The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prdmr.pr, 2021-05-04 01:43:41

Atlas Book Active fault

Atlas Book Active fault 9B

1

2

กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม

วิสยั ทศั น์
เป็นองคก์ รท่ปี ระชาชนไทยและรัฐบาลเช่ือม่ันในองค์ความรู้ทางธรณวี ทิ ยาและการบริหารจดั การทรพั ยากรธรณอี ยา่ งมีส่วนรว่ มในการ
นาพาประเทศไปสคู่ วามม่นั คงของฐานทรพั ยากรธรณที ม่ี ีการอนรุ ักษแ์ ละการใชป้ ระโยชน์อยา่ งสมดุล และคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ีของประชาชน

พันธกจิ
1. เสนอความเหน็ เพื่อการกาหนดพืน้ ทแี่ ละการจัดทานโยบาย แผน มาตรการ ดา้ นการอนรุ กั ษม์ รดกธรณีและอทุ ยานธรณี ธรณีวทิ ยา
สงิ่ แวดลอ้ มและธรณพี ิบตั ภิ ยั และการบริหารจัดการทรพั ยากรแร่
2. บูรณาการและสร้างความรว่ มมอื กบั ภาคเี ครอื ขา่ ยทัง้ ในและตา่ งประเทศ
3. เสรมิ สรา้ งขีดความสามารถของบคุ ลากร การวจิ ยั และพัฒนาเครอื่ งมอื กลไก รวมท้ังการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในการบรหิ ารจดั การ
4. เสนอให้มี ปรบั ปรงุ หรอื แก้ไขกฎหมายในความรับผดิ ชอบใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์

ภารกจิ
กรมทรพั ยากรธรณมี ีภารกิจเกย่ี วกับการสงวน การอนุรกั ษ์ การฟืน้ ฟู และการบรหิ ารจัดการด้านธรณีวทิ ยา ทรพั ยากรธรณี ซากดึกดา
บรรพ์ ธรณีวทิ ยาส่งิ แวดล้อม และธรณพี ิบัติภยั โดยการสารวจตรวจสอบ และวจิ ยั สภาพธรณวี ทิ ยาและทรพั ยากรธรณี การประเมิน
ศกั ยภาพแหล่งทรพั ยากรธรณี การกาหนดและกากบั ดูแลเขตพืน้ ทส่ี งวน อนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรณี และพ้นื ท่ีเสย่ี งต่อธรณพี ิบตั ิภยั เพื่อการ
พฒั นาทรัพยากรธรณี คณุ ภาพชีวติ เศรษฐกจิ และสงั คมอยา่ งยั่งยืนและเกดิ ประโยชน์สูงสุด

คา่ นิยมหลักขององค์กร
1. คุณธรรมนาความรู้ (Moral Principle)
2. เชยี่ วชาญงานในหน้าที (Specialist)
3. รบั ผิดชอบต่อสงั คม (Social responsibility)
4. เอกภาพและบรณู าภาพแหง่ องค์กร (Unity Spiritual)

ผลสมั ฤทธ์ิระดับหนว่ ยงาน
1. พื้นที่ศกั ยภาพแหล่งแรไ่ ด้รบั การกาหนดเป็นเขตแหล่งแร่เพื่อใช้ประโยชนภ์ ายใตด้ ุลยภาพทางเศรษฐกจิ สงั คม สิ่งแวดลอ้ มและสขุ ภาพ

ของประชาชน
2. ประชาชน ชุมชน ภาคีเครอื ขา่ ย และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ได้รับองค์ความรใู้ นการเฝ้าระวัง และปรบั ตวั รบั มอื กับธรณีวิทยา

ส่ิงแวดลอ้ ม ธรณพี บิ ัตภิ ยั และการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ประกอบด้วยชุดข้อมลู ธรณเี คมพี ้นื ฐาน ชดุ ข้อมลู พน้ื ทท่ี ี่เหมาะสมใน
การวางแผนผังเมอื งใหก้ บั ชมุ ชน ชุดข้อมูลตดิ ตามพฤติกรรมรอยเลอ่ื นมีพลงั และชุดขอ้ มลู ธรณีวิทยาทางทะเลและชายฝง่ั ในการวาง

