The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prdmr.pr, 2022-03-28 00:40:19

Annual Report 2021

Annual Report 2021

พพิ ิธภณั ฑแร - หนิ ถนนพระราม 6 กรงุ เทพมหานคร
พพิ ธิ ภณั ฑซ ากดึกดาํ บรรพ ธรณีวทิ ยา และธรรมชาตวิ ทิ ยา จังหวดั ลําปาง

ศูนยศกึ ษาวจิ ัยและพพิ ิธภัณฑไดโนเสาร จงั หวดั ขอนแกน

49

พพิ ธิ ภณั ฑส ิรนิ ธร จังหวดั กาฬสินธุ
ศูนยว ิจัยทรัพยากรแรและหิน จงั หวดั ระยอง
พพิ ิธภัณฑสถานแหง ชาตธิ รณีวทิ ยาเฉลิมพระเกยี รติ จงั หวดั ปทมุ ธานี

50

พิพิธภัณฑซากดึกดาํ บรรพ ธรณวี ทิ ยา และธรรมชาติวทิ ยา จังหวดั สุราษฎรธ านี

3.2 การคมุ ครองแหลง และซากดึกดําบรรพ จาํ นวน 2 แหลง (10) จงั หวดั กระบี่ เปน แหลง ซากดกึ ดําบรรพส ตั ว
มีกระดูกสันหลัง จํานวน 4 แหลง แหลงซากดึกดําบรรพสัตว
• คุมครอง อนุรักษ และพัฒนา แหลง ไมมีกระดกู สันหลงั จํานวน 10 แหลง แหลง ซากดึกดําบรรพพชื
ซากดึกดาํ บรรพ จํานวน 1 แหลง และแหลง ซากดกึ ดาํ บรรพอ น่ื (เชน ฟอแรมนิ เิ ฟอรา )
จํานวน 1 แหลง (11) จงั หวดั นครศรธี รรมราช พบวา เปน แหลง
1. สํารวจตรวจสอบ ประเมนิ แหลงซากดึกดําบรรพ ซากดกึ ดําบรรพส ตั วม กี ระดกู สนั หลงั จํานวน 1 แหลง และแหลง
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดําเนินการประเมินแหลง ซากดกึ ดําบรรพสัตวไมม กี ระดกู สนั หลัง จาํ นวน 3 แหลง และ
ซากดกึ ดาํ บรรพ จํานวน 12 พ้นื ที่ คอื (1) จังหวดั ตาก พบวา (12) จังหวัดพัทลุง พบวา เปนแหลงซากดึกดาํ บรรพสัตว
เปน แหลง ซากดกึ ดําบรรพส ตั วไ มม กี ระดกู สนั หลงั จาํ นวน 13 แหลง มกี ระดกู สนั หลงั จาํ นวน 5 แหลง และแหลง ซากดกึ ดาํ บรรพส ตั ว
และแหลงซากดึกดาํ บรรพพืช จาํ นวน 1 แหลง (2) จังหวัด ไมม ีกระดกู สนั หลัง จํานวน 1 แหลง
เพชรบรู ณ พบวา เปน แหลง ซากดกึ ดําบรรพส ตั วม กี ระดกู สนั หลงั
จาํ นวน 2 แหลง แหลง ซากดึกดําบรรพส ตั วไ มมกี ระดูกสันหลัง 2. การสํารวจ และศกึ ษาแหลงซากดึกดําบรรพ
จํานวน 19 แหลง แหลง ซากดกึ ดาํ บรรพพ ืช จาํ นวน 1 แหลง (1) การสาํ รวจและศกึ ษาลําดบั ชนั้ ตะกอนในพน้ื ที่
และแหลง ซากดกึ ดําบรรพร อ งรอย จาํ นวน 1 แหลง (3) จงั หวดั
ลาํ ปาง พบวา เปน แหลง ซากดกึ ดาํ บรรพส ตั วไ มม กี ระดกู สนั หลงั แหลงซากดึกดําบรรพวาฬ ตาํ บลอําแพง อําเภอบานแพว
จาํ นวน 6 แหลง (4) จังหวัดนครราชสีมา พบวา เปนแหลง จงั หวดั สมทุ รสาคร โดยการเจาะสํารวจลําดบั ชน้ั ตะกอนบรเิ วณ
ซากดึกดําบรรพสัตวมีกระดูกสันหลัง จํานวน 14 แหลง โดยรอบพ้ืนท่ีที่คนพบซากดึกดําบรรพวาฬ เพื่อศึกษาสภาพ
แหลง ซากดกึ ดําบรรพส ตั วไ มม กี ระดกู สนั หลงั จํานวน 5 แหลง และ แวดลอมบรรพกาลของบริเวณที่คน พบซากดกึ ดําบรรพวาฬ

แหลง ซากดึกดําบรรพพ ืช จํานวน 1 แหลง (5) จังหวดั รอยเอ็ด
พบวา มแี หลง ซากดกึ ดาํ บรรพส ตั วม กี ระดกู สนั หลงั จํานวน 1 แหลง
และแหลงซากดึกดาํ บรรพสัตวไมมีกระดูกสันหลัง จํานวน
1 แหลง (6) จังหวดั สกลนคร พบวา เปน แหลงซากดกึ ดําบรรพ
สัตวมกี ระดกู สนั หลงั จาํ นวน 5 แหลง (7) จงั หวัดกาญจนบุรี พบวา
เปน แหลง ซากดกึ ดําบรรพส ตั วไ มม กี ระดกู สนั หลงั จาํ นวน 11 แหลง
และแหลง ซากดกึ ดาํ บรรพอ นื่ (เชน ฟอแรมนิ เิ ฟอรา) จํานวน 1 แหลง
(8) จังหวัดลพบุรี พบวา เปนแหลงซากดึกดาํ บรรพสัตวไมมี
กระดกู สนั หลัง จาํ นวน 7 แหลง และแหลงซากดกึ ดาํ บรรพอน่ื
(เชน ฟอแรมินิเฟอรา) จํานวน 2 แหลง (9) จงั หวดั สระบุรี พบวา
เปน แหลง ซากดกึ ดาํ บรรพส ตั วไ มม กี ระดกู สนั หลงั จาํ นวน 4 แหลง
และแหลงซากดึกดําบรรพอ่ืน (เชน ฟอแรมมินิเฟอรา) การสํารวจศกึ ษาแหลงซากดกึ ดาํ บรรพวาฬ
ตาํ บลอําแพง อาํ เภอบา นแพว จังหวดั สมุทรสาคร

51

3. ขนึ้ ทะเบยี นแหลง ซากดกึ ดาํ บรรพ ในปง บประมาณ เปนแหลงซากดึกดาํ บรรพ ท่ีขึ้นทะเบียนตามที่กําหนดใน
พ.ศ. 2564 มีแหลงซากดึกดาํ บรรพท่ีผานมติเห็นชอบให พระราชบัญญัติคุมครองซากดึกดําบรรพ พ.ศ. 2551 แลว
ประกาศเปนแหลงซากดึกดําบรรพขึ้นทะเบียนในการประชุม จํานวน 1 แหลง คอื แหลง ซากดกึ ดําบรรพร อยตนี ไดโนเสารภ หู ลวง
คณะอนุกรรมการแหลงซากดกึ ดาํ บรรพ ครงั้ ท่ี 1/2564 เม่ือวันที่ จงั หวดั เลย และจดั ทาํ หนังสอื เรียนเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อ
3 มนี าคม 2564 จาํ นวน 2 แหลง ไดแก แหลงซากดึกดําบรรพ ขอสงประกาศกรมทรัพยากรธรณีใหแหลงซากดึกดําบรรพเปน
รอยตีนไดโนเสารภูหลวง จังหวัดเลย และแหลงซากดึกดําบรรพ ซากดกึ ดาํ บรรพท่ีขึ้นทะเบียนไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา
รอยตีนไดโนเสารโ นนตูม จงั หวัดชัยภูมิ และดําเนินการประกาศ

แหลงซากดกึ ดําบรรพทีข่ ึน้ ทะเบียน

52

• งานคุมครอง อนุรักษ และพัฒนา 3. รบั แจง และตรวจสอบซากดกึ ดําบรรพต ามทม่ี กี ารแจง
ซากดึกดําบรรพ และดําเนินงานตามข้ันตอนของพระราชบัญญัติคุมครอง
1. การสํารวจและอนุรักษซากดึกดาํ บรรพวาฬ ซากดึกดําบรรพ พ.ศ. 2551 ดาํ เนินการรับแจงตรวจสอบ
(1) การสาํ รวจ ขดุ คน และอนรุ กั ษซ ากดกึ ดาํ บรรพว าฬ ซากดึกดําบรรพ และขออนุญาตเกี่ยวกับซากดึกดําบรรพ
ตําบลอําแพง อาํ เภอบา นแพว จังหวดั สมุทรสาคร ดําเนินการ ในปง บประมาณ พ.ศ. 2564 รบั แจง คน พบซากดกึ ดาํ บรรพ 7 ครง้ั
สาํ รวจ ขุดคนซากดึกดาํ บรรพวาฬ และนาํ ไปอนุรักษ แจงครอบครองซากดึกดําบรรพในประเทศ 7 คร้ัง แจงนาํ เขา
ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติธรณีวิทยาเฉลิมพระเกียรติ ซากดึกดําบรรพ 5 ครั้ง แจง สงออกซากดกึ ดาํ บรรพ 4 คร้ัง และ
จังหวดั ปทมุ ธานี เพือ่ รอการศกึ ษาวจิ ยั ในขนั้ รายละเอียดตอ ไป แจง อนญุ าตคา ซากดึกดาํ บรรพ 3 คร้งั รวมทง้ั สิ้น 26 คร้ัง
4. นําเขาขอมูลซากดึกดาํ บรรพในระบบฐานขอมูล
ซากดึกดาํ บรรพของประเทศ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2564
ไดม กี ารรวบรวม ตรวจสอบ และนําเขา ขอ มลู ซากดกึ ดาํ บรรพล ง
ในระบบฐานขอ มลู ซากดกึ ดําบรรพข องประเทศ (fossil.dmr.go.th)
รวมทั้งส้ินจาํ นวน 5,149 รายการ ประกอบไปดวย
ซากดึกดําบรรพสัตวไมมีกระดูกสันหลัง 1,201 รายการ
ซากดึกดําบรรพสัตวมีกระดูกสันหลัง 3,718 รายการ
ซากดกึ ดาํ บรรพพ ชื 108 รายการ ซากดกึ ดําบรรพร อ งรอย 18 รายการ
และซากดึกดาํ บรรพอืน่ ๆ 104 รายการ
5. ขนึ้ ทะเบยี นซากดกึ ดําบรรพ ดําเนนิ การจดั ทาํ บญั ชี
ซากดึกดําบรรพที่สาํ คัญ จํานวน 42 หมายเลขรหัสประจํา
ตัวอยาง THF 2564 1 00288 ถึง THF 2564 1 00323 โดยจัด
ทาํ ขอ มลู ซากดึกดําบรรพต า ง ๆ พรอ มรูปภาพ และความสาํ คญั
การสํารวจ ขุดคน และอนรุ กั ษซากดกึ ดําบรรพว าฬ ตามแบบประกาศทกี่ าํ หนดเพอ่ื เสนอประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
ตาํ บลอําแพง อําเภอบา นแพว จังหวดั สมทุ รสาคร

2. การจดั ทําจาํ ลองตวั อยา งซากดกึ ดําบรรพ ดาํ เนนิ การ และขอมูลซากดึกดาํ บรรพทั้งหมดน้ีไดผานมติเห็นชอบ
จัดทําแบบจําลองซากดึกดําบรรพ โดยเนนตัวอยาง ใหประกาศขึ้นทะเบียนซากดึกดําบรรพในการประชุม
ซากดกึ ดาํ บรรพท ข่ี น้ึ ทะเบยี น เพอ่ื ใชใ นการจดั แสดงนทิ รรศการ คณะกรรมการซากดกึ ดําบรรพ ครงั้ ที่ 2/2564 วนั ที่ 29 มถิ นุ ายน 2564
และสอดคลองกับงานดานพิพิธภัณฑในสวนตาง ๆ ภายใต มีมติใหดาํ เนินการประกาศขึ้นทะเบียนซากดึกดาํ บรรพ
การกํากบั ดแู ลของกรมทรพั ยากรธรณี และเพอื่ เปน ประโยชนใ น ประกาศในราชกิจจานุเบกษา จาํ นวน 42 ชิ้นตัวอยาง และ
การแลกเปลยี่ นชน้ิ ตวั อยา งจาํ ลองกบั หนว ยงานอน่ื ๆ ทง้ั ภายใน จัดทําหนังสือเรียนเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อขอสงประกาศ
ประเทศ และระหวา งประเทศ กรมทรพั ยากรธรณใี หซ ากดกึ ดําบรรพเ ปน ซากดกึ ดาํ บรรพท ขี่ น้ึ
ทะเบียนไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา และในการประชุม
คณะอนุกรรมการซากดึกดาํ บรรพ ครั้งที่ 1/2564 วันที่ 11
มนี าคม 2564 มมี ตเิ หน็ ชอบใหข นึ้ ทะเบยี น ซากดกึ ดาํ บรรพว าฬ
จากตาํ บลอําแพง อาํ เภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร เปน
ซากดึกดาํ บรรพท่ีสําคัญมีคุณสมบัติเปนไปตามประกาศ
คณะกรรมการคุมครองซากดึกดาํ บรรพ เรื่อง หลักเกณฑการ
ประกาศเปนแหลงซากดึกดาํ บรรพ ที่ข้ึนทะเบียนและเปน
ซากดึกดําบรรพท่ีข้ึนทะเบียน พ.ศ. 2552 และเห็นชอบให
ประกาศ ขน้ึ ทะเบียน จํานวน 141 ชน้ิ ตวั อยา ง โดยใหจ ดั ทํา
ประกาศเพ่ือใหทป่ี ระชมุ พจิ ารณาในโอกาสตอไป

ตวั อยา งจาํ ลองซากดึกดาํ บรรพ

53

ซากดึกดําบรรพท่ีขน้ึ ทะเบียน

• บรหิ ารการคมุ ครองแหลง และซากดกึ ดําบรรพ ผลการดําเนินงานของกองทุนจัดการซากดึกดําบรรพ (3 คร้ัง)
1. จัดประชุมและสนับสนุนการดาํ เนินงานของคณะ คณะอนุกรรมการกลั่นกรองขอเสนอโครงการขอเงินชวยเหลือ
กรรมการและคณะอนุกรรมการตามพระราชบัญญัติคุมครอง หรอื อดุ หนนุ กจิ การใด ๆ จากกองทนุ จดั การซากดกึ ดาํ บรรพ (9 ครงั้ )
ซากดกึ ดาํ บรรพ พ.ศ. 2551 รวมถงึ คณะอนกุ รรมการ คณะทาํ งาน และคณะอนุกรรมการจัดทาํ แผนบริหารจัดการกองทุนจัดการ
และหนวยงานที่เก่ียวของและรวมไปถึงการดาํ เนินการอื่น ๆ ซากดกึ ดําบรรพ (4 ครั้ง)
ที่จาํ เปนตอการคุมครองแหลงซากดึกดาํ บรรพและ
ซากดกึ ดาํ บรรพ ไดแก คณะกรรมการคุมครองซากดกึ ดําบรรพ • สง เสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาองคค วามรู
(2 ครั้ง) คณะอนุกรรมการซากดึกดาํ บรรพ (2 คร้ัง) ดานแหลงซากดกึ ดาํ บรรพแ ละซากดกึ ดําบรรพ
คณะอนกุ รรมการแหลง ซากดกึ ดาํ บรรพ (4 ครงั้ ) คณะอนกุ รรมการ
นโยบายคุมครองแหลงซากดึกดาํ บรรพและซากดึกดําบรรพ 1. ประชมุ วชิ าการ เรอื่ ง “สภาพแวดลอมบรรพกาล
(1 ครง้ั ) คณะอนกุ รรมการพฒั นากฎหมายในสว นทเ่ี กย่ี วกบั พระ กบั วาฬอําแพง” จากการคน พบซากดกึ ดาํ บรรพว าฬ จากตาํ บล
ราชบญั ญตั คิ มุ ครองซากดกึ ดําบรรพ พ.ศ. 2551 และอนบุ ญั ญตั ิ อําแพง อาํ เภอบา นแพว จงั หวดั สมทุ รสาคร จงึ ไดม กี ารจดั ประชมุ
(1 ครั้ง) คณะทาํ งานขับเคลื่อนการดาํ เนินงานตามแผนการยก วิชาการข้ึนเพื่อใหเจาหนาที่ จากหนวยงานภาครัฐ หนวยงาน
ระดบั การบรกิ ารภาครฐั ในสว นทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การบรกิ าร ตามพ ภาคเอกชน หนวยงานปกครองสวนทองถ่ิน บุคลากรทางการ
ระราชบญั ญตั คิ มุ ครองซากดกึ ดําบรรพ พ.ศ. 2551 ตามพระราช ศกึ ษาและประชาชนทวั่ ไป ไดแลกเปลีย่ นขอมูลและองคค วามรู
บญั ญตั กิ ารอํานวยความสะดวกในการพจิ ารณาอนญุ าตของทาง ทางวชิ าการทเ่ี กย่ี วขอ ง รวมทงั้ แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั
ราชการ พ.ศ. 2558 (1 ครงั้ ) คณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ จดั การ แนวทางในการอนุรักษ ศึกษาวิจัย และบริหารจัดการ
ซากดึกดาํ บรรพ (12 คร้งั ) คณะกรรมการตดิ ตามและประเมนิ ซากดกึ ดาํ บรรพท่ีเก่ยี วของ

54

งานประชุมวิชาการ เร่อื ง “สภาพแวดลอ มบรรพกาลกับวาฬอําแพง”

2. การขบั เคลอื่ นแหลง ซากดกึ ดาํ บรรพไ มก ลายเปน หนิ • ใหความรูเกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุมครอง
จังหวัดตาก ไปสูระดับโลก โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซากดกึ ดําบรรพ พ.ศ. 2551 แกชุมชน
ไดมีการขับเคล่ือนใหแหลงซากดึกดําบรรพไมกลายเปนหิน 1. จัดโครงการฝกอบรมใหความรูเก่ียวกับ
จงั หวัดตาก มบี ันทึกใน Guinness World Record ใหไมกลาย พระราชบญั ญตั คิ มุ ครองซากดกึ ดาํ บรรพ พ.ศ. 2551 แกช มุ ชน
เปนหนิ หลุมขดุ คนที่ 1 เปนไมก ลายเปนหนิ ท่มี คี วามยาวที่สดุ พืน้ ท่ีจังหวัดแมฮองสอน และจังหวดั เพชรบูรณ
ในโลก เพอ่ื สรา งการรบั รแู ละผลกั ดนั ใหเ ปน ทย่ี อมรบั ในระดบั โลก (1) จังหวัดแมฮองสอน กลุมเปาหมายมีความ
ในฐานะมรดกทางธรรมชาติที่มีคุณคา พรอมกับสรางการ ตระหนกั ในความความสาํ คญั ของซากดกึ ดาํ บรรพ ไดร บั องคความรู
ตระหนักถึงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติทางธรณีวิทยา และพระราชบัญญัติที่มีลักษณะเฉพาะ และรับทราบถึง
ยกระดับใหเปนจุดดึงดูดในการจัดต้ังอุทยานธรณีจังหวัดตาก ความสําคัญของทองถิ่น ที่สามารถปกปองคุมครอง รักษาและ
และเปน แหลง ทอ งเทย่ี วระดบั สากล โดยในปจ จบุ นั อยใู นขน้ั ตอน สง เสรมิ คณุ คา ของแหลง ซากดกึ ดาํ บรรพ และสามารถมสี ว นรว ม
การประสานงานขอขอมูลเพิ่มเติม และรอการตรวจสอบพื้นที่ ในการบริหารจัดการ แหลงซากดึกดาํ บรรพใหมีประโยชนอยาง
โดยคณะกรรมการของ Guinness Book World Record และ มปี ระสทิ ธภิ าพ และตง้ั ใจทเี่ ผยแพรแ ละใชป ระโยชนต ามทไี่ ดร บั
ไดม กี ารประชาสมั พนั ธผ า นสอ่ื ออนไลนแ ละสอ่ื มวลชลใหร บั รถู งึ การอบรม
กจิ กรรมเบ้ืองตนแลว

