้งหรือ
ส่งข่ำวให้พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ พนักงำนฝ่ำยปกครอง หรือเจ้ำหน้ำที่
ตำรวจทรำบทันที
- ผู้ปฏิบัติงำนต้องให้ควำมร่วมมือ ในกรณีที่ ปณท จะทำกำร
สุ่มตรวจหำสำรเสพติดและหำกตรวจพบจะดำเนินกำรตักเตือนและ
สง่ ไปบำบัดรักษำทนั ที
- ปณท ได้กำหนดแนวทำงกำรดำเนินกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำ
ยำเสพติด โดยกำรสุ่มตรวจสอบผู้ปฏิบัติงำนเพ่ือหำสำรเสพติด
ในกรณีที่เห็นว่ำผู้ปฏิบัติงำนในสังกัดมีควำมเสี่ยงท่ีอำจจะใช้ยำเสพ
ติดหรือมีพฤติกรรมอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องกับยำเสพติด รวมท้ังกรณี
บคุ คลทจี่ ะรบั เข้ำปฏิบัติงำนเป็นผรู้ ับจ้ำงทำของ (จ้ำงเหมำ) ดงั น้ี

11

 การสุ่มตรวจสอบผู้ปฏิบัติงานเพ่ือหาสารเสพติด
หนว่ ยงำนอำจพิจำรณำจดั ให้มีกำรตรวจปสั สำวะเพ่ือหำ
สำรเสพติดของผู้ปฏิบัติงำนในสังกัดตำมที่เห็นสมควร
และเป็นไปดว้ ยควำมสมคั รใจ ดังน้ี
1. หน่วยงานในสานักงานใหญ่ สำมำรถตรวจได้
ณ สถำนพยำบำลไปรษณีย์ไทย 2 (หลักส่ี) โดย
ประสำนงำนกับ สส. กำหนดวันเวลำในกำรเข้ำรับกำร
ตรวจปัสสำวะเพื่อหำสำรเสพติด และรวบรวมสรุปผล
กำรตรวจสง่ คป. ภำยใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ทำกำรตรวจ
2. ปน/ปข./ศน. ให้จัดหำหน่วยงำนภำยนอกเข้ำ
มำทำกำรตรวจปัสสำวะเพื่อหำสำรเสพติดหรอื ประสำน
กับโรงพยำบำลของรัฐหรือเอกชน และรวบรวมสรุปผล
กำรตรวจสง่ คป. ภำยใน 15 วนั นบั แต่วันทีท่ ำกำรตรวจ
3. หน่วยงานในสังกัดของ ปน./ปข./ศน. หำกมี
เหตอุ ันสมควรจะส่มุ ตรวจ ใหแ้ จง้ ควำมประสงคไ์ ปยังต้น
สังกัด (ปน./ปข./ศน.) เพ่ือพิจำรณำ หำก ปน./ปข./
ศน. เห็นสมควรก็ให้จัดหำหน่วยงำนภำยนอกเข้ำมำ
ทำกำรตรวจปัสสำวะเพื่อหำสำรเสพติดหรือประสำนกับ
โรงพยำบำลของรัฐหรือเอกชน และรวบรวมสรุปผล
กำรตรวจส่ง คป. ภำยใน 15 วนั นบั แตว่ นั ทีท่ ำกำรตรวจ

12

 การรับบุคคลท่ีจะรับเข้าปฏิบัติงานเป็นผู้รับจ้าง
ทาของ (จ้างเหมา) ให้บุคคลดังกล่ำวแนบผลกำรตรวจ
ปัสสำวะเพ่ือหำสำรเสพติดซึ่งออกโดยโรงพยำบำล
ของรัฐ หรือโรงพยำบำลเอกชนมำแสดงว่ำไม่ได้มี
ส่วนเกี่ยวข้องกับยำเสพติด เว้นแต่กรณีกำรจ้ำงทำของ
(จ้ำงเหมำ) ทม่ี ีระยะเวลำไม่เกิน 7 วัน ตอ่ กำรจำ้ ง 1 คร้ัง