3

คานา

แผ่นดินไหว เปน็ ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติทเ่ี กิดจากการส่ันสะเทอื นของพืน้ ดนิ อันเน่อื งมาจากการปลดปลอ่ ยพลงั งาน
เพื่อลดความเครียดทสี่ ะสมไวภ้ ายในโลก เพ่อื ปรับสมดุลของเปลือกโลกให้คงท่ี ปัจจุบันนักวิทยาศาสตรย์ ังไมส่ ามารถทานายเวลา
สถานที่ และความรุนแรงของแผ่นดินไหวที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ ดงั นนั้ ประชาชนจึงควรศึกษาเรยี นรู้ เพื่อให้เข้าใจถงึ กระบวนการ
เกิดของแผน่ ดนิ ไหวท่ีแท้จริงอันถอื กาเนิดมาจากรอยเลื่อนมพี ลังในเปลอื กโลก หรอื แนวมดุ ตวั ระหว่างแผน่ เปลอื กโลก เพื่อเปน็
แนวทางในการลดความเสยี หายทอ่ี าจจะเกดิ ขึ้นได้

สาหรบั ประเทศไทย กรมทรพั ยากรธรณี ได้สารวจรอยเลอ่ื นมพี ลังซึง่ เป็นบรเิ วณศูนย์เกดิ แผน่ ดนิ ไหวพบว่า จากข้อมูล
ในปัจจุบันประเทศไทยมีแนวรอยเล่ือนมพี ลงั จานวน 16 กลมุ่ รอยเลอื่ นดว้ ยกนั ประกอบดว้ ย กลุม่ รอยเลอื่ นแม่จนั กลมุ่ รอยเลอ่ื น
แมอ่ งิ กลุ่มรอยเลอ่ื นเมย กลมุ่ รอยเลอื่ นศรสี วสั ด์ิ กลุ่มรอยเล่อื นเจดีย์สามองค์ กลมุ่ รอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน กลุม่ รอยเลอ่ื นแมท่ า
กลุ่มรอยเลอื่ นเถนิ กลมุ่ รอยเลอื่ นพะเยา กลมุ่ รอยเลอื่ นอตุ รดิตถ์ กลุม่ รอยเลือ่ นปวั กลมุ่ รอยเลอ่ื นระนอง กลมุ่ รอยเลือ่ นคลอง
มะรยุ่ กลมุ่ รอยเลอ่ื นแมล่ าว กลุ่มรอยเลอื่ นเพชรบูรณ์ และกลมุ่ รอยเลอื่ นเวยี งแหง โดยกลมุ่ รอยเล่ือนมพี ลงั ดังกลา่ วพาดผา่ นพื้นที่
23 จงั หวัด 124 อาเภอ 421 ตาบล 1,520 หมู่บา้ น ซ่ึงกรมทรพั ยากรธรณีได้ทาการสารวจธรณีวิทยาแผน่ ดนิ ไหวโบราณกาล พบว่า
รอยเลอื่ นมีพลงั ในประเทศไทยเคยกอ่ ให้เกิดแผน่ ดินไหวขึ้นในอดีตไดส้ งู สุดขนาด 7.0 จัดเป็นแผน่ ดินไหวคอ่ นขา้ งใหญ่ (Strong
Earthquake) เพยี งแต่มีรอบการเกดิ ในคาบเวลา 1,000 ปี อย่างไรกต็ าม กรมทรพั ยากรธรณี ยังมคี วามจาเป็นตอ้ งทาการศกึ ษา
วจิ ัยให้ครบทุกส่วนของรอยเลือ่ นตอ่ ไปอกี เพอ่ื นาเสนอข้อมูลส่ปู ระชาชนในพนื้ ทเี่ สย่ี งภัยทอ่ี าจจะได้รับผลกระทบจากแผน่ ดนิ ไหว
ในอนาคต ในรูปหลายรปู แบบ ดังเช่น “สมดุ แผนท่ีรอยเลื่อนมพี ลังในประเทศไทย ฉบบั พ.ศ. 2562” เลม่ นเี้ ป็นตน้ ท่ีจะเนน้
ภาพแผนทีเ่ ปน็ หลัก ซ่งึ ประชาชนสามารถตรวจสอบหมู่บา้ นตนเองได้ว่ามแี นวรอยเลอ่ื นมพี ลังพาดผา่ นหรือไม่ จากแผนที่
รายละเอยี ดใน QR code

