The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prdmr.pr, 2021-07-29 23:25:05

Abstract book_final5

Abstract book_final5

172 ธรณีวถิ ใี หม่ นวตั กรรมไทย เพ่อื การพัฒนาทย่ี ่ังยนื

รอยเลอื่ นแม่ฮอ่ งสอนและประวตั กิ ารไหวสะเทือนในอดตี : การกลบั มาวเิ คราะห์ใหม่

จณสิ ตา จันสม1*, สคุ นธ์เมธ จติ รมหนั ตกลุ 1, วีระชาติ วเิ วกวิน2 และ ปญั ญา จารศุ ริ ิ2, 3

1หน่วยปฏิบตั ิการวิจยั การวเิ คราะห์แอง่ ตะกอน และววิ ฒั นาการทางธรณีโครงสร้าง ภาควิชาธรณวี ิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั กรงุ เทพมหานคร

2 กรมทรัพยากรธรณี ถนน พระรามที่ 6 เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร
3 หนว่ ยปฏิบตั กิ ารวจิ ัยสณั ฐานวทิ ยาของพน้ื ผิวโลกและธรณีพบิ ัตภิ ัยข้นั สงู ในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ภาควิชาธรณวี ิทยา

คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กรุงเทพมหานคร
*E-mail address: [email protected]

บทคัดยอ่ แบบขยาย (Extended Abstract))

แผ่นดินไหวทเ่ี กดิ ขนึ้ ทางภาคตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ตั้งแตป่ ีพ.ศ.2553 มกั เป็นแผน่ ดนิ ไหวระดบั ตนื้ และมี
ขนาดไม่เกิน 3.5 แผ่นดินไหวท่ีสาคัญคือ แผ่นดินไหวผาบ่อง จังหวัดแม่ฮ่องสอน เม่ือวันท่ี 6 กันยายน
พ.ศ.2554 มขี นาด 3.0 แมส้ ัน่ ไหวบริเวณแคบ ๆ แตก่ ลบั ยาวนานเกือบ 3 นาที จากบันทกึ ข้อมูลแผ่นดินไหวใน
อดีตพบวา่ เกิดแผน่ ดินไหวขนาดใหญ่ท่ีสุดคือ แผ่นดินไหวท่าสองยาง ที่มีศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ในเขตตาบล
แม่ต้าน อาเภอทา่ สองยาง จังหวดั ตาก เม่ือวันท่ี 17 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2518 ด้วยขนาด 5.5 เกิดแรงสั่นสะเทือน
เป็นบริเวณกว้าง และสามารถรับรู้ได้ในเขตกรุงเทพมหานคร แผ่นดินไหวทั้งสองเหตุการณ์น้ีเป็นผลจากการ
เล่ือนตัวตามแนวรอยเล่ือนแม่ฮ่องสอน ซึ่งกรมทรัพยากรธรณีจัดให้เป็นรอยเลื่อนมีพลังท่ีวางตัวในแนวเกือบ
เหนือ-ใต้ โดยแผ่นดินไหวท่าสองยางเกิดบริเวณส่วนใต้สุดของรอยเล่ือนแม่ฮ่องสอน และแผ่นดินไหวผาบ่อง
เกิดอยู่ทางส่วนเหนือของรอยเล่ือนแม่ฮ่องสอน ทาให้เกิดความจาเป็นในการศึกษารอยเลื่อนน้ี ซ่ึงปัจจุบันมี
ข้อมูลการศกึ ษาวจิ ยั นอ้ ยมาก

ดังน้ัน การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือรวบรวมหลักฐานท่ีบ่งบอกถึงประวัติการไหวสะเทือนของรอย
เล่ือนมีพลังน้ี โดยเฉพาะหลักฐานจากการศึกษาทางธรณีสัณฐานและหลักฐานจากการขุดร่องสารวจ การ
วิเคราะหท์ างธรณีสัณฐานประกอบด้วยการแปลขอ้ มูลแบบจาลองความสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model
หรือ DEM) ความละเอียด 12.5 เมตร ร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียมความละเอียด 30 เมตรจากโปรแกรม
Google Earth Pro ผนวกกับการสารวจธรณีวิทยาสนามในพ้ืนท่ีท่ีแสดงหลักฐานของรอยเล่ือน ผลการศึกษา
พบภมู ิลกั ษณท์ สี่ ัมพันธก์ บั รอยเลอ่ื นมากมาย ท่เี ดน่ ชัดคือ ธารเหลือ่ ม, ผาสามเหล่ียม, หุบเขาแนวตรง, และผา
รอยเล่ือน ทาให้ได้แนวการวางตัวของรอยเลื่อนบนพื้นดินอย่างมีนัยสาคัญ โดยสามารถแบ่งรอยเล่ือน
แม่ฮ่องสอนออกเป็นรอยเลื่อนย่อย (fault segment) ได้จานวน 55 รอยเล่ือนย่อย และการคานวณหา
แผ่นดนิ ไหวใหญท่ ีส่ ดุ ในอดีต (maximum credible earthquake) จากความยาวรอยเล่ือน ประเมินได้ว่าเคย
มแี ผ่นดินไหวใหญ่เกดิ ขึน้ ตามแนวรอยเลอ่ื นน้ี ต้ังแต่ขนาด 5.8 จนถึง 6.3 ตามมาตรารกิ เตอร์

ผลการขุดร่องสารวจ 4 ร่อง (~ เฉลี่ย 3x4x25 เมตร) ต้ังฉากกับแนวรอยเลื่อน เพ่ือตรวจสอบการ
วางตัวของรอยเล่ือนใต้ดินและเพ่ือการเก็บตัวอย่างตะกอนที่สัมพันธ์กับรอยเลื่อน ผลการตรวจหาอายุการ
เล่อื นตวั จากตวั อยา่ งตะกอนซ่ึงสมั พนั ธ์กับรอยเลื่อนโดยวิธี OSL และ C-14 ทาให้ตรวจหาจานวนครั้งของการ
เลื่อนตัวตามแนวรอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน พบว่าเคยเกิดแผ่นดินไหวมาแล้ว 9 ครั้ง ได้แก่ ครั้งแรกเม่ือประมาณ
43,000 ปีมาแล้ว ต่อมาเม่ือ 38,000 ปี, 33,000 ปี, 28,000 ปี, 23,000 ปี, 18,000 ปี, 13,000 ปี, 8,000 ปี
และ ครั้งสดุ ท้ายเมื่อ 3,000 ปีท่ีแล้วมา การศกึ ษาวิจยั นี้ทาใหป้ ระเมินรอบการเกดิ แผ่นดินไหวหรือคาบอุบัติซ้า
(recurrence interval) จากรอยเล่ือนแม่ฮ่องสอนประมาณ 5,000 ปี ด้วยอัตราการเลื่อนตัว 0.04 - 0.15
มิลลิเมตรต่อปี นอกจากน้ันในด้านสถานภาพทางธรณีแปรสัณฐานยุคใหม่ (neotectonic setting) แอ่ง

Poster Session

การประชมุ วิชาการธรณีไทย ประจาปี 2564 173
(Geothai Webinar 2021) วันท่ี 4-6 สิงหาคม 2564

173
ตะกอนมหายุคซีโนโซอิก(Cenozoic basin) สองแอ่ง ซึ่งได้แก่แอ่งแม่ฮ่องสอนทางตอนเหนือและแอ่งแม่สะ

เรียงทางตอนใต้ ท่ีถูกค่ันระหว่างกลางด้วยพะเนินขุนยวม (Khun Yuam mound) น่าจะเป็นผลมาจากจาก

การเลอ่ื นตัวตามแนวรอยเล่ือนทลี่ ดลงเรื่อย ๆ โดยทกี่ ารปรากฏของพะเนนิ ขนุ ยวมอธิบายได้จากจากการเล่ือน

ตัวตามแนวรอยเล่ือน ดังนั้นผู้วิจัยจึงวินิจฉัยว่าพะเนินขุนยวมนี้ทาหน้าท่ีเป็นเขตเช่ือมโยงรอยเล่ือน ( fault

linkage zone) ระหวา่ งรอยเล่ือนย่อย 2 กล่มุ ของรอยเล่ือนแม่ฮอ่ งสอน

คา้ ส้าคัญ: รอยเล่อื นแม่ฮ่องสอน รอยเลือ่ นมพี ลงั พะเนนิ ขนุ ยวม เขตเชอื่ มโยงรอยเลื่อน คาบอบุ ัตซิ ้า

Poster Session

174 ธรณีวิถใี หม่ นวัตกรรมไทย เพือ่ การพัฒนาทยี่ ั่งยืน

รูปที่ 1. แผนทภี ูมิประเทศจากขอ้ มูล ALOS DEM ทป่ี รบั ปรุงคณุ ภาพแลว้ (enhanced) แสดงรอยเลอื่ นย่อยของรอยเล่ือน
แม่ฮอ่ งสอนท่ีส่วนใหญ่วางตัวในแนวเหนอื -ใต้

รูปที่ 2 แผนภาพแสดงผลจากอายกุ ารสะสมตวั ของตะกอนควอเทอรน์ ารีจากร่องสารวจและหนิ โผลถ่ นนตัดที่
สมั พนั ธ์กบั รอยเล่ือนย่อยตา่ งๆ ในเขตจงั หวดั แม่ฮ่องสอน ทง้ั จากการวิจัยครงั้ นี้และขอ้ มูลในอดีต ซ่งึ ชว่ ยนามา
จากดั วงในการหาคาบอุบัติซ้าของรอยเลอื่ นแมฮ่ ่องสอน

Poster Session

การประชุมวิชาการธรณีไทย ประจาปี 2564 175
(Geothai Webinar 2021) วนั ท่ี 4-6 สิงหาคม 2564

175

รูปที่ 3 แบบจาลองแสดงการแปรสณั ฐานนวกรรมของรอยเลอ่ื นแม่ฮ่องสอนและการเกิดเขตเชอ่ื มโยงรอยเลื่อน
ขุนยวมทส่ี ัมพันธ์กบั การเล่ือนตวั ของรอยเลอื่ นแมฮ่ ่องสอน

Poster Session

176 ธรณีวิถใี หม่ นวตั กรรมไทย เพ่อื การพฒั นาท่ียั่งยืน

ระบบการตรวจตดิ ตาม 24 ชวั่ โมง ดว้ ย สถานเี ครื่องตรวจติดตามการเคล่อื นตวั ของมวลดนิ
เพ่อื สนบั สนุนการตดิ ตามสถานการณแ์ ละการเฝ้าระวงั แจ้งเตอื นธรณีพบิ ตั ิภัยแผ่นดินถลม่ ของ

กรมทรพั ยากรธรณี

เอกชยั แกว้ มาตย์1*, สรุ ยี ์ เกณฑ์มา1, พชิ ญาภคั บญุ ทอง1 และ สวุ ัฒน์ ศรวี งษ์2

1กองธรณวี ทิ ยาสงิ่ แวดลอ้ ม กรมทรพั ยากรธรณี
2บรษิ ัทวศิ วกรรมธรณแี ละฐานราก จากดั
*E-mail: [email protected]

บทคดั ย่อ

ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากธรณีพิบัติภัยมาอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงส่งผลให้เกิดความสูญเสีย ต่อชีวิต
และ ทรพั ย์สินของประชาชน รวมทั้งเศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศ กองธรณีวิทยาส่ิงแวดล้อม กรมทรัพยากร
ธรณี มีภารกิจการติดตาม เฝ้าระวัง และแจ้งเตือนธรณีพิบัติภัยแผ่นดินถล่ม จาเป็นต้องมีอุปกรณ์เตือนภัยที่
เหมาะสม หลากหลายมาบูรณาการรวมกนั รวมทั้งสร้างระบบเฝา้ ระวงั และแจ้งเตือนภยั ทมี่ คี วามถูกต้องแม่นยา
สูงใน การตรวจวัดและส่งต่อข้อมูลเข้าระบบแจ้งเตือนภัยพิบัติ เพื่อสนับสนุนการติดตามสถานการณ์และการ
เฝ้าระวัง แจ้งเตือนธรณีพิบัติภัยแผ่นดินถล่ม หน่ึงในน้ัน คือเครื่องตรวจติดตามการเคลื่อนตัวของมวลดิน
จานวน 25 สถานี โดยเร่มิ พฒั นาระบบในปี 2556 เป็นต้นมา

ปัจจุบันกองธรณีวิทยาส่ิงแวดล้อม มีระบบเคร่ืองประมวลผลส่วนกลาง สามารถเชื่อมโยงข้อมูลจาก
สถานี ตรวจวัดต่างจังหวัดท้ังหมด 25 สถานีแบบใกล้เคียงเวลาจริง (Near real time) ท่ัวประเทศ สามารถ
ประมวลผล วิเคราะห์ข้อมูลการเคลื่อนตัวของมวลดิน ปริมาณน้าฝน สามารถแจ้งเตือนภัยได้ต่อเนื่องตลอด
24 ชั่วโมง โดยแสดงข้อมูลผ่านเว็บไซต์ http://landslide2.dmr.go.th/ และช่องทางอื่นๆ เช่น ระบบ SMS
และ แอปพลิเคชันไลน์ บนสมาร์ตโฟนเป็นต้น ในแต่ละสถานีตรวจติดตามตามการเคลื่อนตัวของมวลดิน
ประกอบด้วย เครื่องบันทึกและรับส่งข้อมูลผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ที่ออกแบบให้เหมาะสาหรับการใช้งาน
ภาคสนามตาม มีความทนทาน ได้มาตรฐานป้องกันฝุ่นและน้าตาม IP protection class level 65 ส่งข้อมูล
ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต อ่านข้อมูลและดาวน์โหลดข้อมูลได้โดยตรงจากเครื่องประมวลผลที่เชื่อมต่อ
สัญญาณอิเทอร์เน็ต ข้อมูล ที่ได้รับจากสถานีฯ จะประกอบด้วย 1) ชุดเครื่องวัดการเคลื่อนตัวมวลดินใน
แนวราบ ซึ่งเปน็ หัววดั การเอียงตัวชนิด MEMS แบบแกนเด่ียว 2) ชุดวัดแรงดันน้าใต้ดินในหลุมเจาะ มีช่วงวัด
แรงดันน้าต้ังแต่ 170 kPa ถึง 3.5 Mpa ขึ้นอยู่กับการเลือกใช้งานค่าแรงดันที่เหมาะสมกับสภาพทาง
ธรณีวิทยาในบริเวณที่ติดต้ังในแต่ละสถานีฯ เพื่อวัดแรงดันน้าใต้ดิน 3) ชุดวัดปริมาณน้าฝนอัตโนมัติ มีอัตรา
การวัดน้าฝนสูงสุด 300 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง ตามมาตรฐาน WMO 4) ชุดวัดอุณหภูมิ และ 5) ความช้ืน
สัมพัทธ์ของสภาพแวดล้อมในบริเวณท่ีตั้งสถานีฯ ข้อมูลท่ีได้รับจากสถานี ตรวจวัดจะถูกนามาวิเคราะห์และ
เปรยี บเทยี บคา่ การเปลยี่ นแปลงการเคล่อื นตัวของมวลดิน ปริมาณน้าฝนท่ีใกล้จะ ถึงจุดวิกฤต แรงดันน้าใต้ดิน
ท่ีจะส่งผลอาจทาให้เกิดดินถล่มได้ โดยในสถานการณ์ปกติท่ัวไปจะมีการวิเคราะห์ ข้อมูลและแสดงผลทุกๆ
ชั่วโมง แต่เม่ือมีเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือเหตุจาเป็นที่ต้องติดตามสถานะการณ์อย่างใกล้ชิด ในแต่ละสถานี
สามารถปรับค่าความถี่ในการอ่านและส่งข้อมูลได้ ทุกๆนาที เพื่อเฝ้าระวังและเตือนภัยดินถล่มให้ทัน ต่อ
เหตุการณ์ เพื่อเป็นการป้องกันชีวิตและทรัพย์สินของประชาขนที่พักอาศัยในบริเวณท่ีต้ังสถานีและพื้นที่
ใกลเ้ คยี ง

Poster Session

การประชุมวิชาการธรณีไทย ประจาปี 2564 177
(Geothai Webinar 2021) วนั ที่ 4-6 สงิ หาคม 2564

177

ระบบฐานขอ้ มลู แรอ่ าเซียน (ASEAN Mineral Database System: AMDIS)

สาวิตรี ลอื ชาอภิชาตกุล* และ นุชจรี เจรญิ บญุ วานนท์

ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร กรมทรพั ยากรธรณี 75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพ 10400
E-mail: [email protected]

บทคดั ยอ่

การประชมุ เจ้าหน้าทอี่ าวุโสด้านแร่ธาตุของอาเซียน (ASEAN Senior Officials Meeting on Miner-
als: ASOMM) และการประชุมอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ภายใต้ความร่วมมือด้านแร่ธาตุอาเซียน ซ่ึงปัจจุบันความ
ร่วมมือด้านแร่ธาตุอาเซียน ประกอบด้วย 4 ด้าน โดยมีกลไกการดาเนินงานเป็นคณะทางานท่ีมาจากผู้แทน
ของประเทศสมาชิกอาเซียน ได้แก่ (1) การจัดทาสารสนเทศและฐานข้อมูลด้านแร่ (2) การพัฒนาบุคลากร
ด้านแร่ (3) การค้าการลงทุนด้านแร่ และ (4) การพัฒนาแหล่งแร่อย่างย่ังยืน โดยกรมทรัพยากรธรณีได้รับ
มอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการดาเนินงานและเข้าร่วมการประชุมของคณะทางานสารสนเทศ
แล ะ ฐ า น ข้อ มู ลแ ร่ ( Working Group on Mineral Information and Database: WGMID) ร่ว ม กั บ
กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร่ กระทรวงอตุ สาหกรรม

ผลการดาเนินงานของคณะทางานสารสนเทศและฐานข้อมูลแร่ประเทศไทย ภายใต้แผนปฏิบัติการ
ความรว่ มมอื ด้านแรธ่ าตอุ าเซยี น ฉบบั ที่ 3 ระยะท่ี 1 (พ.ศ. 2559-2564) คณะทางานฯ ได้รวบรวมและนาเข้า
ข้อมูลภูมิสารสนเทศ จานวน 1 ชุดข้อมูล คือ Mineral Occurrences of Thailand เพื่อให้บริการสืบค้น
ข้อมูลเชิงพ้ืนท่ีผ่านระบบฐานข้อมูลแร่อาเซียน (ASEAN Minerals WebGIS) นอกจากน้ี ได้รวบรวมและ
นาเขา้ ข้อมลู สถิติเกยี่ วกับการดาเนินการด้านแรข่ องประเทศไทยจานวน 8 หมวด ประกอบด้วย การค้านาเข้า-
ส่งออก (Trade; Import-Export) การผลิต (Production) การบริโภค (Consumption) อุปสงค์ (Demand)
อุปทาน (Supply) การลงทุน (Investment) เหมืองและชนิดแร่ท่ีปิดทาการ (Abandoned and closed
mines/sites) และกฎหมาย กฎกระทรวงต่างๆ (Law and Regulations) ท่ีเกี่ยวข้องกับการทาเหมือง
รวมทั้งส้ินจานวน 12,436 รายการ ตามรายการบัญชีรหัสศุลกากรเก่ียวกับแร่ของประเทศไทยในระบบ
ฐานข้อมลู แรอ่ าเซียน (ASEAN Mineral Database System: AMDIS)