13

1.6 กฎในการปฏิบตั งิ านท่ัวไป

- ก่อนและหลังปฏิบัติงำนกับเครื่องจักรและเคร่ืองมือต่ำง ๆ ต้อง
ตรวจสภำพควำมพร้อมใช้งำนเสมอ หำกตรวจพบควำมผิดปกติให้
หยดุ เครื่องจกั รทนั ทแี ละแจ้งใหห้ วั หนำ้ งำนทรำบ
- ห้ำมเคล่ือนย้ำยหรือถอดอุปกรณ์ป้องกันอันตรำยจำกเคร่ืองจักร
(Guard) ออกจำกเครอ่ื งจกั ร
- ปฏิบัติตำมระเบียบปฏิบัติ ป้ำยเตือน ป้ำยห้ำมต่ำง ๆ ที่ติดไว้
อย่ำงเคร่งครดั
- ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงำนโดยเด็ดขำด เพรำะอำจเกิด
อนั ตรำยได้
- เม่ือเกิดอุบัติเหตุหรือเหตุกำรณ์อันอำจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ ต้องแจ้ง
ใหห้ วั หนำ้ งำนหรอื เจำ้ หน้ำท่ีควำมปลอดภัยประจำหนว่ ยงำนทรำบทันที
- ต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองควำมปลอดภัยส่วนบุคคลท่ีกำหนด
ตำมลักษณะงำนเมอ่ื มกี ำรปฏบิ ตั ิงำนน้ันตลอดเวลำทป่ี ฏิบัติงำน
- เก็บรักษำเคร่ืองมือเครื่องใช้ให้เป็นหมวดหมู่ และเป็นระเบียบ
เรียบร้อย
- สูบบหุ ร่ใี นพน้ื ทีท่ ี่กำหนดให้เท่ำนัน้
- หำกทำงำนเก่ียวกับสำรเคมี ต้องล้ำงมือให้สะอำดก่อนรับประทำน
อำหำรทุกคร้ัง
- ห้ำมวำงสิ่งของกีดขวำงเคร่ืองดับเพลิง บันได ทำงหนีไฟ ทำงออก
ฉุกเฉนิ

14

- ในกรณีที่พนักงำนได้รับคำสั่งจำกแพทย์ให้ใช้ยำประเภทซ่ึงอำจ
ส่งผลกระทบต่อควำมสำมำรถในกำรทำงำน ให้แจ้งผู้บังคับบัญชำ
ทรำบทันที
- ไม่อนุญำตให้ใช้ทำงออกหรือประตูฉุกเฉินในสถำนกำรณ์ปกติ
- ห้ำมฉีดเคร่ืองดับเพลิงหรือกดสัญญำณแจ้งเหตุฉุกเฉินเล่น
โดยไม่มีเหตุอันควร
- ร่วมมือกันในกำรดำเนินกิจกรรม 5ส และดูแลรักษำควำมสะอำด
พืน้ ทีท่ ำงำน

15

2. ความปลอดภัยในการทางานภายในสถานท่ีทางาน

2.1 ความปลอดภัยในการใช้ตเู้ ก็บแฟม้ เอกสาร
- ปดิ ล้ินชักตู้เก็บแฟ้มเอกสำรทกุ ครัง้ ท่ีไม่ใช้
- ห้ำมเปดิ ลิน้ ชกั หลำย ๆ ชั้น ในเวลำเดียวกัน
- กำรจัดวำงตู้แบบมีลิ้นชักในลักษณะที่เม่ือใช้งำนต้องไม่เกะกะหรือ
กดี ขวำงทำงเดนิ ไมว่ ำงต้ตู ดิ ฝำพนังทีม่ ปี ลก๊ั ไฟ
- จัดใสเ่ อกสำรจำกชนั้ ลำ่ งสุดขน้ึ ไปเพื่อกำรถว่ งนำ้ หนัก
- จัดวำงตู้ให้ตดิ พื้นหรือผนงั เพ่ือควำมปลอดภัย
- ทุกคร้งั ท่ีจะเปดิ – ปดิ ลิ้นชกั ควรจับทีห่ ลู ิน้ ชัก
- หลกี เลีย่ งกำรใสแ่ ฟ้มในแตล่ ะช้ันท่ีมำกเกนิ ไป
- ห้ำมวำงสิ่งของหนกั ไว้บนตู้เก็บเอกสำร