อธบิ ดกี รมทรัพยากรธรณี
มีนาคม 2563

4

5

6

7

หม่บู ้านรอยเลื่อนมพี ลังผา่ น

8

หม่บู ้านรอยเลื่อนมพี ลังผา่ น

9

หม่บู ้านรอยเลื่อนมพี ลังผา่ น

10

หม่บู ้านรอยเล่อื นมพี ลงั ผา่ น

11

หม่บู ้านรอยเล่อื นมพี ลงั ผา่ น

12

หม่บู ้านรอยเล่อื นมพี ลงั ผา่ น

13

หม่บู า้ นรอยเล่ือนมพี ลังผา่ น

14

หม่บู ้านรอยเล่อื นมพี ลงั ผา่ น

15

หม่บู ้านรอยเล่อื นมพี ลงั ผา่ น

16

หม่บู ้านรอยเล่อื นมพี ลงั ผา่ น

17

หม่บู ้านรอยเล่อื นมพี ลงั ผา่ น

18

หม่บู า้ นรอยเล่ือนมพี ลังผา่ น

19

หม่บู า้ นรอยเล่ือนมพี ลังผา่ น

20

หม่บู ้านรอยเล่อื นมพี ลงั ผา่ น

21

หม่บู า้ นรอยเล่ือนมพี ลังผา่ น

22

หม่บู า้ นรอยเล่ือนมพี ลังผา่ น

23

24

เกณฑพ์ ิจารณาจัดระดับความมพี ลังของรอยเลื่อนมีพลงั ในประเทศไทย

ระดับสูง
ระดบั ปานกลาง - สงู
ระดับปานกลาง
ระดับตา่

25

26

27

กรมทรพั ยากรธรณีดาเนนิ การสารวจรอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยอย่างเป็นระบบตามมาตรฐานสากลในระดับมหภาคครอบคลุมทั้งประเทศ ระหว่างปี พ. ศ. 2548
– 2563 พบว่า ประเทศไทยมีรอยเล่ือนมีพลังกระจายตัวอยู่ภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ จานวน 16 กลุ่มรอยเล่ือนท่ีพาดผ่านพื้นที่ต่าง ๆ ใน 23 จังหวัด 124 อาเภอ 421
ตาบล 1,520 หมูบ่ ้าน ดงั นี้