การจัดอบรมใหค วามรูเกี่ยวกับ พ.ร.บ. คุม ครองซากดึกดําบรรพ พ.ศ. 2551 แกช ุมชน พ้ืนทจี่ ังหวัดแมฮองสอน

(2) จงั หวดั เพชรบรู ณ การจดั อบรมเปน ไปตามรปู แบบ และประชาชนมคี วามรคู วามเขา ใจพน้ื ฐานทางดา นซากดกึ ดําบรรพ
การจดั ประชมุ /อบรมผา นระบบออนไลน (Zoom Meeting Cloud) การบริหารจัดการซากดึกดําบรรพ และกฎหมายวาดวยการ
มผี เู ขา รว มอบรมจากหลายหนว ยงาน โดยเฉพาะหนว ยงานทอ งถน่ิ คุมครองซากดึกดําบรรพ ตลอดจนรับทราบถึงแนวทางการปฏิบัติ
ที่มีแหลงซากดึกดาํ บรรพ ในพื้นที่ของตนเอง ชวยใหเจาหนาท่ี งานตามอํานาจหนา ทขี่ องเจา พนกั งานทอ งถนิ่ ตามทก่ี ฎหมายกําหนด

การจดั อบรมใหความรเู กีย่ วกบั พ.ร.บ. คมุ ครองซากดกึ ดําบรรพ พ.ศ. 2551 แกชมุ ชน พนื้ ทจ่ี งั หวดั เพชรบูรณ 55

2. การสงเสริมและผลักดันกลุมเปาหมาย ออกแบบ จัดทาํ นิทรรศการและสื่อเผยแพรองคความรู
นาํ องคความรูไปใชประโยชน พื้นที่จังหวัดแมฮองสอน ดานธรณีวิทยา ซากดึกดาํ บรรพ และพระราชบัญญัติคุมครอง
และจังหวดั เพชรบรู ณ ซากดึกดําบรรพ พ.ศ. 2551 และใหความรูแกเจาหนาที่ พ้ืนท่ี
(1) การสงเสริมและผลักดันกลุมเปาหมายนํา ตําบลผาบอง อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั แมฮ อ งสอน
องคค วามรไู ปใชป ระโยชน พนื้ ทจ่ี งั หวดั แมฮ อ งสอน ดําเนนิ การ

แหลง เรียนรดู า นธรณีวทิ ยาและซากดกึ ดาํ บรรพตําบลผาบอง อําเภอเมือง จงั หวดั แมฮ องสอน

(2) การสงเสริมและผลักดันกลุมเปาหมายนาํ ซากดึกดาํ บรรพ พ.ศ. 2551 ภายใตช่ือ “พิพิธภัณฑทองทะเล
องคค วามรไู ปใชป ระโยชน พน้ื ทจี่ งั หวดั เพชรบรู ณ ดาํ เนนิ การ ดึกดาํ บรรพบานโภชน” และ ใหความรูเจาหนาท่ี และ
ออกแบบ จัดทํานิทรรศการและส่ือเผยแพรองคความรู บุคลากรทางการศึกษา พื้นที่ตําบลบานโภชน อําเภอหนองไผ
ดานธรณีวิทยา ซากดึกดําบรรพ และพระราชบัญญัติคุมครอง จังหวดั เพชรบรู ณ

แหลงเรยี นรูด า นธรณีวิทยาและซากดึกดําบรรพตาํ บลบา นโภชน อาํ เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบรู ณ

56

4. ดานการศึกษา วิจัย พัฒนาองคความรู สนับสนุนยุทธศาสตรการพัฒนารวมสําหรับพื้นท่ีชายแดนไทย-
และบรกิ ารขอ มลู ความรู ดา นทรพั ยากรธรณี มาเลเซยี (Joint Development Strategy: JDS) และแผนงาน
และธรณวี ทิ ยา พัฒนาเศรษฐกิจ 3 ฝาย อินโดนีเซีย-ไทย-มาเลเซีย (Indonesia-
Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT) รวมไปถึง
การสนบั สนนุ การดําเนนิ งานของรฐั บาลภายใตก รอบการดาํ เนนิ งาน
4.1 การประสานความรว มมอื ระหวางประเทศ ของคณะกรรมาธกิ ารรว มวา ดว ยความรว มมอื ไทย-มาเลเซยี ตอ ไป

• ความรวมมือไทย - มาเลเซยี ผลจากความรวมมือทาํ ใหเกิดการแลกเปลี่ยน องคความรูและ
1. การประชุมคณะกรรมการโครงการรวมสาํ รวจ ประสบการณ กอใหเกิดการพัฒนาทักษะและศักยภาพดาน
ธรณวี ทิ ยาบริเวณชายแดนไทย - มาเลเซยี ครงั้ ที่ 17 ธรณีวิทยาแกบุคลากรทั้งสองฝาย ผลจากการประชุมท่ีประชุม
โครงการรวมสาํ รวจธรณีวิทยาฯ เปนการดําเนินการ มีมติเห็นชอบแผนการดําเนินงานของท้ังสองประเทศ โดยมี
ตอ ยอดขอ มลู วชิ าการเพอื่ ตอบสนองตอ การพฒั นาทางเศรษฐกจิ การดาํ เนนิ กจิ กรรมการอนรุ กั ษแ ละทอ งเทยี่ วทางธรณวี ทิ ยาและ
และการเตรยี มพรอ มรบั สถานการณธ รณพี บิ ตั ภิ ยั ของประชาชน การพัฒนาอุทยานธรณี การเทียบสัมพันธลําดับชั้นหินและ
ท้ังสองประเทศ มีขอมูลธรณีวิทยาและแหลงทรัพยากรธรณีใน ซากดึกดําบรรพ ในหนวยหินตาง ๆ ของทั้งสองประเทศ และ
โครงการรวมสาํ รวจธรณีวิทยาฯ ตั้งแตจังหวัดนราธิวาส/ พัฒนาระบบฐานขอมูลทางวิชาการดานธรณีวิทยาในพ้ืนที่
รัฐกลันตัน ถึงจังหวัดสตูล/รัฐปะลิส ซ่ึงเปนฐานขอมูลสาํ หรับ แนวชายแดน ไทย-มาเลเซีย

การประชมุ คณะกรรมการโครงการรวมสํารวจธรณวี ทิ ยาบรเิ วณชายแดนไทย-มาเลเซยี คร้ังที่ 17 ผานระบบการประชุมทางไกล
(VDO Conference) เมือ่ วนั ท่ี 2 ธันวาคม 2563 ณ หอ งประชมุ กรมทรพั ยากรธรณี

2. การประชุมคณะทํางานโครงการรวมสาํ รวจ ในพน้ื ที่ แนวชายแดนไทย-มาเลเซยี การเทยี บสมั พนั ธล ําดบั ชน้ั หนิ
ธรณีวิทยาบริเวณชายแดนไทย-มาเลเซีย ครั้งท่ี 32 และซากดึกดาํ บรรพในหนวยหินตาง ๆ ของท้ังสองประเทศ
(The 32nd Malaysia-Thailand Border Joint Geological กจิ กรรมการศกึ ษาธรณพี บิ ตั ภิ ยั ในภมู ปิ ระเทศหนิ ปนู ของทง้ั สอง
Survey Working Group Meeting) ประเทศ การแลกเปล่ียนขอมูลและการเผยแพรผลงานทาง
บคุ ลากรจากทงั้ สองฝา ยไดแ ลกเปลย่ี นความรรู ะหวา งกนั วิชาการ และแผนการพัฒนาระบบฐานขอมูลทางวิชาการดาน
เพ่ือเสริมสรางประสบการณ สงผลเชิงบวก ตอความรวมมือใน ธรณวี ทิ ยาในพน้ื ทแ่ี นวชายแดนไทย-มาเลเซยี ตลอดจนสามารถ
การเชื่อมตอขอมูลธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณีและการรวม ดาํ เนนิ งานความรว มมอื ทางวชิ าการตามขอ ตกลงทมี่ อี ยเู ดมิ และ
เปนเครือขายทางวิชาการในระดับสากล ตามกรอบการเขาสู ดํารงรักษาความสัมพันธอันดีระหวางประเทศได แมใน
ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น มกี จิ กรรมการจดั ทําแผนทม่ี รดกธรณี สถานการณก ารแพรร ะบาดของ COVID-19 โดยการปรบั รปู แบบ
และการพฒั นาอทุ ยานธรณขี องทง้ั สองประเทศ ซงึ่ จะเรม่ิ ดาํ เนนิ การ การดําเนินงานใหเหมาะสมกับสถานการณปจจุบันและปรับตัว
ในป 2022-2023 การจัดทาํ ขอมูลธรณีวิทยาและแหลงแร เขากบั ฐานวิถีชีวิตใหม (New Normal)

57

• ความรว มมอื ไทย - จีน
1. การเขารวมประชุมเจาหนาท่ีประสานงานความ
รว มมอื และนทิ รรศการดา นทรพั ยากรแรจ นี -อาเซยี น ครง้ั ท่ี 10
(The 10th Liaison Officials Meeting of the 11th
China-ASEAN Mining Cooperation Forum & Exhibition 2021)
ผา นระบบการประชุมทางไกล เมอ่ื วันท่ี 2 กมุ ภาพันธ 2564
จากการประชุมในคร้ังนี้ ไดมีการแจงขอมูลเก่ียวกับ
กาํ หนดการและรายละเอียดของการประชุมความรวมมือดาน
ทรพั ยากรแรจ นี -อาเซยี น ครงั้ ที่ 11 ทจ่ี ะจดั ขน้ึ ณ เมอื งหนานหนงิ
เขตปกครองตนเองกวางสี สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหวาง
วนั ท่ี 19-21 พฤษภาคม 2564 ภายใตแ กน สาระสาํ คญั “Building
the Belt and Road, Strengthening Green Mining” และ
ประโยชนท ไ่ี ดร บั จากการประชมุ คอื ทราบสถานการณก ารดําเนนิ งาน
เก่ียวกับเหมืองแรตาง ๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียน รวมถึง
ทศิ ทางความรว มมอื ในการพฒั นาดา นแรแ ละการทําเหมอื งของ
จนี และประเทศสมาชกิ อาเซยี นซง่ึ จะเปน ประโยชนต อ การเตรยี ม
ความพรอมในการดําเนินงานดานการบริหารจัดการแรและ
เหมอื งแร ของประเทศไทยตอ ไป
2. การเขารวมประชุมความรวมมือและนิทรรศ
การดานทรัพยากรแรจีน-อาเซียน (China-ASEAN Mining
Cooperation Forum & Exhibition: CAMCF) คร้ังที่ 11
ผา นระบบการประชมุ ทางไกล เมอื่ วนั ที่ 20 พฤษภาคม 2564 การประชมุ ความรว มมือและนทิ รรศการดา นทรพั ยากรแรจ นี -อาเซยี น (China-ASEAN
Mining Cooperation Forum & Exhibition: CAMCF) ครงั้ ท่ี 11 ผา นระบบ
การประชมุ Online Forum of Director Generals การประชมุ ทางไกล เม่ือวันที่ 20 พฤษภาคม 2564

of China-ASEAN Geosciences Departments โดยมีผูเขา
รวมประชุมจากหนวยงานดานธรณีวิทยาของประเทศสมาชิก 3. การจดั ประชมุ หารอื คณะทาํ งานโครงการความรว มมอื
อาเซียน องคการระหวางประเทศดานธรณีศาสตร และผูแทน ทางวชิ าการไทย-จนี ระหวาง ทธ. กบั Institute of Mineral
จากสาธารณรฐั ประชาชนจนี จดั ขนึ้ เพอ่ื นําเสนอสถานการณแ ละ Resources (IMR) ภายใต MOU กับ China Geological
ผลการดําเนินงานทีส่ าํ คญั ดา นธรณีศาสตร ประจําป 2563 ของ Survey (CGS) ผานระบบการประชุมทางไกล เม่อื วันอังคารที่
แตล ะประเทศ โดยกรมทรพั ยากรธรณไี ดน าํ เสนอเกย่ี วกบั สถานะ 25 พฤษภาคม 2564
ปจจุบันของธรณีวิทยาและการพัฒนาดานทรัพยากรแรใน กรมทรัพยากรธรณีไดรับทราบความกาวหนาของ
ประเทศไทย และผลประโยชนจากการประชุม คือ ทราบ โครงการความรวมมือทางวิชาการดานการศึกษาวิจัยแรโพแทช
สถานภาพและผลการดาํ เนนิ งาน ทสี่ ําคญั ดา นธรณศี าสตรข อง และไดร ว มกนั ปรบั ปรงุ แผนการดาํ เนนิ งานเพอื่ ใหม คี วามเหมาะสมกบั
ประเทศสมาชิกอาเซียน รวมถึงทิศทางความรวมมือใน สถานการณปจจุบัน ตลอดจนเปนการเสริมสรางความรวมมือ
การพฒั นาดา นธรณวี ทิ ยาระหวา งจนี และประเทศสมาชกิ อาเซยี น ทางวชิ าการระหวา งประเทศดา นการศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นา เพอื่
และการเสรมิ สรา งเครอื ขา ยความรว มมอื ระหวา งประเทศรว มกนั เปน การสนบั สนนุ ยทุ ธศาสตรใ นการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรแร
ในทกุ มติ ิทั้งการพฒั นาเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม สังคม ความเปน และแผนแมบทของการบรหิ ารจดั การแรของประเทศไทยตอไป
อยูของประชาชน และนําไปสูการพัฒนาอยางย่ังยืน รวมถึง
การสง เสรมิ ความรว มมอื ดา นงานวจิ ยั ทางธรณวี ทิ ยาเพอื่ สนบั สนนุ
นวตั กรรมและเทคโนโลยีในยคุ อตุ สาหกรรมใหม

58

การประชุมหารือคณะทํางานโครงการความรวมมอื ทางวชิ าการไทย - จีน ระหวา งกรมทรพั ยากรธรณี กับ Institute of Mineral Resources (IMR)
ผา นระบบการประชมุ ทางไกล เมือ่ วนั องั คารที่ 25 พฤษภาคม 2564

• ความรว มมอื ไทย - ญปี่ ุน Sanematsu and Watanabe (2016) and some analytical
การประชมุ หารอื กบั กรมธรณวี ทิ ยา (GSJ) ประเทศญปี่ นุ work of samples from sea-floor heavy mineral deposits
ผานระบบการประชุมทางไกล วันที่ 10 พฤศจิกายน 2563 โดยไดห ารอื เกย่ี วกบั ขอบเขตและวตั ถปุ ระสงค ซงึ่ มงุ เนน จดั เกบ็ ตวั
เพอื่ พจิ ารณากจิ กรรมภายใตบ นั ทกึ ความเขา ใจ (MOU) ดา นการ ตวั อยา งในการศกึ ษาเบอื้ งตน เกยี่ วกบั การศกึ ษาวจิ ยั ธาตหุ ายาก
ศกึ ษาวจิ ยั แรธาตหุ ายาก (Rare Earth Elements: REEs) และ ทมี่ คี วามสมั พนั ธก บั หางแรด บี กุ -ทงั สเตน จากเหมอื งแรด บี กุ เกา
การแลกเปลยี่ นองคค วามรแู ละผเู ชยี่ วชาญเกย่ี วกบั หอ งปฏบิ ตั กิ าร ในจงั หวดั พงั งา และจงั หวดั ระนอง รว มกบั ตวั อยา งแรห นกั ทเ่ี กบ็
โดยการใชเครื่องมือวิเคราะหในงานแรธาตุและโลหะหนัก ไดจ ากตะกอนพน้ื ทอ งทะเลในการศกึ ษาดว ยวธิ ธี รณเี คมี ผลจาก
(Inductive Coupled Plasma Spectrometer Mass ความรวมมือครั้งน้ีคือจะนําขอมูลทางวิชาการตีพิมพในวารสาร
Spectrometer: ICP-MS) ซงึ่ มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื รว มหารอื เกยี่ วกบั ระดบั นานาประเทศ และขอ มลู ทจ่ี ะเปน ประโยชนใ นการเชอื่ มตอ
เร่ือง Ion-adsorption type REE (Rare Earth Elements) ขอมลู ดานแหลง แรหายากของภมู ภิ าคเอเชยี
deposits which are demonstrated for their genesis in

การประชมุ หารือกบั กรมธรณีวทิ ยา (GSJ) ประเทศญป่ี นุ ผา นระบบการประชมุ ทางไกล
เมอ่ื วนั ท่ี 10 พฤศจกิ ายน 2563

59

• ความรว มมอื CCOP การบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนของสหประชาชาติและ
1. การจดั ประชุมประจําป CCOP ครั้งที่ 56 ระหวาง เปนทิศทางของประเทศสมาชิก CCOP ในการพัฒนาการวาง
วันที่ 3-4 ธันวาคม 2563 และการประชุมคณะกรรมการ เปาหมายการทํางานรวมกัน พรอมทั้งสงเสริมและผลักดัน
บริหาร CCOP ครั้งท่ี 75 เมอ่ื วันที่ 5 พฤศจกิ ายน 2563 ผาน กิจกรรมโครงการใหม ๆ ที่มุงเนนดานการพัฒนาบุคลากร
ระบบการประชมุ ทางไกล รว มกบั สาํ นกั งานเลขาธกิ าร CCOP การนําองคความรูและขอมูลธรณีวิทยาชุมชนมาใชในการลด
จากการประชมุ ไดม กี ารกาํ หนดกรอบกจิ กรรม/แผนงาน/ ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศโลกและปญ หา
โครงการการดาํ เนนิ งานจากแผนปฏิบัตกิ าร ระยะเวลา 5 ป ภายใต การรุกลา้ํ ของน้าํ ทะเลในพื้นท่ีชายฝง เพ่ือการปรับตัวเขาสู
แผนยทุ ธศาสตร CCOP ป พ.ศ. 2564-2568 (CCOP Strategic Plan ยุคดิจิทัลในการเผยแพรขอมูลธรณีวิทยาเพ่ือการพัฒนา
2021-2025) ซงึ่ จะเปน การพฒั นาและยกระดบั งานธรณศี าสตร ประเทศ และการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ของประเทศไทยและภูมิภาคไปสูระดับโลก พรอมมุงสู ตามนโยบายรฐั บาล 4.0

การประชุมคณะกรรมการบรหิ าร CCOP ครั้งท่ี 75 เมอื่ วนั ที่ 5 พฤศจกิ ายน 2563

2. การจัดประชุมทางวิชาการ CCOP 2020 เพ่ือแลกเปลี่ยนองคความรูและเทคโนโลยีทางธรณีศาสตรแบบ
Thematic Session ในหวั ขอ “Geoscience towards New New Normal โดยมกี ารนําเสนอบทความวชิ าการ จํานวน 47 เรอ่ื ง
Normal and Future Earth” รว มกับสํานกั งานเลขาธกิ าร โดยแบงเปนการนําเสนอแบบบรรยาย 39 เรื่อง และแบบ
CCOP ระหวางวันท่ี 15-16 ธันวาคม 2563 ผานระบบ โปสเตอร 8 เรอื่ ง อกี ทงั้ ยงั มกี ารถา ยทอดสดผา นชอ งทาง YouTube
การประชมุ ทางไกล จากนกั วชิ าการ นกั ศกึ ษา และผสู นใจจากทกุ ภาคสว นทเ่ี กย่ี วขอ ง
การประชมุ จดั ขน้ึ ณกรมทรพั ยากรธรณีกรงุ เทพมหานคร จากประเทศสมาชิก ประเทศท่ีใหความรวมมือ และองคกร
เมื่อวันท่ี 15 ธันวาคม 2563 โดยเปนการนาํ เสนอผลงาน ท่ีใหความรวมมอื CCOP