16

2.2 ความปลอดภยั บริเวณทางเดินและบนั ได

- ทำควำมสะอำดพ้ืน ใหป้ รำศจำกน้ำ โคลน รอยเป้อื น
- เก็บเศษวัสดุต่ำง ๆ ออกจำกพ้ืน เพรำะไม่ว่ำจะเป็นเศษกระดำษ
ดินสอ หรอื ยำงลบ ก็สำมำรถเปน็ สำเหตใุ ห้ลนื่ หกลม้ ได้
- พื้นกระเบื้อง หรือพื้นขัดมันที่ล่ืนบริเวณทำงเดินหรือบันได
ควรตดิ วสั ดกุ นั ลื่น
- ตรวจสอบรำวบันไดใหอ้ ยใู่ นสภำพพรอ้ มใชง้ ำนเสมอ
- อย่ำติดตั้งส่ิงดึงดูดควำมสนใจ เช่น กระจกเงำ ภำพโปสเตอร์
บรเิ วณบันได
- ห้ำมว่งิ โดยเฉพำะอย่ำงยงิ่ บรเิ วณมุมอับทอ่ี ำจเกดิ อุบตั เิ หตุไดง้ ำ่ ย
- ตดิ ต้ังกระจกเงำทำมมุ ในบรเิ วณทำงเดนิ มมุ อบั
- ห้ำมวำง จัดเก็บอุปกรณ์ กล่อง ส่ิงของต่ำง ๆ ในบริเวณทำงเดิน
ประตู หรอื บันได
- ห้ำมถือสง่ิ ของจำนวนมำกท่ีซอ้ นกนั จนสูงบังสำยตำ
- หำ้ มเลน่ หยอกล้อกนั ขณะขึ้น – ลงบันได

17

2.3 ความปลอดภัยในการใช้วสั ดุสานกั งาน

- เก็บอุปกรณ์เคร่ืองเขียนและของมีคม โดยเอำปลำยชี้ลง
หรือวำงรำบในลนิ้ ชกั
- หบุ ขำกรรไกร ทีเ่ ปิดซองจดหมำย ใบมดี คัตเตอร์ หรอื ของมีคมอน่ื ๆ
ใหเ้ ขำ้ ทกี่ อ่ นเกบ็
- ดูแลใหท้ ต่ี ดั กระดำษอยู่ในลักษณะปลอดภยั ดงั นี้

* ให้ใบมดี อยู่ในลักษณะลอ็ กเสมอ
* ใช้เครื่องปอ้ งกัน
* ดูแลรกั ษำดำ้ มมีดใหอ้ ยู่ในสภำพเรยี บรอ้ ย
* อย่ำงตดั กระดำษพรอ้ มกนั ครงั้ เดียวในจำนวนที่มำกเกินไป
* ใช้ทแี่ กะลวดเย็บกระดำษแทนกำรใช้มือแกะ
* ใช้บันได หรือช้ันเหยียบเมื่อต้องกำรหยิบของในท่ีสูง
ไมค่ วรใช้กลอ่ ง โต๊ะ หรือเกำ้ อต้ี ิดล้อ