1) กลุ่มรอยเล่ือนแม่จัน เป็นรอยเลื่อนที่มีแนวการวางตัวในทิศเกือบทิศตะวันตก-ตะวันออก มีมุมเอียงเทค่อนข้างชันไปทางทิศเหนือ มีความยาวประมาณ 150
กิโลเมตร พาดผ่านตั้งแต่อาเภอฝาง อาเภอแม่อาย จงั หวัดเชียงใหม่ อาเภอแม่จัน อาเภอเชียงแสน อาเภอดอยหลวง และอาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย และตอ่ เนอื่ งไปใน สปป.ลาว
มีแหล่งพุน้าร้อนปรากฏตามแนวรอยเล่อื น 3 แห่ง ทยี่ งั คงมกี ารไหลขน้ึ มาและใชเ้ ปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วอยใู่ นปจั จบุ นั คอื แหลง่ พนุ ้ารอ้ นแมจ่ นั บา้ นหว้ ยยาโน ตาบลปา่ ตงึ อาเภอแมจ่ นั จงั หวดั
เชยี งราย รอยเลอ่ื นนต้ี ดั ผา่ นหนิ แกรนติ เนอ้ื ดอก สว่ นลกั ษณะหรอื พฤติกรรมการเลอื่ นตวั ของรอยเลือ่ นแม่จันนนั้ พบวา่ ในปจั จบุ ันมีการเล่ือนตัวตามแนวระนาบเหล่ือมซ้ายเป็นหลัก ตาม
หลกั ฐานของธรณสี ัณฐานที่ปรากฏ คือ ธารเหลื่อม ที่ปรากฏระยะเหล่ือมของลาห้วยสาขาย่อยของน้าแม่จัน เป็นระยะทางมากกว่า 600 เมตร นอกจากนยี้ งั พบลกั ษณะของการเลอื่ นตวั
ออกจากกนั ของสนั เขาทเี่ รยี กวา่ สนั เขาเหลอื่ ม (offset ridge) ธารหวั ขาด ผารอยเลือ่ น สันก้ัน และผาสามเหลี่ยม ลักษณะเหล่าน้ีปรากฏอย่างชัดเจนมากในพื้นท่ี ซ่ึงแสดงถึงความสดใหม่
ของธรณีสณั ฐาน อันบ่งชีว้ า่ เกดิ ข้ึนมาไมน่ านตามธรณกี าล เพราะถา้ ระยะเวลาผ่านไปยาวนาน การผุพังสึกกร่อนของหินกลายเป็นดินจะปิดทับลบร่องรอยหลักฐานต่างๆ จนหมด จาก
การตรวจสอบพบวา่ รอยเลอื่ นได้ตดั ผ่านเข้าไปในตะกอนดินทีเ่ ปน็ ทุ่งนาปจั จุบนั ซึ่งประเมินการเลอ่ื นตวั ของรอยเลอ่ื นแมจ่ นั ได้ว่าเคยทาให้เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.9 (Mw) เมอ่ื 1,500 ปี
ลว่ งมาแล้วในพ้ืนท่ีบ้านโป่งป่าแขม ตาบลป่าตึง อาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย (ข้อมูลปี พ.ศ. 2552) ข้อมูลศูนย์เกิดแผ่นดินไหวจากเคร่ืองมือตรว จวัดแผ่นดินไหวในกลุ่มรอยเลื่อนน้ี
พบว่า ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2530 เป็นตน้ มา เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 – 4.0 จานวน 10 ครั้ง และมีขนาด 4.0 - 4.5 จานวน 3 คร้ัง นอกจากนี้ยังมีแผ่นดินไหวที่มีศูนย์เกิดนอกประเทศ แต่
ส่งผลกระทบในจงั หวัดภาคเหนือตอนบน และรบั ร้ไู ด้ถึงแรงส่ันสะเทือนในอาคารสงู ของกรุงเทพมหานคร คือเม่ือวันที่ 16 พฤษภาคม 2550 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 มีสาเหตุมาจาก
การเลอ่ื นตวั ของรอยเล่ือนแม่จนั ในสว่ นของพ้ืนท่ี สปป.ลาว สง่ ผลกระทบใหผ้ นงั อาคารหลายหลังในจังหวัดเชียงรายไดร้ บั ความเสียหาย และที่มีความเสียหายมากคือ ท่ีเสาอาคารเรียน
โรงเรียนเม็งรายมหาราชวิทยาคม อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย สาหรับบริเวณบ้านเวียงหนองหล่ม (เช่ือว่าเป็นเมืองโยนกนครในอดีต ) ท่ีตั้งอยู่ด้านทิศตะวันตกเยียงใต้ของ
อาเภอเชยี งแสน จงั หวดั เชียงราย ซึ่งคน้ พบซากอิฐโบราณของฐานเจดีย์จานวนมาก จมอยู่ในหนองน้าขนาดใหญ่ และจะโผล่ข้ึนมาให้เห็นในฤดูแล้ง ซ่ึงลักษณะของหนองน้านี้เกิดจาก
การยุบตัวอนั เนอื่ งจากการเลอ่ื นตวั สมั พนั ธก์ นั อยา่ งมนี ยั ของสองรอยเลอ่ื นหรอื บรเิ วณสว่ นโคง้ ของรอยเลอ่ื น อายขุ องกอ้ นอฐิ โบราณเหลา่ นวี้ ดั อายไุ ดป้ ระมาณ 1,000 ปี ทาให้อนุมานได้ว่ามี
แผน่ ดนิ ไหวขนาดใหญไ่ ดเ้ กดิ ขึน้ บรเิ วณนี้ไม่เกนิ หน่งึ พันปีล่วงมาแล้ว