ระบบฐานข้อมูลแร่อาเซียน (AMDIS) คือ ระบบฐานข้อมูลบูรณาการที่สามารถให้ข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง
ด้านแร่ ภายใต้กรอบความร่วมมือด้านแร่ธาตุของอาเซียน เพ่ือสร้างโอกาสสนับสนุนการค้าการลงทุนด้านแร่
ท้ังในและนอกภมู ิภาคอาเซยี น สง่ เสริมการจดั การและการใชป้ ระโยชนแ์ ร่ธาตแุ ละอุตสาหกรรมที่เก่ียวเนื่องกับ
แร่อย่างย่ังยืนในมิติของสังคมและส่ิงแวดล้อม อีกท้ังยังเป็นแหล่งเรียนรู้และคลังความรู้ด้านการเสริมสร้าง
ศักยภาพบุคลากรด้านแร่ การเผยแพร่และแบ่งปันข้อมูลอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้องด้านแร่ในอาเซียน ประชาชน และ
ผู้สนใจข้อมูลแร่อาเซียนและการดาเนินงานภายใต้ความร่วมมือด้านแร่ธาตุอาเซียน สามารถเข้าถึงได้ผ่าน
URL: http://amdis.bgl.esdm.go.id นอกจากน้ีระบบฯ จะเป็นกลไกขับเคล่ือนสร้างความร่วมมือให้เกิดผล
ทางด้านเศรษฐกิจ เป็นส่วนสาคัญท่ีสนับสนุนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายใต้โครงการความร่วมมือต่างๆ
และแสดงเปา้ หมายการดาเนนิ งาน ผลผลติ ผ่านระบบฐานขอ้ มลู แรอ่ าเซียนอย่างเป็นรูปธรรม

ค้าส้าคัญ: ความร่วมมือด้านแร่ธาตุอาเซียน, ASOMM, คณะทางานด้านสารสนเทศและฐานข้อมูลแร่,
WGMID, ระบบฐานข้อมูลแร่อาเซยี นของประเทศไทย, AMDIS

Poster Session

178 ธรณีวิถใี หม่ นวตั กรรมไทย เพือ่ การพัฒนาท่ยี ่ังยนื

ระบบบัญชีข้อมูลของหนว่ ยงานกรมทรัพยากรธรณี
Agency Data Catalog of Department of Mineral Resources

นชุ จรี เจริญบุญวานนท์*, สาวิตรี ลือชาอภิชาตกิ ุล และ ปรตั ถกร มามวลทรัพย์

ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร กรมทรพั ยากรธรณี 75/10 ถนนพระรามท่ี 6 แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพ 10400
E-mail: [email protected]

บทคัดยอ่

ด้วยสถานการณ์ปัจจุบัน ได้เข้าสู่ยุคของการวิเคราะห์และใช้ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
เพื่อประกอบการตัดสินใจและการดาเนินงานของหน่วยงาน จึงมีความต้องการใช้ประโยชน์ข้อมูลจาก
หน่วยงานภาครัฐเพิ่มมากข้ึน อย่างไรก็ดี หน่วยงานภาครัฐยังขาดการบูรณาการข้อมูลระหว่างหน่วยงาน
อีกท้ัง มขี อ้ จากัดในการเข้าถึงข้อมูล และผใู้ ชข้ ้อมลู ท่ีมีอยู่หลากหลายกลุ่ม การจัดทาบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน
(Agency Data Catalog : AD Catalog) จึงถือเป็นจุดเริ่มต้นสาคัญที่ช่วยให้ผู้ใช้ข้อมูล สามารถเข้าถึงบริการ
ข้อมลู ของหน่วยงานผ่านระบบสารสนเทศ เพื่อการสืบค้น ร้องขอ เข้าถึงแหล่งท่ีมา ทราบถึงประเภท รูปแบบ
ขอ้ มลู รวมทง้ั ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ในการบรู ณาการขอ้ มลู ของหนว่ ยงานรว่ มกบั บญั ชขี อ้ มลู ภาครฐั หรอื Government
Data Catalog : GD Catalog ผา่ นวธิ ีการเช่ือมโยง แลกเปล่ียนข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบ ทาให้ผู้ใช้ข้อมูลสามารถ
ใช้ประโยชน์ข้อมูลสาคัญของภาครัฐท้ังหมด ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูลซ้าซ้อน
สามารถบูรณาการและใช้ประโยชน์ข้อมลู ขา้ มหนว่ ยงานไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบและมีประสิทธิภาพ

การพฒั นาระบบบญั ชขี อ้ มลู ของหนว่ ยงานกรมทรพั ยากรธรณี ไดด้ าเนนิ การตามแนวทางการจดั ทาและการใช้
มาตรฐานซอฟแวรแ์ บบเปิด Open Source: CKAN Open-D Platform ทส่ี านักงานพฒั นารัฐบาลดจิ ิทลั (องคก์ าร
มหาชน) หรอื สพร. รว่ มกบั เนคเทค-สวทช. ไดก้ าหนดใหแ้ กห่ นว่ ยงานภาครฐั นามาพฒั นาเปน็ ระบบบญั ชขี องหนว่ ยงาน
ผลการพฒั นาระบบบญั ชขี อ้ มลู ของหนว่ ยงาน สามารถใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ผา่ นระบบ Web Application และ Mobile
(Web Responsive) ที่ http://data.dmr.go.th ซง่ึ ระบบจะทาหนา้ ทบ่ี รหิ ารจดั การบญั ชขี อ้ มลู ประกอบดว้ ย การเพมิ่ /
แกไ้ ข/สบื คน้ : กลมุ่ ขอ้ มลู รายชอ่ื ชดุ ขอ้ มลู คาอธบิ ายขอ้ มลู (Metadata) รวมทง้ั สามารถกาหนดการเผยแพรช่ ดุ ขอ้ มลู
เพอ่ื รองรบั การทาขอ้ มลู เปดิ (Open Data) นอกจากน้ี ระบบยงั มเี ครอื่ งมอื เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารดาวนโ์ หลดขอ้ มลู การวเิ คราะห์
ขอ้ มลู ประเภทตาราง และการใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู API เพอื่ การเชอื่ มตอ่ กบั ระบบอนื่ ทร่ี องรบั รวมทง้ั จะทาหนา้ ทเ่ี ชอ่ื มตอ่ กบั
ระบบบญั ชหี นว่ ยงานภาครฐั (GD Catalog) เพอ่ื บรู ณาการขอ้ มลู เปน็ ศนู ยก์ ลางขอ้ มลู เปดิ ภาครฐั เพอ่ื ใหป้ ระชาชน
สามารถเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ไดท้ าการพฒั นาระบบบญั ชขี อ้ มลู ของ
หนว่ ยงาน โดยรว่ มกบั กองธรณวี ทิ ยาสง่ิ แวดลอ้ ม จดั ทาชดุ ขอ้ มลู และคาอธบิ ายชดุ ขอ้ มลู ตามมาตรฐานกลาง (Matadata)
ดา้ นธรณพี บิ ตั ภิ ยั เพอ่ื นาเขา้ สรู่ ะบบบญั ชขี อ้ มลู ของหนว่ ยงานเปน็ การนารอ่ ง จานวนทงั้ สนิ้ 18 ชดุ ขอ้ มลู
ค้าส้าคญั : ขอ้ มลู เปดิ ภาครฐั , ระบบบญั ชขี อ้ มลู , กรมทรพั ยากรธรณ,ี Open data, Data Catalog, Department of

Mineral Resources

Poster Session

การประชมุ วิชาการธรณไี ทย ประจาปี 2564 179
(Geothai Webinar 2021) วันท่ี 4-6 สิงหาคม 2564

179

ลักษณะเฉพาะทางศิลาเคมีของหนิ ภูเขาไฟในพืน้ ทล่ี ้าสนธิ จังหวัดลพบรุ ี

เสาวภาพ อทุ ยั รัตน์1* และ อภสิ ิทธ์ิ ซาลา2

1 กรมทรพั ยากรธรณี 75/10 ถ.พระรามที่ 6 แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400
2 ภาควชิ าธรณีวิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั กทม 10330
E-mail: [email protected]

บทคดั ยอ่

พ้ืนที่ในเขตอาเภอลาสนธิ จังหวัดลพบุรี เป็นบริเวณที่ติดกับขอบด้านตะวันตกของที่ราบสูงโคราช
และเป็นแนวท่ีต่อลงมาจากเทิอกเขาเลย-เพชรบูรณ์ ซ่ึงเป็นแนวแหล่งแร่ทองคา-ทองแดงท่ีสาคัญในปัจจุบัน
พ้ืนที่ดังกล่าวจงึ ถูกคัดเลือกให้เป็นพ้ืนที่ศึกษาวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ืออธิบายลักษณะทางศิลาวรรณนาและ
ธรณีเคมีของหินภูเขาไฟในพื้นที่โดยละเอียด และเพ่ือบ่งบอกลักษณะการแปรสัณฐานของหินภูเขาไฟ
ในการศึกษานี้เร่ิมจากการออกภาคสนาม พร้อมกับการเก็บตัวอย่างหินเพ่ือทาแผ่นหินขัดและแผ่นหินบาง
ร่วมกบั การวเิ คราะหธ์ รณเี คมีของธาตุหลัก ธาตุรอง และธาตุหายาก (REEs) โดยใช้เทคนิค XRF และ ICP-MS
ผลการออกภาคสนามในการศึกษาครั้งน้ีรวมกับรายงานที่มีผู้ศึกษาไว้ สามารถจัดแบ่งหินภูเขาไฟในพื้นท่ี
ออกเป็น 2 หน่วย คือ หน่วยหินภูเขาไฟเขารวก ประกอบด้วยหินแอนดีไซต์เป็นส่วนใหญ่ และกรวดหินภูเขา
ไฟที่พบอยู่ในหน่วยหินกรวดมนลาสนธิ ซึ่งเป็นหินกรวดมนที่ประกอบด้วยกรวดจาพวกหินทราย หินปูน
หินเชิร์ต และหินภูเขาไฟ เช่น หินแอนดีไซต์ โดยที่หินภูเขาไฟเหล่าน้ีไม่ปรากฎในแผนที่ของกรมทรัพยากร
ธรณีมาก่อน และพบว่าหน่วยหินท้ังสองหน่วยนี้วางตัวอยู่ใต้หมวดหินภูกระดึง อายุจูแรสซิกตอนต้น ซ่ึง
ประกอบด้วยหินทรายท่ีสะสมตัวบนบกเป็นส่วนใหญ่ ในการศึกษานี้ได้คัดเลือกตัวอย่างหินภูเขาไฟจากหิน
ภูเขาไฟเขารวก และกรวดหินภูเขาไฟจากหนว่ ยหนิ กรวดมนลาสนธทิ ค่ี ่อนข้างสดและปราศจากการแปรเปล่ียน
(alteration) ท้ังหมด 34 ตัวอย่าง เพ่ือเป็นตัวแทนในการศึกษาศิลาวรรณาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ผลการ
ตรวจสอบพบว่าหินภูเขาไฟเขารวกประกอบด้วยหินภูเขาไฟสีเข้มปานกลางจาพวกหินแอนดีไซต์ไพรอกซีน -
แพลจโิ อเคลส ในขณะที่กรวดหินภูเขาไฟจากหน่วยหินกรวดมนลาสนธิเป็นหินภูเขาไฟสีเข้มปานกลางจาพวก
หินแอนดไี ซตไ์ พรอกซนี -แพลจิโอเคลส, หินแอนดีไซต์แพลจิโอเคลส, และหินแอนดีไซต์ฮอร์นเบลนด-์ แพลจิโอ
เคลส ผลการศึกษาธรณีเคมีพบว่าหินภูเขาไฟและกรวดหินภูเขาไฟต่างก็มีองค์ประกอบเป็นหินหนืดแคลก์ –
แอลคาไลนเ์ หมือนกัน และกราฟความสมั พันธ์ระหวา่ งไทเทเนียม (Ti) กับเซอร์โคเนียม (Zr) พบว่าหินเหล่านี้มี
ต้นกาเนิดท่ีสัมพันธ์กับการแปรสัณฐานบริเวณแนวโค้งภูเขาไฟ (volcanic arc) รวมถึงกราฟสัดส่วนธาตุ
ร่องรอยของตัวอย่างศึกษากับหินบะซอลต์สันสมุทรชนิด N (N-MORB normalized patterns) แสดงค่า
ผิดปกติเชิงลบ (negative anomaly) ของธาตุไนโอเบียม (Nb) และแทนทาลัม (Ta) บ่งบอกว่าหินภูเขาไฟใน
พื้นทล่ี าสนธิมคี วามเก่ยี วขอ้ งกบั การมดุ ตัวของเปลือกสมทุ ร ผลวิเคราะห์ธรณีเคมีของกรวดหินภูเขาไฟบ่งชี้ว่ามี
ความคลา้ ยกนั กบั หินละลายลาวาจากหนว่ ยหนิ ภูเขาไฟเขารวก จึงอนุมานได้ว่าหินภูเขาไฟเหล่าน้ีน่าจะมาจาก
หินตน้ กาเนดิ เดียวกนั

นอกจากนั้น ผลจากการวิเคราะห์ธาตุหายากและไดอะแกรมใยแมงมุม (spider diagram) โดยการ
เปรยี บเทยี บกบั หนิ ภเู ขาไฟและหนิ แทรกซอน (dyke) จากพนื้ ทเ่ี ขาขวาง จงั หวดั สระบรุ ี และพน้ื ทเี่ หมอื งทองชาตรี
จงั หวดั เพชรบูรณ์ พบวา่ แนวโนม้ การกระจายตวั ของธาตหุ ายากของหนิ ภูเขาไฟพนื้ ทลี่ าสนธคิ ลา้ ยกบั การกระจาย
ตวั ของตวั อย่างหนิ แทรกซอนในพนื้ ท่ีเขาขวางมากกว่าตวั อยา่ งหนิ แทรกซอนจากพื้นท่เี หมอื งทองชาตรี และจาก

Poster Session

180 ธรณีวิถีใหม่ นวัตกรรมไทย เพ่อื การพัฒนาทยี่ งั่ ยืน
ขอ้ มูลการหาอายุหินโดยวิธี U-Pb zircon พบวา่ หินภูเขาไฟพืน้ ทเ่ี ขาขวางมอี ายุ 207 ลา้ นปี ซงึ่ ใกลเ้ คียงกับอายุ
ของกรวดหนิ ภูเขาไฟในพน้ื ทลี่ าสนธิทม่ี อี ายุ 204-205 ล้านปี จากการหาอายโุ ดยวธิ เี ดยี วกนั ทาให้พอสรุปวา่ หนิ
ภเู ขาไฟลาสนธแิ ละหนิ อคั นพี น้ื ทเี่ ขาขวางมกี าเนดิ มาจากแหลง่ เดยี วกนั (comagmatic)
ค้าส้าคญั : ศลิ าเคมี การแปรสณั ฐาน แนวโคง้ ภเู ขาไฟ หนิ แอนดไิ ซด์ ลาสนธิ ลพบรุ ี

Poster Session

การประชมุ วิชาการธรณไี ทย ประจาปี 2564 181
(Geothai Webinar 2021) วันที่ 4-6 สงิ หาคม 2564

181

สภาพการแปรสณั ฐานของหนิ ตะกอนภูเขาไฟและหินตะกอนท่เี กยี่ วขอ้ งในเขตจงั หวดั อุทัยธานี

และกาญจนบุร:ี หลักฐานจากการหาอายุ และธรณีเคมีของหิน

สวุ ิจัย จตุพรฆอ้ งชัย1,*, บรู พา แพจยุ้ 1 และ ปญั ญา จารุศริ ิ2

1ภาควชิ าธรณวี ิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ เลขท่ี 239 ถ.ห้วยแกว้ ต.สุเทพ อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม่ 50200
2กรมทรพั ยากรธรณี กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม เลขที่ 75/10 ถ.พระรามที่ 6 แขวงท่งุ พญาไท เขตราชเทวี

กทม. 10400
*E-mail: [email protected]

บทคัดยอ่

พื้นที่ทางตะวันออกของจังหวัดอุทัยธานีและกาญจนบุรี มีลักษณะเป็นเขาสูงทางตะวันตกและท่ีราบ
ลุ่มลกู ฟูกสลบั เนินเขาทางตะวันออกได้ถูกคัดเลือกให้เป็นพื้นที่ศึกษาวิจัยเพราะมีลักษณะโครงสร้างธรณีวิทยา
ที่ซับซ้อน และถูกครอบคลุมด้วยหินตะกอนและหินภเู ขาไฟในช่วงมหายุคพาลีโอโซอิกตอนล่างถึงตอนบน โดย
ท่ีการวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือกาหนดอายุและศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของหินตะกอนภูเขาไฟแปรและหิน
ตะกอนแปร และเพื่ออธิบายการลาดับชั้นหิน ตลอดจนการกาเนิดของหินและสภาพการแปรสัญฐานของพ้ืนที่
โดยการศึกษาเริ่มจากทบทวนวรรณกรรมโดยเฉพาะแผนท่ีกรมทรัพยากรธรณี การเก็บตัวอย่างหินตะกอน
ภูเขาไฟแปรและหินตะกอนแปรในพ้ืนที่ การทาแผ่นหินบาง การวิเคราะห์เคมีโดยวิธี XRF และ ICP-MS
รวมถงึ การแยกเซอรค์ อนจากหนิ ตะกอนภเู ขาไฟแปรเพื่อวเิ คราะหอ์ ายุโดยวิธี LA-MC-ICP-MS

ผลการศึกษาทาให้สามารถจัดแบ่งหินตะกอนภูเขาไฟออกเป็น 3 หน่วยหิน ตามศิลาวรรณาและ
องคป์ ระกอบทางเคมี ได้แก่ (1) หน่วยหินทัฟฟ์บ้านปากแพรกใต้ ส่วนใหญ่เป็นหินเถ้าภูเขาไฟสีอ่อนจาพวกไร
โอเดไซต์ (rhyodacite) ประกอบดว้ ย หนิ เถา้ ผลกึ ภเู ขาไฟแปรและหินเถ้าเศษหินแปร, (2) หน่วยหินทัฟฟ์บ้าน
ปากแพรกเหนือ ส่วนใหญ่เป็นหินเถ้าภูเขาไฟสีปานกลางจาพวกแทรคีแอนดีไซต์ ( trachy-andesite)
ประกอบดว้ ย หนิ เถา้ เศษหินแปร, และ (3) หน่วยหินทัฟฟ์อุทัยธานี ส่วนใหญ่เป็นหินเถ้าภูเขาไฟสีอ่อนจาพวก
ไรโอเดไซต์ ประกอบด้วย หินเถ้าผลึกภูเขาไฟแปรและหินเถ้าภูเขาไฟเน้ือแก้วแปร ผลการวิเคราะห์ธรณีเคมี
ของธาตุร่องรอยและออกไซตธ์ าตหุ ลกั ทาใหส้ ามารถจดั หนิ ตะกอนภูเขาไฟแปรในพ้ืนที่ศึกษาทั้งหมดเป็นชุดหิน
แคลก์-แอลคาไลน์ (calc-alkaline magma series) ทีเ่ กิดจากแนวโคง้ ทวีป (continental arc) นอกจากน้ีผล
การหาอายุหินตะตอนภูเขาไฟด้วยวิธี U-Pb จากเซอร์คอนหินหนืด (magmatic zircon) บ่งชี้ได้ว่าหน่วย
หินทัฟฟ์บ้านปากแพรกทั้งสองกลุ่มมีอายุใกล้เคียงกันและแก่กว่าหน่วยหินทัฟฟ์อุทัยธานี กล่าวคือ อายุ
หินทัฟฟ์บ้านปากแพรกใต้ กาหนดอายุเฉลี่ยประมาณ 481±1 ล้านปี (ต้นยุคออร์โดวิเชียน) สาหรับหินทัฟฟ์
บ้านปากแพรกเหนือ กาหนดไวท้ ่อี ายุเฉล่ียประมาณ 496±2 ล้านปี (ปลายสุดของยุคแคมเบรียน) และสาหรับ
หินทัฟฟอ์ ทุ ยั ธานกี าหนดอายุเฉลยี่ ประมาณ 301±0.5 ล้านปี (ปลายสุดของยุคคาร์บอนิเฟอรัส) นอกจากนี้ผล
การวิเคราะห์เคมีของธาตุหายากและธาตุร่องรอยของหินตะกอนแปรยังชี้ไปท่ีสภาพแวดล้อมของการสะสม
ตะกอนที่เกิดบนขอบทวีปหมดพลัง (passive margin) ตรงข้ามกับผลวิเคราะห์เคมีของธาตุหายากและธาตุ
ร่องรอยที่ระบุได้วา่ หนิ ทฟั ฟบ์ า้ นปากแพรกและหินทัฟฟ์อุทัยธานีเกิดบนขอบทวีปมีพลัง (active continental
margin) ท่ีมีสภาพการแปรสัณฐานแบบขอบแผ่นเคลื่อนท่ีเข้าหากัน (convergent plate margin) ใน
ลักษณะการมดุ ตวั