18

2.4 ความปลอดภัยในการทางานกบั คอมพิวเตอร์

- น่ังในท่ำท่ีเหมำะสม และห่ำงจำกจอคอมพิวเตอร์ประมำณ 2 ฟุต
หรือระยะหำ่ งประมำณหนึ่งช่วงแขน
- จอคอมพวิ เตอรใ์ หอ้ ย่ตู ่ำกว่ำระดับสำยตำประมำณ 20 – 26 องศำ
- ปรับควำมสงู เก้ำอใี้ หเ้ หมำะสม เทำ้ วำงรำบกับพ้ืนได้
- จัดเอกสำรท่ีต้องใช้ดูประกอบไว้ใกล้กับจอเคร่ืองคอมพิวเตอร์จะได้
ลดกำรส่ำยศีรษะไปมำ และลดกำรเปลี่ยนระยะกำรมองของสำยตำ
ในระยะท่ีต่ำงกนั มำก
- จัดแสงของจอภำพให้อยู่ในระดับท่ีตำเรำรู้สึกสบำยและปรับตัว
หนังสอื และภำพหน้ำจอให้ชัดเจน
- จัดหำอุปกรณป์ ้องกนั ไฟฟำ้ สถติ
- ควรทำควำมสะอำดจอภำพและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อย่ำง
สมำ่ เสมอ และไม่วำ่ งอำหำร หรือเครือ่ งดืม่ ไว้บนโตะ๊ คอมพวิ เตอร์
- ควรปรับเปล่ียนอิริยำบถและพักสำยตำทุก ๆ 20 นำที เพ่ือป้องกัน
อำกำรอ่อนลำ้
- กระพริบตำบ้ำง ถ้ำร้สู ึกแสบตำ หรือใชน้ ้ำตำเทียมหยดเปน็ คร้ังครำว

19

2.5 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งถ่ายเอกสาร

- กำรตดิ ตง้ั เคร่ืองถำ่ ยเอกสำร ควรตง้ั ในห้องท่ีมีอำกำศถ่ำยเทสะดวก
และไม่ติดผนัง เพ่ือให้สำรเคมีท่ีออกมำจำกเคร่ืองในขณะปฏิบัติงำน
เจือจำงไปในอำกำศท่ีล้อมรอบ เป็นกำรลดควำมเส่ียงต่อกำรสัมผัส
สำรเคมีของผู้ปฏิบัติงำนได้ ถ้ำสำมำรถติดต้ังเคร่ืองในที่โล่งที่ไม่ใช่ใน
มุมอับก็จะดีมำก หรือแยกเคร่ืองถ่ำยเอกสำรออกจำกห้องท่ีมี
ผู้ปฏบิ ตั งิ ำนจะดีทส่ี ุด
- ถ่ำยเอกสำรทุกคร้ังควรปิดฝำครอบให้สนิท ในกรณีที่ไม่สำมำรถปิด
ให้สนิทได้ ควรหลีกเล่ียงกำรมองที่ประจำในเครื่องถ่ำยเอกสำร
ขณะท่ีหลอดไฟในเครอ่ื งทำงำน
- ระมดั ระวังไม่ใหล้ วดเย็บกระดำษตกเขำ้ ไปในเคร่อื งถำ่ ยเอกสำร
- ควรสวมถุงมือขณะเติม หรือเคลื่อนย้ำยผงหมึก และในกรณีที่
เปลี่ยนตลบั ผงหมึกควรสวมหน้ำกำกกันฝนุ่ เพ่ือป้องกันละอองผงหมึก
เข้ำสู่ทำงเดินหำยใจ และถ้ำเป็นไปได้ควรขอเอกสำรข้อมูลเคมีภัณฑ์
(MSDS) จำกผู้ผลิตหรือผู้จำหน่ำยเครื่องถ่ำยเอกสำรเพื่อให้ทรำบ
ข้อมูลของสำรเคมีหรือเคมีภัณฑ์เกี่ยวกับลักษณะควำมเป็นอันตรำย
พิษ วิธีใช้ กำรเก็บรักษำ กำรขนส่ง กำรกำจัดและกำรจัดกำรอื่น ๆ
เพื่อให้กำรดำเนินกำรเก่ียวกับสำรเคมีน้ันเป็นไปอย่ำงถูกต้อง
ปลอดภัย
- ตลับผงหมึกที่ใช้แล้ว ผงหมึกที่หก หรือฟุ้งกระจำยออกมำขณะทำ
กำรเติมผลหมึก หำกไม่ได้รับกำรจัดกำรอย่ำงถูกต้องเม่ือนำไปท้ิง
จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งกำรปนเป้ือนของหมึกเหลว

20

หรือผงหมึกที่ตกค้ำงในตลับหมึกอำจทำให้เกิดกำรสะสมและเป็น
อันตรำยต่อสิ่งมีชีวิตได้ ดังน้ัน ควรท้ิงผงหมึกหรือตลับหมึกที่ใช้แล้ว
ลงในถุงพลำสติกแล้วปิดปำกถุงให้สนิทพร้อมติดฉลำกหรือป้ำยคำว่ำ
“ของเสียอันตรำย” ท่ีถุงพลำสติกดังกล่ำว ก่อนนำไปทิ้งในถังขยะ
ประเภทขยะอนั ตรำย
- ควรเลอื กใช้เครอ่ื งถ่ำยเอกสำรท่ีมี