การประชมุ ทางวิชาการ CCOP 2020 Thematic Session วนั ท่ี 15 ธันวาคม 2563

60 ผา นระบบการประชุมทางไกล

3. การเขารวมพธิ ลี งนามบันทกึ ความเขา ใจ (MOU) เพ่ือการแลกเปล่ียนขอมูลองคความรู การรวมสํารวจ และ
การกอตงั้ CCOP-Research Center on Urban Geology การจัดประชุมทางวิชาการะหวางประเทศดานธรณีวิทยาเพื่อ
(RCUG) ระหวาง CCOP และหนว ยงาน China Geological การวางแผนชมุ ชน (Urban Geology) ทง้ั ในและนอกภมู ภิ าคเอเชยี
Survey of China (CGS) สาธารณรัฐประชาชนจีน และหลงั จากพธิ ลี งนามเสรจ็ สน้ิ ไดม กี ารจดั การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
การลงนามบนั ทกึ ความเขา ใจ (MOU) รว มกนั โดยผแู ทน CCOP-RCUG โดยมีการนําเสนอความกาวหนาการดําเนินงาน
จากทงั้ สองฝา ยในการกอ ตงั้ ศนู ยว จิ ยั ทางดา นธรณวี ทิ ยาเกย่ี วกบั ดาน Urban Geology ของผูแทนจาก 5 ประเทศ/องคกร
ชมุ ชนเมอื ง (CCOP-Research Center on Urban Geology: RCUG) พนั ธมติ รผรู ว มกอ ตง้ั ในเครอื ขา ยยโุ รป-เอเชยี ทางดา นธรณวี ทิ ยา
ผา นระบบ Video Conference ในวันท่ี 27 พฤษภาคม 2564 เพ่ือการวางแผนชุมชน (Euro-Asia Network of Urban
ซ่ึงเปาหมายสาํ คัญของการกอตั้งคือเปนศูนยกลางงานดาน Geology: EANUG) ไดแ ก สาธารณรฐั ประชาชนจนี สาธารณรฐั เกาหลี
Urban Geology ระหวางประเทศ และสาํ หรับเปนเวที ญปี่ ุน สหราชอาณาจกั ร สาธารณรฐั ฟน แลนด และ CCOP

พธิ ีลงนามบนั ทึกความเขาใจระหวาง CCOP และ China Geological Survey of China (CGS) สาธารณรัฐประชาชนจีน
เมอื่ วนั ที่ 27 พฤษภาคม 2564 ผา นระบบการประชมุ ทางไกล

4. การจัดประชมุ คณะกรรมการบริหารของ CCOP คร้ังที่ 76 (The 76th CCOP Steering Committee Virtual
Meeting) เม่ือวนั ท่ี 7 กรกฎาคม 2564 ผา นระบบการประชุมทางไกล

จากการประชมุ ไดท ราบความกา วหนา การดําเนนิ กจิ กรรม/โครงการตา ง ๆ ของ CCOP รว มกนั พจิ ารณากจิ กรรม/โครงการใหม
งบประมาณ CCOP ประจาํ ป 2564 และการทบทวนและนําเสนอ Template รปู แบบใหมข องรายงานประเทศ (Country Report)
รวมทง้ั วาระการเตรยี มการจัดประชุม CCOP ที่เกย่ี วขอ งและการเลอื กตง้ั ตําแหนง ทางการบรหิ ารงานตาง ๆ ของ CCOP

การจัดประชุมคณะกรรมการบริหารของ CCOP คร้ังท่ี 76 (The 76th CCOP Steering Committee Virtual Meeting)
เม่อื วันท่ี 7 กรกฎาคม 2564 ผา นระบบการประชมุ ทางไกล

61

• ความรว มมอื ASOMM ตามแผนงานและรายงานผลการใหความสนับสนุนขององคกร
1. การเขา รว มประชมุ เจา หนา ทอ่ี าวโุ สดา นแรธ าตอุ าเซยี น ความรว มมอื ระหวา งประเทศ และเม่ือวนั ท่ี 8 กรกฎาคม 2564
ครงั้ ที่ 20 และการประชุมทเ่ี กี่ยวขอ ง (The 20th ASOMM, เปน การประชมุ คณะทาํ งานสารสนเทศและฐานขอ มลู แร ครงั้ ที่ 19
13th ASOMM+3 & Other Related Meeting/Events) ประกอบดว ยผเู ขา รว มประชมุ จากประเทศสมาชกิ อาเซยี น 10 ประเทศ
ผา นระบบการประชมุ ทางไกล ระหวา งวนั ท่ี 2-4 ธนั วาคม 2563 โดยสาํ นักงานเลขาธิการอาเซียนไดรายงานความคืบหนา
ณ กรมอตุ สาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร ตามแผนงาน และคณะที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัยควีนสแลนด
การประชมุ ประกอบดว ย การประชมุ 2nd AMCAP Task นําเสนอรายงานการศกึ ษาฉบบั สมบณู  เรอ่ื ง “แนวทางการกาํ หนด
Force Meeting เม่ือวนั ที่ 6 ธันวาคม 2563 เวลา 08.00-11.00 น. ขอบเขตและการวิเคราะหเพื่อออกแบบระบบฐานขอมูลแร
และการประชุม 20th ASOMM เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2563 อาเซียน” เพื่อเสริมสรางและสงเสริมดานการคาการลงทุน
เวลา 08.00-11.00 น. และ 13th ASOMM+3 เมื่อวันที่ 4 ในอาเซียน รวมท้ังเปนแหลงรวบรวมขอมูลดานแรธาตุของ
ธันวาคม 2563 เวลา 13.30-14.45 น. (เวลาประเทศไทย) อาเซียนและขอมลู อ่ืน ๆ ท่เี กี่ยวของ
โดยผูแทนจากกรมทรัพยากรธรณี ในฐานะคณะทํางาน
สารสนเทศและฐานขอมูลแร (Mineral Information and
Database) ไดเสนอและแสดงความเห็นเพื่อการพัฒนาและ
ปรับปรุง AMDIS และผลักดันการนาํ เขาขอมูล ในแผนปฏิบัติการ
ความรวมมือดานแรธาตุอาเซียน ฉบับที่ 3 ระยะท่ี 2 ภายใต
การทาํ งานของทีมที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัยควีนสแลนด
ในโครงการเสริมสรางความรวมมืออาเซียนดานแรธาตุ
(Strengthening Asean Cooperation in Minerals: SACM)
และไดต อบแบบสอบถาม เพอ่ื สนับสนนุ การทํางานการกาํ หนด
ขอบเขตและการวิเคราะหเพื่อออกแบบระบบฐานขอมูลแร
อาเซียน (ASEAN Mineral Database and Information
System: AMDIS) ตามแผนงานท่ีกาํ หนด นอกจากนยี้ งั ไดม ีการ
แจงการเปนเจาภาพการประชุมคณะทาํ งานภายใต ASOMM
คร้ังที่ 18 (18th ASOMM Working Groups) และการประชุม
เจา หนา ทอ่ี าวโุ สดา นแรธ าตอุ าเซยี น ครง้ั ที่ 21 และการประชมุ อน่ื ๆ
ท่เี กีย่ วขอ ง (21th ASOMM and 14th ASOMM +3) ซ่ึงเจา ภาพ
การจดั ประชมุ คอื ประเทศเวยี ดนาม
2. การเขารว มประชมุ ออนไลน The 6th ASOMM
JWG Meeting and its Associated Meetings และการ
ประชุมคณะทํางานสารสนเทศและฐานขอมูลแร ครั้งที่ 19
(The 19th Working Group on Mineral Information
and Database: WGMID) ระหวา งวนั ท่ี 6-9 กรกฎาคม 2564
ผานระบบการประชมุ ทางไกล การเขารวมประชุมออนไลน The 6th ASOMM JWG Meeting and its
ผู แ ท น ก ร ม ท รั พ ย า ก ร ธ ร ณี ร ว ม กั บ ผู แ ท น Associated Meetings และการประชมุ คณะทํางานสารสนเทศและฐานขอ มูลแร

กรมอตุ สาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร เขา รวมการประชุม คร้งั ท่ี 19 (The 19th Working Group on Mineral Information and
คณะทํางานรวมดานแรธาตุอาเซียน คร้ังท่ี 6 เม่ือวันที่ 6 Database : WGMID) ระหวา งวันท่ี 6-9 กรกฎาคม 2564
ผานระบบการประชุมทางไกล

กรกฎาคม 2564 เขารว มการประชุมเพื่อรายงานความกา วหนา

62

• ความรว มมอื เครอื ขา ยเพอื่ บรหิ ารจดั การ ขอมูลสถิติตาง ๆ เปรียบเทียบการศึกษาและการเขาทํางาน
ดา นธรณวี ิทยาและทรัพยากรธรณี ในราชการระหวางหญิงชายในประเทศไทย โดยในชวง 2-3 ป
การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “The 1st KIGAM and DMR ที่ผานมา ประเทศไทยมีจํานวนผูหญิงท่ีไดรับตาํ แหนงหนาท่ี
Joint Workshop on Training Center and Geological ทางการบริหารอยูในเปอรเซ็นตท่ีสูงกวาประเทศอื่น ๆ เมื่อ
Museum” ผา นระบบการประชมุ ทางไกล กบั Korea Institute of เปรยี บเทยี บกบั ประเทศตา ง ๆ ในโลก
Geoscience and Mineral Resources (KIGAM) สาธารณรฐั เกาหลี
เมอ่ื วนั ท่ี 16 มนี าคม 2564 โดยประโยชนท ไี่ ดร บั จากความรว มมอื • การประชมุ วชิ าการ 17th World Conference
เครือขายเพ่ือบริหารจัดการดานธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี on Earthquake Engineering (17WCEE) ระหวา ง
ไดแก (1) กรอบความรวมมือดานการพัฒนาองคความรู วันที่ 27 กันยายน - 2 ตุลาคม 2564
การบรหิ ารจดั การพพิ ธิ ภณั ฑแ ละคลงั ตวั อยา งทรพั ยากรธรณี และ ณ เมอื งเซนได ประเทศญปี่ นุ และผา นระบบการประชมุ
ซากดึกดาํ บรรพ และการแลกเปลี่ยนการจัดนิทรรศการ ทางไกล (Virtual conference)
ที่ท้ังสองฝายเห็นชอบใหดาํ เนินการรวมกัน จะเปนการชวย
สง เสรมิ และยกระดบั พพิ ธิ ภณั ฑท างธรณวี ทิ ยาของกรมทรพั ยากรธรณี โดยการประชุมวิชาการ 17 WCEE จะมีการนาํ เสนอ
ใหเปนแหลงเรียนรูท่ีสาํ คัญของประเทศไทยและในภูมิภาค และเผยแพรบทความวิชาการจากนักวิชาการระดับโลกดาน
(2) กรอบความรว มมอื ดา นการพฒั นาศนู ยก ารฝก อบรมดา นธรณี วิศวกรรมแผนดินไหว แผนดินไหว และธรณีวิทยาแผนดินไหว
ศาสตรของประเทศไทย และ (3) การดําเนินงานความรวมมือ และเมอื่ วนั ท่ี 28 กนั ยายน 2564 ไดม ผี แู ทนจากกรมทรพั ยากรธรณี
กับ KIGAM เพื่อแลกเปลี่ยนองคความรูระหวางกันและ ที่เขารวมนําเสนอบทความ คอื นายวีระชาติ วิเวกวิน เร่อื ง SLIP
ชวยพัฒนาทักษะและศกั ยภาพของบคุ ลากรฝา ยไทย RATE AND RECENCY OF LARGE PALEOEARTHQUAKE OF
SINISTRAL ACTIVE FAULTS IN INDOCHINA REGION
ซ่ึงมีเน้ือหาเก่ียวของกับหลักฐานการเกิดเหตุการณแผนดินไหว
• ความรว มมอื การเทยี บสมั พนั ธข อ มลู ทาง ในอดีตของรอยเลื่อนแมจัน อาํ เภอแมจัน จังหวัดเชียงราย
ธรณีวิทยานานาชาติ (International Geological รอยเลอ่ื นอตุ รดติ ถ อําเภอน้ําปาด จงั หวดั อตุ รดติ ถ ประเทศไทย
Correlation Programme: IGCP) ภายใต UNESCO และรอยเลื่อนเดียนเบียนฟู บริเวณเมืองหลวงพระบาง
และ IUGS สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ในพื้นท่ี
โครงการมหี วั ขอ การศกึ ษาวจิ ยั 2 เรอ่ื ง คอื (1) ธรณปี ระวตั ิ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ผลการศึกษาบงชี้วารอยเล่ือน
แ ล ะ ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ข อ ง แ ผ น ท วี ป ก อ น ด ว า น า แ ล ะ แมจ นั รอยเลือ่ นอุตรดติ ถ และรอยเล่ือนเดียน-เบยี นฟู จัดเปน
(2) วิวัฒนาการของโลกในชวงมหายุคพาลีโอโซอิกตอนตน รอยเลื่อนมีพลังท่ีเคยเกิดเหตุการณแผนดินไหวเม่ือหลายพันป
ชวงดําเนินการระยะเวลาตั้งแตป 2561-2565 โดยมีผแู ทนจาก ท่ีผานมา และยังมีโอกาสทาํ ใหเกิดแผนดินไหวไดอีกในอนาคต
กรมทรัพยากรธรณีไดเขารวมการประชุมวิชาการ IGCP 668: ดงั นน้ั ขอ มลู ทไ่ี ดจ ากการศกึ ษา เชน อตั ราการเลอ่ื นตวั คาบอบุ ตั ซิ ้ํา
Equatorial Gondwanan history and Early Palaeozoic จึงเปนประโยชนอยางมากสําหรับการวิเคราะหพ้ืนท่ีภัยพิบัติ
Evolutionary Dynamics ประจาํ ป 2564 ผา นระบบ Video แผนดินไหว สําหรับนําไปลดผลกระทบจากแผนดินไหว
Conference ระหวางวนั ท่ี 16-19 กรกฎาคม 2564 ซึง่ จัดโดย ในอนาคต
University of Tsukuba ประเทศญ่ีปุน โดยมีนักวิชาการ
นกั ธรณวี ทิ ยา และนกั วทิ ยาศาสตรจ ากประเทศสมาชกิ 20 ประเทศ
เขารวมนาํ เสนอผลงานทางวิชาการในรูปแบบการบรรยาย
(Oral presentation) และโปสเตอร (Poster session) รวมทงั้
การเสวนาและประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารทางวชิ าการ (Special talk
& Workshop) โดยในการประชุมครั้งน้ี คณะผจู ัดงานไดเชญิ ให
นางอัปสร สอาดสุด ผูอาํ นวยการกองวิเคราะหและตรวจสอบ
ทรพั ยากรธรณี เปน ผแู ทนหญงิ ไทยกลา วบนั ทกึ วดี โิ อเรอ่ื งความเสมอภาค
ของชายหญิงดานธรณีวิทยาในประเทศไทย โดยมีการนาํ เสนอ

63

4.2 การใหบรกิ ารดา นธรณวี ทิ ยาและทรพั ยากรธรณี ที่มีความเสี่ยง เพ่ือสรางความม่ันใจและเพื่อหาแนวทางใน
การอนุรักษแหลงมรดกทางธรณีวิทยาบริเวณเขาตาปู อุทยาน
• ใหบ รกิ ารวเิ คราะหแ ละตรวจสอบตวั อยา ง แหงชาติอา วพังงา จงั หวัดพังงา โดย รัฐมนตรีวา การกระทรวง
ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นายวราวุธ ศิลปอาชา
ดําเนนิ การวเิ คราะหต รวจสอบตวั อยา งดนิ หนิ แร ธรณวี ตั ถุ เนนย้าํ ใหเรงสาํ รวจ เพื่อหาแนวทางการอนุรักษและปองกัน
และรัตนชาติ ใหแ กห นว ยงานราชการภายใน ภายนอก เอกชน การพังทลายของเขาตาปู ซ่ึงผลการสํารวจทางธรณีฟสิกสและ
และประชาชน จํานวนรวมทง้ั สนิ้ 3,917 ตวั อยา ง 66,324 รายการ ธรณเี ทคนคิ พบมรี อยแตกระดบั ลกึ วางตวั สอดคลอ งกบั รอยแตก
พรอมท้ังใหคําปรึกษาดานการวิเคราะหและตรวจสอบ เหนือระดับนํ้าในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันตกเฉียงใต
ทรพั ยากรธรณีใหแ กห นวยงานราชการและสถาบันการศกึ ษา ซงึ่ เปนจุดท่ีกระแสนาํ้ ไหลขน้ึ -ลงในแนวเดียวกนั ซึง่ จะสง ผลตอ
เสถียรภาพหินสวนฐานแนวทางในการอนุรักษ คือ การเสริม
• ใหบริการและพัฒนาดา นธรณเี ทคนคิ ความหนาหินสวนฐานเพื่อชะลอการผุพังและการปดรอยแตก
ดําเนินการใหบริการและพัฒนาดานธรณีเทคนิค โดย เพื่อลดการเซาะของน้ําผานรอยแตก
การสาํ รวจทางธรณฟี ส กิ สใ นพน้ื ทต่ี า ง ๆ รวมทง้ั สนิ้ 8 ครงั้ ไดแ ก
(1) การสํารวจธรณฟี ส กิ สเ พอื่ จดั ทําขอ มลู ธรณวี ทิ ยาใต
ผวิ ดนิ โครงการพฒั นาแหลง นํา้ พน้ื ทสี่ ระบอ ดนิ ขาว อาํ เภอตาคลี
จังหวดั นครสวรรค
(2) การสาํ รวจธรณฟี สกิ สพ้ืนทีโ่ ครงการ “โคก หนองนา
สูสากล” ศูนยศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑไดโนเสารภูเวียง
อาํ เภอเวียงเกา จงั หวัดขอนแกน

รปู แสดงพนื้ ทโ่ี ครงการ “โคก หนอง นา สูสากล” การสาํ รวจธรณีวิทยาทางทะเลเพอื่ การอนุรกั ษแ หลง มรดกทางธรณวี ิทยา
ศนู ยศกึ ษาวจิ ัยและพพิ ิธภณั ฑไดโนเสารภ เู วยี ง โดยการตรวจเยีย่ มของ รมว.ทส. และงานสาํ รวจฐานรากเขาตาปู

(3) การสาํ รวจธรณฟี ส กิ สพ นื้ ทหี่ ลมุ ยบุ โรงเรยี นวดั ราชชา งขวญั
อําเภอเมอื ง จังหวัดพิจิตร

(4) การสาํ รวจธรณีวิทยาทางทะเลเพ่ือการบริหาร
จดั การพนื้ ทอ่ี นั ควรอนรุ กั ษท างธรณวี ทิ ยา เขาตาปู อทุ ยานแหง ชาติ
อาวพังงา จังหวัดพังงาเน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภมู อิ ากาศโลก กอ ใหเ กดิ ความรนุ แรงของคลนื่ ลม สง ผลการพงั ถลม
ของหินในหลายพื้นที่ทองเที่ยวทางทะเล ความกังวลตอ
ความปลอดภัยของนักทองเที่ยวและประชาชนในพื้นท่ี
กรมทรัพยากรธรณีไดทําการสํารวจแหลงทองเท่ียวทางทะเล

64

(5) การสาํ รวจธรณวี ทิ ยาทางทะเลเพอื่ การอนรุ กั ษพ นื้ ท่ี ในบรเิ วณนหี้ ลายครง้ั ซงึ่ สาเหตสุ าํ คญั คอื สว นฐานทคี่ อดกว่ิ จาก
ปราสาทหนิ พนั ยอด อทุ ยานแหง ชาตหิ มเู กาะเภตรา อทุ ยานธรณี การกดั เซาะของคลน่ื ลมในทะเล ทําใหไ มส ามารถรองรบั นา้ํ หนกั
โลกสตลู โดยการสํารวจครงั้ นม้ี ผี วู า ราชการจงั หวดั สตลู ไดต รวจ มวลหนิ ขนาดใหญด า นบน และหนิ ในบรเิ วณนม้ี รี อยแตกจํานวนมาก
ติดตามและรับฟงรายงานการสาํ รวจทางธรณีวิศวกรรมและ เสย่ี งตอ การวบิ ตั แิ ละรว งลงมาได ซงึ่ ไดม กี ารประชมุ และกาํ หนด
ธรณีวิทยาทางทะเล รวมกับหัวหนาสวนราชการ และวิสาหกิจ แนวทางรว มกนั ในการใหบ รกิ ารแกน กั ทอ งเทยี่ วเขา ไปดา นในได
ชุมชนในพื้นที่ เพื่อเรงหามาตรการที่เหมาะสมในการเปดให เฉพาะชว งปลอดมรสมุ ประมาณกลางเดอื นพฤศจกิ ายน ถงึ กลาง
นกั ทอ งเทย่ี วไดเ ขา เยย่ี มชมความงามของปราสาทหนิ พนั ยอดได เดือนพฤษภาคมเทาน้ัน และนักทองเท่ียวตองสวมหมวกนิรภัย
อยา งปลอดภยั ผลการสาํ รวจพบวา ในอดตี เคยมกี ารถลม ของหนิ และรม ชชู ีพ

การตรวจตดิ ตามของผูวา ราชการจังหวดั สตลู และแผนที่ลกั ษณะหนิ ถลม ใตน าํ้ หนาปราสาทหินพันยอดในอดตี