Poster Session

182 ธรณีวิถีใหม่ นวตั กรรมไทย เพอ่ื การพฒั นาท่ียัง่ ยืน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดพอสรุปได้ว่า ในช่วงรอยต่อระหว่างยุคแคมเบรียนกับยุคออร์โดวิเชียน

แผ่นอนุทวีปไซบุมาสุ (หรือฉานไทย) ด้านตะวันออกยังเป็นส่วนหนึ่งของขอบมหาทวีปกอนด์วานา
(Gondwana) ซึ่งจดั เป็นขอบทวีปมพี ลัง ท่เี กิดการมุดตัวของแผ่นสมุทรทีทีสบรรพกาล (Proto-Tethys) ลงไป
ข้างใต้ จนเกิดเป็นแนวโค้งภูเขาไฟบ้านปากแพรก กระทั่งชนกับแผ่นทวีปเอเชียนฮั่น ( Asian Hun
superterrane) เน่ืองจากการมุดตัวส้ินสุดลง จึงเกิดการยกตัวขึ้นของแผ่นทวีปทั้งสอง หลังจากนั้นในช่วง
ยุคดีโวเนียน แผ่นอนุทวีปอินโดจีนซึ่งเคยเป็นส่วนหน่ึงของแผ่นทวีปเอเชียนฮั่น ได้แยกตัวออกจากขอบมหา
ทวีปกอนด์วานา ทีม่ ีการขยายตวั ของแผน่ สมุทรทีทีสโบราณ (Paleo-Tethys) ทาให้เกิดการสะสมตะกอนท่ีถูก
พัดพาจากมหาทวีปกอนด์วานาและอนุทวีปอินโดจีน ที่จัดเป็นขอบทวีปหมดพลัง ได้เป็นตะกอนทะเลของ
หมวดหินบ้านไร่และหมวดหินบ่อพลอย และต่อมาในช่วงรอยต่อระหว่างยุคคาร์บอนิเฟอรัสกับยุคเพอร์เมียน
ขอบอนทุ วปี อินโดจีนกลายสภาพเป็นขอบทวีปมีพลัง โดยมีแผ่นสมุทรทีทีสโบราณมุดตัวลงไปข้างใต้ จนทาให้
เกิดแนวโค้งภูเขาไฟอุทยั ธานี จากลักษณะการแปรสัณฐานดังกล่าวนี้ ทาให้สามารถเสนอการลาดับช้ันหินใหม่
ในพื้นทศี่ ึกษาไดด้ งั รูปท่ี 1
คา้ ส้าคัญ: การแปรสณั ฐาน หนิ ตะกอนภเู ขาไฟ อุทยั ธานี กาญจนบุรี การหาอายดุ ้วยวิธี U-Pb ธรณเี คมี

รูปที่ 1 ลาดับชั้นหินที่เสนอใหม่สาหรับพ้ืนท่ีศึกษาในเขตจังหวัดอุทัยธานีและกาญจนบุรี ตั้งแต่ยุคแคมเบรียน
ถึงคาร์บอนิเฟอรัส โดยอาศัยผลการหาอายุโดย U-Pb จากเซอร์คอน (ดัดแปลงจาก Bunopas and
Bunjitradulya, 1975)

Poster Session

การประชมุ วิชาการธรณีไทย ประจาปี 2564 183
(Geothai Webinar 2021) วันท่ี 4-6 สิงหาคม 2564

183

แหล่งดนิ เบาน้าโจ้ ตา้ บลน้าโจ้ ต้าบลแม่ทะ และต้าบลกลว้ ยแพะ อ้าเภอแม่ทะ จงั หวัดล้าปาง

ศรณั ย์ แกว้ เมืองมลู , กนกพร พมิ พศกั ด์ิ, ภราดา เทียมพัฒน์ และ ศุภลักษณ์ มุ่งดี

สานักงานทรพั ยากรธรณี เขต 1 กรมทรพั ยากรธรณี

บทคัดย่อ

ดินเบา (Diatomite) เป็นหน่ึงในกลุ่มดินอุตสาหกรรม มีองค์ประกอบหลักเป็นซิลิกา ลกั ษณะเดน่ มี
น้าหนกั เบาและความพรนุ สูง เกดิ จากการสะสมตัวของไดอะตอมซึ่งเป็นสาหรา่ ยเซลลเ์ ดยี วชนดิ หนงึ่ ดินเบาถูก
นาไปใช้ประโยชนใ์ นการเป็นวัสดุตัวกรอง สารดูดซับ เป็นวัสดุผสมในฉนวนกันความร้อน รวมถึงเป็นส่วนผสม
ในการผลิตปูนซีเมนต์ ดินเบาพบในแอ่งตะกอนในจังหวัดลาปางเป็นส่วนใหญ่ การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์
เพ่ือหาขอบเขตพ้ืนที่ศักยภาพดินเบาบริเวณแหล่งน้าโจ้ ซึ่งเป็นแหล่งดินเบาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของจังหวัด
ลาปาง โดยรวบรวมผลการศึกษาของจุมพล คืนตัก (2529), Kumanchan and Traiyan (1986) และ
โครงการปฏิรูปแร่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมทรัพยากรธรณี และเก็บข้อมูลดินเบาเพ่ิมเติมโดยทาการ
สารวจหินโผล่ปรากฏ สระน้า บ่อขุด ผนังบ่อเหมือง บ่อยืมดิน บ่อฝังกลบขยะ และทาการเจาะสว่านมือหมุน
(Hand Auger) เพ่ือปรับปรุงฐานขอ้ มูลทรพั ยากรแร่ของกรมทรพั ยากรกรธรณีให้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง
ผลการศึกษาครั้งน้ีบง่ บอกว่าขอบเขตของพืน้ ที่ศกั ยภาพดินเบาแหลง่ นา้ โจ้ครอบคลมุ พื้นที่กว้างกว่าที่ปรากฏใน
ฐานข้อมูลในปัจจุบัน ท้ังยังมีความต่อเน่ืองกับแหล่งแม่ทะ และแหล่งกล้วยแพะ ในเขตตาบลน้าโจ้ ตาบล
นาครัว อาเภอแม่ทะ และตาบลกล้วยแพะ อาเภอเมืองลาปาง ครอบคลุมพ้ืนที่รวม 54.93 ตารางกิโลเมตร
(34,328 ไร่) โดยชัน้ ดนิ เบามีการวางตวั อยู่ใตช้ ั้นลกู รังทม่ี ีความหนา 1 - 3.5 เมตร ส่วนบริเวณอื่นๆ พบดินเบา
ตามผนงั บ่อขดุ และสระน้า หนา 3 – 10 เมตร ตามความลึกหรือความสูงของบ่อขุด และยังคงมีความต่อเนื่อง
ลึกลงไปอีก ความหนาของดินเบาจากการศึกษาหน้าผนังบ่อบริเวณหน่ึงพบมีความหนาประมาณ 19 เมตร ซึ่ง
เปน็ จดุ ทีห่ นาที่สุดของดนิ เบาในแหล่งนา้ โจท้ ่สี ามารถมองเหน็

ปัจจุบันดินเบาถูกนามาใช้เป็นดินถมที่ท่ีมีมูลค่าค่อนข้างต่า เป็นการใช้ทรัพยากรที่มีจากัดอย่างไม่
คุ้มค่า เนือ่ งจากพบดินเบาเฉพาะในพื้นท่ีจังหวัดลาปาง หากมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมด้านการใช้ประโยชน์จาก
ดินเบา นา่ จะเปน็ การส่งเสริมการใช้ทรัพยากรแร่จากแหล่งดินเบาที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดลาปางอย่างคุ้มค่าและ
เป็นการใช้วัสดุธรรมชาติที่ไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม

คา้ สา้ คัญ: ดินเบา, ไดอะตอมไมต์, นา้ โจ้, แม่ทะ, กล้วยแพะ, ลาปาง

Poster Session

184 ธรณวี ถิ ีใหม่ นวตั กรรมไทย เพอื่ การพัฒนาทีย่ ่งั ยืน

An observation note of Thamorat Conglomerate Mountain,
Si Thep District, Phetchabun Province

Natcharee Vivitkul 1, Pitaksit Ditbanjong1*, Phornphen Chanthasit2 and Kamonlak Wongko3

1Department of Geotechnology, Faculty of Technology, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002, Thailand
2Sirindhorn Museum, Office of Mineral Resources Region 2., Kalasin 46140, Thailand
3Office of Mineral Resources Region 1, Lampang 52130, Thailand
* E-mail: [email protected]

Abstract

Thamorat Mountain is the highest isolated mountain, few kilometers from Phu Nam Yot,
in Si Thep District, Phetchabun Province, central Thailand. The area was mapped in 1977 as
Tak Fa Formation which is dominated by limestone sandstone and shale accumulated in
shallow Permian sea. Although our recent work is a note from one day field trip observation,
we found new geological evidences leading us to propose a different point of view compare
to the previous work. Thamorat Mountain is lithologically dominated by conglomerate
which can be preliminary subdivided into four units. Clasts of conglomerates are mainly
limestone with diverse fossils such as corals, crinoid, brachiopods, and gastropods. However,
dolomites cherts and (pyroclastic?) volcanic clasts are also present. Normally, it shows poorly
sorting with normal and reverse grading. Thamorat mountain shows not only the unique
extraformational polymictic conglomerate but also locally interbedding planar and cross
bedding sandstone, as well as reddish mudstone.

According to this observation, it is recommended to study more about the environment
of deposition and the evolution of these conglomerate sequences. Presently, Thamorat is
well known already as a national historical site, the new geological aspect could enhance
the potential of this mountain as a new geoheritage of Petchabun Province.
Keywords: Thamorat Mountain, Extraformational conglomerate, Polymictic conglomerate

Geoheritage, Phetchabun Province

Cenozoic ray-finned fish faunas of Thailand:overview and new findings

Poster Session

การประชมุ วิชาการธรณไี ทย ประจาปี 2564 185
(Geothai Webinar 2021) วันที่ 4-6 สงิ หาคม 2564

Uthumporn Deesri1,2*, Kamonlak Wongko3 and Bouziane 1K8h5alloufi2
1Department of Biology, Faculty of Science, Mahasarakham
University, Khamriang, Kantarawichai District, Maha Sarakham 44150
2Palaeontological Research and Education Centre, Mahasarakham University, Khamrieng,
Kantharawichai District, Mahasarakham 44150
3Mineral Resources Office Region 1, 414 moo 3 Sala subdistrict, Ko kha district Lampang province 52130

*E-mail: [email protected]

Abstract

In Thailand, Paleogene and Neogene rocks are distributed in a series intermontane basins,
resulting from an active rifting during middle-upper Paleogene. Several fossiliferous outcrops, often
associated with coal mining or the excavation of water reservoirs, have yielded vertebrate assemblages
formed by tetrapods (mammals, reptiles and a few amphibians) and actinopterygians. However, even
though actinopterygian remains are frequently cited in geological reports or in paleontological studies,
they are rarely identified or described. To date, three studies published in scientific journals along with
a few unpublished reports were dedicated to the Cenozoic fish faunas. Most of the material collected
these last decades is still unpublished and stored in Thai scientific institutions. Paleogene ray-finned
fish-bearing localities are restricted to the Peninsular Thailand, with a material dated as Late Eocene in
the Krabi basin and as Late Oligocene in the Nong Ya Plong and Khian Sa basins. The Neogene record
is richer and known in the Northern (Lampang, Li, Mae Moh, Mae Teep basins), Central (Phetchabun
basin) and Western (Mae Sot basin) parts of the country. Both Paleogene and Neogene ray-finned
fishes are retrieved in continental deposits and are exclusively represented by teleosts, marking a
break with the older continental late Mesozoic faunas, predominantly formed by ginglymodians and
lungfishes. However, the Cenozoic remains are rare, fragmentary and often restricted to poorly diagnos-
tic elements. The few exceptions are articulated specimens originated from the Miocene basins of Mae
Moh, Mae Sot and Phetchabun, related to the Recent freshwater assemblages from the Mekong, Chao
Praya and Salween rivers. New articulated specimens were recently collected from unpublished

outcrops of the Phetchabun basin. This assemblage, previously known only from private collections, is
similar in term of taxonomic diversity to the other described outcrops of the basin. However, it differs
significantly in the relative proportions of the taxa, indicating a different paleoenvironment. The scarcity
of Cenozoic ray-finned fishes in Thailand, compared to their current freshwater biodiversity, is also
observed in other Cenozoic localities of Southeast Asia. Only a few sites have yielded a noteworthy
fauna, in Indonesia (Eocene Sangkarewang Formation), Vietnam (Eocene Na Duong and Oligocene Cao
Bang basins) and Myanmar (Eocene Pondaung and Miocene Irrawady Formations). In spite of this
inadequacy, the Southeast Asia Cenozoic record includes the rare fossil occurrences of several
actinopterygian clades, such as glassfishes (Ambassidae), labyrinth fishes (Anabantoidei) and shark
catfishes (Pangasiidae).

Keywords: Actinopterygii, Cenozoic, Thailand, Freshwater, Continental environments

Poster Session

186 ธรณวี ิถใี หม่ นวัตกรรมไทย เพือ่ การพฒั นาที่ยัง่ ยืน

Classification of Newly Discovered Dinosaurs Fossils in Phuwiang National
Park, Wiang Kao District, Khon Kaen Province, Thailand

Panward Inthisak1, Suravech Suteethorn2 and Nusara Surakotra1*

1Department of Geotechnology, Faculty of Technology, Khon Kaen University, Khon Kaen, 40002, Thailand
2Department of Biology, Faculty of Science, Mahasarakham University, Mahasarakham, 44150, Thailand

*E-mail: [email protected]; Tel.: +66-891-345-890

Abstract

Phu Wiang National Park, Wiang Kao District Khon Kaen Province is the place where
Thailand's first dinosaur fossils were found. When it was declared a national park in 1991,
the excavation of the fossil has been paused. But fossils have always been discovered in the
area both vertebrate and invertebrate. Most fossils are not studied in detail in paleontology.
The purpose of this study is to identify and specify the location of fossils. A total of 11
selected fossils was studied: Include of ribs (3 pieces), dorsal vertebrae, caudal vertebrae,
teeth (2 pieces), claw, tibia, pubis, and metatarsal. The results of the study showed that the
fossils found at excavation site no. 5 : Sam Ya Kha include ribs and tibia of Sauropod
(Dinosaur) group. At the area near excavation site no.1: Huai Pratu Teema and at the creek
behind the Phu Wiang National Park Office found the teeth of a theropod for other fossil
bones, the location is not clear. The dinosaur bones can be classified into two groups:
(1) Theropoda, classified into two species: Siamosaurus and Theropod? and (2) Sauropoda.
All fossils were found in the Sao Khua Formation of Lower Cretaceous period in sandstone,
conglomerate, and siltstone. Which, Interpreted to deposit in the low-energy fluvial environment.
The results of this study show that Phu Wiang National Park still has fossils to discover dinosaurs
and other fossils. The scientist or researcher can plan for further systematic exploration,
excavation, and preservation of this valuable geological site in the future.
Keywords: Palaeontology; Dinosaurs; Sauropoda; Theropoda

Poster Session

การประชมุ วิชาการธรณไี ทย ประจาปี 2564 187
(Geothai Webinar 2021) วันที่ 4-6 สงิ หาคม 2564

187

DooHin application: First geologic map of Thailand on mobile devices

Tadsuda Taksavasu1,2*, Khomchan Promneewat1, Srett Santitharangkun1,
Nuchit Siritongkham1,3, and Niti Mankhemthong1

1GEOL CMU TECH, Department of Geological Sciences, Faculty of Science, Chiang Mai University, Chiang Mai,
Thailand

2 Department of Geology and Geological Engineering, Colorado School of Mines, Golden, Colorado, USA
3Mineral Resources Division, Department of Mineral Resources, Ministry of Natural Resources and
Environment, Bangkok, Thailand
*E-mail: [email protected]

Abstract

DooHin application is the first offline geology application series available on mobile
devices that allows the users to approach a national-scale geologic map of Thailand without
an internet connection. The application was built as a web application and processed
through cross-platform app development to produce a mobile application targeting iOS and
Android mobile devices. The users can basically interact with the map in the DooHin by
zooming in, zooming out, and adjusting the existence of rock units of each province. However,
there are several limitations observed such as the restricted size of the map scale, limited
information, too large application file size, and some complicated geologic terms. The
DooHin has been downloaded about 1,179 times via the Apple App Store and Amazon
Appstore since it was first released.

According to the online user satisfaction survey, most of the DooHin users are geoscience
undergraduate students. Based on satisfaction scores, the users are very impressed with the
overall of the DooHin. However, some users are not satisfied with the convenience and
accuracy that may result from the application limitations. For further improvement, we
consider splitting the DooHin into numerous applications for larger-scale geologic maps with
smaller file sizes.

Poster Session

188 ธรณวี ิถใี หม่ นวัตกรรมไทย เพื่อการพฒั นาที่ยงั่ ยืน

Field observation note of the Late Triassic Huai Konta Section,
Lom Sak District, Phetchabun Province

Pattapon Pispeng1, Pitaksit Ditbanjong1*, Phornphen Chanthasit2 and Kamonlak Wongko3

1Department of Geotechnology, Faculty of Technology, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002, Thailand
2Sirindhorn Museum, Office of Mineral Resources Region 2., Kalasin 46140, Thailand
3Office of Mineral Resources Region 1, Lampang 52130, Thailand
* E-mail: [email protected]

Abstract

Huai Konta (Konta creek) is situated in the Phu Pha Daeng wildlife sanctuary, Lom
Sak District, Phetchabun Province. Huai Konta is approximately oriented in N-S direction. This
preliminary work is focused on the pale to dark grey siliciclastic rocks of Late Triassic Huai
Hin Lat Formation. The study area has a fault contact with the underlied Permian deep ma-
rine Nam Duk Formation and is overlain by reddish sediments of Nam Pong Formation. It is
dominated by thin to thick bedded sandstones showing locally lenticular (channel-like) bed-
ding. Current ripples and dessication cracks are also present. Pale to dark grey siltstone and
mudstone are found interbedded with sandstones. Plant debris, cropolites and enigmatic
trace fossils are discovered. Moreover, fish fossil has been prevoiusly collected from this ar-
ea. Two toes footprints and ostracods are also found in Huai Nam Duk about 250 meters
west of the junction where Huai Konta runs into it perpendicularly. According to the prelimi-
nary results, the further sedimentological and paleontological studies are essential in the
future to better understand the depositional environment and paleoclimate of the area dur-
ing the Late Triassic period.
Keywords: Sedimentology, paleontology, Late Triassic, Huai Hin Lat Formation, Petchabun
Province.