2) กลุ่มรอยเลื่อนแม่อิง มีแนวการวางตัวอยู่ในทิศตะวันออกเยียงเหนือ-ตะวันตกเยียงใต้ เร่ิมต้ังแต่อาเภอเทิง อาเภอขุนตาล อาเภอเชียงของ อาเภอเวียงแก่น
ของจงั หวัดเชียงราย ยาวต่อเน่ืองเขา้ ไปใน สปป. ลาว มคี วามยาวประมาณ 70 กโิ ลเมตร รอยเลอื่ นน้ีตัดผ่านเชิงเขาของหินภูเขาไฟชนิดหนิ ไรโอไรต์ หินแอนดิไซต์ และหินทัฟฟ์ รวมท้ัง
ตะกอนตะพักลาน้า ลักษณะธรณีสณั ฐานของรอยเลื่อนกลมุ่ น้ที ีบ่ ่งบอกถงึ ความมพี ลังนนั้ ประกอบด้วย ธารเหลื่อม ตะพักข้ันบันได และผาสามเหลี่ยม ในส่วนย่อยของรอยเล่ือนน้ีท่ียาว
เข้าไปใน สปป.ลาว แสดงรูปแบบการเลื่อนตัวตามแนวระนาบเหลื่อมซ้ายจากหลักฐานของการหักงอของลาแม่น้าโขงหรือธารเหล่ือมเป็นระยะทางประม าณ 5 กิโลเมตร บริเวณใกล้
บ้านห้วยลึก อาเภอเวียงแกน่ จงั หวัดเชียงราย ซึง่ เป็นการเล่ือนตวั ของรอยเลือ่ นส่วนนมี้ าแล้วหลายครง้ั จากการตรวจข้อมลู ยอ้ นหลงั ไปในอดีตจากร่องสารวจพบว่าเคยเกิดแผ่นดินไหว
บรเิ วณพืน้ ทบ่ี ้านปางค่า ตาบลตบั เตา่ อาเภอเทิง จงั หวดั เชียงราย เมื่อประมาณ 2,000 ปีท่ีแล้ว ด้วยขนาด 6.7 มาแล้ว (ข้อมูลปี พ.ศ. 2552) ข้อมูลศูนย์เกิดแผ่นดินไหวจากเครื่องมือ
ตรวจวดั แผน่ ดินไหวในกลมุ่ รอยเลื่อนน้ีพบว่า ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 เปน็ ต้นมา เคยเกดิ แผน่ ดนิ ไหวขนาด 3.0 - 4.1 จานวน 5 ครงั้ โดยเยพาะแผ่นดินไหวขนาด 4.1 เม่ือวันท่ี 25 มีนาคม
2554 ประชาชนในหลายอาเภอรสู้ กึ ได้ถงึ แรงสัน่ สะเทอื นพื้นดิน

3) กลุ่มรอยเล่ือนแม่ฮ่องสอน มีแนวการวางตัวในทิศเหนือ-ใต้ เร่ิมตั้งแต่อาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน ผ่านอาเภอขุนยวม อาเภอแม่ลาน้อย และอาเภอแมส่ ะเรยี ง ของ
จังหวัดแม่ฮ่องสอน ตอ่ เนอ่ื งลงมาถงึ บริเวณทิศเหนือของอาเภอท่าสองยาง ของจังหวัดตาก มีความยาวประมาณ 200 กิโลเมตรที่ไม่ต่อเนื่องกันเป็นเส้นเดียวกัยมีการแบ่งเป็นส่วน ๆ
หลายท่อน ในพ้นื ท่จี ังหวัดแมฮ่ ่องสอน รอยเล่อื นกล่มุ นี้พาดผ่านหินตะกอนเป็นส่วนใหญ่ประกอบด้วย หินดินดาน หินทราย หินปูน และตะกอนชนิดกรวด ทราย จากการศึกษาพบว่า
รอยเลือ่ นแมฮ่ อ่ งสอนมกี ารเลือ่ นตัวในแนวดง่ิ แบบรอยเล่ือนปกติ จากหลักฐานธรณีสัณฐานที่ปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน ซ่ึงพบว่ามีลักษณะของตะพักรอยเล่ือน สองข้างลาน้าในแอ่งแม่
สะเรยี งจานวน 4 ระดบั อยา่ งชัดเจนโดยเยพาะพนื้ ทดี่ ้านทิศตะวันออกเยยี งใต้ของอาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน นอกจากนี้ยังพบธรณีสัณฐานของผาสามเหลี่ยมที่เรียงซ้อนกันหลายระดับไม่
น้อยกวา่ 4 ชน้ั ทง้ั นเ้ี ปน็ ผลจากการเลือ่ นตัวหลายคร้ังของรอยเลอื่ นน้ีในอดตี ธรณสี ัณฐานอกี ลักษณะหน่งึ ท่ีปรากฏเด่นชัดมากในพ้ืนที่อาเภอแม่สะเรียงเป็นลักษณะทางน้าแบบหุบเขา
รูปแก้วไวน์ ซึง่ แสดงถงึ ว่าพื้นทน่ี มี้ กี ารยกตัวอย่างต่อเนื่องจากอดตี ถึงปจั จบุ ัน ซ่ึงส่งผลให้ทางน้ากัดเซาะลึกลงด้านล่างมากกว่าการกัดเซาะด้านข้าง (ข้อมูลปี พ.ศ. 2549) ในพ้ืนท่ีของ
รอยเลอื่ นแม่ฮ่องสอนมีแผ่นดินไหวขนาดเล็กและขนาดปานกลางเกิดขึ้นบ่อยหลายคร้ัง ที่สาคัญเป็นเหตุการณ์เมื่อวันท่ี 1 มีนาคม 2532 เกิ ดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 มีศูนย์เกิดในตอน
เหนือของรอยเล่อื นในพนื้ ทข่ี องสหภาพเมียนมา ประชาชนร้สู กึ ได้ในหลายจงั หวัดภาคเหนือของประเทศไทย