(6) การสํารวจธรณฟี ส กิ สเ พอ่ื หาลกั ษณะโครงสรา งทาง • ตดิ ตาม สาํ รวจ ตรวจสอบพนื้ ทแี่ ละประสาน
ธรณีวิทยาและลักษณะช้ันดิน/ช้ันหินในระดับลึก พ้ืนที่สวนปา ความรวมมือดานธรณีวิทยาส่ิงแวดลอมและธรณี
จําปส ริ นิ ธร ตาํ บลซบั จาํ ปา และพน้ื ทอ่ี า งเกบ็ น้าํ ตาํ บลแกง ผกั กดู พบิ ตั ภิ ัย
อาํ เภอทา หลวง จงั หวัดลพบรุ ี ดาํ เนนิ การตดิ ตาม สํารวจ ตรวจสอบพนื้ ทแ่ี ละประสาน

(7) การสาํ รวจธรณฟี ส กิ สร อยเลอื่ นลําตะคอง พนื้ ทบี่ า น ความรวมมือดานธรณีวิทยาส่ิงแวดลอมและธรณีพิบัติภัยใน
ปางหวั ชา ง ตาํ บลหนองยา งเสอื อําเภอมวกเหลก็ จงั หวดั สระบรุ ี ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไดด ําเนนิ การรวมทั้งสนิ้ 42 คร้ัง
และพื้นท่ีบานมอดินแดง ตําบลจันทึก อําเภอปากชอง
จังหวดั นครราชสีมา
(8) การสํารวจธรณีฟสิกสวัดคาสภาพตานทานไฟฟา
พ้นื ทเี่ วียงหนองลม อําเภอแมจ ัน จงั หวดั เชียงราย

• ใหบ รกิ ารดา นตรวจสอบแหลง แร
ต ร ว จ ส อ บ ร า ย ง า น ลั ก ษ ณ ะ ธ ร ณี วิ ท ย า แ ห ล ง แ ร
ตามระเบยี บกรมทรพั ยากรธรณวี า ดว ยการตรวจสอบทรพั ยากรแร
เพอ่ื การขอเขา ทาํ ประโยชนใ นเขตพน้ื ทป่ี า ไมเ พอ่ื การทาํ เหมอื งแร
พ.ศ. 2563 รวมทั้งสน้ิ 50 เรื่อง

• ใหบ ริการขอมูลดานธรณวี ทิ ยา รูปแสดงการตรวจสอบลักษณะทางธรณวี ิทยาของพ้ืนท่ี
การใหบ รกิ ารดา นธรณวี ทิ ยาในการตรวจสอบพน้ื ทดี่ นิ งอก ตําบลดอนตะโก อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั ราชบุรี
สภาพชัน้ ดนิ ในพ้ืนทต่ี าง ๆ ทีม่ กี ารรอ งขอ รวมทัง้ ส้นิ 8 คร้ัง
65

• การปฏิบัติงานรวมกันหรือสนับสนุน 4.3 การบรหิ ารจัดการแร
การปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นท่ีเก่ียวของหรือ
ท่ไี ดรับมอบหมาย กรมทรัพยากรธรณี ในฐานะสาํ นักงานเลขานุการ
ดาํ เนนิ การสํารวจจดั ทาํ แผนทธ่ี รณวี ทิ ยาเขาวง ทต่ี ง้ั อยู คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแหงชาติ ท่ีรับผิดชอบ
สนับสนุนการดาํ เนินการของคณะกรรมการนโยบายบริหาร
ในเขตตาํ บลชอ งแค และตําบลพรหมนมิ ติ ร อําเภอตาคลี จงั หวดั จัดการแรแหงชาติ คณะอนุกรรมการ และคณะทาํ งานภายใต
นครสวรรค โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการสนับสนุนขอมูลพื้นฐาน คณะกรรมการนโยบายบรหิ ารจดั การแรแ หง ชาติ รวมถงึ การขบั เคลอื่ น
ธรณีวิทยาสําหรับการบริหารจัดการโครงการพัฒนาแหลงน้ํา การบริหารจัดการแร ใหเปนไปตามยุทธศาสตร นโยบาย
พ้ืนท่ีสะบอดินขาว ตําบลพรหมนิมิต อําเภอตาคลี จังหวัด และแผนแมบทการบริหารจัดการแร ไดมีการดาํ เนินการ
นครสวรรค สงผลงานวิชาการของสวนเขารวมงานประชุม ในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั ตอ ไปนี้
วิชาการธรณไี ทย ประจาํ ป 2564 (GEOTHAI WEBINAR 2021)
ณ กรมทรพั ยากรธรณี และผา นทางออนไลนผ า นทาง application 1. เสนอหลกั เกณฑก ารมสี ว นรว มของภาครฐั ภาคเอกชน
zoom Webinar/meeting ทจี่ ดั ระหวา งวนั ที่ 4-6 สงิ หาคม 2564 และภาคประชาชนในการบริหารจัดการแร เพื่อเปดโอกาสให
ทั้งในรูปแบบของการนําเสนอผลงานวิชาการ บทคัดยอ และ ทกุ ภาคสวนไดมสี วนรว มในการบรหิ ารจดั การแรของประเทศ
โปสเตอร และการใหบ รกิ ารความเหน็ เชงิ วชิ าการหรอื ขอ แนะนาํ
ดานแหลงอนุรักษธรณีวิทยาหรือแหลงเรียนรูทางธรณีวิทยา 2. จดั ทํา (ราง) ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ
รวมทง้ั การใหค วามสนบั สนนุ ดา นองคค วามรธู รณวี ทิ ยา การเปน และส่ิงแวดลอม เรื่อง กาํ หนดพ้ืนท่ีในทองท่ี อําเภอเมืองพังงา
วิทยากร และการวิจัยธรณีวิทยารวมกับสถาบันทางการศึกษา อาํ เภอครุ ะบุรี อําเภอตะก่ัวปา อาํ เภอกะปง อาํ เภอทายเหมอื ง
ท้ังในและระหวางประเทศ และการบริการขอมูลและตัวอยาง อาํ เภอตะกวั่ ทงุ จงั หวดั พงั งา ใหเ ปน เขตสาํ หรบั ดําเนนิ การสาํ รวจ
การศึกษา หรอื การวจิ ัยเกยี่ วกับแร

ทางธรณีวทิ ยาในสาํ นกั งาน

66

3. ประเมินพื้นท่ีท่ีมีศักยภาพในการทาํ เหมืองตาม 6. การดาํ เนนิ การกรณีมขี อ รองเรียนถึงคณะกรรมการ
หลักเกณฑการจาํ แนกทรัพยากรแรของประเทศไทย (TMFC) นโยบายบริหารจดั การแรแหงชาติ กรมทรพั ยากรธรณี ในฐานะ
ของหนิ อตุ สาหกรรมทง้ั ประเทศ เพอ่ื กําหนดใหเ ปน เขตแหลง แร สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร
เพื่อการทําเหมือง และกาํ หนด (ราง) คํานิยามกาํ หนดเปน แหงชาติ พจิ ารณากลนั่ กรองและประสานหนว ยงานท่ีเกยี่ วของ
เขตแหลงแรเพื่อการทาํ เหมือง (กําหนดเปนเงื่อนไขเพ่ิมเติม ทม่ี อี ํานาจหนา ทรี่ บั ผดิ ชอบโดยตรงเพอื่ พจิ ารณาดาํ เนนิ การตอ ไป
ประกอบแผนท่ีเขตแหลงแร เพ่ือการทาํ เหมือง) เพื่อกําหนดไว 7. ดําเนนิ การใหค วามเหน็ ตอ สํานกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี
ใน (รา ง) แผนแมบ ทการบรหิ ารจดั การแร ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2565 - 2569 กรณีขอผอนผันใชประโยชนพ้ืนท่ีลุมน้าํ ช้ันท่ี 1 เพ่ือการ
4. จัดทําขอมูลท่ีตองเปดเผยในการจัดทํา (ราง) ทาํ เหมอื งแรและเพอ่ื ตออายุประทานบตั ร จํานวน 2 เร่ือง
แผนแมบทการบริหารจดั การแร ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2565 - 2569 8. ขับเคล่ือนกิจกรรมการดาํ เนินการเหมืองแรที่
ตามหลักเกณฑการมีสวนรวมของภาครัฐ ภาคเอกชน และ เปนมิตรตอส่ิงแวดลอมและมีธรรมาภิบาลผานกลไกของ
ภาคประชาชนในการบรหิ ารจดั การแร และเผยแพร ผา นชอ งทาง คณะอนกุ รรมการและคณะทํางาน
ตาง ๆ เพ่ือสรางการรับรูและความเขาใจใหกับภาคประชาชน 9. ติดตามและประเมินผลการดาํ เนินงานตาม
และผูท่สี นใจ แผนแมบ ทการบรหิ ารจดั การแร พ.ศ. 2560 - 2564 ระยะสน้ิ แผน
5. จัดทาํ (ราง) แผนแมบทการบริหารจัดการแร เพ่อื จัดทําเปน (ราง) รายงานผลการดาํ เนนิ งานตามแผนแมบ ท
ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2565 - 2569 โดยอยูระหวางดาํ เนินการ การบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ตอไป
มีสวนรวมในการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร 10. เผยแพรประชาสัมพันธผลการดําเนินงาน
ตามหลกั เกณฑใ นประกาศคณะกรรมการนโยบายบรหิ ารจดั การ ของคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแหงชาติ
แรแหงชาติ เรื่อง หลักเกณฑการมีสวนรวมของภาครัฐ คณะอนุกรรมการ และคณะทาํ งาน สูสาธารณชนผานสื่อ
ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการบริหารจัดการแร ออนไลน 2 ชองทาง ไดแ ก (1) เวบ็ ไซตค ณะกรรมการนโยบาย
บรหิ ารจดั การแรแ หง ชาติ และ (2) เฟซบกุ แฟนเพจคณะกรรมการ
นโยบายบรหิ ารจดั การแรแ หง ชาติ รวมจาํ นวน 35 ชิ้นงาน

การประชุมคณะกรรมการนโยบายบริหารจดั การแรแ หงชาติ ครั้งท่ี 1/2564 เมอ่ื วนั ท่ี 3 พฤษภาคม 2564 ณ หอ งประชุม 301 67
ตกึ บญั ชาการ 1 ทําเนียบรฐั บาล และผานระบบวีดที ัศนท างไกล ณ หอ งประชมุ ชน้ั 1 อาคารเพชร กรมทรพั ยากรธรณี

5. ดานบริหารระบบสารสนเทศธรณีวิทยา ประยุกตในรูปแบบ Web-based Application สาํ หรับเขา
และทรัพยากรธรณี ใชงานขอมูล ผา นทาง https//gis.dmr.go.th ในปงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ไดม กี ารพฒั นา ตอ ยอดเพอื่ รองรบั การใชง านสําหรบั
การบรหิ ารและพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศธรณวี ทิ ยา เพ่ิมประสิทธิภาพของการบริหารจัดการแหลงธรณีวิทยาและ
และทรพั ยากรธรณี มรดกธรณี โดยปรับปรุงโปรแกรมประยุกต Web-based
Application ติดต้ัง GIS Portal และจัดทาํ โปรแกรมประยุกต
• การพฒั นาระบบฐานขอ มลู ภมู สิ ารสนเทศ ภายใต GIS Portal ในรปู แบบตา ง ๆ ไดแก โปรแกรมประยกุ ต
ทรพั ยากรธรณี รปู แบบ Native Mobile Application เพอ่ื อาํ นวยความสะดวก
ระบบฐานขอมูลภูมิสารสนเทศไดพัฒนาขึ้นใน สาํ หรับการบันทึกและสงขอมูลจากภาคสนาม โปรแกรม
ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพ่ือใชในการรวบรวมและจัดการ ประยุกตร ปู แบบ Web Application Builder เพ่ือเพมิ่ ชองทาง
ขอ มลู ดา นธรณวี ทิ ยาและทรพั ยากรธรณี และรองรบั การเชอ่ื มโยง ใหบริการสืบคนขอมูลดานธรณีวิทยาสาํ หรับประชาชน
แลกเปลย่ี นขอ มลู กับระบบของหนว ยงานภายนอก สําหรบั เพ่ิม และโปรแกรมประยุกตรูปแบบ Interactive Dashboard
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการแร และไดพัฒนาโปรแกรม เพอื่ สรุปขอ มลู เชงิ พ้นื ทีป่ ระกอบการตัดสินใจ

Web-based Application Native Mobile Application

Web Application Builder ดา นธรณวี ิทยา Interactive Dashboard อุทยานธรณี

Interactive Dashboard ถา้ํ Interactive Dashboard แร

68

• การพัฒนาระบบบัญชีขอมูลของหนวย พฒั นาเปนระบบบัญชีขอ มลู ของหนวยงาน ท่ีสามารถใหบ รกิ าร
งานกรมทรพั ยากรธรณี ขอมูลผานระบบ Web-based Application และ Mobile
การพัฒนาระบบบัญชีขอมูลของหนวยงานกรม (Web Responsive) ผานทาง http://data.dmr.go.th
ทรพั ยากรธรณี ไดด าํ เนนิ การตามแนวทางการจดั ทําและการใช ประกอบดวย สืบคน แสดงรายชื่อชุดขอมูล คาํ อธิบาย
มาตรฐานซอฟแวรแ บบเปด Open Source: CKAN Open-D Platform ขอมูล(Metadata) และดาวนโหลดขอมูลกลุมสาธารณะ
ทส่ี ํานกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั (องคก ารมหาชน) หรอื สพร. รว ม โดยปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไดดําเนินการจัดทาํ บัญชีขอมูล
กับ เนคเทค-สวทช. ไดกาํ หนดใหแกหนวยงานภาครัฐนาํ มา ดา นธรณพี บิ ตั ภิ ยั ดนิ ถลม และนําเขา สรู ะบบจาํ นวนทงั้ สนิ้ 18 ชดุ ขอ มลู

ระบบบญั ชีขอมลู ของหนว ยงานกรมทรัพยากรธรณี

• การสนบั สนนุ การพฒั นาระบบฐานขอ มลู กรมทรพั ยากรธรณไี ดส นบั สนนุ ขอ มลู และการดาํ เนนิ งาน
ขนาดใหญ (Big Data) ของกระทรวงทรัพยากร Big data ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอม จํานวน 2 ดาน คือ (1) ดา นทรัพยากรทางบก (การทอ งเทีย่ วทางบก
การพัฒนาระบบ Big data ของกระทรวงทรัพยากร ในความรับผิดชอบของ ทส.) ขอมูลที่สนับสนุน ไดแก แหลง
ธรณวี ิทยาและมรดกธรณี (2) ดา นทรพั ยากรนาํ้ (สถานการณน ้ํา
ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม ในปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ประกอบดว ย หลาก-ดนิ ถลม) ขอ มลู ทสี่ นับสนนุ ไดแก หมบู า นเส่ยี งภัยแผน ดิน
ดา นทรพั ยากรทางบก (การทอ งเทย่ี วทางบกในความรบั ผดิ ชอบ ถลม พนื้ ทอ่ี อ นไหวตอ การเกดิ แผน ดนิ ถลม รอ งรอยแผน ดนิ ถลม
ของ ทส.) ดานสิ่งแวดลอม (คุณภาพนํ้า 4 สายหลัก) ตําแหนงปลอดภัยจากแผนดินถลม ตาํ แหนงสถานท่ีสําคัญใน
ดา นทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง (ทรพั ยากรในแหลง ทอ งเทย่ี ว พน้ื ท่ี เสยี่ งภยั ดนิ ถลม ระดบั ชมุ ชน และพนื้ ทไี่ ดร บั ผลกระทบจาก
ทางทะเลในความรับผิดชอบของ ทส.) ดานทรัพยากรน้าํ ดินถลม นํ้าปาไหลหลากและน้าํ ทวมฉบั พลัน และสนบั สนนุ การ
(สถานการณนํ้าหลาก-ดินถลม) และดานความหลากหลายทาง วเิ คราะหจ ัดทาํ Dashboard ที่เก่ยี วของ
ชวี ภาพ (สถานภาพการคุกคามของสัตวม ีกระดกู สนั หลัง)

Dashboard การทอ งเท่ยี วทางบกในความรับผดิ ชอบของ ทส. 69

Dashboard หมบู า นเส่ยี งภยั แผน ดนิ ถลม

Dashboard รองรอยแผน ดนิ ถลม

Dashboard พื้นทอ่ี อ นไหวตอ การเกิดแผนดนิ ถลม

Dashboard สถานที่สาํ คญั ในพื้นทเ่ี สยี่ งภยั ดินถลม

70

µú³¦¤¿Î
›§•¼¯Æ›¾¦É¦űò›§ű¯º­¼£
ª
Ű


é ›§ÇµĤ›¡¼¦º•¼¯Æ›¦¾
é ›§ÇµĤ›¨±•¼¯ĤĬ¼Æ¦¾¦›¼¦¤¼›•¼¯Æ›¾¦
é ›§ÇµĤ›•¼¯Æű±¿Î®¦Çű±›µ¾¦¤¯»ª®þµÂ¤¥¾ µú³¦¤¦Â
é ¯¼®›¼¦¯¼®ÊĤûǨú¦Ĥ¾¦

DMRANNUAL REPORT 2021

กรมทรพั ยากรธรณี

งบแสดงฐานะการเงนิ (ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564)

สนิ ทรัพย หมายเหตุ 2564 (หนวย : บาท)
สินทรพั ยห มนุ เวียน 2563
เงินสดและรายการเทียบเทา เงินสด 5 34,978,837.86
ลูกหนีอ้ ืน่ ระยะสน้ั 6 17,027,224.30 38,654,347.91
วสั ดคุ งเหลอื 7 7,883,787.70 3,565,283.71
รวมสินทรพั ยห มนุ เวียน 59,889,849.86 6,060,296.17
สินทรพั ยไมหมนุ เวยี น 8 48,279,927.79
ลูกหนอ้ี น่ื ระยะยาว 9 225,378.82
ทด่ี นิ อาคาร และอปุ กรณ- สุทธิ 10 1,233,496,056.28 215,516.86
สินทรพั ยไมม ีตัวตน-สทุ ธิ 11 1,246,726,909.96
สนิ ทรพั ยไมห มนุ เวียนอน่ื 37,918,853.69
รวมสนิ ทรัพยไมหมนุ เวยี น 12 423,317.12 41,483,388.82
13 423,317.12
รวมสนิ ทรพั ย 14 1,272,063,605.91
หนีส้ นิ - 1,331,953,455.77 1,288,849,132.76
1,337,129,060.71
หนสี้ ินหมุนเวยี น 15 39,409,230.53
เจาหนีร้ ะยะส้ัน 16 5,021.85 22,776,032.37
เจา หน้เี งินโอนและรายการอุดหนนุ ระยะสนั้ 17 4,970.28
เงนิ รบั ฝากระยะสั้น 4,193,540.19
หนสี้ นิ หมุนเวยี นอื่น 20 - 8,297,258.64
รวมหนส้ี นิ หมุนเวียน - 472.00
43,607,792.57
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เปน สว นหนึ่งของรายงานการเงินน้ี 31,078,733.29
29,994,321.57
หน้ีสนิ ไมหมนุ เวยี น 8,000,000.00 30,411,768.90
เจา หนี้เงนิ โอนและรายการอุดหนนุ ระยะยาว 8,000,000.00
เงินทดรองราชการรบั จากคลังระยะยาว 225,378.82
หน้สี ินไมหมุนเวยี นอื่น 38,219,700.39 215,516.86
รวมหนีส้ ินไมหมนุ เวียน 81,827,492.96 38,627,285.76
69,706,019.05
รวมหน้ีสนิ 343,052,280.72
สินทรพั ยส ุทธ/ิ สวนทุน 907,073,682.09 343,052,280.72
ทุน 1,250,125,962.81 924,370,760.94
รายไดส ูง/(ตํ่า)กวาคา ใชจา ยสะสม 1,331,953,455.77 1,267,423,041.66
1,337,129,060.71
รวมสินทรพั ยส ุทธ/ิ สวนทุน
รวมหนส้ี นิ และสนิ ทรัพยสทุ ธิ/สว นทุน

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินเปนสวนหนงึ่ ของรายงานการเงินน้ี

หมายเหตุ : ยงั ไมผา นการตรวจสอบและรับรองงบการเงนิ จากสาํ นกั งานการตรวจเงนิ แผน ดิน