Poster Session

การประชุมวิชาการธรณไี ทย ประจาปี 2564 189
(Geothai Webinar 2021) วันท่ี 4-6 สงิ หาคม 2564

189

Geochemical characteristics of granitoids in Kanchanaburi, Western Thailand

Ekkachak Chandon1 and Patchawee Nualkhao2*

1 Division of Science Laboratory for Education, Mahidol University Kanchanaburi Campus
2 Division of Geoscience, School of Interdisciplinary Studies, Mahidol University Kanchanaburi Campus

*E-mail: [email protected]

Abstract

Triassic granitoids from various areas in Kanchanaburi province, western Thailand,
were studied. The aim of this work is to document the geochemical characteristics of granitoids
in the Kanchanaburi province. Kanchanaburi province is in the western belt granite that
hosts several lead-zinc, tungsten-tin deposits. The granitoids consist of quartz monzonite,
granodiorite, and quartz-rich granite. These granitoids are composed of quartz, plagioclase,
K-feldspar at varying proportions with mafic minerals such as biotite with the relatively rare
hornblende. Accessory minerals, such as titanite, zircon, magnetite, ilmenite, garnet, are also
present. Magnetic susceptibilities of granitoids vary from 0.1×10-6 to 19.9×10-6 in SI unit.
Concentration of major elements suggests that these intermediate to felsic plutonic rocks
have calc-alkaline and shoshonite affinities. Most of the granitoids in Kanchanaburi are
S-type and ilmenite-series with some small area of I-type and/or magnetite series which
correlated with Pb-Zn-W-Sn deposits

Keywords: Geochemistry, Granitoids, Kanchanaburi, Petrography, Western belt granite

Poster Session

190 ธรณวี ถิ ีใหม่ นวตั กรรมไทย เพ่อื การพฒั นาทยี่ ่งั ยืน

Geomorphological Sites: A Case Study of Selected Sandstone Landforms in
Phu Wiang, Khon Kaen Geopark

Natcharee Vivitkul and Vimoltip Singtuen*

Department of Geotechnology, Faculty of Technology, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand
*E-mail: [email protected]

Abstract

Phu Wiang is surrounded by two rings of the representative mountain syncline in
Khon Kaen Geopark. This area is covered by clastic sedimentary rocks of the Khorat Group.
Furthermore, the Phu Wiang is also dominated by several potential geomorphological sites
with scientific and educational value. This work aims to study the geological process and
occurrence of sandstone landforms based on published literature, field investigation, and
characterization with geological, geomorphological, and geochemical aspects. In addition,
this information can help tourists to understand the geological processes and realize the
importance of geoconservation. The field observation of five geomorphological sites in
Phu Wiang revealed various sandstone landforms, including cavernous feature, honeycomb,
runnel, mushroom or pedestal rock, cascade, pothole, and polygonal crack. Detailed
characterization demonstrates that these sandstone landforms originated by physical weathering,
solutional weathering (arenization), and erosional processes related to wind and water.
Moreover, sandstone landforms in Phu Wiang are controlled by fractures, joints, and bedding
planes related to the main structure.
Keywords: Arenization, Cascade, Honeycomb, Pedestal Rock, Pothole

Poster Session

การประชุมวชิ าการธรณไี ทย ประจาปี 2564 191
(Geothai Webinar 2021) วันที่ 4-6 สิงหาคม 2564

191

Geophysical and Geological Engineering Investigations for Conservation

Strategies of Mae Moh Gastropod Fossil Site, Lampang Province

Kannipa Motanated*, Pisanu Wongpornchai, Suwimon Udphuay, Mingkhwan Kruachanta,
Sathit Kanthata, Adul Yawichai, Chanawut Sooksabai and Chanin Maetmueang

Department of Geological Sciences, Faculty of Science, Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand, 50200
*E-mail: [email protected]

Abstract

Mae Moh gastropod fossil site is located on the southwestern margin of the Mae
Moh coal mine, Mae Moh District, Lampang Province. The gastropod fossil, mostly Bellamya
sp., is found in the soil layer overlaying the K4 coal seam of Na Khaem Formation. Cracks,
coal seam self-combustion and slope failure are the main problems occurring at the site
resulting in slope instability. The geophysical surveys including electrical resistivity and
ground-penetrating radar methods are used to identify the crack locations within the soil
layer while the geological engineering investigation is used to assess the soil slope stability.
The geophysical results show that there are various sizes of cracks, which occur both on the
surface and in the subsurface. The largest crack penetrates through a depth of more than
17 meters and has a length of about 65 meters. The geological engineering results indicate
factors affecting the decrease of slope stability at the site are an increase of water content
within the pores and the existence of a coal seam. In addition, the pre-existent cracks
caused by the previous movement of the soil slope and the coal seam self-combustion
could activate the upcoming slope failure. To maintain slope stability at the site, subsurface
drainage pipe installation around the slip surfaces and routine monitoring of coal seam
self-combustion are highly recommended. Moreover, water should not be used as a fire
extinguisher when combustion occurs.

Keywords: gastropod, resistivity, ground-penetrating radar, geological engineering, slope stability

Poster Session

192 ธรณวี ถิ ีใหม่ นวัตกรรมไทย เพ่ือการพัฒนาทยี่ ัง่ ยนื

Geophysical survey for groundwater potential investigation;
Chong Sarika Karst Aquifer

Sirilack Duangsong*, Jirateep Yotmaw, Natchanok Ounping and Jurarat Yanawongsa

Department of Groundwater Resources, Latyao, Chatuchuck, Bangkok, Thailand 10900
*E-mail: [email protected]

Abstract

Chong Sarika Sub-district is located in Pattananikom District, Lopburi Province. The
geology in this area belongs to the Saraburi Group which is composed of marl, dark grey
limestone interbedded with slaty shale. The landscape consists of sinkhole, doline, sinking
creek, and swallow hole (known as karst topography). In this area, the groundwater is stored
in limestone karst aquifers. However, the successful wells must intersect one or more voids
where the groundwater is flowing. Sometimes drilling for water may hit the cave, a result of
a chemical dissolution, that water runs through into the aquifer below. The aim of this study
was to assess the groundwater potential in Chong Sarika Karst Aquifer. The Vertical Electrical
Sounding (VES) strategy utilizing the Schlumberger arrangement was connected to explore
the geoelectrical characteristics. The geometry of limestone was decided utilizing geo-statistics
based on geoelectrical resistivity translation information. The geophysical resistivity methods
(Vertical electrical soundings (VES) and 2D resistivity measurements) were used to examine
24 points and 6 lines respectively in this area. Also, it has the benefit of selecting favorable
drill sites to obtain the maximum possible yield from the aquifer. The investigation found
that the shallower and deeper aquifers are available at a depth of 30 m to 70 m and 135 m
to 160 m respectively. Finally, the intended well site locations in Chong Sarika Karst Aquifer
with their corresponding thickness and resistivity values were identified using the integrated
approaches.
Keywords: Geophysical survey; Karst aquifer; Limestone; Groundwater

Poster Session

การประชมุ วิชาการธรณีไทย ประจาปี 2564 193
(Geothai Webinar 2021) วนั ที่ 4-6 สงิ หาคม 2564

193

Granitic Rocks in Bang Tha Cham area, Central Granite Belt, Thailand

Sarawut Buranroma1*, Bussayawan Sukbunjong1, Sasikarn Nuchdang2, Watta Wongkham1 and
Ladda Tangwattananukul1

1Department of Earth sciences, Faculty of Science, Kasetsart University, Bangkok 10900 Thailand
1Research and Development Division, Thailand Institute of Nuclear Technology, Khlong Luang, Phatumtani 12120

*E-mail: [email protected]

Abstract

Granitic rock in Bang Tha Cham granitoid is a part of the Central Granitic Belt which is
located between Chonburi and Rayong Provinces. Geology in the study area is comprised of
gneiss, Triassic granite, Carboniferous sandstone and Quaternary unconsolidated sediments.
Twelve samples can be classified into three groups such as granite (Group I), quartz syenite
(Group II) and quartz monzonite (Group III). Group I of granite consists of quartz, alkali
feldspar, plagioclase and mafic minerals. Group I of granite is equigranular, medium to
coarse-grained, poikilitic texture of feldspars and slightly foliated of biotite. Group II of quartz
syenite consists of quartz, alkali feldspar, plagioclase and mafic minerals. Group II of quartz
syenite is medium to coarse-grained, myrmekite and foliated textures. Group III of quartz
monzonite is composed of alkali feldspar, quartz, plagioclase and mafic minerals with dis-
played the foliation. Small amount of biotite, muscovite, apatite, zircon, opaque minerals,
monazite and xenotime contains from Groups I to III. Chemical compositions of granitoid of
the Group I to III was shown the variation of Zr versus CaO, Fe2O3, TiO2 Sr and Ba in positive
trend, whereas the variation of Zr versus SiO2, Na2O and K2O is negative trend. The monazite
occurs from the Groups I to III with different of characterization. The monazite in Group I
and II are characterized by subhedral to euhedral shapes with size ranging from 20 to 70
µm, while the monazite in the Group III is trace amount contain.

Poster Session

194 ธรณวี ถิ ีใหม่ นวตั กรรมไทย เพื่อการพฒั นาทย่ี ั่งยืน

Groundwater potential assessment using groundwater flow model:
A case study of Tham Luang-Khun Nam Nang Non Forest Park,
Chiang Rai province, Thailand

Jirapat Phetheet1*, Kittiya Lerdlum2, Ocpasorn Occarach1, Vanachawan Hunyek1 and
Jirateep Yotmaw1

1Department of Groundwater Resources, Chatuchak, Bangkok, 10900, Thailand
2Department of Primary Industries and Mines, Ratchathewi, Bangkok 10400, Thailand

*E-mail: [email protected]

Abstract

Tham Luang-Khun Nam Nang Non Forest Park located in Chiang Rai province has
been well-known globally since the rescue teams saved twelve young football players and
their coach from the flooded cave in 2018. In this area, water resources are of considerable
importance in domestic use and agricultural production. As the population grows, groundwater
demand in Chiang Rai province is projected to increase by about 70% for human consumption
and 7% for agriculture in the next decade (DGR, 2021). However, the geology and hydrogeology
of the cave and its surrounding areas are controversial and underinvestigated. This study
aims to determine an optimal or near-optimal pumping rate subjected to minimum
drawdown constraints and to assess local groundwater potential and permissible yields for
sustainable development using a novel modular hydrologic model, MODFLOW. A year-long
transient simulation performed in an anisotropic and heterogeneous aquifer was calibrated
and validated using field data from 73 observation wells. To estimate the future permissible
yields, pumping rates were assigned to increase annually by 5, 10, 20, 30, and 40% of the
rate pumped in 2019 simulated over 20 years. The results reveal that an increase of 10% is
optimal for future groundwater development, and the reserves can be developed with the
rate of up to 900 million m3 per year.
Keywords: Tham Luang; Permissible yield; Potential Assessment; Modeling; MODFLOW

Poster Session

การประชมุ วิชาการธรณไี ทย ประจาปี 2564 195
(Geothai Webinar 2021) วนั ท่ี 4-6 สงิ หาคม 2564

195

Late Triassic Foraminifera from Ban Pha Wiang, Thambon San, Wiang Sa Dis-

trict, Nan Province : preliminary result

Chanika Notana1, Pitaksit Ditbanjong2* and Yupa Thasod1

1) Department of Geological Sciences, Faculty of Science, Chiang Mai University
2) Department of Geotechnology, Faculty of Technology, Khon Kaen University

*E-mail : [email protected]

Abstract

The limestone at Ban Pha Wiang, Thambon San, Wiang Sa District, Nan Province is
located in Suhkothai zone. (North of Thailand) The rock age is Triassic and is comparable to
Kang Pla formation in Lampang group. In this study, a total of 19 limestone samples were
collected, along route 1026, km 15 + 500 to 17 + 150. For petrography study, 16 thin
sections were made and investigated by polarizing microscope and mineral tablet counting
machine. The rock types can be classified according to carbonate classification of Folk
(1959) and Dunham (1962) in three groups. The first group is sparse biomicrite that includes
eight samples containing 16.46% allochems, 71.09% micrite, 8.75% sparite, and 4.56%
dolomite. The second group is classified as a fossilliferous biomicrite that includes five
samples containing 4.4% allochems, 75.75% micrite, 15.6% sparite and 4.05% dolomite. The
last group is classified as a mudstone that includes three samples containing 78.92% micrite,
20.33% sparite, and 0.08% dolomite. From this study, we found nine species of foraminifera
in the samples such as Aulotortus sinuosus, Endotebanella?, Diplotremina astrofimbriata and
Endoteba etc. Some species (such as Diplotremina astrofimbriata and Aulotortus sinuosus)
of foraminifera can indicate the age of limestone in study area as middle Triassic to late
Triassic from the petrography, the depositional environment of limestone was interpreted as
a shallow-marine environment or lagoon deposit.

Key words: Late Triassic, foraminifera, Kang Pla Formation, Lampang Group, Nan Province

Poster Session

196 ธรณวี ิถีใหม่ นวตั กรรมไทย เพอ่ื การพัฒนาทยี่ ่ังยนื

Occurrence of Monazite in Weathering Granite and Tailing, Jarin mine at Kan-
chanaburi Province, Western Thailand

Bussayawan Sukbunjong1*, Ladda Tangwattananukul1, Sasikarn Nuchdang2,
Sarawut Buranroma1 and Watta Wongkham1

1Department of Earth sciences, Faculty of Science, Kasetsart University, Bangkok 10900 Thailand
2Research and Development Division, Thailand Institute of Nuclear Technology, Khlong Luang, Phatumtani 12120

*E-mail: [email protected]

Abstract

Rare earth elements are a material for hi-tech products such as smart phone and
hybrid car. Cerium and yttrium elements are high concentrated in monazite and xenotime
related to S-type tin deposit. The one large tin deposit in Kanchanaburi Province is Jarin tin
deposit which is located in Ban Khao Sub-district at Muang District. The geology of Jarin tin
deposit is composed of Ordovician limestone, Silurian-Devonian sandstone, Carboniferous-
Permian mudstone, and Cretaceous granite. Tin-tungsten occurred in Cretaceous granite that
can be classified into tourmaline-muscovite granite, biotite granite, biotite-muscovite granite
and formed in pegmatite. Two types of samples such as weathering granite and tailing were
collected around the Jarin tin mine. These samples found monazite, xenotime, and heavy
minerals such as zircon and apatite that contains rare earth elements. In case of this
research to study characteristics of monazite and xenotime in two types of samples. Based
on crystallography and chemical compositions can be classified monazite into primary and
secondary grains. Primary grains of monazite in tourmaline-muscovite granite are characterized
by subhedral to euhedral shape with size ranging from 20 to 100 µm, while secondary grains
of monazite in tourmaline-muscovite granite and tailing are characterized by anhedral and
irregular shape with size ranging from 5 to 10 µm. Chemical composition of monazite
consists of 12-22 wt.% of Ce, 10-13 wt.% of La, 5-7 wt.% of Nd, and 8-14 wt.% of P.
The xenotime grain in tourmaline-muscovite granite is characterized by anhedral to subhe-
dral shape with size less than 50 µm. Chemical composition of xenotime consists of 24-29
wt.% of Y, 3-5 wt.% of Dy, 0.7-3 wt.% of Gd, and 12-13 wt.% of P.

Poster Session

การประชมุ วิชาการธรณไี ทย ประจาปี 2564 197
(Geothai Webinar 2021) วันที่ 4-6 สงิ หาคม 2564

197

Occurrence of native gold in Bang Saphan gold deposit at Prachuap Khiri

Khan Province, Thailand

Watta Wongkham1* and Ladda Tangwattananukul2

1Department of Earth Sciences, Faculty of Science,
2Kasetsart University, Bangkok, Thailand
*E-mail: [email protected]

Abstract

Bann Wang Nam Khiao and Bann Huai Phlu gold deposits are located in Bang Sapan
District at Prachup Khiri Khan Province, which occur in Khanchana buri - Prachup Khiri Khan -
Phangnga mineral belt. Geology of the study area consists of Carboniferous Sandstone,
Siltstone and Permian pebbly sandstone. Native gold deposit in Bann Wang Nam Khiao and
Bann Huai Phlu area occur in soil, regolith and sediment along the Klong Thong river. The
feature of native gold of shape and size in soil and regolith are different from the sediment
in a river. The native gold in soil and regolith are characterized by plate and tabular shapes
with the grain sizes ranging from 0.26 - 1.20 mm. Mineral assemblages of the native gold
from soil and regolith are associated with quartz, pyrite, chalcopyrite hematite and kaolinite.
On the other hand, the native gold from sediment in the river is accumulate grain with sizes
ranging from 0.60 - 3.00 mm. The secondary native gold in Bann Wang Nam Khiao and Bann
Huai Phlu deposit content Au from 84-96% and content quartz and kaolinite from 0.40-10%.

Keyword: Native gold deposit, Bann Wang Nam Khiao

Poster Session

198 ธรณวี ิถใี หม่ นวัตกรรมไทย เพื่อการพฒั นาที่ยั่งยนื

Petrochemistry of Alkaline Igneous Rocks in Sisaket Mantle Plume, Southern
Khorat Plateau of Thailand

Sirinthorn Phajan and Vimoltip Singtuen*

Department of Geotechnology, Faculty of Technology, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand
*E-mail: [email protected]

Abstract

Sisaket province is located in the south of the Khorat Plateau, NE Thailand, with
cultural heritage and the most famous volcanic durian. This work aims to study petrochemical
characteristics for identifying magma series and tectonic eruptions in the Sisaket plume.
Furthermore, mafic volcanic are founded separation cover the central and the southern
parts of Sisaket, comprising aphanitic and diabase textures. The methodology is made up of
petrogenesis under microscopy, analysis of major and minor oxides for magma classification
by x-ray fluorescence (XRF), and analysis of rare earth elements (REE) for tectonic eruption
by inductively coupled plasma Mass Spectrometer (ICP-MS). Based on petrography, the
studied rocks were classified as Olivine basalt and Alkaline basalt, consisting of plagioclase
(bytownite and labradorite), clinopyroxene, olivine, ilmenite, iddingsite as well as nepheline
in alkaline basalt. Total alkalines and SiO2 classify studied rocks as Basanite, Potassic
trachybasalt, Shoshonite, and Basalt, while the ratio of Zr/Ti and Nb/Y suggest that these
rocks are alkaline basalt and basanite. Moreover, the REE of these mafic rocks shows the six
Alkaline magma series generated by continental rifting; basanite in the early stage and
alkaline basalt in the middle stage.
Keywords: Basalt; Diabase; Volcanic; Alkaline series; Continental rift

Poster Session

การประชมุ วิชาการธรณไี ทย ประจาปี 2564 199
(Geothai Webinar 2021) วนั ท่ี 4-6 สิงหาคม 2564

199

REE Characteristics from Cenozoic Basalts in Thailand: an Implication for

Possible In-Situ REE Resource

Tawatchai Chualaowanich*, Darunee Saisuthichai and Panjai Saraphanchotwittaya

Department of Mineral Resources, 75/10 Rama VI Rd., Ratchathewi, Bangkok 10400, Thailand
*E-mail: [email protected]

Abstract

In order to evaluate a possibility of rare earths accumulation developed within Cenozoic
basaltic terrains in Thailand, 359 chemical analyses from 39 exposures, distributed in
14 provinces, are investigated for REE and Y (REY) contents. The ranges of REY observed in
fresh basalts, weathered and soil samples respectively are 90–451 ppm (132 analyses),
100–405 ppm (46 analyses) and 101–795 ppm (181 analyses). The average REY contents
derived from soil samples from each region are in the following ranges; 283 - 488 ppm for
Eastern (Chanthaburi, Trat and Sa Kaeo provinces), 317 ppm for Western (Kanchanaburi
province), 177 - 245 ppm for Northern (Chiangrai, Lampang and Phrae provinces), 152 - 282
ppm for Northeastern (Nakhon Ratchasima, Buriram, Surin, Sisaket and Ubon Ratchathani
provinces), and 195 - 201 ppm for Central Region (Phetchabun and Lopburi provinces). Upon
REE chondrite-normalized plots, all fresh rock samples display negative sloping trends
without Eu depletion. Nevertheless, three sub-patterns of LREE enrichment, which imply
different partial melting degrees of parental mental sources, can be observed. According to
the average REY contents, CIA values and appearance thickness of in situ horizons, the
saprolite from the Eastern region, particularly those located in Chanthaburi and Trat provinces,
retains the highest potential for rare-earth mineralization. On contrary, the basaltic exposures
in the Northern, Central and Western regions are potentially low for in-situ REE accumulation.