4) กลุม่ รอยเลอื่ นแม่ทา เปน็ กลุม่ รอยเล่อื นทมี่ ีหลายส่วนรอยเลอ่ื นแยกเปน็ เขตๆ เม่อื ดูภาพรวมแลว้ คล้ายอักษรตวั เอส ซ่ึงแตล่ ะเขตรอยเลื่อนมีลักษณะการเลื่อนตัวท่ี
แตกต่างกัน เรม่ิ จากการวางตัวในทศิ เหนือ-ใต้ในพ้ืนที่อาเภอพร้าว ผ่านลงมาในเขตอาเภอดอยสะเก็ด ของจังหวัดเชียงใหม่ มีการเล่ือนตัวแบบรอยเลื่อนปกติ แล้วบิดไปทิศตะวันออก
เยียงใต้ในพืน้ ท่ีอาเภอสันกาแพง มกี ารเลือ่ นตวั แบบรอยเลอ่ื นตามแนวระนาบเหลอ่ื มขวา แลว้ วกมาทางทศิ ตะวันตกเยียงใต้ขนานตามลาน้าแม่ทา ในพื้นที่อาเภอแม่ทา จังหวัดลาพูน มี
การเลื่อนตัวแบบรอยเล่ือนตามแนวระนาบเหลื่อมซ้าย มีความยาวรวมท้ังหมดประมาณ 100 กิโลเมตร รอยเล่ือนน้ีตัดผ่านชั้นหินทรายชั้นหนาเน้ื อแน่น หินดินดาน และหินแกรนิต
รอยเลื่อนน้ีปรากฏมีพุน้าร้อนหลายแห่ง เช่น พุน้าร้อนสันกาแพง ซ่ึงมีความสัมพันธ์กับการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กบ่อยครั้ง ส่วนเหนือ ของรอยเลื่อนในเขตอาเภอพร้าว ยังคงมี
แผน่ ดินไหวขนาดเลก็ -ขนาดปานกลางเกิดขนึ้ เป็นประจา ลักษณะธรณีสัณฐานของรอยเล่ือนกลุ่มนี้ คือ ผาสามเหลี่ยม ตะพักรอยเล่ือน และธารเหลื่อม ปรากฏอย่างชัดเจนตลอดแนว
จากการตรวจข้อมูลย้อนหลังไปในอดีตจากร่องสารวจพบว่าเคยเกิดแผ่นดินไหวบริเวณพื้นที่บ้านทาปลาดุก ตาบลทาปลาดุก อาเภอแม่ทา จังหวัดลา พูน เม่ือประมาณ 2,000 ปี ด้วย
ขนาด 6.8 มาแล้ว (ข้อมูลปี พ.ศ. 2551) เหตุการณ์แผ่นดินไหวคร้ังสาคัญเกิดขึ้นเมื่อวันท่ี 13 ธันวาคม 2549 มีศูนย์เกิดที่อาเภอแม่ริ ม จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยขนาดแผ่นดินไหว 5.1
แรงส่ันสะเทือนทาให้บ้านเรือนมีผนังร้าวในหลายอาเภอของจังหวัดเชียงใหม่ หากย้อนหลังไปก่อนหน้านี้เม่ือวันท่ี 21 ธันวาคม 2538 พบว่ าเกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 มีศูนย์เกิดที่
อาเภอพรา้ ว ประชาชนรสู้ ึกได้ท่วั จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลาพนู ลาปาง พะเยา และแม่ฮ่องสอน และเม่ือวันที่ 18 ตุลาคม 2562 มีศูนย์เกิดที่อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
ด้วยขนาดแผ่นดนิ ไหว 4.1 ประชาชนรู้สกึ ได้ทัว่ จงั หวัดเชียงใหม่ ไม่มรี ายงานความเสียหาย