* ระบบเตมิ ผงหมึกท่ีปลอดภยั และมภี ำชนะบรรจเุ ศษผงหมึก
ภำยในเครือ่ ง
* ระบบตัดกำรทำงำนอัตโนมัติเมอื่ ภำชนะบรรจเุ ศษผงหมึกเตม็
* อุปกรณ์กรองกำ๊ ซโอโซนทท่ี ำจำก activated carbon
* ควรใช้เครื่องถ่ำยเอกสำรที่ได้รับกำรรับรองฉลำก
ส่ิงแวดล้อม ประเภทท่ี 1 (Type 1 ecolabelling) เช่น
ฉลำกเขียว (Green Label)
- ควรมีกำรบำรุงรักษำเคร่ืองถ่ำยเอกสำรเป็นประจำ เพ่ือช่วยลด
ปรมิ ำณสำรเคมที ี่ตกค้ำงจำกกำรใชง้ ำน
- ผู้มีหน้ำที่ซ่อมบำรุงเคร่ืองถ่ำยเอกสำรควรสวมถุงมือแบบใช้แล้วท้ิง
ขณะทำงำนและหลีกเลย่ี งกำรสัมผสั โดยตรงกบั ลูกกลิ้งด้วย
- ไม่ควรกำหนดให้มีผู้ใดต้องทำหน้ำที่ถ่ำยเอกสำรตลอดท้ังวัน
โดยเฉพำะอยำ่ งยง่ิ ผู้ทมี่ ปี ญั หำระบบทำงเดินหำยใจ
- ผใู้ ช้เคร่ืองถ่ำยเอกสำร ควรศึกษำคู่มือวิธกี ำรใช้งำนเคร่ืองถ่ำยเอกสำร
ใหเ้ ขำ้ ใจก่อนใชง้ ำน

21

- ถำ้ ไดก้ ลิน่ ฉนุ หรอื ไหม้ เน่ืองจำกเครื่องฯ ถกู ใช้งำนมำก ต้องเลิกใช้
ชั่วครำว ถำ้ กลน่ิ ยงั ไมห่ ำยก็แจง้ ช่ำงหรือผู้รบั ผดิ ชอบมำแกไ้ ข
- กำรบำรุงรักษำเคร่ืองเป็นประจำอยู่เสมอ จะช่วยป้องกันมิให้
สำรเคมกี ระจำยออกมำในบรรยำกำศมำกเกนิ ไปจำกกำรใชง้ ำน
- อย่ำมองแสงอัลตรำไวโอเลตขณะถ่ำยเอกสำรและต้องใช้
แผ่นปิดแสงทกุ ครัง้ ท่มี กี ำรถ่ำยเอกสำร
- ขณะท่ีเปล่ียนถ่ำยสำรเคมี หรือผงคำร์บอน ผู้ปฏิบัติงำนควรใส่
อุปกรณ์ป้องกันอันตรำยจำกสำรเคมี ได้แก่ ถุงมือยำง ผ้ำกันฝุ่น
(Mask)

22

2.6 ความปลอดภยั ในการเคล่อื นยา้ ยของ (Transfer Work)

- ต้องเลือกชนิดและสวมถงุ มอื ให้เหมำะสมกับวสั ดุทจี่ ะทำกำรยก
- สำรวจเสน้ ทำง และกำจัดสงิ่ กดี ขวำงกอ่ น
- น่ังลงย่อเข่ำขำ้ งที่ไม่ถนดั และชนั เข่ำท่ถี นดั ต้ังฉำกกับพืน้
- จบั ส่ิงของใหแ้ นน่ ขอ้ ศอกชดิ ลำตวั และแขนขนำนกับพ้นื
- ใชก้ ำลงั ยกขน้ึ ในแนวด่งิ จำกกลำ้ มเน้ือขำ
- หำ้ มยกดว้ ยกล้ำมเนอ้ื หลงั เพรำะอำจเกิดกำรบำดเจบ็ ได้
- หำกของมนี ้ำหนกั มำกควรมีคนชว่ ยยกหรือใช้รถเขน็
- หำกจำเป็นต้องยกลังของขนำดใหญ่ที่บดบังสำยตำควรมีคนช่วย
บอกทำง หรอื ใชร้ ถเข็น