Keywords: Basalt, Cenozoic, REE, Potential, Chanthaburi, Trat, Thailand

Poster Session

200 ธรณวี ิถีใหม่ นวัตกรรมไทย เพอื่ การพฒั นาทยี่ ่ังยนื

Roadside Geology of Northern Thailand

Weerapan Srichan* and Phisit Limtrakun

Department of Geological Sciences, Faculty of Science, Chiang Mai University
*E-mail: [email protected]

Abstract

Geology of northern Thailand is a part of the tectonic interpretation novel of SE Asia.
Geology and paleogeography of northern Thailand have been recorded since an early 19th
such as an outcrop of basaltic rock alongside the Mae Khong River in the Chiang Khong area
was published by Högbom (1914). The tectonic evolution of northern Thailand has also
been updating and still ongoing. Northern Thailand is geographically located between the
Sibumasu (Shan Thai) and Indochina micro-continental blocks from the West to the East.
The two representative paleo-Tethys oceans (the Chiang Mai and the Nan Sutures) have
been laid in N-S trending and inter-parallel to the two-fold belts (the Sukhothai and the Loei
-Petchabun Fold Belts). This work presents the geological information related to the tectonic
interpretation of the outcrops along the highway in northern Thailand for more informative
education. The roadside geology, along with highway number 11 from Uttaradit to Chiang
Mai province, is the best geological section across the Nan suture, the Sukhothai Fold Belt,
and the Chiang Mai Suture in northern Thailand, for example.
Keywords: Roadside, geology, northern Thailand
Reference:
Högbom, B, 1914, Contributions to the Geology and Morphology of Siam, Bull. Geol. Inst.
Univ. Upsala, XII, pp. 65-128

Poster Session

การประชมุ วิชาการธรณไี ทย ประจาปี 2564 201
(Geothai Webinar 2021) วันที่ 4-6 สงิ หาคม 2564

201

Sedimentology and petrography of ms4 formation at Phukamyao Area,

Phayao Province

Kannicha Chuajedton1, Pitaksit Ditbanjong2* and Rattanaporn Fongngern1

1Department of Geological Sciences, Faculty of Science, Chiang Mai University
2Department of Geotechnology, Faculty of Technology, Khon Kaen University

*E-mail: [email protected]

Abstract

Mesozoic continental sedimentary rock in Northern Thailand, Jurassic period to
Cretaceous period is in Ms group which consists of five formations, Ms1 to Ms5. The lithology
of Ms4 Formation is a distinctive from other formations. It consists of white sandstone which
cross bedding is the most prominent. Ms4 Formation and Phra Wihan Formation in the
Khorat group shares similar in lithology and stratigraphy. This study aims to study the lithology
of Ms4 Formation by using stratigraphic log, sedimentary structure, paleocurrent analysis,
petrography, and depositional environment interpretation. There are four study areas
around Phukamyao syncline in Phayao Province. From field study, white to light grey
sandstone has cross bedding showing and paleocurrent direction as towards NW and SW.
Ms4 Formation conformably overlies the Ms3 Formation. The petrography results of a total
of 15 samples under the polarizing microscope found that the sandstone is mainly composed
of quartz and rock fragments and less than 15 percent of matrix. Thus, the sandstone can
be classified as sublitharenite. The depositional environment of Ms4 sandstone was
interpreted as being deposited in point bar of meandering river.

Keywords: continental deposit, quartzose ms4, Jurassic-Cretaceous, Phukamyao, Phayao
Province

Poster Session

202 ธรณวี ิถใี หม่ นวตั กรรมไทย เพือ่ การพัฒนาทยี่ ่ังยืน

Spatial and Temporal Landscape Adjustment along Mae Tha Fault,
Chiang Mai and Lamphun Provinces

Pichawut Manopkawee*, Niti Mankhemthong and Chanin Pattarakamolsen

Department of Geological Sciences, Faculty of Science, Chiang Mai University
239 Huay Kaew Road, Suthep Sub-District, Mueang District, Chiang Mai, 50200

*E-mail: [email protected]

Abstract

The spatial and temporal adjustments of landscape topography in tectonically active
mountain belts reflect an interaction between tectonics, climatically-driven surficial processes,
and bedrock erodibility. Landscape adjustment encodes the rates and patterns of active
deformation on the upper crust. Although the northern region of Thailand composes of
numerous north-south striking active faults, understanding the degree to which the
adjustment of landscape over space and time along active faults is largely unknown. Here,
we mainly focus on the adjustment of first- and second-order channels and hillslopes along
Mae Tha Fault where the eastern side is dominated by fractured granitic and metasedimentary
rocks, and the western side is mantled by consolidated sedimentary rocks. Thus, we can
evaluate the levels of geologic factors that govern the adjustment of landscape topography
over this active region.

We proceed in two consecutive methodologies; 1) topographic analysis by calculating
geomorphic indices -channel steepness, concavity, and hillslope curvature- to elucidate how
landscape topography adjusts due to different geologic factors, and 2) field observation by
collecting fault traces, measuring variations in sediment grain size and caliber along Mae Tha
Fault. Analysis of high-resolution topographic data reveal that relatively higher channel
steepness, but lower channel concavity indices are evidently found in the northern and
middle zones of fractured bedrock landscape where is dominated by oblique-slip normal
faults and higher mean annual precipitation. On the other hands, relatively higher
geomorphic indices are exposed in the northern zone of soil-mantled landscape and
hillslope curvature are reasonably negative (convex hillslopes). Relatively lower geomorphic
indices are distributed in both sides southern zone of the landscape that are dictated by
strike-slip faults, less-resistant rocks, and lower mean annual precipitation. Furthermore, we
found the presence of knickpoint, a sharp break of channel slopes, that is distributed along
geologic contacts of the landscape.

Preliminary results suggest that the spatial adjustments of bedrock landscape and
soil-mantled landscape along Mae Tha Fault are controlled by the distribution of fracture
density, curvatures of interfluves, precipitation rates, and fault orientations. We are currently

Poster Session

การประชมุ วชิ าการธรณีไทย ประจาปี 2564 203
(Geothai Webinar 2021) วนั ที่ 4-6 สงิ หาคม 2564

203
investigating on the distribution of knickpoints on channels, and conducting the basic

geological survey, and drone survey (if possible) to construct a geological model for evaluating

the degree to which landscape adjustment along Mae Tha Fault over space and time.

Keywords: Mae Tha Fault, landscape adjustment, geomorphic indices, bedrock landscape,

soil-mantled landscape

Poster Session

204 ธรณวี ิถใี หม่ นวัตกรรมไทย เพือ่ การพัฒนาท่ยี งั่ ยืน

Tectonomagmatic constraints placed by zircon U-Pb age and geochemistry of
Permian-Triassic granitoids in Uttaradit Province, Thailand

Phattharawadee Wacharapornpinthu1*, Phisit Limtrakun1, Weerapan Srichan1,
Kwan-Nang Pang2, Chistoph Hauzenberger3, Daniela Gallhofer3 and Punya Charusiri4

1Department of Geological Sciences, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200, Thailand
2Institute of Earth Sciences, Academia Sinica, 128 Section 2, Academia Road, Nangang, Taipei, Taiwan
3NAWI Graz Geocenter, Institute of Earth Sciences, Department of Petrology and Geochemistry, Karl-Franzens

University, Graz, Austria
4Department of Mineral Resources, King Rama Vi, Bangkok, 10400

*E-mail: [email protected]

Abstract

We document zircon U-Pb age and geochemical data for Permian-Triassic granitoids
in Uttaradit Province, Thailand, to better understand the magmatic and tectonic processes
responsible for their generation. The studied granitoids crop out in, and probably as part of,
the Sukhothai arc, a paleo-arc now situated between terranes of Sibumasu and Indochina.
All studied rocks show geochemical and mineralogical features consistent with I-type and
calc-alkaline affinities, and can be sub-divided based on age and geochemical differences
into three groups. The group I samples are high-silica granites (~73-77 wt.% SiO2) crystallized
at ~251 Ma. They show strong negative anomalies of Nb-Ta, Sr, P and Eu relative to element
of similar incompatibilities. The group II samples are quartz monzodiorite (~58-68 wt.% SiO2)
crystallized at ~255 Ma. They display negative Nb-Ta anomalies of similar extent to group I
samples, yet negative anomalies of P and Ti are weaker than these samples. The group III
samples include granodiorite and tonalite (~62-73 wt.% SiO2) that formed between ~214 Ma
and ~212 Ma. Compared with the group II samples, they show stable differences in trends
shown in Harker diagrams and incompatible trace element patterns, the latter of which in-
cluding (i) negative Ba anomaly relative to Rb and Th, (ii) relatively low heavy REE, and (iii)
relatively high ratios between middle and heavy REE. The results enable us to refine the
current tectonomagmatic model for the evolution of the Paleo-tethys and the Indosinian
orogeny. The group I and group II samples are probably cogenetic, with the former
representing evolved I-type granitoids from the latter, which are likely intrusive equivalents
of calc-alkaline andesites. Samples of both group I and II might have formed in the upper
plate of the Sukhothai arc of crustal thickness less than 30 km. The group III samples, which
likely post-dated amalgamation of the Sukhothai arc between Sibumasu and Indochina,
probably derived from slightly different source rocks and/or involved blending of magmas
sourced from a deeper crustal level, in a syn-collisional setting.
Keywords: geochemistry, U-Pb dating, Uttaradit, granitoid, Sukhothai, Permo-Triassic, Late

Triassic

Poster Session

การประชมุ วชิ าการธรณไี ทย ประจาปี 2564 205
(Geothai Webinar 2021) วันท่ี 4-6 สิงหาคม 2564

205

Variability of residual soil properties in landslide prone areas: A case study of

five Southern provinces in Thailand

Sasiwimol Nawawitphisit1*, Saranya Mongkhonvoravibul2, Valapa Srisomsak3,
and Prapapan Chantamat3

1 Environmental Geology Division, Department of Mineral Resources, Thailand
2 Bureau of Mineral Resources Office Region 3 (Pathum Thani), Thailand

3 Bureau of Mineral Resources Office Region 4, Department of Mineral Resources, Thailand
Corresponding author: Sasiwimol Nawawitphist
*E-mail: [email protected]

Abstract

Rainfall-induced landslides are a common occurrence in residual soil slopes in the
Tropics. However, the relationships between highly-weathered residual soil slope and types
of lithologic groups are not fully understood. This research presents the basic physical
properties of soil or rock decay in the potential slip surface of shallow landslides from 82
disturbed samples in five Southern provinces in Thailand using Unified Soil Classification
system (USCS). Results show that the variation of soil slope and lithologic groups are
correlated in shallow landslide types. There are four lithologic groups in all including
igneous rocks, which took up about 70% in total area. This group consists of coarse-grained
soils (i.e. SC, SM, SC-SM groups). The next group is sedimentary rocks, which have a mixture
of quartz and feldspar (20%; e.g. arkosic sandstone, sandstone intercalated with bedded
siltstone and mudstone). This group consists of fine-grained soils with low-high plasticity (i.e.
CL, CL-CH groups). This is followed by very fine-grained sedimentary rocks (7%; e.g.,
mudstone, shale and siltstone), which consist of fine-grained soils with low-high plasticity
(i.e. CL and ML-MH groups). The last lithologic group is metamorphic rocks (3%; e.g. schist,
quart schist and gneiss), which consist only of SM coarse-grained soil. While, debris slides/
debris flows are commonly observed in SC, SM and SC-SM groups, slide types with unconsolidated
materials are typical in CL, CL-CH and ML-MH groups. The results can be used to characterize
the mechanism and process conditions associated with rainfall-induced landslides.

Key words: Rainfall-induced landslides, shallow landslides, potential slip surface, debris
slides, debris flows, slide types, lithologic groups, residual soil slope

Poster Session

206 ธรณีวิถีใหม่ นวัตกรรมไทย เพือ่ การพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื

การจัดทา้ คลังตัวอยา่ งธรณวี ิทยา กรมทรัพยากรธรณี

ทัศนา เจตน์อนันต์* และ กติ ติ ขาววิเศษ

ส่วนมาตรฐานและขอ้ มลู ธรณีวิทยา กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี
*E-mail: [email protected]

บทคัดยอ่

คลังตัวอย่างธรณีวิทยา (Geological collections) เป็นแหล่งรวบรวมและเก็บรักษาตัวอย่าง
หลักฐานอ้างอิง เอกสาร ข้อมูลงานวิจัยด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณีภายในประเทศและต่างประเทศ
ผ่านงานสารวจจัดทาข้อมูลธรณีวิทยาของกรมทรัพยากรธรณี รวมถึงโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ
ที่มีมาอย่างยาวนาน ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ (1) ธรณีวัตถุ (Geological material) และ (2) ขอ้ มูลตัวอย่าง
ธรณีวิทยา โดยธรณีวัตถุ เป็นหิน แร่ ตะกอน และซากดึกดาบรรพ์ ซ่ึงปัจจุบันได้รับการข้ึนทะเบียนแล้ว
จานวน 7,374 ตัวอย่าง สามารถจัดจาแนกตามรูปแบบ ท่ีมา และความโดดเด่นทางธรณีวิทยาออกเป็น
9 ประเภท ได้แก่ ตัวอย่างหินเชิงพ้ืนท่ี ตัวอย่างซากดึกดาบรรพ์ ตัวอย่างแร่ ตัวอย่างลาดับชั้นหิน ตัวอย่าง
ตะกอน ตัวอย่างธรณีวิทยาต่างประเทศ ตัวอย่างแท่งเจาะ ตัวอย่างธรณีวิทยาโครงสร้าง และตัวอย่างขนาด
ใหญ่พิเศษ ภายใต้ระบบบริหารจัดการคลังตัวอย่างธรณีวิทยา ณ อาคารคลังตัวอย่างธรณีวิทยา ศูนย์วิจัย
ทรพั ยากรแรแ่ ละหนิ จังหวัดระยอง ในส่วนข้อมูลตัวอย่างธรณีวิทยา หมายถึงชุดข้อมูลที่ถูกรวบรวมพร้อมกับ
การจัดทาคลังตัวอย่างธรณีวิทยา เช่น ข้อมูลทะเบียนตัวอย่าง รายงานการศึกษาวิจัย ภาพถ่าย ผลการ
วิเคราะห์ทางเคมี และผลการวิเคราะห์ทางกายภาพ เปน็ ต้น

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ส่วนมาตรฐานและข้อมูลธรณีวิทยา กองธรณีวิทยา ได้ดาเนินการจัดทา
คลังตัวอย่างธรณีวิทยาออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ (1) การจัดเก็บตัวอย่างหน่วยหินสาคัญและตะกอนชายหาด
พื้นท่ีภาคใต้ (2) การรวบรวมและจัดทาทะเบียนตัวอย่างจากโครงการต่างๆ ในกรมทรัพยากรธรณีและ
จากบุคคลท่ัวไป และ (3) การพัฒนาระบบคลังตัวอย่างธรณีวิทยาและบริหารจัดการข้อมูลทะเบียนตัวอย่าง
เนื่องจากการพัฒนาของเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ท่ีเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้แนวทาง
การศึกษาธรณีวิทยามีความหลากหลายมากยิ่งข้ึน ข้อมูลของคลังตัวอย่างธรณีวิทยามีปริมาณและขนาดเพ่ิม
มากข้ึนเรื่อยๆ รวมท้ังมีความซับซ้อนตามลาดับ การจัดทาคลังตัวอย่างธรณีวิทยาในอนาคต ควรมุ่งเน้นการ
เช่ือมโยงฐานข้อมูลคลังตัวอย่างธรณีวิทยาเข้ากับฐานข้อมูลอ่ืนๆ ทั้งภายในและภายนอกกรมทรัพยากรธรณี
ควบคู่กับการจัดทามาตรฐานธรณีวิทยาของประเทศไทย ซ่ึงจะช่วยผลักดันให้เกิดการนาไปใช้ สาหรับการ
วางแผนและสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและเป็นประโยชนส์ งู สดุ
ค้าสา้ คญั : คลงั ตัวอยา่ ง ตวั อยา่ งธรณีวิทยา ระบบบริหารจัดการคลังตวั อย่างธรณวี ทิ ยา

Abstract

การประชมุ วชิ าการธรณีไทย ประจาปี 2564 207
(Geothai Webinar 2021) วนั ที่ 4-6 สงิ หาคม 2564

207

การดา้ เนนิ งานคุ้มครองซากวาฬโบราณ ต้าบลอา้ แพง อา้ เภอบ้านแพ้ว จงั หวัดสมทุ รสาคร

พรรณภิ า แซ่เทียน

กองค้มุ ครองซากดกึ ดาบรรพ์ กรมทรัพยากรธรณี
E-mail: [email protected]

บทคดั ย่อ

กรมทรัพยากรธรณี ได้ทาการสารวจซากวาฬโบราณ ในพ้ืนที่ตาบลอาแพง อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัด
สมุทรสาคร ตั้งแต่วันท่ี 9 พฤศจิกายน 2563 ถงึ วนั ท่ี 5 ธันวาคม 2563 ในพ้ืนท่ีบ่อดินของบรษิ ัท ไบรท์ บลู วอเตอร์
คอรป์ อเรชนั่ จากดั ซ่ึงอยู่ห่างจากชายทะเลปัจจุบันประมาณ 15 กโิ ลเมตร เบอ้ื งตน้ พบชนิ้ สว่ นกระดกู สนั หลงั ส่วนหาง
ของวาฬ จานวน 6 ข้อ แต่ส่วนกระโดงกระดูกสันหลังมีช้ินส่วนท่ีแตกหัก จึงได้ทาการใส่เฝือกอ่อนเพอื่ อนรุ กั ษแ์ ละ
ปอ้ งกนั ชน้ิ ตวั อยา่ งกระดกู วาฬไมใ่ ห้เกดิ การผุพงั มากขนึ้

กรมทรพั ยากรธรณี ประกอบดว้ ย ทมี งานจานวน 3 ทีม ได้แก่ 1) ทีมสารวจขุดค้นซากวาฬ ดาเนนิ การขดุ ค้น
ตัวอย่างวาฬเพิ่มเติมอย่างเป็นระบบ เพอื่ จดั ทาแผนผังการวางตัวของโครงกระดกู วาฬ ซ่งึ วางตวั อยู่ในทิศตะวันออก-
ตะวันตก เข้าเฝือกช้นิ กระดกู เพื่ออนุรักษ์และป้องกันความเสียหายเบื้องต้น และขนย้ายตัวอย่างท้ังหมด ไปทาการ
อนรุ ักษแ์ ละทาการจาลองตัวอยา่ งพร้อมถ่ายภาพและทาทะเบียนตัวอยา่ ง ณ พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาตธิ รณวี ทิ ยาเฉลมิ
พระเกยี รติ ปทมุ ธานี 2) ทมี สารวจลาดบั ช้ันตะกอน ไดข้ ดุ เจาะตะกอนดว้ ยเคร่ืองเจาะแบบมือหมนุ เพือ่ ศกึ ษาลกั ษณะ
รายละเอียดและความหนาของชน้ั ตะกอนในพืน้ ที่ 3) ทมี สารวจรังวัด ทาการรงั วัดพ้นื ที่ และโยงวัดระดบั ความลึกจาก
ระดบั น้าทะเลปานกลาง เพอ่ื ทาแผนทแ่ี หลง่ ซากดกึ ดาบรรพ์วาฬ

ผลการสารวจพบว่าซากวาฬอยู่ในตะกอนดินเหนียวสีเขียวอมเทาที่สะสมตัวในทะเล มีความหนา
ประมาณ 10 – 12 เมตร ที่ระดับความลึก 6.5 เมตรจากระดบั น้าทะเลปานกลาง และซากวาฬมอี ายปุ ระมาณ 3,380
+ 30 ปี จากการตรวจสอบหาอายกุ ระดกู วาฬดว้ ยวธิ หี าคา่ คารบ์ อน C-14