72

กรมทรพั ยากรธรณี

งบแสดงผลการดาํ เนนิ งานทางการเงิน (สําหรับปส ้นิ สดุ วันท่ี 30 กันยายน 2564)

รายได หมายเหตุ 2564 (หนว ย : บาท)
2563

รายไดจากงบประมาณ 21 702,676,659.47 811,383,852.48
รายไดจากการขายสินคาและบริการ 22 0.00 152,700.00
รายไดจากการอุดหนนุ และบรจิ าค 23 1,074,570.66
รายไดอ่นื 24 51,666.79 1,187,896.11
รวมรายได 40,215.68
คาใชจา ย 703,802,896.92
812,764,664.27

คาใชจายบคุ ลากร 25 242,574,465.77 239,313,709.27
คา บําเหน็จบํานาญ 26 164,783,562.00 165,221,215.12
คาตอบแทน 27 108,600.00 356,185.00
คาใชสอย 28 158,891,324.57 179,985,427.21
คาวัสดุ 29 13,154,065.39 16,461,268.76
คาสาธารณูปโภค 30 20,309,845.77 23,472,090.17
คา เส่ือมราคาและคาตัดจําหนา ย 31 116,295,690.68 101,149,067.07
คา ใชจายจากการอดุ หนนุ และบรจิ าค 32 2,597,272.83
คา ใชจ า ยอื่น 33 2,385,148.76 2,252,774.00
รวมคาใชจ า ย 5,681.45
721,099,975.77
726,282,543.44
รายไดส ูง/(ตา่ํ )กวา คา ใชจา ยสุทธิ (17,297,078.85) 86,482,120.83
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ เปน สว นหนง่ึ ของรายงานการเงินน้ี

กรมทรพั ยากรธรณี

งบแสดงการเปล่ียนแปลงสนิ ทรัพยสทุ ธิ/สวนทุน (สําหรบั ปส ิ้นสุดวนั ที่ 30 กันยายน 2564)
(หนวย : บาท)
ทนุ ราคยาไดใชสจูงา /ย(สตะํ่าส)กมวา รสวทุ มธสิ/นิสทว นรัพทนุย
ยอดคงเหลือ ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2562 – ตามทร่ี ายงานไวเ ดิม 343,052,280.72 817,253,314.18 1,160,305,594.90
ผลสะสมจากการแกไขขอ ผิดพลาดปกอน ในป 2562 – 23,956.93 23,956.93
ผลสะสมจากการแกไขขอ ผิดพลาดปกอ น ในป 2564 –
ยอดคงเหลอื ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2562 – หลังการปรบั ปรุง 343,052,280.72 20,611,369.00 20,611,369.00
การเปล่ียนแปลงในสนิ ทรัพยส ุทธ/ิ สว นทนุ สําหรบั ป 2562 837,888,640.11 1,180,940,920.83
รายไดสูง/(ต่าํ )กวา คาใชจ ายสาํ หรบั งวด –
ยอดคงเหลอื ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2563 343,052,280.72 86,482,120.83 86,482,120.83
924,370,760.94 1,267,423,041.66

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2563 – ตามทร่ี ายงานไวเดิม 343,052,280.72 901,824,517.33 1,244,876,798.05
ผลสะสมจากการแกไ ขขอผิดพลาดปกอน – 22,546,243.61 22,546,243.61
ยอดคงเหลือ ณ วันท่ี 30 กันยายน 2563 – หลังการปรบั ปรงุ 343,052,280.72
การเปล่ยี นแปลงในสินทรพั ยสุทธิ/สวนทนุ สําหรับป 2563 924,370,760.94 1,267,423,041.66
รายไดสงู /(ต่าํ )กวา คา ใชจ ายสําหรบั งวด – (17,297,078.85) (17,297,078.85)
ยอดคงเหลอื ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564 343,052,280.72 907,073,682.09
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เปน สว นหนง่ึ ของรายงานการเงนิ นี้ 1,250,125,962.81

หมายเหตุ : ยังไมผ านการตรวจสอบและรบั รองงบการเงินจากสาํ นกั งานการตรวจเงินแผนดนิ 73

กรมทรพั ยากรธรณี

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน (สาํ หรบั ปส ิ้นสุดวันท่ี 30 กันยายน 2564)

หมายเหตุ สารบญั หมายเหตุ สารบญั
1 ขอมูลทั่วไป 18 ภาระผูกพนั
2 เกณฑการจดั ทํางบการเงนิ 19 หนสี้ ินท่ีอาจจะเกิดข้นึ
3 มาตรฐานและนโยบายการบัญชภี าครฐั ฉบับใหม 20 ทนุ
4 สรุปนโยบายบัญชที ส่ี ําคัญ 21 รายไดจ ากงบประมาณ
5 เงินสดและรายการเทยี บเทา เงนิ สด 22 รายไดจากการขายสินคา และบริการ
6 ลกู หนีอ้ นื่ ระยะสนั้ 23 รายไดจ ากการอดุ หนนุ และบริจาค
7 วสั ดุคงเหลอื 24 รายไดอ ืน่
8 ลูกหนอ้ี น่ื ระยะยาว 25 คาใชจา ยบุคลากร
9 ทดี่ ิน อาคาร และอปุ กรณ 26 คา บําเหนจ็ บาํ นาญ
10 สินทรพั ยไ มมตี วั ตน 27 คาตอบแทน
11 สนิ ทรพั ยไ มหมุนเวียนอื่น 28 คา ใชส อย
12 เจา หนี้ระยะส้นั 29 คา วสั ดุ
13 เจา หน้เี งินโอนและรายการอดุ หนุนระยะสนั้ 30 คาสาธารณูปโภค
14 เงินรบั ฝากระยะส้ัน 31 คาเส่ือมราคาและคาตดั จําหนา ย
15 เจา หนเ้ี งินโอนและรายการอดุ หนนุ ระยะยาว 32 คา ใชจ ายจากการอุดหนุนและบริจาค
16 เงินทดรองราชการรบั จากคลงั ระยะยาว 33 คา ใชจา ยอื่น
17 หน้ีสนิ ไมห มนุ เวียนอ่นื

หมายเหตุ 5 เงนิ สดและรายการเทียบเทาเงินสด 2564 (หนวย : บาท)
8,000,000.00 2563
เงินทดรองราชการ 0.00 8,000,000.00
เงินฝากธนาคารเพือ่ นําสงคลงั 48,654.00 453,732.00
เงนิ ฝากธนาคารเงินงบประมาณ 500,000.00 55,240.00
เงนิ ฝากออมทรัพยท่ีสถาบันการเงิน 0.00 500,000.00
เงนิ ฝากไมม รี ายตวั 26,430,183.86 386.40
เงนิ ฝากคลงั 29,644,989.51
รวมเงินสดและรายการเทียบเทา เงนิ สด 34,978,837.86 38,654,347.91
เงินคา ธรรมเนียมสอบแขงขัน 2564 2563
เงนิ อุดหนนุ ทไ่ี ดร ับจากความชว ยเหลอื ตา งๆ 2,935.00
เงินฝากเงนิ ทุนวิจยั 0.00 3,253,724.57
เงินฝากตา ง ๆ ของกรมทรพั ยากรธรณี 0.00 437,504.17
เงินฝากเงินอดุ หนนุ จากการดาํ เนินงานดา นธรณวี ิทยาฯ 299,246.69 2,229,083.50
2,650,793.50 23,721,742.27
หมายเหตุ : ยังไมผานการตรวจสอบและรบั รองงบการเงินจากสํานักงานการตรวจเงนิ แผนดนิ 23,480,143.67 29,644,989.51
26,430,183.86

74

หมายเหตุ 6 ลูกหนี้อน่ื ระยะสน้ั 2564 (หนวย : บาท)
ลกู หนีเ้ งนิ ยืมในงบประมาณ 77,355.00 2563
ลูกหนเ้ี งินยมื นอกงบประมาณ 6,000.00 1,368,920.00
เงนิ จายลว งหนา –
รายไดค างรับ - บคุ คลภายนอก 14,407,621.47 1,749,050.00
รายไดคางรับจากกรมบัญชีกลาง 5,337.03 5,284.56
รวมลกู หนี้ระยะสน้ั 442,029.15
2,530,910.80 3,565,283.71
ลกู หนเี้ งนิ ยมื และลูกหนก้ี ารคา ณ วันส้นิ ป แยกตามอายหุ น้ี ดังน้ี 17,027,224.30

ลกู หนีเ้ งินยมื ยังไมถงึ กาํ หนดชําระ ถึงกําหนดชําระ เกนิ กาํ หนดชําระ (หนวย : บาท)
ในงบประมาณ และการสงใชใบสาํ คัญ และการสง ใชใ บสาํ คัญ และการสงใชใ บอสาํ คัญ
รวม
2564 75,555.00 – 1,800.00 77,355.00
2563 1,368,920.00 – –
1,368,920.00
ลูกหนเี้ งนิ ยืม ยงั ไมถ ึงกาํ หนดชาํ ระ ถงึ กาํ หนดชาํ ระ เกินกาํ หนดชาํ ระ
นอกงบประมาณ และการสง ใชใบสําคัญ และการสง ใชใ บสาํ คญั และการสงใชใ บอสําคัญ รวม
6,000.00
2564 6,000 – – 0.00
2563 – – –

หมายเหตุ 7 วสั ดคุ งเหลือ 2564 (หนวย : บาท)
วสั ดุคงเหลือ 7,883,787.70 2563
หกั คาเผ่อื การปรับมูลคา วัสดุ – 6,060,296.33
รวมวสั ดคุ งเหลือ – สทุ ธิ 7,883,787.70 –
6,060,296.33

หมายเหตุ 8 ลูกหนอี้ ืน่ ระยะยาว 2564 (หนว ย : บาท)
225,378.82 2563
ลกู หนี้อน่ื 225,378.82 215,516.86
รวมลกู หนร้ี ะยะยาว 215,516.86

หมายเหตุ : ยังไมผานการตรวจสอบและรบั รองงบการเงนิ จากสํานักงานการตรวจเงนิ แผนดนิ

75

หมายเหตุ 9 ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ 2564 (หนวย : บาท)
อาคารและส่งิ ปลกู สรา ง 1,199,867,679.80 2563
หักคา เสอ่ื มราคาสะสม - อาคารและส่ิงปลูกสราง (402,980,284.25) 1,175,047,772.98
อาคารและสิง่ ปลูกสรา ง - สทุ ธิ 796,887,395.55 (363,776,549.22)
ครภุ ัณฑ 1,408,424,737.94 811,271,223.76
หักคาเสื่อมราคาสะสม - ครุภณั ฑ (993,180,577.21) 1,365,548,798.02
ครภุ ณั ฑ - สุทธิ 415,244,160.73 (935,335,611.82)
งานระหวา งกอสรา ง 430,213,186.20
รวมท่ดี ิน อาคาร และอุปกรณ - สทุ ธิ 21,364,500.00 5,242,500.00
1,233,496,056.28 1,246,116,711.74

รายการกระทบยอดมูลคาตามบญั ชขี องท่ดี นิ อาคาร และอปุ กรณ
ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2564 และ 30 กันยายน 2563

ราคาทนุ ยอดคงเหลอื เพม่ิ ข้นึ รบั โอน (โอนออก) ยอดคงเหลือ
อาคารและสิง่ ปลกู สรา ง ณ วนั ที่ ณ วันที่
รวมราคาทุน 24,819,906.82 -
หกั คา เสอ่ื มราคาสะสม - อาคารฯ 30 กันยายน 2563 24,819,906.82 - 30 กนั ยายน 2564
รวมคาเสอ่ื มราคาสะสม 39,243,662.23 -
รวมมลู คาสทุ ธิตามบัญชี 1,175,047,772.98 39,243,662.23 (39,927.20) 1,199,867,679.80
1,175,047,772.98 - 1,199,867,679.80
ราคาทุน - (14,375,664.00)
ครภุ ณั ฑ 363,776,549.22 57,251,603.92 (14,375,664.00) 402,980,284.25
รวมราคาทุน 363,776,549.22 57,251,603.92 (14,432,815.88) 402,980,284.25
หักคาเส่อื มราคาสะสม - ครุภัณฑ 811,271,223.76 72,277,781.27 (14,432,815.88) 796,887,395.55
รวมคา เสอ่ื มราคาสะสม 1,365,548,798.02 72,277,781.27 - 1,408,424,737.94
รวมมูลคาสทุ ธติ ามบญั ชี 1,365,548,798.02 - 1,408,424,737.94
935,335,611.82 - - 993,180,577.21
ราคาทนุ 935,335,611.82 16,122,000.00 - 993,180,577.21
งานระหวา งกอ สราง 430,213,186.20 16,122,000.00 415,244,160.73
รวมงานระหวางกอ สรา ง
รวมมูลคาสุทธทิ ี่ดนิ อาคาร และอุปกรณ 5,242,500.00 - 21,364,500.00
5,242,500.00 21,364,500.00
1,246,726,909.96 1,233,496,056.28

หมายเหตุ : ยงั ไมผานการตรวจสอบและรับรองงบการเงินจากสํานกั งานการตรวจเงินแผน ดิน

76

ยอดคงเหลือ เพมิ่ ขึ้น รับโอน (โอนออก) ยอดคงเหลือ
ณ วนั ท่ี ณ วันที่
ราคาทุน -
อาคารและสิ่งปลกู สรา ง 30 กนั ยายน 2562 - 30 กนั ยายน 2563
รวมราคาทนุ 853,176.52
หกั คา เส่ือมราคาสะสม - อาคารฯ 1,005,630,851.84 169,416,921.14 853,176.52 1,175,047,772.98
รวมคาเสื่อมราคาสะสม 1,005,630,851.84 169,416,921.14 - 1,175,047,772.98
รวมมลู คา สทุ ธิตามบัญชี 335,621,438.92 27,301,933.78 -
335,621,438.92 27,301,933.78 - 363,776,549.22
ราคาทุน 670,009,412.92 - (1,378,514.61) 363,776,549.22
ครุภัณฑ - 811,271,223.76
รวมราคาทุน 1,255,754,584.97 109,794,213.05 - 1,365,548,798.02
หกั คา เส่ือมราคาสะสม - ครภุ ณั ฑ 1,255,754,584.97 109,794,213.05 125,769,000.00 1,365,548,798.02
รวมคาเสื่อมราคาสะสม 869,775,576.47 66,938,549.96 125,769,000.00 935,335,611.82
รวมมลู คา สุทธติ ามบัญชี 869,775,576.47 66,938,549.96 - 935,335,611.82
385,979,008.50 - 430,213,186.20
ราคาทนุ
งานระหวางกอ สราง 131,011,500.00 - 5,242,500.00
รวมงานระหวา งกอ สราง 131,011,500.00 - 5,242,500.00
รวมมลู คา สทุ ธิท่ีดิน อาคาร และอปุ กรณ 1,186,999,921.42 - 1,246,116,711.74

หมายเหตุ 10 สินทรพั ยไ มม ตี วั ตน 2564 (หนวย : บาท)
โปรแกรมคอมพวิ เตอร 86,915,614.92 2563
หกั คาตดั จาํ หนา ยสะสม - โปรแกรมคอมพิวเตอร (48,996,761.23) 85,391,725.29
รวมสินทรพั ยไ มม ีตัวตน - สุทธิ 37,918,853.69 (43,908,336.47)
41,483,388.82

รายการกระทบยอดมูลคาตามบัญชขี องสินทรัพยไมมีตัวตน
ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2564 และ 30 กนั ยายน 2563
ยอดคงเหลอื ยอดคงเหลือ
ณ วนั ท่ี เพิม่ ขึ้น รบั โอน (โอนออก) ณ วันที่

ราคาทุน 30 กนั ยายน 2563 30 กนั ยายน 2564

โปรแกรมคอมพิวเตอร 85,391,725.29 1,051,486.30 472,403.33 86,915,614.92
รวมราคาทุน 85,391,725.29 1,051,486.30 472,403.33 86,915,614.92
หักคา ตัดจําหนา ยสะสม - โปรแกรมฯ 43,908,336.47 4,774,247.18 314,177.58 48,996,761.23
รวมคาเส่ือมราคาสะสม 43,908,336.47 4,774,247.18 314,177.58 48,996,761.23
รวมมลู คา สุทธิตามบัญชี 141,483,388.82 - - 37,918,853.69
ราคาทนุ 85,391,725.29
โปรแกรมคอมพิวเตอร 68,529,730.85 16,861,994.44 - 85,391,725.29
รวมราคาทุน 68,529,730.85 16,861,994.44 - 43,908,336.47
หักคา ตดั จาํ หนายสะสม - โปรแกรมฯ 60,406,741.02 4,973,708.88 (21,472,113.43) 43,908,336.47
รวมคาเสอ่ื มราคาสะสม 60,406,741.02 4,973,708.88 (21,472,113.43) 41,483,388.82
รวมมูลคา สุทธติ ามบัญชี 8,122,989.83 - -
77
หมายเหตุ : ยงั ไมผา นการตรวจสอบและรบั รองงบการเงินจากสํานกั งานการตรวจเงินแผน ดิน

หมายเหตุ 11 สนิ ทรัพยไมหมุนเวียนอืน่ 2564 (หนวย : บาท)
423,317.12 2563
สนิ ทรัพยไ มหมุนเวยี นอ่ืน 423,317.12 423,317.12
รวมสนิ ทรพั ยไ มห มุนเวียนอืน่ 423,317.12
หมายเหตุ 12 เจา หนอี้ ่นื ระยะสน้ั 2564
34,001,895.33 (หนว ย : บาท)
เจาหนี้การคา 1,169,907.20 2563
เจาหนี้อน่ื 4,237,428.00 18,765,775.69
คาใชจ ายคางจาย 1,348,241.39 1,328,084.29
คาสาธารณูปโภคคางจา ย 2,564,526.41 2,682,172.39
ใบสําคญั คา งจา ย 1,873,662.48
คาจางอน่ื - ภายนอก 324,660.20 396,558.91
รวมเจา หน้รี ะยะสนั้ 39,409,230.53 411,951.00
หมายเหตุ 13 เจา หนเ้ี งินโอนและรายการอดุ หนุนระยะสน้ั 2564 22,776,032.37

รายไดแผน ดนิ รอนําสงคลงั 5,021.85 (หนวย : บาท)
รวมเจาหน้เี งินโอนและรายการอุดหนุนระยะส้นั 5,021.85 2563
หมายเหตุ 14 เงนิ รับฝากระยะสน้ั 2564 4,970.28
305,246.69 4,970.28
เงินรับฝากอน่ื
เงินรับฝากจากเงนิ ทุนหมนุ เวียน 0.00 (หนว ย : บาท)
เงินประกันผลงาน 1,237,500.00 2563
เงนิ ประกนั อืน่ 2,650,793.50 891,150.57
รวมเงินรบั ฝากระยะส้นั 4,193,540.19 3,253,724.57
หมายเหตุ 15 เจา หน้ีเงินโอนและรายการอดุ หนนุ ระยะยาว 2564 1,923,300.00
29,994,321.57 2,229,083.50
รายไดร อการรับรู 29,994,321.57 8,297,258.64
รวมเจาหนเี้ งินโอนและรายการอุดหนนุ ระยะยาว
(หนว ย : บาท)
หมายเหตุ : ยงั ไมผ า นการตรวจสอบและรับรองงบการเงนิ จากสํานักงานการตรวจเงนิ แผน ดนิ 2563
30,411,768.90
78 30,411,768.90

หมายเหตุ 16 เงนิ ทดรองราชการรบั จากคลังระยะยาว 2564 (หนว ย : บาท)
เงนิ ทดรองราชการรบั จากคลัง - เพือ่ การดําเนนิ งาน 8,000,000.00 2563
รวมเงนิ ทดรองราชการรบั จากคลงั ระยะยาว 8,000,000.00 8,000,000.00
8,000,000.00

หมายเหตุ 17 หนส้ี นิ ไมห มุนเวียนอ่ืน 2564 (หนวย : บาท)
หนสี้ นิ ไมหมนุ เวียนอ่นื 225,378.82 2563
รวมหนสี้ นิ ไมหมนุ เวียนอ่นื 225,378.82 215,516.86
215,516.86

หมายเหตุ 18 ภาระผูกพัน 2564 (หนวย : บาท)
78,616,500.00 2563
สัญญาท่ยี งั ไมไดรบั รู 14,277,573.78 68,550,000.00
ทดี่ ิน อาคาร และสงิ่ ปลูกสราง 92,894,073.78 1,978,050.00
อปุ กรณ และอ่นื ๆ 70,528,050.00
รวม