23

2.7 ความปลอดภัยในการใช้เครอ่ื งมือไฟฟา้ /อปุ กรณไ์ ฟฟ้า

- ติดต้ังอุปกรณ์ป้องกันกำรใช้กระแสไฟฟ้ำเกินพิกัด (Circuit
Breaker)
- สว่ นทเี่ ป็นโลหะของแผงสวิตชต์ อ้ งตอ่ สำยดนิ
- เครอ่ื งมอื ที่ใช้ปฏิบัติงำนเกี่ยวกับไฟฟ้ำต้องมีฉนวนหุ้ม
- อุปกรณ์ไฟฟ้ำท่ีมเี ปลือกนอกเปน็ โลหะต้องตอ่ สำยดนิ
- มกี ำรตรวจสอบสภำพสำยไฟฟ้ำและอุปกรณ์ไฟฟ้ำเปน็ ประจำ
- เมื่อพบกำรชำรุดหรือมีกระแสไฟฟ้ำรั่ว ให้ซ่อมแซมหรือดำเนินกำร
ให้อยู่ในสภำพท่ใี ช้งำนได้อย่ำงปลอดภยั ในทนั ที
- ห้ำมใช้เครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณ์ไฟฟำ้ ขณะเปยี กน้ำ
- หลีกเล่ียงกำรใช้ปล๊ักพ่วงสำยไฟ หำกจำเป็นให้เลือกใช้ปล๊ักพ่วง
สำยไฟที่ได้มำตรฐำน (มอก.) มีสำยไฟขนำดใหญ่ และหลีกเลี่ยง
กำรเสียบปลั๊กไฟเพ่ือใช้งำนอุปกรณ์ไฟฟ้ำหลำยชิ้นจำกปล๊ักพ่วง
อันเดียวกัน เพรำะจะเกิดกำรสะสมควำมร้อนและเป็นสำเหตุทำให้
เกดิ เพลิงไหมไ้ ด้
- ในหอ้ งเกบ็ พัสดอุ ุปกรณ/์ บ้ำนพัก ทไ่ี ม่ค่อยไดใ้ ช้งำนหรือยังไม่มีผู้พัก
อำศัย ควรติดต้ังสวิตช์ตัดกระแสไฟ ไว้บริเวณหน้ำห้องเก็บพัสดุฯ
หรือบ้ำนพัก เพ่ือตัดกระแสไฟเม่ือไม่ได้ใช้งำนและเป็นกำรป้องกัน
กำรเกิดเพลิงไหม้

24

2.8 การป้องกันอคั คีภัย และเครื่องดับเพลิง

- จัดให้มีกำรฝึกอบรมกำรป้องกันอัคคีภัยและแผนฉุกเฉินให้กับ
ผูป้ ฏบิ ัติงำนอยูเ่ สมอ
- ผูป้ ฏิบัติงำนต้องทรำบสถำนท่ีใกลท้ ี่สุดของสัญญำณบอกเหตุเพลิงไหม้
และรู้ถึงวธิ ีกำรใช้งำน
- ผู้ปฏิบัติงำนต้องทรำบถึงชนิดและป้ำยสัญลักษณ์ ต่ำง ๆ
ของสัญญำณบอกเหตุ เช่น ไฟไหม้ กำรอพยพ หรือภัยอื่น ๆ และ
รู้เส้นทำงหนีไฟตลอดจนจุดนัดพบ
- ตรวจสอบสภำพของอุปกรณ์ท่ีใช้ในกำรดับเพลิงให้อยู่ในสภำพ
พรอ้ มใช้งำนอย่ำงสม่ำเสมอ
- ผู้ปฏิบัติงำนต้องทรำบถึงสถำนท่ีที่ใกล้ที่สุดของถังดับเพลิงและ
รวู้ ิธีกำรใช้งำน
- วัสดไุ วไฟตอ้ งเก็บใหห้ ่ำงจำกแหล่งกำเนดิ ประกำยไฟ
- เมื่อเติมน้ำมันให้กับเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่ำง ๆ จะต้องปิดเคร่ือง
หรือเคร่ืองยนตน์ นั้ ตอ้ งไม่รอ้ น
- ท้ิงบุหร่ีในท่ีที่จดั หำไว้ให้ ไมท่ ิ้งในตะกรำ้ หรือถงั ขยะท่ัวไป
- จุดและสถำนที่ติดตั้งสัญญำณแจ้งเหตุ จะต้องติดประกำศบนบอร์ด
ประชำสัมพันธ์ในที่ทท่ี กุ คนสำมำรถมองเห็นได้ชดั
- เมอ่ื เกิดเพลงิ ไหม้ ผู้ประสบเหตตุ ้องรบี ระงบั เหตใุ นเบ้อื งตน้ ทนั ที