ตามแผนท่ีธรณีวทิ ยาประเทศไทย มาตราสว่ น 1:1,000,000 ของกรมทรัพยากรธรณี แสดงใหเ้ หน็ ถึงขอบเขต
ทะเลโบราณเมอื่ ประมาณ 6,000 – 5,000 ปกี ่อน ทะเลไดร้ กุ (transgression) เขา้ ไปถึงบางส่วนของจังหวัดสุพรรณบุรี
อา่ งทอง สงิ หบ์ รุ ี ลพบรุ ี สระบุรี และฉะเชงิ เทรา ดังนน้ั ในชว่ งเวลาดงั กล่าวบริเวณจงั หวดั สมทุ รสาครจงึ ยงั คงเปน็ ทะเล
ตอ่ มาในสมยั โฮโลซนี ตอนปลาย (ประมาณ 5,000 – 2,000 ปีกอ่ น) ทะเลได้ถอยรน่ ลงมา (regression) บรเิ วณน้ีจงึ ถูก
ปกคลมุ ดว้ ยตะกอนดนิ เหนยี วทสี่ ะสมตวั ในทะเล และการถอยรน่ ของทะเลยงั คงมตี อ่ เนอื่ งจนกระทง่ั ปจั จบุ นั
กรมทรัพยากรธรณีกาลังดาเนินการสารวจลาดับชั้นตะกอนในข้ันรายละเอียด และศึกษาวิจัยตะกอนดินเหนียว
กรุงเทพในพ้ืนที่แหล่งวาฬโบราณ เพ่ือให้ทราบถึงสภาพแวดล้อมการสะสมตัว และอัตราการตกตะกอน และ
ดาเนนิ การจาลองชิน้ ตัวอยา่ งวาฬโบราณ เพอ่ื ใชใ้ นการศกึ ษาวจิ ยั ขัน้ รายละเอียด นอกจากนี้ยังได้ทาการศึกษาหาสาย
พันธุกรรมโบราณ (Ancient DNA) ของวาฬ เพื่อให้ทราบความสัมพันธ์กับสายพันธ์ุปัจจุบันหรือไม่ อย่างไร และหา
วิธีการอนุรักษ์ตัวอย่างท่ีเหมาะสมให้เยาวชนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไป ทั้งนี้ ซากวาฬโบราณจัดเป็นซากดึกดาบรรพ์
ภายใตพ้ ระราชบัญญตั คิ ุ้มครองซากดกึ ดาบรรพ์ พ.ศ. 2551

คา้ สา้ คัญ: วาฬโบราณ จงั หวดั สมุทรสาคร สายพนั ธุกรรมโบราณ (Ancient DNA) ตะกอนดนิ เหนียวกรงุ เทพ

Abstract

208 ธรณวี ิถีใหม่ นวัตกรรมไทย เพอื่ การพัฒนาท่ยี งั่ ยนื

การบรหิ ารจัดการพิพธิ ภัณฑ์ซากดกึ ด้าบรรพ์ ธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา จังหวดั ลา้ ปาง
ภายใตพ้ ระราชบญั ญัติคมุ้ ครองซากดึกดา้ บรรพ์ พ.ศ. 2551

กมลลักษณ์ วงษโ์ ก, วรรษมน มากคุณ และ สุจินตนา ชมภศู รี

พิพธิ ภณั ฑ์ซากดึกดาบรรพ์ ธรณวี ทิ ยา และธรรมชาติวิทยาจังหวัดลาปาง
สานักงานทรัพยากรธรณเี ขต 1 เลขที่ 414 หมู่ 3 ตาบลศาลา อาเภอเกาะคา จงั หวัดลาปาง 52130

บทคัดย่อ

ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองซากดึกดาบรรพ์ พ.ศ. 2551 มาตรา 36 ให้มีพิพิธภัณฑ์ซากดึกดาบรรพ์
ธรณวี ทิ ยา และธรรมชาติวิทยา เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนา รวบรวม และจัดเก็บหลักฐานทางธรณีวิทยาและ
ธรรมชาติวิทยา รวมท้ังเป็นที่เก็บรักษาซากดึกดาบรรพ์เพื่อการเรียนรู้ การวิจัย การแสดง และการอ้างอิง
ปัจจุบันกรมทรัพยากรธรณีมีพิพิธภัณฑ์ซากดึกดาบรรพ์ธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา ซ่ึง อยู่ภายใต้
พระราชบัญญัติคุ้มครองซากดึกดาบรรพ์ พ.ศ. 2551 จานวน 5 แห่ง กระจายอยู่ในบริเวณพ้ืนที่ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง ประกอบด้วยศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์
จังหวัดขอนแก่น พิพิธภัณฑ์สิรินธร จังหวัดกาฬสินธ์ุ ศนู ยว์ ิจยั ทรพั ยากรแรแ่ ละหิน จงั หวดั ระยอง พพิ ธิ ภณั ฑ์
สถานแหง่ ชาตธิ รณวี ทิ ยาเฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวดั ปทมุ ธานี และพพิ ธิ ภัณฑ์แร่ - หิน กรุงเทพฯ เพื่อให้การจัดแสดง
และเผยแพร่องคค์ วามร้ดู ้านธรณีวทิ ยา และซากดึกดาบรรพ์ครอบคลุมพื้นท่ีท่ัวประเทศ กรมทรัพยากรธรณีจึง
จัดสรรงบประมาณเพือ่ กอ่ ตั้งพิพิธภณั ฑ์ซากดกึ ดาบรรพ์ธรณวี ิทยา และธรรมชาติวิทยา เพ่ิมขึ้นอีก 2 แห่ง โดย
ภาคใตจ้ ัดตง้ั ขนึ้ ในพน้ื ทีจ่ ังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี และภาคเหนือในพน้ื ท่ีจงั หวัดลาปาง

พิพิธภัณฑซ์ ากดกึ ดาบรรพ์ ธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา จังหวัดลาปาง มแี ผนบรหิ ารจดั การภายใต้
สังกัดกรมทรัพยากรธรณี ปี พ.ศ. 2563 – 2565 ให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เร่ืองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม
ดกึ ดาบรรพ์ของประเทศไทย เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านซากดึกดาบรรพ์ ธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา
สาหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป รวมท้ังเป็นแหล่งท่องเท่ียวทสี่ าคญั ของภาคเหนอื อนั จะ
นาไปสกู่ ารสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับประชาชนในท้องถิ่นต่อไป
คา้ สา้ คญั : การบรหิ ารจัดการ พิพธิ ภัณฑ์ซากดึกดาบรรพ์ พระราชบญั ญตั คิ ้มุ ครองซากดกึ ดาบรรพ์ พ.ศ. 2551

Abstract

การประชมุ วิชาการธรณไี ทย ประจาปี 2564 209
(Geothai Webinar 2021) วันที่ 4-6 สิงหาคม 2564

209

ธรณวี ทิ ยาบริเวณเขาวง อา้ เภอตาคลี จงั หวัดนครสวรรค์

ธรี ะพล วงษ์ประยูร1, สันต์ อัศวพชั ระ2 และ ชลนภิ า ฝากเซยี งซา1

1สว่ นมาตรฐานและขอ้ มลู ธรณีวิทยา กองธรณวี ทิ ยา กรมทรพั ยากรธรณี
295/311 ตาบลคคู ต อาเภอลาลกู กา จงั หวดั ปทมุ ธานี

บทคัดยอ่

เขาวงเป็นกลุ่มเขาลูกโดดบนท่ีราบ (กลุ่มเขาวง) ตั้งอยู่ในเขตตาบลช่องแค และตาบลพรหมนิมิตร
อาเภอตาคลี จงั หวัดนครสวรรค์ การสารวจศึกษาธรณีวิทยาบริเวณเขาวงเป็นส่วนหน่ึงของการดาเนินงานของ
กรมทรัพยากรธรณี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ภายใต้โครงการพัฒนาแหล่งน้าพื้นที่สระบ่อดินขาว ตาบล
พรหมนิมติ ร อาเภอตาคลี จงั หวัดนครสวรรค์ มีวัตถุประสงค์เพ่ือการสนับสนุนข้อมูลพ้ืนฐานธรณีวิทยาสาหรับ
การบริหารจดั การ จากการสารวจศกึ ษาพบว่ากลุ่มเขาวงมโี ครงสร้างทางธรณวี ทิ ยา 2 ทศิ ทางตัดกัน อยู่ในแนว
NW-SE และ NE-SW แสดงลักษณะภูมิประเทศแบบคาสต์ ประกอบด้วยหินปูน หินปูนมีกระเปาะเชิร์ต
mudstone packstone และ grainstone ของหมวดหินตากฟ้า กลุ่มหินสระบุรี (Nakornsri 1977, 1981)
การวางชั้นหินลักษณะต่อเน่ืองชัดเจน อะซิมุท 150-160 เอียงเทไปทางทิศตะวันตก ทามุม 40 – 50 องศา
ชน้ั หนิ มคี วามหนาปานกลางถงึ หนามาก (14-100 เซนติเมตร) มักพบโพรง และโพรงถ้า ปรากฏอยู่ท่ัวไป ที่เกิด
จากการถกู กัดกร่อนของหินปนู ตามแนวรอยต่อของชัน้ หิน รว่ มกบั รอยแตก รอยแยก และรอยเล่อื นขนาดเล็ก

ผลการสารวจศึกษาธรณีวิทยาบริเวณเขาวง สามารถสรุปในเบ้ืองต้นได้ว่า มีโพรงหินปูนใต้ดินรองรับ
อยู่ด้านล่าง โดยบริเวณพื้นท่ีศึกษาที่จะเก็บน้าบนดินมีโอกาสที่จะประสบปัญหาการร่ัวซึมของน้าลงไปใต้ดิน
เนื่องจากโครงสร้างทางธรณีวิทยา การวางชั้นหิน รอยแตก รอยแยก และรอยเลื่อนขนาดเล็ก แต่ในทาง
เดียวกนั อาจมแี หลง่ น้าใต้ดิน (?ลกั ษณะตานา้ ) บรเิ วณด้านทิศใต้ และดา้ นทศิ ตะวนั ออกของกลมุ่ เขาวง

ค้าส้าคญั : เขาวง หมวดหนิ ตากฟา้ กลมุ่ หินสระบรุ ี โพรงหินปูน

Abstract

210 ธรณวี ิถีใหม่ นวตั กรรมไทย เพอ่ื การพฒั นาทย่ี ั่งยนื

แนวทางการบริหารจัดการซากดกึ ดา้ บรรพ์: กรณีศึกษาซากวาฬอา้ แพง

เบญ็ จา เสกธรี ะ
ผู้เช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นการบริหารจดั การแหลง่ ซากดกึ ดาบรรพ,์ กรมทรพั ยากรธรณี

บทคัดยอ่

วาฬอ้าแพงเป็นซากกระดูกวาฬชนิดกึ่งซากดึกดาบรรพ์ (subfossil) อายุ 3,380±30 ปี โดยวิธีวัด
จากคาร์บอนกัมมันตรังสี ซากวาฬอยู่ในขั้นเรมิ่ ต้นของการกลายเป็นซากดึกดาบรรพ์ ซง่ึ กาหนดโดยประมาณ
มีอายุอย่างน้อยตั้งแต่ 6,000 ปีเป็นต้นไป มีสภาพเป็นโครงกระดูกที่สมบูรณ์เกือบทั้งตัว (ยกเว้นส่วนหาง)
ทแี่ ตกหกั โครงกระดกู ฝงั อยใู่ นชนั้ ดนิ เหนยี วทเี่ รยี กวา่ ชน้ั เคลยก์ รงุ เทพ หรอื บางกอกเคลย์ (Bangkok Clay) ฝงั ใน
ระดบั ลกึ ประมาณ 6 เมตรใตผ้ วิ ดนิ โดยชน้ั เคลยก์ รงุ เทพเปน็ ชน้ั ตะกอนทส่ี ะสมตวั ในทอ้ งทะเลสมยั โฮโลซนี มชี ว่ ง
อายตุ งั้ แตห่ นงึ่ แสนสองหมนื่ ปถี งึ ปจั จบุ นั กรมทรพั ยากรธรณแี ละหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งไดท้ าการขดุ กระดกู ทง้ั หมด
ขึ้นมาจากแหล่ง นามาทาการอนุรักษ์ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตธรณีวิทยาเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี
มีจานวน 141 ช้ิน ผลการตรวจสอบเบื้องต้น เป็นวาฬชนิดเดียวกันกับวาฬปัจจุบันที่มีช่ือว่า วาฬบรูด้า
(Balenoptera edeni) มถี ิ่นอาศัยอยู่ในทอ้ งทะเลอ่าวไทย พบว่ามบี ันทึกการเก็บซากวาฬท้ังที่เป็นซากปัจจุบัน
และเปน็ ซากสมยั โฮโลซนี กระจายตวั อย่ตู ามรมิ ฝง่ั มหาสมุทรของขอบทวปี เอเชยี รวมทัง้ ประเทศไทยเปน็ จานวน
25 แหลง่ ดว้ ยกนั เป็นกระดูกวาฬปัจจบุ นั จานวน 19 แหล่ง และกระดูกทเี่ ปน็ ซากดึกดาบรรพ์หรือก่งึ ซากดกึ ดา
บรรพจ์ านวน 6 แหลง่

ซากวาฬอาแพงเปน็ ซากแบบกง่ึ ซากดึกดาบรรพ์ท่ีมีอัตราการเส่ือมสภาพค่อนข้างสูง เม่ือเปรียบเทียบ
กับกระดกู ใหมท่ ่ีสตั ว์เพ่งิ ตายลง และซากดึกดาบรรพ์ท่ีเน้ือกระดูกได้แปรสภาพไปเป็นหินแล้ว เป็นซากวาฬตัว
แรกที่กรมทรัพยากรธรณีและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้ทาการขุดค้นอย่างเป็นระบบเป็นครั้งแรกในประวัติการ
เก็บตัวอย่างซากกระดูกวาฬของประเทศไทย เป็นตัวอย่างสาหรับศึกษาวิจัยสภาพแวดล้อมหลังวาฬอาแพง
ตายลง และสภาพแวดล้อมการรุกล้าของทะเลอ่าวไทยในช่วง 3,300 ปีท่ีผ่านมา นับเป็นหลักฐานช้ินแรกของ
ประเทศท่ีสมควรได้รับการเก็บรักษาให้ถูกต้องตามวิชาการ มีสถานท่ีจัดเก็บท่ีสามารถป้องกันการเสื่อมสภาพ
ในระยะยาว และมีมาตรการการดแู ลทร่ี ัดกมุ เพยี งพอที่จะไมใ่ ห้เกิดความเสียหาย

แนวทางการบริหารจัดการซากดกึ ดาบรรพ์: กรณศี กึ ษาซากวาฬอาแพงนี้ ได้มีข้อเสนอแนวทางในการ
บรหิ ารจัดการซากดึกดาบรรพท์ ี่จะต้องเตรียมการประกอบดว้ ย 4 องคป์ ระกอบ คือ

1. แนวทางการศึกษาวิจัยและอนุรักษ์ซากดึกดาบรรพ์วาฬอาแพง: นับต้ังแต่ค้นพบวาฬอาแพงได้มี
หลายหนว่ ยงานเข้ามาร่วมขดุ ค้นและรว่ มศึกษาวิจยั ซง่ึ นบั เปน็ จุดเร่มิ ตน้ ทีด่ ีในการบูรณาการศึกษาวิจัยร่วมกัน
และเห็นควรให้มีการดาเนินการศึกษาวิจัยอย่างต่อเน่ืองและเป็นระบบโดยมีการบูรณาการกันของนักวิจัยท้ัง
ภาคราชการ มหาวิทยาลัย และภาคเอกชน

2. งบประมาณ: งบประมาณในการบรหิ ารจดั การซากดึกดาบรรพ์วาฬอาแพงแยกออกเป็น
2.1) งบประมาณเพื่อรองรับในการศึกษาวิจัยและการอนุรักษ์ซากดึกดาบรรพ์ ในงบประมาณท่ีใช้ใน
การทาแบบพิมพ์และทากระดูกจาลองน้ัน มีความจาเป็นสาหรับกระดูกวาฬท่ีเป็นหลักฐานสาคัญช้ินแรกหรือ
ตัวแรกและชิน้ เดยี วหรือตัวเดยี วของกรมทรพั ยากรธรณใี นขณะน้ี อีกท้งั ยงั เส่ือมสภาพง่าย การทาพิมพ์จึงเป็น
เรอ่ื งจาเป็นยิ่งยวด เพ่ือจะได้เก็บรักษาวาฬอาแพงน้ีไว้ให้คงอยู่เป็นสมบัติของประเทศ ดังน้ันจึงมีความจาเป็น
เร่งด่วนในการเตรียมงบประมาณ ซึ่งมีแนวทางหลายแนว เช่น การของบประมาณจากกองทุนจัดการซากดึก

Abstract

การประชมุ วชิ าการธรณไี ทย ประจาปี 2564 211
(Geothai Webinar 2021) วนั ท่ี 4-6 สิงหาคม 2564

211
ดาบรรพ์เพ่ือดาเนินการ ซึ่งในปัจจุบัน กองทุนจัดการซากดึกดาบรรพ์ได้อนุมัติกรอบงบประมาณ จานวน

4 ล้านกว่าบาทในการดาเนินการ ส่วนงบประมาณสาหรับการศึกษาวิจัย เสนอให้มีการตั้งกรอบงบประมาณ

ปี 2566-67 และเสนอโครงการควบคไู่ ปกับการของบการศึกษาวิจัยจากกองทุนจัดการซากดึกดาบรรพ์อีกทาง

หนึง่ ด้วย

2.2) งบประมาณเพื่อรองรับการพัฒนาเป็นแหล่งจัดแสดงและการท่องเท่ียว: เสนอให้กรมทรัพยากร

ธรณีในฐานะที่ปจั จุบนั ดูแลซากดึกดาบรรพ์ ในเบ้ืองต้นให้จัดทา รายการรูปแบบรายละเอียดของการจัดแสดง

และรูปแบบนิทรรศการให้เรียบร้อย และส่งมอบให้จังหวัดพิจารณาต้ังงบประมาณพัฒนาจังหวัดดาเนินการ

พฒั นาตอ่ ไป รวมทง้ั ให้จงั หวัดพจิ ารณาสถานที่ และงบประมาณรว่ มกับภาคเอกชน เพื่อสนับสนนุ อกี ทางหน่ึง

3. แนวทางในการจัดแสดงวาฬอาแพง: แยกออกเป็นการจัดแสดงด้วยซากจริง และการจัดแสดงด้วย

ซากจาลอง ในส่วนของการจัดแสดงซากจาลองไม่มีปัญหา เพียงออกแบบการจัดแสดงให้ถูกต้องตามหลัก

วิชาการ น่าสนใจ และเปน็ green museum โดยจะตอ้ งมนี กั วิชาการที่มีความรู้ความสามารถมาให้คาแนะนา

ให้ถกู ตอ้ งตามหลักวชิ าการก็เพยี งพอ แต่การจัดแสดงดว้ ยซากจรงิ จะต้องสรา้ งอาคารตามที่กรมทรัพยากรธรณี

กาหนดสาหรบั ใช้เปน็ คลังเก็บตัวอย่างท่ีผู้ชมสามารถมองเห็นกระดูกวาฬที่วางเก็บในตู้กระจกนิรภัยได้ ซ่ึงการ

จัดวางในลักษณะนี้เพ่ือให้ปลอดภัยต่อการแตกหัก ไม่ใช่เพื่อความสวยงามหรือชัดเจนแบบการจัดแสดง