หมายเหตุ 19 หนสี้ ินท่อี าจจะเกดิ ขึน้

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนว ยงานมีหน้สี นิ ท่อี าจจะเกดิ ข้นึ จากการถกู ฟอ งรอ งคดีใหชดใชค าเสียหายจากการดาํ เนนิ งาน
ในอดตี ซง่ึ ในอนาคตหนว ยงานอาจจะตอ งชดใชค า เสยี หายแกผ ฟู อ งรอ งจํานวน 2 คดี ไดแ ก คดคี วามกบั บรษิ ทั ไทย-สวดี สิ ซเ หมอื งแร จาํ กดั
(อยูระหวางรอฟงคาํ พิพากษาของศาลปกครองสูงสุดในวันท่ี 30 พฤศจิกายน 2564 ณ ศาลปกครองเชียงใหม) และคดีความ
กับบริษัท สปด้ี แพคเก็ต เอ็กซเพรส จาํ กัด (อยูระหวางรอฟงคาํ พิพากษาหรือคาํ ส่ังศาลอุทธรณในวันท่ี 18 มกราคม 2565
ณ ศาลแพง)

หมายเหตุ 20 ทุน 2564 (หนวย : บาท)
343,052,280.72 2563
ยอดยกมา 343,052,280.72
หกั ผลักสง เงินนอกงบประมาณ – –
รวมทุน 343,052,280.72 343,052,280.72

หมายเหตุ : ยังไมผ านการตรวจสอบและรับรองงบการเงินจากสาํ นักงานการตรวจเงินแผน ดิน

79

หมายเหตุ 21 รายไดจ ากงบประมาณ 2564 (หนว ย : บาท)
216,468,601.41 2563
รายไดจากงบประมาณปป จจบุ ัน 93,925,689.90 210,127,219.88
รายไดจ ากงบบุคลากร 55,502,508.30 111,756,200.16
รายไดจ ากงบดําเนนิ งาน 101,114,626.23
รายไดจากงบลงทุน 4,116,049.77 2,254,700.00
รายไดจ ากงบอุดหนุน 185,669,338.31 187,158,337.45
รายไดจากงบกลาง 62,825,093.90 75,454,835.19
รายไดจากงบรายจายอน่ื (5,971,161.20) (4,986,754.82)
หักเบกิ เกนิ สง คืนเงินงบประมาณ 612,536,120.39 682,879,164.09
รวมรายไดจากงบประมาณปปจ จบุ ัน – สุทธิ 0.00
รายไดจากงบประมาณปกอ นๆ (เงนิ กนั ไวเ บกิ เหลือ่ มปเบิกจา ยปปจจบุ ัน) 197.16 10,084,944.63
รายไดจ ากงบบคุ ลากร 11,330,973.27 84,683,750.00
รายไดจ ากงบดาํ เนินงาน 47,202,966.00 29,755,993.76
รายไดจากงบลงทนุ 31,606,402.65 3,980,000.00
รายไดจ ากงบรายจายอน่ื 128,504,688.39
รายไดจ ากงบกลาง 0.00 811,383,852.48
รวมรายไดจากงบประมาณปก อ นๆ 90,140,539.08
รวมรายไดจ ากงบประมาณ 702,676,659.47 (หนวย : บาท)
หมายเหตุ 22 รายไดจ ากการขายสินคาและบริการ 2563
2564 0.00 152,700.00
รายไดจากการใหบ รกิ าร – บคุ คลภายนอก 0.00 152,700.00
รวมรายไดจ ากการขายสนิ คาและบรกิ าร
หมายเหตุ 23 รายไดจ ากการอดุ หนุนและบรจิ าค 2564 (หนวย : บาท)
1,074,570.66 2563
รายไดจ ากการบริจาค 1,074,570.66 1,187,896.11
รวมรายไดจ ากการอุดหนนุ และบรจิ าค 1,187,896.11
หมายเหตุ 24 รายไดอน่ื 2564
1,249.30 (หนวย : บาท)
รายไดดอกเบ้ียเงนิ ฝากจากสถาบนั การเงนิ 50,417.49 2563
โอนสว นตาง TR-TE เงนิ นอกงบประมาณเปน รายไดอ น่ื 51,666.79 1,651.11
รวมรายไดอ ่นื 38,564.57
40,215.68
หมายเหตุ : ยงั ไมผ า นการตรวจสอบและรับรองงบการเงินจากสํานกั งานการตรวจเงินแผน ดนิ

80

หมายเหตุ 25 คา ใชจายบุคลากร 2564 (หนว ย : บาท)
145,487,256.72 2563
เงินเดอื น 142,534,388.08
คาลว งเวลา 1,545,660.00 2,607,784.00
คาจาง 14,870,000.00 16,794,960.00
คาตอบแทนพนักงานราชการ 56,036,133.27 51,988,864.79
เงนิ ชวยคาครองชีพ 176,649.55
คา รักษาพยาบาล 229,006.75 13,495,584.91
เงินชวยการศกึ ษาบตุ ร 13,248,528.12 1,000,632.50
เงินชวยเหลือพเิ ศษกรณเี สียชวี ิต 139,740.00
เงนิ ชดเชย กบข. 831,609.75 2,455,045.33
เงนิ สมทบ กบข. 0.00 3,682,567.99
เงนิ สมทบ กสจ. 450,180.00
เงนิ สมทบกองทุนประกนั สังคม 2,503,200.78 1,750,275.00
คา เชา บาน 3,754,801.18 1,153,160.12
คา ใชจายบคุ ลากรอ่ืน 991,200.00
เงินสมทบกองทุนเงนิ ทดแทน 414,247.20 92,677.00
รวมคาใชจ ายบคุ ลากร 1,327,214.00 239,313,709.27
หมายเหตุ 26 คาบาํ เหน็จบํานาญ 1,224,824.00
(หนว ย : บาท)
บํานาญ 991,200.00 2563
เงนิ ชว ยคา ครองชพี 110,784.00 95,484,898.51
บําเหน็จ 242,574,465.77 11,570,574.66
บาํ เหน็จตกทอด 2564 18,572,546.70
บําเหน็จดาํ รงชีพ 99,107,694.89 9,417,425.87
คา รกั ษาพยาบาล 11,359,807.22 5,918,368.60
เงินชวยการศึกษาบตุ ร 19,432,459.77 22,384,025.87
บําเหน็จบํานาญอืน่ 4,624,939.80 133,680.00
รวมคาบําเหน็จบํานาญ 4,074,510.15 1,739,694.91
หมายเหตุ 27 คาตอบแทน 23,057,682.39 165,221,215.12
116,000.00
คาตอบแทนการปฏิบัตงิ าน 3,010,467.78 (หนวย : บาท)
รวมคา ตอบแทน 164,783,562.00 2563
2564 356,185.00
หมายเหตุ : ยงั ไมผานการตรวจสอบและรบั รองงบการเงนิ จากสาํ นักงานการตรวจเงินแผนดิน 108,600.00 356,185.00
108,600.00
81

หมายเหตุ 28 คาใชส อย 2564 (หนวย : บาท)
2,473,082.38 2563
คา ใชจ า ยฝกอบรมในประเทศ 50,597.00 6,771,370.23
คา ใชจ ายฝกอบรมตา งประเทศ 1,619,365.82 613,422.94
คาใชจา ยฝก อบรมบุคคลภายนอก 19,508,576.65 8,096,719.04
คาใชจ า ยเดนิ ทางในประเทศ 0.00 26,873,899.70
คา ใชจ า ยเดินทางตางประเทศ 22,281,450.08 1,553,074.83
คา ซอมแซมและบํารุงรักษา 66,982,689.67 24,654,191.02
คา จา งเหมาบรกิ าร 1,016.50 68,692,492.71
คาธรรมเนียม 19,268,041.70 14,535.00
คาจา งท่ปี รกึ ษา 852,550.00 21,564,000.00
คา ใชจ ายในการประชมุ 7,447,074.00 1,104,094.22
คา เชา 169,896.00 7,052,654.00
คา ใชจ า ยผลักสง เปนรายไดแ ผนดนิ 16,051,532.55 471,695.51
คา ประชาสมั พนั ธ 2,185,452.22 11,695,746.23
คาใชสอยอ่ืน 827,531.78
รวมคา ใชส อย 158,891,324.57 179,985,427.21
หมายเหตุ 29 คา วสั ดุ 2564
12,365,847.91 (หนวย : บาท)
คา วสั ดุ 2563
คาเชอ้ื เพลงิ 460,332.60 14,875,049.28
คา ครภุ ัณฑม ูลคา ตาํ่ กวา เกณฑ 327,884.88 512,497.50
รวมคาวัสดุ 13,154,065.39 1,073,721.98
หมายเหตุ 30 คาสาธารณปู โภค 2564 16,461,268.76
15,089,422.35
คาไฟฟา 1,076,820.64 (หนวย : บาท)
คาประปา 1,448,781.91 2563
คา โทรศัพท 2,148,252.87 17,123,308.28
คาบริการสื่อสารและโทรคมนาคม 546,568.00 1,044,087.53
คาบริการไปรษณียโ ทรเลขและขนสง 20,309,845.77 1,556,862.89
รวมคา สาธารณปู โภค 3,270,286.47
477,545.00
หมายเหตุ : ยังไมผา นการตรวจสอบและรับรองงบการเงนิ จากสํานกั งานการตรวจเงนิ แผน ดนิ 23,472,090.17

82

หมายเหตุ 31 คา เสอ่ื มราคาและคาตดั จําหนาย 2564 (หนวย : บาท)
อาคารและสง่ิ ปลูกสราง 39,243,662.23 2563
ครุภัณฑ 72,277,781.27 27,301,935.78
สนิ ทรัพยไมม ตี วั ตน 4,774,247.18 66,938,549.96
รวมคาเสอื่ มราคาและคาตดั จาํ หนาย 116,295,690.68 4,973,708.88
99,214,192.62

หมายเหตุ 32 คา ใชจายจากการอดุ หนนุ และบริจาค 2564 (หนวย : บาท)
คาใชจา ยจากการอุดหนุนเพือ่ การดาํ เนินงาน – อปท. – 2563
คา ใชจ ายอดุ หนนุ เพอื่ การดาํ เนนิ งานอน่ื -
รวมคาใชจา ยจากการอุดหนุนและบรจิ าค 2,597,272.83 2,252,774.00
2,597,272.83 2,252,774.00

หมายเหตุ 33 คา ใชจ ายอืน่ 2564 (หนวย : บาท)
คา ใชจ า ยอน่ื 2,337,680.00 2563
กําไร/ขาดทนุ สทุ ธิจากการจาํ หนา ยสนิ ทรพั ย 47,468.76 0.00
TR-หนว ยงานรบั เงินนอกงบประมาณจากกรมบญั ชีกลาง (5,843,319.42) 5,681.45
TE-ปรบั เงินฝากคลัง 5,792,901.93 (8,569,346.27)
โอนสวนตา ง TR-TE เงนิ นอกงบประมาณเปนรายไดอนื่ 50,417.49 8,530,781.70
รวมคา ใชจา ยอน่ื 2,385,148.76 38,564.57
5,681.45

รายงานฐานะเงนิ งบประมาณรายจายปป จ จบุ ันและปก อน
รายงานฐานะเงนิ งบประมาณรายจาย ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564
เเหงสลนิ าํ ื่อรกอมันงปไวเ(งเกบนิ ากิ)ร ใบส่ังซอ้ื /สญั ญา
รายการ งบเปสลุท่ียธนิหแลปังลโงอน เบิกจาย คงเหลือ

แผนงาน : บุคลากรภาครฐั
ผลผลิต : รายการคา ใชจา ยบคุ ลากรภาครฐั อนุรักษ ฟน ฟู และปองกันทรัพยากรธรรมชาติ
งบบุคลากร 216,370,894.22 – – 216,370,894.22 –
งบดําเนินงาน 3,181,000.00 – – 3,027,375.52 153,624.48
รวม 219,551,894.22 – – 219,398,269.74 153,624.48
แผนงาน : บูรณาการสรางรายไดจากการทอ งเท่ียว
โครงการ : พัฒนาแหลงทอ งเทย่ี วทางธรณีวทิ ยา 2,429,000.00 1,299,575.75
งบรายจายอ่นื 12,506,100.00 – 8,777,524.25
รวม 12,506,100.00 – 2,429,000.00 8,777,524.25 1,299,575.75
แผนงาน : ยุทธศาสตรส รา งการเติบโตอยางยัง่ ยืน อนรุ ักษ ฟน ฟู และปองกนั การทําลายทรพั ยากรธรรมชาติ
โครงการ : ปฏิรปู การบริหารจดั การทรพั ยากรแร 3,900.00
งบลงทนุ 1,705,200.00 – 199,800.00 1,501,500.00
งบรายจา ยอื่น 15,492,600.00 – 3,580,500.00 11,781,990.92 130,109.08
รวม 17,197,800.00 – 3,780,300.00 13,283,490.92 134,009.08
โครงการ : อนุรกั ษและพฒั นามรดกธรณแี ละอุทยานธรณี
งบลงทุน 13,849,800.00 696,600.00 8,979,100.00 4,155,800.00 18,300.00
งบรายจา ยอ่นื 15,797,400.00 – 3,709,500.00 11,104,163.93 983,736.07
รวม 29,647,200.00 696,600.00 12,688,600.00 15,259,963.93 1,002,036.07
รวมท้งั ส้ิน 46,845,000.00 696,600.00 16,468,900.00 28,543,454.85 1,136,045.15

หมายเหตุ : ยังไมผ า นการตรวจสอบและรบั รองงบการเงนิ จากสํานกั งานการตรวจเงนิ แผน ดิน 83

รายงานฐานะเงนิ งบประมาณรายจา ย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ตอ)

รายการ งบเปสลทุ ่ยี ธนิหแลปังลโงอน (กเางรินเหสกลาํ ันอ่ืรไอมวงเปบเงกิ ิน) ใบสั่งซื้อ/สัญญา เบกิ จาย คงเหลือ

แผนงาน : ยทุ ธศาสตรส รางการเตบิ โตอยา งยง่ั ยืนบนสังคมเศรษฐกจิ ภาคทะเล 2,795,000.00 5,000.00
โครงการ : สาํ รวจธรณีวทิ ยาเพ่ือการบริหารจัดการทางทะเลและชายฝง 5,529,221.39 112,439.82
งบลงทนุ 2,800,000.00 – – 8,324,221.39 117,439.82
งบรายจายอืน่ 5,642,300.00 – 638.79 9,387,250.00
รวม 8,442,300.00 – 638.79 16,338,341.94 311.00
แผนงาน : ยุทธศาสตรจัดการผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงจากสภาวะภมู อิ ากาศ 25,725,591.94 88,361.27
โครงการ : ลดผลกระทบธรณีพิบัตทิ ่ีเกิดจากธรรมชาตแิ ละการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 99,396,736.95 88,672.27
งบลงทนุ 10,797,400.00 – 1,409,839.00 51,731,024.30 3,880,476.94
งบรายจา ยอน่ื 17,370,100.00 – 943,396.79 2,597,272.83 17,921.15
รวม 28,167,500.00 – 2,353,235.79 18,142,954.45 31,776.94
แผนงาน : พน้ื ฐานดา นการสรา งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทเี่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม 171,867,988.53 1,009,251.78
ผลผลติ : การบริหารจัดการทรพั ยากรธรณี 4,939,426.81
งบดําเนนิ งาน 110,730,700.00 600,000.00 6,853,486.11 131,653.00
งบลงทุน 133,357,680.23 1,534,850.00 80,073,884.78 131,653.00 –
งบเงินอดุ หนุน 2,629,049.77 – – 462,768,703.70 –
งบรายจา ยอน่ื 20,101,170.00 – 948,963.77 7,734,784.28
รวมแผนพื้นฐานฯ 266,818,600.00 2,134,850.00 87,876,334.66
เบิกแทนหนวยงานอน่ื คงเหลือ
กรมชลประทาน : แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรพั ยากรน้าํ –
งบลงทุน 131,653.00 – –
รวม 131,653.00 – – –
รวมท้งั สิน้ 582,463,047.22 2,831,450.00 109,128,109.24 –
หมายเหตุ : ขอมูลตามตารางขางตนจัดทาํ จากรายงานสถานการณใชจ ายงบประมาณ : ZFMA46 –
267.50
รายงานฐานะเงนิ กันไวเ บกิ เหล่ือมป (กอนปง บประมาณ พ.ศ. 2564) 267.50

รายการ เงินกันไวเ บิกเหล่ือมป เบิกจา ย –
(สุทธ)ิ
ปงบประมาณ พ.ศ. 2563
แผนงาน : พนื้ ฐานดา นการจัดการน้ําและสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ท่เี ปนมิตรกบั สิง่ แวดลอ มอยางยั่งยนื
ผลผลิต : การบริหารจดั การทรพั ยากรธรณี
งบดําเนินงาน 4,937,938.25 4,937,938.25
งบลงทุน 5,955,550.00 5,955,550.00
งบรายจายอนื่ 3,334,116.00 3,334,116.00
รวม 14,227,604.25 14,227,604.25
แผนงาน : ยุทธศาสตรดานการสรางการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวิตท่เี ปนมติ รตอ ส่ิงแวดลอ ม
โครงการ : สาํ รวจธรณวี ิทยาเพือ่ การบริหารจัดการทางทะเลและชายฝง 535.00
งบรายจายอน่ื 802.50
รวม 802.50 535.00
แผนงาน : ยุทธศาสตรจ ัดระบบอนรุ กั ษ ฟน ฟู และปอ งกนั การทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาติ
โครงการ : ลดผลกระทบธรณพี ิบัติภัยทีเ่ กิดจากธรรมชาติและการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
งบรายจา ยอน่ื 5,280,536.18 5,280,536.18
รวม 5,280,536.18 5,280,536.18

หมายเหตุ : ยงั ไมผานการตรวจสอบและรบั รองงบการเงินจากสาํ นกั งานการตรวจเงินแผน ดนิ

84

รายงานฐานะเงินกนั ไวเบกิ เหล่อื มป (กอ นปง บประมาณ พ.ศ. 2564) ตอ

รายการ เงินกนั ไวเ บิกเหล่ือมป เบิกจาย คงเหลอื
(สุทธิ)
แผนงาน : ยทุ ธศาสตรเ พอ่ื สนับสนุนดานการสรา งการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ทเ่ี ปนมติ รตอ ส่ิงแวดลอ ม
โครงการ : ปฏริ ูปการบริหารจัดการทรพั ยากรแร
งบลงทนุ 222,500.00 222,500.00 –
งบรายจายอื่น 9,530,000.00 9,530,000.00 –
9,752,500.00 9,752,500.00 –
รวม
โครงการ : อนุรกั ษและพฒั นามรดกธรณีและอุทยานธรณี
งบรายจายอ่นื 300,000.00 300,000.00 –
รวม 300,000.00 300,000.00 –
10,052,500.00 10,052,500.00 –
รวมท้งั สนิ้
แผนงาน : บรู ณาการพัฒนาพื้นที่ระดบั ภาค
โครงการ : สงเสริมและพฒั นาการทองเท่ียวกอนยุคประวัตศิ าสตร
งบลงทุน 39,200,000.00 39,200,000.00 –
รวม 39,200,000.00 39,200,000.00 –
รวมทงั้ สิน้ 68,761,442.93 68,761,175.43 267.50

หมายเหตุ : ขอมูลตามตารางขางตนจดั ทําจากรายงานสถานการณใ ชจ ายงบประมาณ : ZFMA4

รายงานฐานะเงนิ งบประมาณรายจาย ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2563

รายการ งบเปสลทุ ่ยี ธนหิ แลปงั ลโงอน (กเางรินเหสกลําัน่อืรไอมวงเปบเงกิ นิ ) ใบสัง่ ซ้ือ/สัญญา เบกิ จาย คงเหลือ