5) กลมุ่ รอยเลอื่ นเถิน มที ิศทางการวางตวั ในแนวตะวนั ออกเยียงเหนือ-ตะวันตกเยียงใต้ ตัดผ่านเชิงเขาบริเวณรอยต่อระหว่างแอ่งแพร่ และแอ่งลาปาง คือรอยเลื่อน
พาดผ่านต้ังแต่อาเภอเมืองแพร่ ลงมาสู่พ้ืนที่อาเภอสูงเม่น อาเภอลอง และอาเภอวังช้ิน ของจังหวัดแพร่ แล้วยาวต่อเนื่องลงมาในพื้นท่ี อาเภอแม่ทะ อาเภอสบปราบ และอาเภอเถิน
ของจังหวดั ลาปาง มีความยาวรวมทงั้ หมดประมาณ 180 กิโลเมตร รอยเลื่อนนี้ประกอบด้วย 12 ส่วนคือ ส่วนรอยเล่ือนเถิน ส่วนรอยเล่ือนแพร่ตะวันตก ส่วนรอยเล่ือนแพร่ตะวันออก
ไฟ สว่ นรอยเล่อื นลอง ส่วนรอยเล่อื นดอนโตน ส่วนรอยเลื่อนแม่เมาะ ส่วนรอยเล่ือนแม่จาง ส่วนรอยเล่ือนดอยต้นงุ้น ส่วนรอยเลื่อนสบปราบ ส่วนรอยเลื่อนวังช้ิน และส่วนรอยเลื่อน
แมจ่ อง กลุ่มรอยเล่อื นนี้แสดงลักษณะธรณีวิทยาโครงสร้างและธรณสี ัณฐานที่แสดงถึงการเลือ่ นตัวครั้งใหม่ๆ เป็นจานวนมาก ก่อให้เกิดหน้าผาชันหลายแห่ง การเลื่อนตัวครั้งใหม่ๆ อยู่
บริเวณขอบแอง่ ตะกอนดา้ นลา่ งใกล้ท่ีราบลุม่ จากภาพดาวเทียมเหน็ ลักษณะหน้าผาสามเหล่ียมที่เรียงรายหลายอันต่อเน่ืองกันเป็นแนวยาวที่ชัดเจนมากอยู่ท่ีบริเวณด้านทิศตะวันออก
ของอาเภอสบปราบ และการเลอื่ นตวั ตามแนวระนาบกพ็ บหลกั ฐานชดั เจนจากการหกั งอของทางน้าหลายสาขาไปในทศิ ทางเดยี วกนั ดงั เชน่ พนื้ ทบ่ี า้ นมาย อาเภอแมท่ ะ จงั หวดั ลาปาง ทาง
น้าที่ตดั ผ่านรอยเลอื่ นบรเิ วณนีถ้ กู ตัดในลักษณะเหลื่อมซา้ ย โดยมีระยะของการเล่อื นตัวประมาณ 500 เมตร จากการตรวจข้อมลู ในอดตี จากร่องสารวจพบว่าเคยเกิดแผ่นดินไหวบริเวณ
พื้นทบ่ี ้านปางงนุ้ ตาบลแมส่ รอย อาเภอวงั ชน้ิ จังหวัดแพร่ เมื่อประมาณ 2,000 ปีที่แล้ว ด้วยขนาด 6.6 มาแล้ว (ข้อมูลปี พ.ศ. 2551) หากนับย้อนหลังไปในช่วง 20 ปีท่ีผ่านมาพบว่า
เกิดแผน่ ดินไหวในพน้ื ทีข่ องกลุ่มรอยเล่อื นเถนิ ดว้ ยขนาด 3.0 – 5.0 จานวนมากกวา่ 20 คร้งั ซ่งึ ถือว่าเปน็ พ้ืนทีท่ ่ีเกิดแผน่ ดนิ ไหวคอ่ นขา้ งบอ่ ยมาก