นิทรรศการท่ัวไป ตอ้ งมีระบบรกั ษาความปลอดภัย ควบคุมอุณหภูมิ มีผู้รับผิดชอบประจาเพื่อดูแลเพ่ือป้องกัน

ความเสียหายท่ีจะเกิดขึ้นกับซากกระดูกวาฬตามกฎระเบียบท่ีกรมทรัพยากรธรณีกาหนดตั้งแต่คร้ังแรกของ

การกาหนดรปู แบบอาคาร

4. แนวทางในการขึน้ ทะเบียนซากดึกดาบรรพต์ าม พ.ร.บ. คมุ้ ครองซากดึกดาบรรพ์ 2551: การจะข้ึน

ทะเบียนวาฬอาแพงได้หรือไม่นั้น ข้ึนอยู่กับข้อมูลการศึกษาวิจัยท่ีได้รับการพิมพ์เผยแพร่ว่ามีความสาคัญ

หรือไม่ เพียงใด ปรกติซากดึกดาบรรพ์ท่ีได้รับการพิจารณาจะเป็นซากต้นแบบของสัตว์หรือพืชท่ีเป็นสกุลหรือ

ชนิดใหมข่ องโลก หรอื ชนิดใหม่ของประเทศไทย หรือเป็นซากดกึ ดาบรรพด์ ชั นี แต่กม็ ลี กั ษณะอย่างอื่นเสริมเข้า

มา เช่น การมีสถานะเป็นคร้ังแรก ไม่ว่าจะเป็นคร้ังแรกของประเทศ หรือคร้ังแรกในประวัติศาสตร์ก็ได้

แนวทางเห็นควรเสนอให้เร่งดาเนนิ การให้เปน็ ไปตาม พ.ร.บ. คุม้ ครองซากดกึ ดาบรรพ์ 2551 โดยเรว็

ซากวาฬอาแพงสิ่งหนง่ึ ท่ีควรทาคอื ใชก้ ระดูกจาลองในการจัดแสดงให้เป็นโครงเชื่อมต่อทั้งตัว การจัด

แสดงด้วยการเชื่อมต่อท้ังตัว สามารถจะทาให้หรูหราสวยงามตื่นตาตื่นใจอย่างไรก็ได้ ไม่ต้องกลัวการแตกหัก

เหมือนการใช้กระดูกจริง การจัดเลียนแบบบ่อขุด ก็จะให้บรรยากาศท่ีแตกต่างไปจากพิพิธภัณฑ์อื่น ทั้งใน

ประเทศไทยและต่างประเทศ และหากได้จัดในอาคารที่ต้องสร้างใหม่ ก็มีโอกาสออกแบบอาคารให้สามารถให้

มองเห็นอย่างใกล้ชิดได้ทง้ั ระยะใกล้และไกล นับว่าจังหวัดสมุทรสาครมีซากดึกดาบรรพ์ท่ีมีคุณค่ายิ่งสาหรับใช้

เปน็ แหล่งเรยี นรแู้ ละแหล่งทอ่ งเทย่ี วของประเทศต่อไป

คา้ ส้าคญั : ซากดึกดาบรรพ,์ วาฬอาแพง, วาฬบรูดา้ (Balenoptera edeni), จงั หวดั สมทุ รสาคร

Abstract

212 ธรณีวถิ ีใหม่ นวัตกรรมไทย เพ่ือการพฒั นาท่ยี ั่งยืน

แนวทางการเผยแพร่ความร้ทู างธรณีวทิ ยาผา่ นระบบการศกึ ษา

อนุกูล วงศใ์ หญ่

กรมทรัพยากรธรณี 75/10 ถนนพระรามท่ี 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
E-mail: [email protected]

บทคดั ยอ่

กรมทรัพยากรธรณีเป็นหน่วยงานศูนย์กลางด้านข้อมูลธรณีวิทยาของประเทศไทย มีหน้าที่ในการ
เผยแพร่ความรู้ทางธรณีวิทยาสู่สังคม นับต้ังแต่การปฏิรูประบบราชการในปี พ.ศ. 2545 การเผยแพร่ความรู้
ทางธรณีวทิ ยาของกรมทรพั ยากรธรณเี ปน็ การดาเนนิ งานผ่านกลไกการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ปกติขององค์กร
ต่อมาประเทศไทยประสบผลสาเร็จในการขับเคล่ือนอุทยานธรณีสตูลเป็นอุทยานธรณีโลก การส่งเสริมและ
ขับเคล่ือนอุทยานธรณีตามกรอบแนวทางของ UNESCO เป็นท่ียอมรับและมีการนาไปใช้ดาเนินการมากขึ้น
รวมทง้ั การเผยแพร่ความรสู้ ่ชู ุมชนภายใตก้ รอบแนวทางดงั กล่าว

จนกระท่ังในช่วงปี พ.ศ. 2562-2563 หลังเหตุการณ์ค้นหากู้ภัยทีม 13 หมูป่าอคาดีมีติดถ้าหลวง
การเผยแพร่ความรู้ทางธรณีผ่านระบบการศึกษาของโรงเรียนในท้องถ่ินก็ได้เกิดขึ้นอีกครั้ง (อนุกูล วงศ์ใหญ่
และคณะ, 2564) โดยกรมทรัพยากรธรณี โรงเรียนในท้องถิ่นรอบถ้าหลวงขุนน้านางนอน และสานักงานเขต
พื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 3 ได้ร่วมกนั จัดทาหลักสตู รโดยใช้ถ้าหลวง-ขุนน้านางนอนเป็นแหล่ง
เรยี นรู้ โดยจดั ทาเป็นชุดการเรียนรู้ประกอบการเรียนการสอน วิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ซ่ึงเป็นวิชาบังคับของกระทรวงศึกษาธิการ จนสามารถขยายผลไปยังโรงเรียนต่าง ๆ ในเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 ได้อกี หลายโรงเรียน

กระบวนการเผยแพร่ความรู้ทางธรณีผ่านระบบการศึกษาของโรงเรียนในท้องถ่ินในครั้งน้ี อาศัย
แนวทางการดาเนินงานแบบล่างสู่บน (Bottom-up Approach) ตามความต้องการของชุมชนท้องถ่ิน มีการ
พัฒนาโดยมีนักเรียน โรงเรียน ครูผู้สอน และผู้บริหารการศึกษาท้องถ่ิน เป็นศูนย์กลาง ให้ความสาคัญต่อ
ระบบการทางานของภาคการศึกษา เน้นการทางานแบบการมีส่วนร่วม และท่ีสาคัญได้อาศัยแหล่งทรัพยากร
(แหล่งธรณี) ในท้องถิ่นเป็นฐานการเรียนรู้ และเป็นหลักการเดียวกันกับหลักสูตรท้องถ่ินและ Place Based
Education in Geoscience (Semken, et.al, 2017). ซงึ่ เปน็ ปจั จัยใหเ้ กดิ ความย่ังยนื ของโครงการมากขน้ึ

แนวคดิ และกระบวนการของการเผยแพร่ความรู้ทางธรณีผ่านระบบการศึกษาของโรงเรียนในท้องถ่ิน
น้ี สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาชุดการเรียนรู้สาหรับท้องถิ่นอื่นท่ีมีแหล่งธรณีประเภทอ่ืนได้ และยัง
สามารถขยายผลไปยงั การเรยี นการสอนในชัน้ อืน่ ที่มีสาระการเรียนรู้ทางธรณีวิทยาได้ด้วย แนวทางเบ้ืองต้นใน
การกาหนดโครงการข้ึนในกรมทรัพยากรธรณีเพื่อความสอดคล้องและเหมาะสมก็ได้นาเสนอไว้แล้วเช่นกัน
นอกจากน้ี ยังสามารถใช้เป็นต้นแบบสาหรับการจัดทาหลักสูตรที่ใช้ถ้าเป็นแหล่งเรียนรู้ ภายใต้
คณะกรรมการนโยบายการบริหารจดั การถ้าแห่งชาติไดด้ ้วย
ค้าส้าคัญ: การเผยแพร่ความรู้ทางธรณี, ระบบการศึกษา, โรงเรียนในท้องถิ่น, ถ้าหลวงขุนน้านางนอน,

การดาเนนิ งานแบบลา่ งสบู่ น, การมสี ว่ นรว่ ม, การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื , Bottom-up Approach

Abstract

การประชมุ วชิ าการธรณไี ทย ประจาปี 2564 213
(Geothai Webinar 2021) วันท่ี 4-6 สงิ หาคม 2564

เอกสารอา้ งองิ 213

กาญจนา ยะใจมนั่ . (2563ก). ชดุ การเรยี นรู้ ถา้ หลวงขนุ นา้ นางนอนกับกระบวนการเปลย่ี นแปลงทางธรณวี ทิ ยา

บนเปลือกโลก ชุดการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง “ตะลุยถ้าหลวง” (พิมพ์ครั้งท่ี 2). เชียงราย: โรงเรียน

บ้านป่าเหมือด.

อนกุ ลู วงศใ์ หญ่ และคณะ (2564). ถ้าหลวงขนุ นา้ นางนอน: แหลง่ เรยี นรสู้ าหรบั โรงเรยี นในทอ้ งถน่ิ . เอกสาร

เผยแพรเ่ นอื่ งในโอกาส “ปสี ากลแหง่ ภมู ปิ ระเทศแบบคาสตแ์ ละถ้า ค.ศ. 2021”, กรมทรพั ยากรธรณ.ี

Semken, S., et.al. (2017). “Place-Based Education in Geoscience: Theory, Research, Practice,

and Assessment.” Journal of Geoscience Education, Vol. 65, pp. 542–562.

UNESCO, (2016). UNESCO Global Geoparks. Paris: UNESCO

Abstract

214 ธรณีวิถใี หม่ นวัตกรรมไทย เพื่อการพัฒนาทีย่ ัง่ ยืน

มมุ มอง 360 องศากับถ้าหนิ ทราย

ชัยพร ศิริพรไพบลู ย์

E-mail: [email protected]

บทคดั ย่อ

ถ้าหนิ ทรายในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของประเทศไทยเป็นถ้าที่เกิดจากการกัดกร่อน โดยมีตัวการที่
สาคัญคือน้า เป็นถ้าท่ีมีโครงสร้างไม่ซับซ้อน มีความยาวไม่มาก และส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีประติมากรรมถ้า เช่น
หินงอก หินย้อยเหมือนในถ้าหินปูน แต่ถ้าพิจารณาถึงบทบาทและประโยชน์ของถ้าหินทรายแล้ว จะพบว่ามี
หลายด้านไม่น้อยไปกว่าถ้าหินปูน เช่น เป็นแหล่งโบราณคดีที่สาคัญ เป็นแหล่งน้าบาดาลสาหรับการอุปโภค
บรโิ ภคของประชาชน และในบางพ้ืนท่จี ะมีบทบาททาให้เกิดเป็นป่าดิบแล้ง ท้ังนี้เพราะบริเวณดังกล่าวมีน้าซับ
และนา้ พุของระบบถา้ หินทรายไหลออกมาหล่อเลยี้ งตลอดปี แต่บางบริเวณท่ีเป็นด้านปลายน้าของระบบถ้าจะ
มีส่วนทาให้เกิดหินถล่มได้ เช่น บริเวณผาแต้มในจังหวัดอุบลราชธานี บางถ้ามีความหลากหลายทางชีวภาพ
ของส่ิงมีชีวิตในถ้าค่อนข้างสูงและมีสัตว์ถ้าท่ีหายาก เช่น ตะขาบถ้าและจิ้งหรีดถ้าที่มีขายาวมาก แมงมุมแส้
และตุ๊กกาย เป็นต้น พัฒนาการของถ้าหินทรายในระยะสุดท้ายบางแห่งจะมีส่วนทาให้เกิดเป็นเสาเฉลียง เช่น
บรเิ วณภูไม้ซาง จังหวัดมุกดาหาร และภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี หรือมีส่วนทาให้เกิดบ่อน้าที่มีรูปทรงคล้าย
ภูเขาไฟ ในจงั หวัดมกุ ดาหาร และ จังหวัดบึงกาฬ ซึ่งเกิดจากรูปแบบการไหลของน้าบาดาลระดับต้ืนในช้ันหิน
ทรายท่ีแทรกสลับกับหินทรายปนกรวด ภายในถ้าหลายแห่งจะพบร่องรอยของการกัดเซาะท่ีเกิดจากน้า เช่น
รอยเว้าผนังถ้า รอยร้ิวน้าไหล กุมลักษณ์กลับหัว รวมท้ังภาพตัดขวางของโถงถ้ารูปรูกุญแจโบราณที่สามารถ
นามาใช้ศึกษาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและสภาพอุทกธรณีวิทยาในอดีตได้ ส่วนหลักฐานท่ีอาจ
นามาใช้สนับสนุนแนวคิดเรื่องการยกตัวของแผ่นดินในอดีตสามารถพบได้ในพ้ืนที่ เช่น การพบถ้าแบบถ้าใต้
หนา้ ผา บรเิ วณริมแม่น้าโขงหลายช้ันท่ีอยู่สูงกว่าพ้ืนดิน หรือการพบรอยเว้าผนังหินริมแม่น้าท่ีอยู่สูงกว่าระดับ
ท้องน้าในยุคปัจจุบัน เช่น ที่ภูสิงห์ น้าตกวังพระ และบริเวณฐานของหินสามวาฬ ในจังหวัดบึงกาฬ สาหรับ
การใช้ถ้าในเชิงศาสนาและความเช่ือสาหรับคนไทยนั้นมีมาต้ังแต่สมัยโบราณและยังคงมีอยู่หลายแห่ง
แต่กิจกรรมที่เก่ียวข้องบางอย่างจะส่งผลกระทบต่อสภาพของถ้า เพราะถ้าหลายแห่งท่ีเป็นสานักสงฆ์และวัด
มักจะมีการดัดแปลงสภาพภายในถ้าให้ผิดเพ้ียนไปจากธรรมชาติ เช่น การขุดเจาะเพ่ือปรับพื้นถ้าและผนังถ้า
วัสดุท่ีใช้ในการก่อสร้าง การติดต้ังระบบแสงสว่าง รวมท้ังสิ่งท่ีใช้ในพิธีกรรม เช่น การจุดธูปเทียนภายในถ้า
จะส่งผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศในถา้ ได้ รวมทงั้ การกระทาบางอย่างท่ีไมเ่ หมาะสมจากนักท่องเท่ียว เช่น การนา
ก้อนหินในถ้ามาก่อเป็นเจดีย์ หรือ นาหินไปค้ายันฐานของผนังถ้า การขีดเขียนบนผนังถ้าและการทุบทาลาย
หินในถ้า จนทาให้ถ้าเกิดความเสียหาย ดังนั้น การให้ความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องกับทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง
การกาหนดมาตรการและกฎระเบียบเพื่อให้เกิดการปฏิบัติในเชิงอนุรักษ์ จึงมีความจาเป็นเพื่อให้เกิดการ
พัฒนาและการใช้ถา้ อยา่ งยั่งยืน จึงเปน็ แนวทางท่คี วรส่งเสริมให้มมี ากขึน้

เป็นที่ทราบกันดีว่าคนในภาคอีสานของประเทศไทยรวมท้ังผู้คนในประเทศแถบลุ่มแม่น้าโขง มักจะมี
ความเช่ือจากเร่ืองเล่าขานท่ีสืบทอดกันมาหลายช่ัวอายุคน คือเร่ืองที่เก่ียวกับพญานาคและเมืองบาดาล จาก
หนังสือเร่ืองนาคในประวัติศาสตร์อุษาคเนย์ โดยอาจารย์สุจิตต์ วงษ์เทศ ท่านได้เขียนไว้ว่าคนพ้ืนเมืองแถบนี้
ล้วนมีความผูกพันกับนาค และมีเรื่องราวของนาคที่เกี่ยวข้องกับศาสนา รวมทั้งการสร้างเมืองต่างๆ เช่น
ในกัมพชู ามีตานานเรอ่ื งพระนาคพระทองที่เชื่อกันว่าเป็นต้นกาเนิดของกัมพูชาในยุคเริ่มแรกคืออาณาจักฟูนัน

Abstract

การประชมุ วชิ าการธรณีไทย ประจาปี 2564 215
(Geothai Webinar 2021) วนั ที่ 4-6 สิงหาคม 2564

215
(ฝูหนาน) ใน สปป. ลาว ก็มีตานานนาคสร้างเมืองเวียงจันทบุรีท้ังสองฝั่งโขง และในพม่าจะเก่ียวกับการสร้าง

เมืองหงสา สาหรับประเทศไทยน้ัน มีเร่ืองราวมากมายหลายตานานที่เก่ียวข้องกับพญานาค เช่น ตานานการ

เกิดแม่น้าโขง โดยการแข่งกันขุดแม่น้าของพญานาค 2 ตนท่ีเป็นเพ่ือนรักกันมาก แต่กลายมาเป็นศัตรูที่ต้อง

มาทาสงครามกันเพราะความเข้าใจผิดจากเร่ืองเล็กๆน้อย คือ พญาศรีสุทโธนาคกับพญาสุวรรณนาค ท่ีครอง

เมืองทห่ี นองกระแส ซึง่ ปจั จบุ ันมีความเช่ือกันว่าอยู่บริเวณใต้ทะเลสาบหนองหาน หรือล่าสุดท่ีเป็นข่าวดังตาม

สื่อต่างๆในปี 2563 คอื เรอ่ื งราวของ ถา้ นาคา ในจังหวัดบึงกาฬ ซ่ึงมีตานานของปู่อือลือ ที่กล่าวถึงการเกิดบึง

โขงหลงท่ีเชื่อกันว่าเกิดจากการล่มเมืองของพญานาค ซ่ึงเกิดจากปฏิสัมพันธ์ท่ีไม่ลงตัวของพญานาคกับมนุษย์

ในเมอื งนั้น จึงมีการลงโทษโดยสาปใหบ้ รวิ ารของตนทที่ าผดิ จารีตให้กลายเป็นหินสิงสถิตอยู่ในสถานที่ต่างๆท่ัว

เมืองบึงกาฬ ซึ่งรวมท้ังหินท่ีดูคล้ายพญานาคในถ้านาคาด้วย และเม่ือพูดถึงถ้าหินทรายในภาคอีสานแล้ว

คนในท้องถ่ินมีความเช่ือที่ว่าถ้าหลายแห่งในภาคอีสานนั้น คือประตูที่จะนาพาเราไปสู่เมืองบาดาล ซ่ึงถ้าส่วน

ใหญ่จะเป็นถ้าหินทราย โดยเฉพาะในจังหวัดท่ีอยู่ริมแม่น้าโขง และจะมีถ้าจานวนมากท่ีถูกใช้เป็นเป็นสานัก

สงฆ์หรือวัด และหลายแห่งได้เป็นสถานที่ท่ีพระสงฆ์นิยมมาฝึกสมาธิและปฏิบัติธรรมของบรรดาเกจิอาจารย์

และอรยิ สงฆห์ ลายรปู

จากการศึกษาของผู้เขียนซึ่งเคยทางานในภาคอีสานมาหลายปี ประกอบกับในระยะหลังได้มีโอกาส

เข้าไปสารวจถ้าหินทรายหลายแห่งในภาคอีสาน จนพบว่าบทบาทและความสาคัญของถ้าหินทรายน้ันมี

มากมายหลายด้าน นอกเหนือไปจากเป็นแหล่งโบราณคดีและศาสนาแล้ว ยังมีประโยชน์ต่อการศึกษาวิจัยใน

มิติใหม่ๆได้ เช่น การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก การยกตัวของแผ่นดินและการเปลี่ยนแปลง

ลักษณะธรณีสัณฐาน เช่น การเกิดเสาเฉลียงบางแห่งซึ่งบริเวณน้ันเคยเป็นถ้ามาก่อน หรือแม้แต่การการเกิด

หินถล่มท่ีหน้าผาบริเวณโขงเจียมจนเกิดเป็นแหล่งภาพเขียนสีท่ีเก่าแก่ย้อนหลังกลับไปในอดีตหลายพันปี