แผนงาน : บุคลากรภาครัฐ 1,130,179.20
ผลผลิต : รายการคา ใชจา ยบคุ ลากรภาครัฐ อนรุ กั ษ ฟน ฟู และปอ งกนั ทรพั ยากรธรรมชาติ 544,897.26
งบบคุ ลากร 212,536,900.00 – – 211,406,720.80
งบดาํ เนินงาน 3,778,700.00 – – 3,233,802.74 1,675,076.46
รวม 216,315,600.00 – – 214,640,523.54 165,750.90
แผนงาน : บูรณาการสรา งรายไดจ ากการทอ งเที่ยว 165,750.90
โครงการ : พัฒนาแหลงทองเที่ยวทางธรณีวทิ ยา – 450,000.00
งบรายจา ยอนื่ 7,462,500.00 – 7,296,749.10 450,000.00
รวม 7,462,500.00 – – 7,296,749.10 –
แผนงาน : บรู ณาการพฒั นาพื้นท่ีระดับภาค 187,030.21
โครงการ : สงเสริมและพัฒนาการทอ งเทีย่ วยุคกอ นประวัตศิ าสตร 187,030.21
งบลงทุน 69,000,000.00 29,350,000.00 39,200,000.00 – 217,884.74
รวม 69,000,000.00 29,350,000.00 39,200,000.00 – 217,884.74
แผนงาน : ยุทธศาสตรเพ่อื สนับสนุนดา นการสรา งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ท่ีเปนมติ รตอสง่ิ แวดลอ ม 404,914.95
โครงการ : ปฏิรูปการบริหารจดั การทรพั ยากรแร
งบลงทุน 546,500.00 – 222,500.00 324,000.00
งบรายจายอนื่ 20,363,900.00 3,189,000.00 6,360,000.00 10,627,869.79
รวม 20,910,400.00 3,189,000.00 6,582,500.00 10,951,869.79
โครงการ : อนุรักษและพัฒนามรดกธรณีและอทุ ยานธรณี
งบรายจา ยอ่ืน 9,147,900.00 – 300,000.00 8,630,015.26
รวม 9,147,900.00 – 300,000.00 8,630,015.26
รวมทั้งสนิ้ 30,058,300.00 3,189,000.00 6,882,500.00 19,581,885.05

85

รายงานฐานะเงนิ งบประมาณรายจาย ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2563 (ตอ)

รายการ งบสุทธิหลงั โอน เงินกันไวเ บกิ เบิกจาย คงเหลอื
เปลย่ี นแปลง เหล่อื มป ใบส่งั ซ้อื /สญั ญา
500.00
(การสํารองเงิน) 70,590.66
แผนงาน : ยุทธศาสตรสรางการเติบโตอยา งย่ังยนื บนสงั คมเศรษฐกจิ ภาคทะเล 71,090.66
โครงการ : สาํ รวจธรณีวิทยาเพอื่ การบริหารจัดการทางทะเลและชายฝง
งบลงทุน 33,500,000.00 – – 33,499,500.00 –
งบรายจา ยอืน่ 6,900,000.00 – 802.50 6,828,606.84 34,404.80
รวม 40,400,000.00 – 802.50 40,328,106.84 34,404.80
แผนงาน : ยทุ ธศาสตรจ ัดการผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงจากสภาวะภูมอิ ากาศ 1,244,194.98
โครงการ : ลดผลกระทบธรณพี ิบัตทิ เ่ี กดิ จากธรรมชาตแิ ละการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 22,257.77
งบลงทนุ 25,000.00 – – 25,000.00 39,926.00
งบรายจา ยอื่น 29,150,500.00 – 5,280,536.18 23,835,559.02 623,491.63
รวม 29,175,500.00 – 5,280,536.18 23,860,559.02 1,929,870.38
แผนงาน : พ้นื ฐานดานการจัดการน้ําและสรา งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่เี ปนมิตรตอ สิง่ แวดลอ มอยา งยั่งยนื
ผลผลิต : การบริหารจัดการทรัพยากรธรณี –
งบดาํ เนินงาน 118,753,900.00 – 4,971,737.41 112,537,967.61 –
งบลงทนุ 74,807,300.00 – 5,955,550.00 68,829,492.23 4,731,108.15
งบเงินอดุ หนุน 2,292,700.00 – – 2,252,774.00
งบรายจา ยอืน่ 32,056,200.00 – 3,334,116.00 28,098,592.37
รวม 227,910,100.00 – 14,261,403.41 211,718,826.21
เบกิ แทนหนวยงานอน่ื
กรมชลประทาน : แผนงานบูรณาการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนํ้า –
งบลงทนุ 260,000.00 – 260,000.00
รวม 260,000.00 – – 260,000.00
รวมท้ังสน้ิ 620,582,000.00 32,539,000.00 65,625,242.09 517,686,649.76
หมายเหตุ : ขอมูลตามตารางขางตน จดั ทาํ จากรายงานสถานะการใชจา ยงบประมาณ : ZFMA46

กรมทรัพยากรธรณี

รายงานรายไดแ ผนดนิ (สาํ หรบั ปส น้ิ สดุ วนั ท่ี 30 กันยายน 2564)

รายไดแผนดินท่จี ดั เกบ็ 2564 (หนวย : บาท)
รายไดแผนดิน – นอกจากภาษี 1,481,766.35 2563
รวมรายไดแ ผนดินท่ีจัดเกบ็ 1,481,766.35 1,989,484.93
หกั รายไดแ ผน ดินถอนคนื จากคลงั – 1,989,484.93
รายไดแ ผน ดินท่จี ดั เกบ็ สุทธิ 1,481,766.35 –
รายไดแผน ดินนําสงคลงั (1,481,714.78) 1,989,484.93
รายไดแ ผน ดนิ รอนาํ สง คลงั 51.57 (1,991,940.95)
ปรบั รายไดแผน ดินรอนําสงคลัง 2563 4,970.28 (2,456.02)
ปรับรายไดแผน ดินรอนาํ สง คลัง 2564 (5,021.85) 7,426.30
รายการรายไดแผนดินสุทธิ – (4,970.28)
รายไดแ ผนดนิ – นอกจากภาษี 823,000.00 –
รายไดจากการขายสินคา และบริการ 19,780.77 1,102,680.00
รายไดดอกเบ้ยี และเงนิ ปนผล 638,985.58 23,766.24
รายไดอ ื่น 1,481,766.35 863,038.69
รวมรายไดแผน ดนิ – นอกจากภาษี 1,989,484.93

หมายเหตุ : ยังไมผานการตรวจสอบและรับรองงบการเงนิ จากสาํ นกั งานการตรวจเงินแผน ดนิ

86

µú³¦¤ ο
µ³ú ¦·Á¦Î Ì

é ű¯º­³±¬¼ª•Ĩ¾ •¯¯­ ű¯ºĨĬ¼ű›ò §ű¯º­¼£ ª
Ű

é Æ·•µ¼¯µ¾Î›ª¾­ª þ ű¯ºĨ¼Ĭ ű›ò §ű¯º­¼£ ª
Ű


DMRANNUAL REPORT 2021

ประมวลภาพกจิ กรรม ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564

ทส. ผนกึ กาํ ลัง ลงพื้นทีต่ รวจสอบแหลง ธรณวี ทิ ยาเหตุหินถลม
ในอทุ ยานแหง ชาติหาดนพรัตนธารา-เกาะพีพี จงั หวดั กระบ่ี

22 ตลุ าคม 2563 กรมทรัพยากรธรณี รวมกบั อุทยาน เหตกุ ารณด งั กลา วเกดิ ขนึ้ เมอ่ื วนั ที่ 15 ตลุ าคม 2563 โดยหนิ จาก
แหงชาติหาดนพรัตนธ ารา-เกาะพีพี จังหวัดกระบ่ี ลงพนื้ ท่ีตรวจ เขาทะลุ ขนาดใหญแ ตกเปน 2 กอ น ถลม ลงในทะเล ซงึ่ เปน สถาน
สอบธรณวี ทิ ยา กรณมี ขี า วเผยแพรท างสอื่ โซเชยี ลมเี ดยี News1 ที่ทอ งเท่ยี ว พายเรือดาํ น้าํ ในชว งเวลาที่มีพายดุ เี ปรสชัน ฝนตก
เผยแพรเมื่อวันท่ี 20 ตุลาคม 2563 เรื่องหินยักษถลมบริเวณ คลนื่ ลมแรง โดยไมมีผูบ าดเจบ็ หรอื เสยี ชวี ติ แตสงผลกระทบตอ
เกาะทะลุ จังหวดั กระบี่ จากผลการตรวจสอบขอ เทจ็ จริง พบวา ระบบนเิ วศนทางทะเลในบริเวณนนั้

กฐนิ พระราชทานกรมทรัพยากรธรณี ประจําปพ ุทธศักราช 2563

31 ตลุ าคม 2563 เวลา 10.09 น. นายสมหมาย เตชวาล และเจา หนาทใ่ี นสงั กดั กรมทรัพยากรธรณี รวมถึงหวั หนา สวน
อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี เปนประธานในพิธีถวายผาพระกฐิน ราชการตาง ๆ และประชาชนในจังหวัดลพบุรี เขารวมในพิธี
พระราชทาน ประจาํ ป 2563 โดยมีนายวชิระ เกตุพันธุ ดงั กลาว ณ วดั เสาธงทอง พระอารามหลวง จังหวดั ลพบรุ ี โอกาสนี้
รองผูวาราชการจังหวัดลพบุรี พรอมดวยนายนิวัติ มณีขัติย มพี ธิ มี อบทนุ การศกึ ษาและตตู วั อยา งแร- หนิ ใหแ กโ รงเรยี นพบิ ลู
นายมนตรี เหลอื งอิงคะสุต รองอธบิ ดี คณะผบู ริหาร ขาราชการ วิทยาลยั เพ่ือใชเปนส่ือการเรยี นการสอนอกี ดว ย

88

รมว.ทส. แถลงการคน พบซากดกึ ดาํ บรรพป ลาปอดชนิดใหมข องโลก
“เฟอรก าโนเซอราโตดสั แอนเคมเป” อายุ 150 ลา นป

11 พฤศจิกายน 2563 เวลา 11.00 น. กระทรวง มอี ายปุ ระมาณ 150 ลา นป ชน้ิ สว นซากดกึ ดําบรรพป ลาปอดทพี่ บ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โดย กรมทรัพยากรธรณี ประกอบดว ย ชนิ้ สว นของกะโหลกและแผน ฟน ซง่ึ คาดวา เปน ชน้ิ
รว มกบั ศนู ยว จิ ยั และการศกึ ษาบรรพชวี นิ วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร สว นจากปลาตวั เดยี วกนั โดยไดร บั เกยี รตจิ าก นายวราวธุ ศลิ ปอาชา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และพิพิธภัณฑประวัติศาสตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม
ธรรมชาติ เจนวี า จดั แถลงขา ว ผลการศกึ ษาวจิ ยั ซากดกึ ดาํ บรรพ เปนประธานแถลงขา ว พรอมดว ย นายสมหมาย เตชวาล อธิบดี
ปลาปอดชนดิ ใหมข องโลก “เฟอรก าโนเซอราโตดสั แอนเคมเป” กรมทรัพยากรธรณี ณ หองประชุม 101 อาคารกรมควบคุม
ถูกคนพบที่แหลงซากดึกดําบรรพภูนอย จังหวัดกาฬสินธุ มลพษิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม

รมว.ทส. ลงพน้ื ทตี่ ิดตามการสาํ รวจขดุ คนโครงกระดกู วาฬ อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

25 พฤศจกิ ายน 2563 เวลา 12.30 น. นายวราวธุ ศลิ ปอาชา และนายโสภณ ทองดี อธบิ ดกี รมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง
รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ลงพืน้ ทต่ี ําบลอาํ แพง อาํ เภอบา นแพว จงั หวดั สมุทรสาคร เพอื่
พรอมดวย นายจตุพร บุรุษพัฒน ปลัดกระทรวงทรัพยากร ติดตามการสาํ รวจขุดคนโครงกระดูกวาฬ หลังไดรับแจงการ
ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม นายวรี ะศกั ด์ิ วจิ ติ รแ สงศรี ผวู า ราชการ คนพบจาก บริษัท ไบรท บลู วอเตอร คอรเปอเรชั่น จาํ กัด
จงั หวดั สมทุ รสาคร นายสมหมาย เตชวาล อธบิ ดกี รมทรพั ยากรธรณี เจา ของพนื้ ท่ี เม่อื วันท่ี 6 พฤศจกิ ายน 2563

89

เจาคณุ พระสนิ ีนาฏ พลิ าสกลั ยาณี ติดตามการดาํ เนินงานโครงการพระราชทานโคกหนองนาแหง น้ําใจ
และความหวัง พรอมเขาเย่ยี มชมพิพิธภณั ฑและหลมุ ขดุ คน ณ พิพิธภัณฑส ิรินธร จังหวัดกาฬสินธุ

26 พฤศจกิ ายน 2563 เมอ่ื เวลา 14.30 น. เจา คณุ พระ ภายในสว นจัดแสดง จํานวน 8 โซน และเยย่ี มชมอาคารหลุมขุด
สินีนาฏ พิลาสกัลยาณี เขารวมประชุมติดตาม การดําเนินงาน คน ไดโนเสาร โดยมนี ายนวิ ตั ิ มณขี ตั ยิ  รองอธบิ ดกี รมทรพั ยากรธรณี
โครงการพระราชทานโคกหนองนาแหงนํ้าใจและความหวัง นางสาวอรอุมา สมุ มาตย ผูอ าํ นวยการพพิ ธิ ภัณฑส ริ ินธร พรอ ม
ณ หอ งประชมุ พพิ ธิ ภณั ฑส ริ นิ ธร จากนน้ั เขา เยย่ี มชมนทิ รรศการ ดว ยขา ราชการ เจาหนา ท่ี และประชาชนรวมใหก ารตอ นรบั

เปดประตคู วามมว นซืน่ ในถิ่นไดโนเสาร ณ พพิ ิธภัณฑส ิรินธร กับงานไดโนพาเลาะ ป 2

4 ธนั วาคม 2563 นายมนตรี เหลอื งองิ คะสตุ รองอธบิ ดี กิจกรรมดังกลาว จัดข้ึนในระหวางวันที่ 4-13 ธันวาคม 2563
กรมทรัพยากรธรณี เขารวมพิธีเปดกิจกรรมไดโนพาเลาะ ป 2 เพ่ือเฉลิมฉลองความสําเร็จ และขอบคุณชุมชนท่ีรวมมือ
ณ พิพธิ ภัณฑส ิรินธร จังหวดั กาฬสินธุ โดย นายทรงพล ใจกริม่ สงเสรมิ พิพธิ ภัณฑสริ นิ ธรใหเ ปน ทรี่ จู กั อยา งตอเน่ือง
ผูวาราชการจังหวัดกาฬสินธุ เปนประธานในพิธีเปดงาน ทั้งนี้

90

กรมทรพั ยากรธรณี เปดงานมหกรรมสุดยิ่งใหญแหง ป งานเปด โลกธรณีวิทยาเพื่อการทองเทย่ี ว คร้ังที่ 7
“โคราชจีโอพารค เฟสตวิ ลั ”

26 กมุ ภาพนั ธ 2564 เวลา 14.00 น. นายสมหมาย เตชวาล ผศ.ดร.ประเทือง จินตสกุล ผูอํานวยการอุทยานธรณีโคราช
อธบิ ดกี รมทรพั ยากรธรณี เปน ประธานในพธิ เี ปด งานมหกรรมเปด โลก หวั หนา สว นราชการ เขา รว มในพธิ ี และนางสาวดรณุ ี สายสทุ ธชิ ยั
ธรณวี ิทยาเพือ่ การทองเท่ียว คร้ังท่ี 7 “โคราชจโี อพารค เฟสตวิ ัล ผูอํานวยการสํานักงานทรัพยากรธรณีเขต 2 กลาวรายงาน
(Khorat Geopark Festival)” โดยมนี ายศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ สกลุ ลขิ เรศสมี า ณ สถาบนั วจิ ยั ไมก ลายเปน หนิ และทรพั ยากรธรณี ภาคตะวนั ออก
รองผูวาราชการจังหวัดนครราชสีมา กลาวตอนรับ พรอมดวย เฉยี งเหนือ เฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวัดนครราชสีมา
ผศ.ดร.อดศิ ร เนาวนนท อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า

กองวเิ คราะหแ ละตรวจสอบทรพั ยากรธรณี ประชาสมั พนั ธก ารใชขอ มูลแผนท่กี ารปนเปอ นสารหนู

19 มนี าคม 2564 กรมทรพั ยากรธรณี กระทรวงทรพั ยากร โดยมนี างอปั สร สอาดสดุ ผอู ํานวยการกองวเิ คราะหแ ละตรวจสอบ
ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม เขา ประชาสมั พนั ธก ารใชข อ มลู แผนท่ี ทรพั ยากรธรณี นายจติ ศิ ักด์ิ เปรมมณี ที่ปรึกษาดานการบริการ
การปนเปอ นสารหนใู หก บั นายทวปี สมคั รการไถ รองนายแพทย จัดการธรณีเคมี และคณะพรอมดวยเจาหนาท่ีสํานักงาน
สาธารณสุขจังหวัด 3 ผูแทนสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี และ ทรัพยากรธรณี เขต 1 เขาพบและประชาสัมพันธการใชขอมูล
นางชยาภร อามระดษิ ฐ นกั วชิ าการสงิ่ แวดลอ มชํานาญการพเิ ศษ แผนทกี่ ารปนเปอ นสารหนเู พอ่ื นําไปใชป ระโยชนใ นการพจิ ารณา
ผแู ทนสํานกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม จงั หวดั อทุ ยั ธานี คดั เลือกแหลงนาํ้ ทเี่ หมาะสมใหก บั ประชาชนตอ ไป

91

รมว.ทส. ลงพนื้ ทอ่ี ุทยานแหง ชาตอิ าวพงั งา จังหวัดพังงา ติดตามและมอบนโยบายการปฏิบัตงิ าน
หลังส่ังกรมทรพั ยากรธรณีเรง สํารวจและประเมนิ เสถียรภาพ “เขาตาป”ู แลนดมารค สําคัญของจังหวัดพงั งา

16 เมษายน 2564 นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรี อา วพงั งา จงั หวดั พงั งา เพอ่ื ประเมนิ เสถยี รภาพและความเสยี่ งตอ
วา การกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม พรอ มดว ย การพงั ทลายจากการถกู กดั เซาะของน้ําทะเล โดยมนี ายสมหมาย เตชวาล
นายจตุพร บุรุษพัฒน ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ อธบิ ดกี รมทรพั ยากรธรณี พรอ มดว ยนายมนตรี เหลอื งองิ คะสุต
สง่ิ แวดลอ มและคณะฯ ลงพนื้ ทต่ี ดิ ตามและ รบั ฟง การดาํ เนนิ งาน รองอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี และเจาหนาที่ รายงาน
ของกรมทรพั ยากรธรณี ในการสาํ รวจธรณวี ทิ ยา ธรณเี ทคนคิ และ ผลการดาํ เนินงาน ณ หองประชุมอุทยานแหงชาติอาวพังงา
ประเมินเสถียรภาพบริเวณพื้นที่เขาตาปู ในเขตอุทยานแหงชาติ จงั หวัดพงั งา

กรมทรัพยากรธรณี ลงพ้นื ท่ีตรวจสอบหลุมยุบ @ อาํ เภอนากลาง จังหวดั หนองบวั ลําภู

15 มถิ นุ ายน 2564 นายมนตรี เหลอื งองิ คะสตุ รองอธบิ ดี ผใู หญบ า นหมู 7 และชาวบา น ในพนื้ ท่ี โดยหลมุ ยบุ เกดิ ขน้ึ ภายหลงั
กรมทรัพยากรธรณี พรอมคณะ ลงพื้นท่ีตรวจสอบเหตุหลุมยุบ ฝนตกหนกั ในพื้นท่ีมาต้ังแตเ มื่อวันที่ 8 มิถุนายนทผี่ า นมา ท้ังน้ี
ณ หมูท ี่ 7 บา นนากดุ ผึ้ง ตาํ บลดานชาง อาํ เภอนากลาง จงั หวดั ในสวนของกรมทรัพยากรธรณีจะไดเรงทําการสํารวจราย
หนองบัวลาํ ภู รวมกับนายรักชัย เลิศสุบิน นายอาํ เภอนากลาง ละเอียดและจัดทาํ ขอมูลสงมอบใหทางจังหวัดหนองบัวลําภู
นายแสวง บวั ใหญร กั ษา กํานนั ตําบลดา นชา ง นางสภุ มาส สงิ หน อ ย เพอื่ ใชเ ปนขอมูลดาํ เนนิ การตอไป

92

กรมทรพั ยากรธรณี จัดงานประชมุ วิชาการ “ธรณีไทย 2564”