25

2.9 การปฐมพยาบาลฉกุ เฉิน

ถ้ำมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น ผู้ปฏิบัติงำนต้องประเมินสถำนกำรณ์ เช่น ยังมี
ลมหำยใจอยู่หรือไม่ ใครบำดเจ็บหนักที่สุด และรับติดต่อขอรับกำรช่วยเหลือ
จำกหัวหน้ำงำนหรือผู้ปฏิบัติงำนท่ีได้ผ่ำนกำรอบรมกำรปฐมพยำบำลเบ้ืองต้น
มำแล้ว และหำกกรณีคนเจ็บมีกำรเสียเลือดมำก กระดูกหัก หมดสติ
ไม่รู้สึกตัว ถูกสำรพิษ หรือถูกไฟไหม้ ถ้ำเป็นอำกำรบำดเจ็บรุนแรง ให้จัดรถ
เพอื่ นำผูบ้ ำดเจบ็ ส่งโรงพยำบำลที่ใกล้ท่สี ุดทนั ที

26

3.หลกั ความปลอดภัยในการทางานของผู้ปฏบิ ตั ิงานนาจ่าย

3.1. เตรียมบุคคล หมำยถึง กำรตรวจประเมินผู้ปฏิบัติงำนนำจ่ำย
ว่ำอยู่ในสภำพท่ีพร้อมจะปฏิบัติงำนหรือไม่ ไม่มีอำกำรพักผ่อน
ไม่เพียงพอ เมำค้ำง หรือมีอำกำรเจ็บป่วยซึ่งเมื่อให้ออกไปปฏิบัตงิ ำน
อำจได้รับอันตรำยจำกอุบัติเหตุได้ หำกพบให้ทำกำรแก้ไขอำกำร
ดังกล่ำว และหำกอำกำรยังไม่ดีข้ึนก็ให้พิจำรณำปรับเปลี่ยนตัว
ผู้ปฏบิ ตั ิงำนท่ำนอื่นมำปฏบิ ัตงิ ำนแทน
3.2 เตรียมอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล หมำยถึง
กำรดูแลและควบคุมให้ผู้ปฏิบัติงำนนำจ่ำยต้องสวมใส่หมวกนิรภัย
(หมวกกนั น็อก) เสือ้ คลมุ นำจำ่ ย รองเทำ้ และถุงมือทกุ คร้งั
3.3 เตรียมรถนาจ่าย หมำยถึง ดูแลและควบคุมให้มีกำรตรวจเช็ค
ระบบเบรก โช๊คอัพ ล้อ รวมทั้งกำรตรวจเช็คตำมรอบระยะท่ีคู่มือรถ
นน้ั กำหนด

.

บริษทั ไปรษณยี ์ไทย จากัด
ฝำ่ ยควำมปลอดภยั อำชีวอนำมัยและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน
โทรศพั ท์ 02-8313333, 02-8313084

บริษทั ไปรษณยี ไ์ ทย จากัด
ฝำ่ ยควำมปลอดภัย อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน
โทรศัพท์ 02-8313333, 02-8313084


Click to View FlipBook Version