ในมุมมองด้านถ้าวิทยา ซ่ึงจะมี กาเนิดถ้าวิทยาศาสตร์ในถ้า ชีววิทยา ส่ิงมีชีวิตในถ้า สามารถพบสัตว์ถ้าได้

เชน่ เดยี วกบั ถ้าหินปูนแหล่งน้า ปา่ ดบิ แล้ง

Abstract

216 ธรณวี ถิ ใี หม่ นวัตกรรมไทย เพอ่ื การพฒั นาทย่ี ั่งยืน

รอยตะเขบ็ เชยี งใหม:่ หลกั ฐานจากธรณวี ทิ ยาและศิลาเคมขี องหนิ อัคนีจงั หวัดเชียงราย

วรรณพร ปญั ญาไว 1, 2 *, Feng Qinglai 2 และ ปญั ญา จารุศริ ิ 1, 3

1 กรมทรัพยากรธรณี ถ.พระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
2 China University of Geosciences, Wuhan, Hubei, China

3 หน่วยวิจยั MESA คณะวิทยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กรงุ เทพมหานคร 10330
*E-mail address: [email protected]

บทคัดยอ่

เราไดค้ ดั เลอื กพนื้ ทซี่ งึ่ เปน็ ภมู ลิ กั ษณห์ นิ อคั นี (igneous landform) ในเขตอาเภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งรายทม่ี ี
สภาพธรณีวิทยาท่ซี บั ซอ้ น เพอื่ ศกึ ษากาเนดิ หนิ อคั นที ี่สัมพันธ์กบั สภาพและวิวัฒนาการของการแปรสณั ฐานของ
พน้ื ท่ี เนอื่ งจากพน้ื ทศี่ กึ ษาเปน็ สว่ นทอี่ ยใู่ นเขตรอยตะเขบ็ เชยี งใหม่ (Chiang Mai Suture) ซงึ่ เปน็ รอยตอ่ ระหวา่ งเขต
อนิ ทนนท์ (สว่ นของแผน่ ฉานไทย) ทางตะวนั ตกกบั แนวสุโขทยั ตะวนั ออก โดยการศกึ ษานไ้ี ดเ้ นน้ การตรวจสอบใน
สนามผนวกกบั การศกึ ษาดา้ นศลิ าวรรณา และการวเิ คราะหห์ นิ ทางธรณเี คมี และการคานวณหาอายหุ นิ

ผลการศกึ ษาในสนามทาใหท้ ราบวา่ พน้ื ทศี่ กึ ษาประกอบดว้ ยหนิ อคั นหี ลายชนดิ ซงึ่ สว่ นใหญเ่ ปน็ หนิ อคั นสี ี
เขม้ (mafic igneous rocks) จนถงึ หนิ สเี ขม้ ปานกลาง (intermediate rocks) ไดแ้ ก่ หนิ แกบโบร หนิ ไดโอไรต์ และ
หนิ แกรโนไดโอไลต์ ผลการวิเคราะห์ปรมิ าณธาตุหลัก ธาตรุ อง และธาตพุ บน้อย ทาให้ทราบว่าหนิ อัคนีที่ศึกษา
ทงั้ หมดมกี าเนดิ จากหนิ หนดื จาพวกแคลอลั คาไลต์ ในเขตแผน่ เปลอื กโลกชนกนั และเขตการมุดตวั นอกจากน้ี ผล
การศกึ ษาธรณเี คมขี องธาตหุ ายาก (rare -earth elements) และการกาหนดอายโุ ดยวธิ ี U-Pb จากเซอรค์ อน ทาให้
เราจดั แบง่ สภาพการแปรสณั ฐานในพน้ื ทต่ี ามอายุ ออกเปน็ 3 ชว่ ง ไดแ้ ก่

1. ชว่ งอายมุ หายคุ พรแี คมเบรยี นตอนปลาย (Late Proterozoic episode, ) 1,200-900 ลา้ นปมี าแลว้ ) ซงึ่
เปน็ ชว่ งกาเนดิ หนิ หนดื (magmatic episode) ชว่ งแรก จนไดเ้ ปน็ หนิ แกบโบรจากการทแ่ี ผน่ สมทุ ร ของฝงั่ ฉานไทย
(อนิ ทนนท)์ มดุ ตวั ลงไปขา้ งใตแ้ ผน่ สมทุ รอกี แผน่ ทอ่ี ยทู่ างตะวนั ออก ซงึ่ เราเชอ่ื วา่ เปน็ แผน่ สมทุ รทห่ี ลงเหลอื อยขู่ องที
ทสี บรรพกาล (Proto-Tethys) กอ่ นถกู ดนั เลอื่ น (upthrust) จากตะวนั ออกไปตะวนั ตก โดยถกู ดนั ไปวางตวั บนเขต
อินทนนท์ (Inthanon zone) ในแง่ธรณีแปรสัณฐานบริเวณกว้าง (regional tectonics) เราเชื่อว่าเหตุการณ์น้ี
จดั เปน็ สว่ นตอ่ ลงมาทางใตข้ องบรรพตรงั สรรคเ์ จยี งหนาน (Jiangnan Orogeny) ในมณฑลยนู นาน

2. ชว่ งปลายยคุ ไซลเู รยี น (Late Silurian episode, ~450 ลา้ นป)ี มาแลว้ จดั เปน็ ชว่ งกาเนดิ หนิ หนดื ชว่ งทสี่ อง
โดยแผน่ สมทุ รทที สี โบราณ (Paleo-Tethys) มดุ ตวั ลงไปใตข้ อบทวปี ดา้ นตะวันออกของแผน่ ฉาน-ไทย (หรอื เขตอนิ
ทนนท)์ จนทาใหเ้ กดิ หนิ หนดื จาพวกแกรโนไดโอไรต์ หนิ แกรนติ ชว่ งอายนุ ท้ี าหนา้ ทเ่ี ปน็ ฐานหนิ สาหรบั แนวโคง้ สโุ ขทยั แ

3. ชว่ งอายรุ อยต่อยุคเพอรเ์ มยี น-ไทรแอสซกิ (Permo-Triassic episode, 250 ลา้ นปมี าแลว้ ) จดั เปน็ ชว่ ง
กาเนดิ หนิ หนดื ชว่ งทสี่ าม และชว่ งสดุ ทา้ ยของการมดุ ตวั ของแผน่ สมทุ รทที สี โบราณ (Paleotethys) ในพนื้ ทจี่ นทาใหเ้ กดิ
หนิ หนดื แคลอลั คาไลด์ (calc-alkaline) จาพวก แกรนติ อคั นี (I-type granities) ชว่ งอายนุ สี้ าคญั มากเพราะเปน็ ชว่ งที่
เกิดบรรพตรงั สรรคอ์ ินโดจีนช่วงแรก (Indosinian Orogeny I) เพราะก่อให้เกดิ แนวแหล่งแร่โลหะที่สาคัญต้ังแต่
มณฑลยนู นาน จนถงึ ปลายคาบสมทุ รมาลายา (Southern Malay Peninsula) ขณะเดยี วกนั การเลอ่ื นยอ้ นตามแนวรอย
เลอื่ นทวี่ างตวั ในแนวเหนอื -ใต้ อยา่ งรนุ แรงจากตะวนั ออกไปตะวนั ตกกน็ า่ จะมอี ทิ ธพิ ลมาจนการมดุ ตวั ชว่ งอายนุ ี้

คา้ สา้ คญั : การมดุ ตัว ตะเข็บเชยี งใหม่ หนิ หนดื แคลอัลคาไลต์ บรรพตรังสรรคอ์ นิ โดจนี พรแี คมเบรียน

หนิ อัคนสี เี ขม้ จัด

Abstract

การประชุมวชิ าการธรณีไทย ประจาปี 2564 217
(Geothai Webinar 2021) วันที่ 4-6 สิงหาคม 2564

217

ศลิ าเคมีและอายุหนิ แกรนติ รอยตะเข็บธรณนี ่านอตุ รดิตถ์

จงกลณี ขันมณ1ี ,2 Qinglai Feng2 Hu Jia Bo2 Gan Zhengjin2 ฐากูร มากคณุ 1 ภคั พงษ์ ศรีบัวทอง1
นลนิ ี ธนนั ต์1 วรรณพร ปญั ญาไว1,3 และ ปัญญา จารุศริ ิ3,4

1 สานกั งานทรพั ยากรธรณี เขต 1 กรมทรพั ยากรธรณี อาเภอเกาะคา ลาปาง
2 China University of Geosciences, Wuhan, Hubei, China

3 กองธรณวี ทิ ยาสงิ่ แวดล้อม กรมทรัพยากรธรณี ถนนพระราม 6 กทม
4 หน่วยวิจยั MESA คณะวิทยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั กทม

E-mail: [email protected]

บทคดั ยอ่

การศึกษาครั้งนี้เป็นการนาเสนออายุท่ีค้นพบใหม่จากหินแกรนิต ในเขตจังหวัดน่าน ตามเขตรอย
ตะเข็บธรณีน่าน--อุตรดิตถ์ (Nan-Uttaradit suture zone) ซึ่งเป็นแนวที่อยุ่ระหว่างแนวโค้งสุโขทัย
(Sukhothai Fold Belt) ทางตะวันตก และแนวโค้งเลย (Loei Fold Belt) ทางตะวันออก การวิจัยในคร้ังนี้มี
วัตถุประสงค์เพ่ืออธบิ ายการกาเนิด และหาอายุหนิ แกรนิตที่โผล่ 2 จุด ตามเสน้ ทางหมายเลข 1168 (น้าว้า-น้า
ตวง) อาเภอแม่จริม จังหวัดน่าน โดยหินโผล่ส่วนใหญ่เป็นหินคละปนเซอร์เพนทีไนต์ (serpentinitte mé-
lange) โดยมีสมมุติฐานว่า หินแกรนิตดังกล่าวอาจเป็นหินแพลจิโอแกรนิต ( plagiogranite) ท่ีเป็น
ส่วนประกอบของชุดหินโอฟิโอไลต์น่าน (Nan-ophiolite suite) ซึ่งพบน้อยมากตามแนวตะเข็บธรณีนี้
ปัจจุบันข้อมูลอายุหินตามแนวตะเข็บธรณีน่าน-อุตรดิตถ์ ยังถือว่ามีไม่มากนัก ดังนั้นการวิจัยนี้จึงเร่ิมจากการ
คัดเลือกตัวอย่างหินสด ตรวจสอบวิทยาหินและศิลาวรรณนา และคานวณหาอายุหิน ตลอดจนวิเคราะห์ธรณี
เคมปี ริมาณธาตหุ ลัก ธาตรุ อง และธาตหุ ายาก

ผลการศึกษาหาอายุหินแกรนิตจากตัวอย่างหินจานวน 8 ตัวอย่างของท้ังสองจุดโดยวิธี U-Pb จาก
เซอร์คอน ทาให้แบ่งหินแกรนิตได้เป็นสอง คือ กลุ่มแกรนิตอายุปลายยุคคาร์บอนิเฟอรัส (302±1.9 Ma) และ
กลุ่มหินแกรนิตอายุช่วงกลางยุคคาร์บอนิเฟอรัส (320.4±1.9 Ma) สาหรับกลุ่มหินแกรนิตอายุช่วงปลายยุค
คาร์บอนิเฟอรัส (302±1.9 Ma) ที่วินิจฉัยว่าเป็นหินแพลจิโอแกรนิตนั้น ผลจากศิลาวรณนาพอสรุปได้ว่า
ประกอบด้วยแร่หลัก ได้แก่ ควอตซ์ ร้อยละ 45, โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ ร้อยละ 31, แพลจิโอเคลส ร้อยละ
20, และแร่รองอ่นื ๆรวมร้อยละ 4 โดยแพลจิโอเคลสส่วนใหญ่เปน็ โซเดียมแพลจโิ อเคลสและแสดงผลึกแฝดอัล
ไบต์ (albite twin) ผลทางศิลาเคมีอนุมานได้ว่าหินแกรนิตมาจากชุดหินหนืดแคลอัลคาไลต์ (calc-alkaline
magma series) และเกิดในบริเวณแนวโค้งภูเขาไฟ (volcanic arc) นอกจากน้ันยังมีลักษณะพิเศษเด่นชัด
ทางธรณีเคมีคือ มีปริมาณ SiO2 ร้อยละ 74-75 โดยน้าหนัก, ปริมาณ K2O, TiO2 ต่า, แต่ Na2O สูง (ร้อยละ
8.1-8.4 โดยน้าหนัก) และองค์ประกอบทางธรณีเคมีท่ีไม่ใช่หินหนืดชนิดโทลิไอต์ ปริมาณซิลิกาที่สูงมาก ของ
หินแกรนติ กลุ่มน้ี อีกทั้งปริมาณอัตราส่วนธาตุ Sr/Y และ La/Yb ที่สูงมาก (Sr>1000 ppm, La=0.16-0.43,
Yb =0.0150.028) เมื่อเทียบกับสัดส่วนปริมาณธาตุดังกล่าวที่เป็นองค์ประกอบของแผ่นเปลือกมหาสมุทร
(oceanic lithosphere) รวมถงึ ลักษณะรูปแบบของ ธาตุหายาก (REEs) เมื่อเทียบกับหินอัคนีโอฟิโอไลต์น่าน
พบว่าไม่มีลักษณะพิเศษที่ระบุได้ว่าหินแกรนิตกลุ่มนี้บ่งบอกว่าเป็นหินแพลจิโอแกรนิต ท่ีมีต้นกาเนิดเดียวกัน
จากแผน่ เปลอื กมหาสมทุ ร ผลทางศิลาเคมีบ่งหินแกรนิตกลุ่มน้ีมีต้นกาเนิดจากแผ่นทวีป (continental litho-
sphere) และเม่ือเปรียบเทียบปริมาณ ธาตุปริมาณน้อย ธาตุหายากกับหินในเนื้อโลกและหินบะซอลต์กลาง
สมุทร พบว่าแสดงค่า Nb, Nd, และ Ti ผิดปกติแบบลบ (negative anormaly) ดังน้ันการพบหินแกรนิตใน

Abstract

218 ธรณีวถิ ีใหม่ นวตั กรรมไทย เพื่อการพฒั นาท่ยี ง่ั ยืน
พื้นท่ีหินคละเซอร์เพนทีไนต์ จึงบ่งถึงสภาพการแปรสัณฐานแบบชนกันจากการมุดตัวของแผ่นเปลือกสมุทร
มากกวา่

ส่วนกลุ่มหินแกรนิตอายุช่วงกลางยุคคาร์บอนิเฟอรัส (320.4±1.9 Ma) ผลจากศิลาวรรณนาของ
หินแกรนิตกลุ่มน้ีพบว่าหินประกอบด้วยแร่หลักคือ ควอตซ์ ร้อยละ 57, โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ ร้อยละ 18,
แพลจิโอเคลส ร้อยละ 16, และ แร่รองอื่นๆรวมไม่เกินร้อยละ 8 ผลธรณีเคมีสรุปได้ว่าหินแกรนิตนี้มีปริมาณ
SiO2 รอ้ ยละ 68-72 โดยน้าหนัก และปริมาณออกไซต์ของธาตุหลักอ่ืนโดยรวมสูงกว่าหินแกรนิตยุคปลายคาร์
บอนิเฟอรัส และปริมาณอัลคาไลต์รวม (K2O +Na2O) อยู่ในช่วงร้อยละ 9.5-10.4, CaO ร้อยละ 0.63-1.17,
Al2O3 รอ้ ยละ 16.73-18.97, และ Na2O ร้อยละ 9.26-10.34 สว่ นปรมิ าณธาตรุ องและธาตุหายากในกลุ่มธาตุ
เคลือ่ นย้ายไม่ได้ (immobile elements) ต่า ได้แก่ Cr=0.33-3.3 ppm, Ni=2.0-13.1 ppm, Y=1.34-1.90
ppm, และ Yb = 0.09-0.16 ppm, ส่วน Rb, Th, และ U เฉล่ีย เท่ากับ 2.02, 0.19, 0.28 ppm ตามลาดับ
ผลทางศลิ าเคมบี ่งบอกว่า หินแกรนิตอายุกลางยุคคาร์บอนิเฟอรัส ก็มีกาเนิดหินมาจากหินหนืดแคลอัลคาไลต์
(calc-alkaline magma) และจัดให้เป็นหินแกรนิตอัคนี (I-Type granite) โดยมีสภาพการแปรสัณฐานแบบ
แนวโค้งภูเขาไฟเช่นเดียวกับหินแกรนิตปลายยุคคาร์บอนิเฟอรัส ผลการศึกษาวิจัยท่ีนาเสนอนี้เป็นเพียงการ
ค้นพบเบ้ืองต้น อย่างไรก็ตาม ยังจาเป็นต้องอาศัยข้อมูลมากขึ้นเพ่ือตรวจสอบรายละเอียด พร้อมกับ
เปรยี บเทียบข้อมูลพื้นทีอ่ ่นื เก่ียวกบั อายุหนิ การกาเนิดหิน และสภาพการแปรสณั ฐาน ตอ่ ไป
คา้ ส้าคัญ: แพลจโิ อแกรนิต, แกรนิต, อายุหินแกรนติ , ศลิ าเคม,ี ตะเข็บธรณนี า่ น, การแปรสัณฐาน

Abstract

การประชุมวชิ าการธรณไี ทย ประจาปี 2564 219
(Geothai Webinar 2021) วนั ท่ี 4-6 สงิ หาคม 2564

219

Iron Khao Thab Kwai Deposit, Lop Buri Province, Thailand

Thanaphol Chuenchoo* and Ladda Tangwattananukul

Department of Earth Sciences, Faculty of Science, Kasetsart University, Bangkok, Thailand 10900, Thailand
*E-mail: [email protected]

Abstract

Khao Thab Kwai area is one of iron ore sources in Thailand. Iron is most widely used
for the construction of machinery and machine tools, rails, automobiles, ship hulls, concrete
reinforcing bars and load-carrying framework of buildings. Khao Thab Kwai is located in Khok
Samrong District in Lop Buri Province which is a part of Loei-Phetchabun-Prachin Buri
minerals belt. Geology of Khao Thab Kwai area consists of Permian marble, Permo-Triassic
andesite and diorite. Twelve samples for petrology and chemical analysis can be divided
into garnet-pyroxene vein, chlorite-epidote vein, marble and diorite. Garnet-pyroxene is
composed of garnet, clinopyroxene, pyrite, magnetite and hematite. The magnetite,
hematite and pyrite are formed with garnet and pyroxene in the garnet-pyroxene veins. Iron
oxide is founded with magnetite and hematite in garnet-pyroxene vein. Epidote-chlorite is
composed of chlorite, epidote and calcite. Marble is major composed of calcite. Diorite is
composed of a major of clinopyroxene, plagioclase with small amounts of magnetite and
secondary mineral of chlorite, quartz and calcite veinlet. Chemical composition of diorite is
55.25 wt. % (SiO2), 15.51 wt. % (Al2O3), 7.42 wt. % (Fe2O3), 7.88 wt. % (CaO), 5.67 wt. %
(MgO), 5.43 wt. % (Na2O), 1.50 wt. % (K2O), 0.29 wt. % (P2O5), 0.63 wt. % (TiO2) and 0.11 wt.
% (MnO) suggesting syenodiorite composition. Magnetite ore is related to garnet and pyrox-
ene in garnet-pyroxene vein in the prograde stage. Khao Thab Kwai area is a one of Fe skarn
deposit in the Loei-Phetchabun-Prachin Buri mineral belt.

Abstract

CONFERENCE FACTS
AND FIGURES

ธรณีไทย 2564

“ธรณวี ถิ ใี หม่ นวัตกรรมไทย เพอ่ื การพฒั นาทีย่ ง่ั ยนื ”

กรมทรัพยากรธรณี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
75/10 ถ.พระรามที่6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400

www.dmr.go.th


Click to View FlipBook Version