4 สงิ หาคม 2564 เวลา 09.00 น. กรมทรัพยากรธรณี ผานระบบออนไลน (Zoom Webinar) ณ กรมทรัพยากรธรณี
จัดการประชุมวิชาการ “ธรณีไทย 2564” ภายใตหัวขอ พรอมดวยนายจตุพร บุรุษพัฒน ปลัดกระทรวงทรัพยากร
“ธรณวี ถิ ีใหม นวตั กรรมไทย เพือ่ การพัฒนาที่ยัง่ ยืน” โดยไดรบั ธรรมชาติและส่ิงแวดลอม รวมเสวนาวิชาการออนไลน
เกียรติจากนายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีวาการกระทรวง “การบันทกึ สถิตโิ ลก ไมกลายเปนหินทยี่ าวทส่ี ุดในโลก”
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม เปนประธานในพธิ เี ปดงาน

กรมทรพั ยากรธรณี เปด งาน “มหกรรมเที่ยวทพิ ยอ ุทยานธรณโี ลกสตูล ปปกติใหม 2564”
ผา นแพลตฟอรมออนไลน

23 กนั ยายน 2564 กรมทรพั ยากรธรณี จดั พธิ เี ปด งาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนประธาน
มหกรรมเท่ียวทิพยอุทยานธรณีโลกสตูล ปปกติใหม 2564 ในพธิ เี ปด งาน พรอ มดว ยนายสมหมาย เตชวาล อธบิ ดกี รมทรพั ยากรธรณี
(Virtual Satun UNESCO Global Geopark Tourism in the New และนายเอกรัฐ หลเี ส็น ผูวา ราชการจังหวัดสตูล กลา วตอ นรบั
Normal Year 2021 Festival) ผานแพลตฟอรมออนไลน
เต็มรูปแบบ โดยมนี ายอนุชา สะสมทรพั ย ผชู ว ยรฐั มนตรีวา การ

93

กรมทรัพยากรธรณี จัดกจิ กรรมใน “วนั พระราชทานธงชาติไทย” ประจําป 2564

28 กันยายน 2564 เวลา 08.00 น. นายสมหมาย เตชวาล เพื่อนอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จ
อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี พรอมดวยคณะผูบริหารเขารวม พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 6 ที่ทรงพระราชทาน
กิจกรรมใน “วันพระราชทานธงชาติไทย” ประจาํ ป 2564 ธงไตรรงคเปนธงชาติไทย โดยมีการประกาศใหเปนวันพระราช
โดยรวมยืนตรงเคารพธงชาติและรองเพลงชาติพรอมกัน ทานธงชาติไทย (Thai National Flag Day) เร่ิมตง้ั แตว นั ท่ี 28
ณ หองโถงอาคารเพชร กรมทรัพยากรธรณี ทง้ั นี้ คณะรัฐมนตรี กนั ยายน 2560 เปน วนั แรก โดยไมถอื เปน วันหยุดราชการ
มมี ตใิ หว นั ท่ี 28 กนั ยายน ของทกุ ป เปน วนั พระราชทานธงชาตไิ ทย

94

เอกสารสิ่งพิมพ กรมทรัพยากรธรณี ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารวิชาการ

• รายงานวิชาการ ฉบับท่ี กคบ.ว. 1/2564 เร่ือง การสาํ รวจขุดคนซากกระดูกวาฬโบราณ บริเวณบานคลองหลวง
ตําบลอาํ แพง อาํ เภอบา นแพว จงั หวัดสมทุ รสาคร

• รายงานขอเสนอเชิงนโยบาย การบริหารจดั การเชงิ พนื้ ทธ่ี รณวี ิทยาทางทะเลและชายฝง พ้ืนทอ่ี า วตราด จังหวดั ตราด
• รายงานวชิ าการ เรอื่ ง การสาํ รวจธรณวี ทิ ยาเพอื่ การบรหิ ารจดั การทางทะเลและชายฝง พนื้ ทอ่ี ําเภอเมอื งและคลองใหญ

จงั หวัดตราด : กองเทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณ,ี ฉบบั ท่ี กทธ 4/2564
• รายงานวิชาการ เรื่อง การเปล่ียนแปลงชายฝงทะเลอาวไทย พื้นที่ตาํ บลแหลมกลัด อําเภอเมือง และตําบลไมรูด

อําเภอคลองใหญ จงั หวัดตราด : กองธรณีวทิ ยาส่ิงแวดลอม กรมทรัพยากรธรณ,ี ฉบับท่ี กธส 7/2564
• รายงานผลการดาํ เนินงาน เรื่อง สถิติขอมูลระดับน้ําทะเลจากสถานีตรวจวัดระดับนํา้ ขึ้น-ลง แบบอัตโนมัติประจาํ

ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : กองเทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณี, ฉบับที่ กทธ 12/2564
• รายงานวชิ าการ เรอื่ ง การสาํ รวจธรณีวิทยาทางทะเลเพอื่ การอนรุ กั ษพ ้ืนที่ปราสาทหนิ พนั ยอด อุทยานธรณโี ลกสตลู :

กองเทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณ,ี ฉบบั ท่ี กทธ 5/2564
• รายงานวชิ าการ เรอ่ื ง การสํารวจธรณวี ทิ ยาทางทะเลเพอ่ื การบรหิ ารจดั การ พน้ื ทอี่ นั ควรอนรุ กั ษท างธรณวี ทิ ยา เขาตาปู

จังหวดั พงั งา : กองเทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณี, ฉบบั ท่ี กทธ 6/2564
• รายงานวชิ าการ เรอื่ ง การสํารวจจดั ทาํ ขอ มลู ธรณเี คมพี นื้ ฐาน จงั หวดั นครราชสมี า : กองเทคโนโลยธี รณี กรมทรพั ยากรธรณ,ี

ฉบบั ที่ กทธ 7/2564
• รายงานวชิ าการ เร่อื ง การสํารวจจัดทําขอ มลู ธรณีเคมพี ้นื ฐาน จงั หวัดชัยภมู ิ : กองเทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณี,

ฉบบั ท่ี กทธ 8/2564
• รายงานการสาํ รวจธรณฟี ส กิ สเ พอ่ื จดั ทําขอ มลู ธรณวี ทิ ยาใตผ วิ ดนิ โครงการพฒั นาแหลง น้ําพนื้ ทส่ี ระบอ ดนิ ขาว อําเภอตาคลี

จงั หวดั นครสวรรค : กองเทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี, ฉบับที่ กทธ 1/2564
• รายงานการสํารวจธรณฟี ส กิ สโ ครงการ “โคก หนอง นา สสู ากล” ศนู ยศ กึ ษาวจิ ยั และพพิ ธิ ภณั ฑไ ดโนเสารภ เู วยี ง อาํ เภอเวยี งเกา

จงั หวดั ขอนแกน : กองเทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณ,ี ฉบับท่ี กทธ 2/2564
• รายงานการสํารวจธรณฟี สกิ สพ้ืนทห่ี ลมุ ยุบ โรงเรียนวัดราชชา งขวัญ อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั พจิ ติ ร : กองเทคโนโลยีธรณี

กรมทรัพยากรธรณี, ฉบับที่ กทธ 3/2564
• รายงานการสํารวจธรณีฟสิกสเพื่อหาลักษณะโครงสรางทางธรณีวิทยาและลักษณะช้ันดิน/ชั้นหินในระดับลึก พื้นที่

สวนปา จาํ ปส ริ นิ ธร ตาํ บลซบั จําปา และพนื้ ทอ่ี า งเกบ็ นาํ้ ตาํ บลแกง ผกั กดู อาํ เภอทา หลวง จงั หวดั ลพบรุ ี : กองเทคโนโลยธี รณี
กรมทรพั ยากรธรณี, ฉบบั ที่ กทธ 11/2564
• รายงานการสํารวจธรณฟี ส กิ สร อยเลอ่ื นลาํ ตะคอง พน้ื ทบ่ี า นปางหวั ชา ง ตําบลหนองยา งเสอื อําเภอมวกเหลก็ จงั หวดั สระบรุ ี
และพ้ืนทีบ่ านมอดนิ แดง ตําบลจันทกึ อาํ เภอปากชอง จังหวัดนครราชสมี า : กองเทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี,
ฉบบั ที่ กทธ 13/2564
• รายงานการสํารวจธรณีฟสิกสวัดคาสภาพตานทานไฟฟา พื้นที่เวียงหนองลม อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย :
กองเทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณ,ี ฉบบั ท่ี กทธ 14/2564
• รายงานวิชาการ เร่ือง การประเมินสถานภาพและกําหนดแหลงแรควอตซเพ่ือใชประโยชนทางเศรษฐกิจของ
จังหวัดเพชรบรุ .ี กองทรพั ยากรแร กรมทรพั ยากรธรณี ฉบับที่ กทร. 2/2564
• รายงานวิชาการ เรื่อง การศึกษาการกําเนิดธาตุหายากในหินแกรนิต บริเวณภาคเหนือของประเทศไทย พ้ืนท่ี
จงั หวัดเชียงราย แพร และอุตรดิตถ. กองทรพั ยากรแร กรมทรพั ยากรธรณี ฉบับที่ กทร. 3/2564

95

• รายงานวิชาการ เรื่อง มาตรฐานการใชประโยชนทรัพยากรแรเฟลดสปาร จังหวัดตาก. กองทรัพยากรแร
กรมทรพั ยากรธรณี ฉบับท่ี กทร. 4/2564

• รายงานวชิ าการ เร่ือง การประเมินศกั ยภาพแรด ีบกุ พนื้ ที่บา นบนโตน - บา นสะพานเสอื จังหวดั พงั งา. กองทรัพยากรแร
กรมทรัพยากรธรณี ฉบับที่ กทร. 5/2564

• รายงานวชิ าการ เรือ่ ง การประเมนิ สถานภาพและกําหนดแหลง แรเ พอ่ื ใชป ระโยชนทางเศรษฐกจิ
(แรโ พแทช จงั หวัดชัยภมู )ิ . กองทรพั ยากรแร กรมทรัพยากรธรณี ฉบบั ที่ กทร. 6/2564

• รายงานวิชาการ เรอื่ ง การประเมนิ สถานภาพและกําหนดแหลงแรเพ่อื ใชประโยชนท างเศรษฐกิจ
(แรโ พแทช จังหวัดมหาสารคาม). กองทรัพยากรแร กรมทรัพยากรธรณี ฉบบั ที่ กทร. 7/2564

• รายงานวิชาการ เรื่อง รายงานการสํารวจทรพั ยากรธรณแี ละธรณวี ทิ ยาตามแนวเสนทางรถไฟทางคูกรุงเทพมหานคร-
อําเภอเมอื งนครราชสีมา (ฉบบั ปรับปรงุ แกไข). กองธรณีวทิ ยา กรมทรพั ยากรธรณี ฉบับที่ กธว 2/ 2561

• รายงานวชิ าการ เรื่อง รายงานการจัดหาแหลงทรัพยากรธรณี เพอ่ื การพฒั นาพื้นที่โครงการขนาดใหญภ าครัฐ รถไฟทางคู
(สายชมุ ทางถนนจิระ-ขอนแกน) (ฉบับปรับปรงุ แกไ ข). กองธรณวี ิทยา กรมทรัพยากรธรณี ฉบบั ท่ี กธว. 4/2563

• รายงานวิชาการ เรือ่ ง การพัฒนาเว็บไซตก รมทรพั ยากรธรณี : ศูนยเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
กรมทรพั ยากรธรณ,ี ฉบับท่ี ศทส 1/2564

• รายงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศกรมทรัพยากรธรณี : ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กรมทรัพยากรธรณี, ฉบับท่ี ศทส 2/2564

• รายงานการจดั ทาํ ขอ มูลธรณีวทิ ยาภายในแหลงมรดกธรณีพนื้ ทภ่ี าคเหนอื ประจาํ ปงบประมาณ 2564 : สํานักงาน
ทรัพยากรธรณีเขต 1 กรมทรพั ยากรธรณี, สงิ หาคม 2564

• รายงานการประเมินแหลงมรดกทางธรณีวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจําปงบประมาณ 2564 : สาํ นักงาน
ทรพั ยากรธรณีเขต 2 กรมทรพั ยากรธรณี, สงิ หาคม 2564

• รายงานโครงการแหลงมรดกธรณวี ิทยา 10 แหลง พื้นที่ภาคกลาง ตะวันออก ตะวันตก : สํานักงานทรัพยากรธรณเี ขต 3
กรมทรพั ยากรธรณี, สิงหาคม 2564

• รายงานการสาํ รวจและประเมินคุณคาแหลงธรณีวิทยาและมรดกธรณี พ้ืนท่ีภาคใต : สํานักงานทรัพยากรธรณีเขต 4
กรมทรัพยากรธรณี, กันยายน 2564

• รายงานผลการสาํ รวจและจดั ทําแผนผงั ถาํ้ เขาชา งหาย : สํานกั งานทรพั ยากรธรณเี ขต 4 กรมทรพั ยากรธรณ,ี กนั ยายน 2564
• รายงานวชิ าการ เรื่อง ธรณวี ทิ ยา และแนวทางการพัฒนาแหลงทองเท่ียวทางธรณีวทิ ยา พนื้ ที่ถาํ้ ทะลุ (เขาขาว) จังหวัดสตูล :

กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, ฉบับที่ กธว. 2/2564
• รายงานวชิ าการ เร่ือง การสาํ รวจ ศกึ ษา ประเมนิ คณุ คา เพอ่ื พฒั นาเปน แหลง ทองเทยี่ วเชงิ ธรณี
• แหลง ธรณีวิทยานํ้าตกธารปลวิ จงั หวดั สตูล : สํานักงานทรัพยากรธรณเี ขต 4 กรมทรัพยากรธรณ,ี กันยายน 2564
• รายงานวชิ าการ เรอ่ื ง การสาํ รวจ ศกึ ษา ประเมนิ คณุ คา เพอื่ พฒั นาเปน แหลง ทอ งเทย่ี วเชงิ ธรณี แหลง หนิ สาหรา ยปา พน

(Stromatolite) : สาํ นักงานทรัพยากรธรณเี ขต 4 กรมทรพั ยากรธรณี, กนั ยายน 2564
• รายงานวชิ าการ เร่อื ง การสาํ รวจ ศกึ ษา ประเมินคุณคาเพ่ือพัฒนาเปนแหลงทองเท่ยี วเชิงธรณี
• แหลงธรณวี ทิ ยาเขาทะนาน : สํานกั งานทรัพยากรธรณเี ขต 4 กรมทรพั ยากรธรณี, กนั ยายน 2564
• รายงานการพัฒนาแหลงทองเท่ียวทางธรณีวิทยา พ้ืนท่ีถํ้าเจ็ดคต จังหวัดสตูล : กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี,

สงิ หาคม 2564
• รายงานผลการปฏิบตั ิงานแหลงธรณีวทิ ยาเขาจนั ทนงาม อาํ เภอสีคว้ิ จงั หวดั นครราชสมี า : สาํ นักงานทรัพยากรธรณเี ขต 4

กรมทรัพยากรธรณี, สิงหาคม 2564
• รายงานวิชาการ เร่ือง การสาํ รวจวิจัยระบบถํ้าในอุทยานแหงชาติดอยภูคา (ถ้าํ ผาฆอง) จังหวัดนาน : สํานักงาน

ทรพั ยากรธรณี เขต 1 กรมทรพั ยากรธรณ,ี ฉบบั ที่ สทข.1 7/2564

96

• รายงานวิชาการ เรื่อง การสํารวจวิจัยระบบถา้ํ ปาฏิหาริย จังหวัดอุบลราชธานี : กองธรณีวิทยาและสาํ นักงาน
ทรพั ยากรธรณี เขต 2 กรมทรัพยากรธรณ,ี ฉบบั ท่ี กธว. 3/2564

• รายงานวิชาการ เรอ่ื ง การสาํ รวจวจิ ยั ระบบถํา้ ธารน้ําลอด จังหวดั ชมุ พร : สาํ นกั งานทรัพยากรธรณี เขต 4
• กรมทรพั ยากรธรณี, ฉบบั ท่ี สทข.4 5/2564
• รายงานวชิ าการ เรอ่ื ง มาตรฐานการสาํ รวจรอยเลือ่ นมพี ลัง
• รายงานวิชาการ เร่ือง ความรวมมือดานแรธาตุอาเซียน ภายใตคณะทาํ งานขอมูลแรและฐานขอมูลของการประชุม

เจา หนา ทอ่ี าวโุ สอาเซยี นดา นแร : ศนู ยเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร กรมทรพั ยากรธรณ,ี ฉบบั ที่ ศทส. 3/2564
• Geology of Wang Saithong Waterfall in Satun UNESCO Global Geopark : Geological Survey Division,

GSD 02/2021
• Rattana, P., Choowong, M., He, M.-Y., Tan, L., Lan, J., Bissen, R., & Chawchai, S. (2021). Geochemistry

of evaporitic deposits from the Cenomanian (Upper Cretaceous) Maha Sarakham Formation in the
Khorat Basin, northeastern Thailand. Cretaceous Research, 104986. https://doi.org/https://doi.
org/10.1016/j.cretres.2021.104986
• Shen, L., Siritongkham, N., Wang, L., Liu, C., Nontaso, A., Khadsri, W. and Hu, Y., 2021.
• The brine depth of the Khorat Basin in Thailand as indicated by high-resolution Br profile. Scientific
Reports, 11(1).
• Watcharamai, T., Abhisit, S., and Takayuki, M. 2021. Preliminary study on petrography and geochemistry
of alkaline granitic rocks in Tha Takiap, Thailand. Bulletin of Earth Sciences of Thailand, 13, 1, 27-38.

97

คณะทํางาน

ทีป่ รึกษา อธบิ ดกี รมทรพั ยากรธรณี
รองอธบิ ดกี รมทรพั ยากรธรณี
นายสมหมาย เตชวาล รองอธิบดีกรมทรพั ยากรธรณี
นายนวิ ัติ มณีขตั ิย ผูต รวจราชการกรม
นายมนตรี เหลืององิ คะสตุ
นายอนุกูล วงศใ หญ

บรรณาธกิ าร ผอู ํานวยการกองอนุรักษแ ละจดั การทรัพยากรธรณี
ผูอ ํานวยการสว นแผนและประเมินผล
นางสภุ าภรณ วรกนก กองอนุรักษแ ละจัดการทรัพยากรธรณี
นางสาวกนกวรรณ เทียนเย็น

ผูส นบั สนุนขอ มลู ผอู าํ นวยการกองเทคโนโลยีธรณี
ผอู ํานวยการกองธรณีวิทยา
นายสุวภาคย อม่ิ สมทุ ร ผูอํานวยการกองคุม ครองซากดกึ ดาํ บรรพ
นายสรุ ชยั ศริ ิพงษเสถียร ผอู าํ นวยการกองธรณวี ทิ ยาส่ิงแวดลอ ม
นายอานนท นนทโส ผอู าํ นวยการกองวเิ คราะหแ ละตรวจสอบทรัพยากรธรณี
นายนมิ ิตร ศรคลงั ผูอํานวยการศนู ยเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
นางอัปสร สอาดสุด ผอู ํานวยการกองทรัพยากรแร
นายนิวตั ิ บญุ นพ เลขานุการกรม
นางสาวกฤตยา ปทมาลัย ผูอํานวยการสาํ นกั งานทรพั ยากรธรณีเขต 1
นางสาวเสาวลกั ษณ ศรีดาแกว ผูอาํ นวยการสํานกั งานทรัพยากรธรณเี ขต 2
นายสธุ ี จงอจั ฉริยกลุ ผูอ าํ นวยการสํานักงานทรัพยากรธรณีเขต 3
นางสาวดรณุ ี สายสทุ ธิชัย ผอู าํ นวยการสาํ นกั งานทรพั ยากรธรณีเขต 4
นายทินกร ทาทอง ผอู ํานวยการกลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร
นายสมศักดิ์ วัฒนปฤดา ผอู ํานวยการสวนทรัพยากรบคุ คล สํานักงานเลขานกุ ารกรม
นายสทุ ธิศักดิ์ โทวนชิ ผอู ํานวยการสวนการคลัง สํานักงานเลขานุการกรม
นายภาสวชิ ญ จลุ มลู ผอู ํานวยการสว นประชาสมั พนั ธ สาํ นักงานเลขานกุ ารกรม
นางกฤชภา จิรลักข
นางสาวมยุรี ธรรมานุสาร

ดําเนนิ การโดย

สวนแผนและประเมนิ ผล กองอนุรกั ษแ ละจัดการทรัพยากรธรณี

98


Click to View FlipBook Version