28

6) กล่มุ รอยเลื่อนปัว มีทิศทางการวางตัวในแนวทิศเหนือ-ใต้ มีมุมเอียงเทไปทางทิศตะวันตก จัดเป็นรอยเล่ือนปกติ เป็นรอยเล่ือนท่ีมีการวางตัวเป็นแนวยาวรายรอบ
ด้านทิศตะวนั ออกของแอง่ ปวั เป็นสว่ นใหญ่ เริ่มต้ังแต่บริเวณรอยต่อของประเทศไทย-สปป.ลาว เรื่อยลงมาในพื้นท่ีของอาเภอทุ่งช้าง อาเภอเชียงกลาง อาเภอปัว และต่อเน่ืองถึงอาเภอ
สันติสุข ของจังหวัดน่าน มีความยาวรวมทั้งหมดประมาณ 110 กิโลเมตร รอยเล่ือนนี้ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ ส่วนรอยเลื่อนทุ่งช้าง ส่วนรอย เลื่อนปัว และส่วนรอยเล่ือนสันติสุข โดย
ตอนเหนอื บริเวณส่วนรอยเล่ือนทุ่งช้างเป็นแนวค่อนข้างตรง ตอนกลางบริเวณส่วนรอยเล่ือนปัว โค้งเว้าไปทิศตะวันตกเยียงใต้ ส่วนบริเวณส่ วนรอยเลื่อนสันติสุขมีลักษณะเป็นแนวตรง
จากภาพดาวเทยี มและภาพถา่ ยทางอากาศบรเิ วณทศิ ใตข้ องอาเภอทงุ่ ชา้ ง พบเนินตะกอนน้าพารูปพัดถูกตัดโดยรอยเลื่อนอย่างชัดเจนมาก มลี กั ษณะธรณสี ณั ฐานของผารอยเลอื่ นทหี่ นั หนา้
ไปทศิ ตะวนั ตก ความสงู และความคมชัดคอ่ ยๆ ลดลงจากพื้นที่ตอนเหนือไปยงั ตอนใต้ พรอ้ มท้ังมีลักษณะผาสามเหล่ียม และหุบเขารูปแก้วไวน์ ส่วนรอยเลื่อนทุ่งช้างแสดงผารอยเล่ือน 2
ระดับ โดยมีความสูงต้ังแต่ 6 - 10 เมตร สาหรับส่วนรอยเล่ือนสันติสุข พบว่าช้ันดินตะกอนยุคปัจจุบันซึ่งเกิดในลาดับชุดชั้นกรวดตะกอนน้าพา และช้ันดินเหนียว ถูกรอยเล่ือนตัดผ่าน
จากการตรวจขอ้ มลู ในอดตี จากรอ่ งสารวจพบวา่ เคยเกิดแผน่ ดนิ ไหวบรเิ วณพืน้ ทบี่ า้ นหัวน้า ตาบลศลิ าแลง อาเภอปัว จังหวดั นา่ น เมอื่ ประมาณ 2,000 ปี ด้วยขนาด 6.7 มาแล้ว (ข้อมูลปี
พ.ศ. 2554) หากสบื ค้นข้อมูลศูนยเ์ กดิ แผน่ ดนิ ไหวพบว่าเมื่อวนั ท่ี 13 พฤษภาคม 2478 ได้เกิดแผน่ ดินไหวขนาด 6.5 ในบริเวณรอยต่อของประเทศไทย-สปป.ลาว ซ่ึงเช่ือว่าเป็นอิทธิพล
ของการเล่ือนตัวของรอยเลือ่ นปัว

7) กลุ่มรอยเล่ือนอุตรดิตถ์ มีแนวการวางตัวในทิศตะวันออกเยียงเหนือ-ตะวันตกเยียงใต้ มีมุมเอียงเทไปทิศตะวันตกเยียงเหนือ มีความยาวประมาณ 130 กิโลเมตร
รอยเลื่อนนี้ประกอบด้วย 6 ส่วนคือ ส่วนรอยเล่ือนอุตรดิตถ์ ส่วนรอยเล่ือนน้าปาด ส่วนรอยเลื่อนฟากท่า ส่วนรอยเลื่อนทองแสนขัน ส่วนร อยเล่ือนน้าน่าน และส่วนรอยเลื่อนท่าปลา
รอยเล่อื นน้เี ริ่มปรากฏใหเ้ หน็ ชัดเจนต้งั แตอ่ าเภอฟากท่า ยาวลงมาในพ้ืนที่อาเภอน้าปาด อาเภอทองแสนขัน ของจังหวัดอุตรดิตถ์ และต่อเน่ืองถึงอาเภอพิชัย ของจังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่ม
รอยเล่ือนนอ้ี ยู่ในพ้ืนท่ีแคบ ๆ เป็นแนวยาว โดยมีความกว้างของเขตรอยเล่ือนไม่เกิน 4 กิโลเมตร ซึ่งพาดผ่านเข้าไปในแอ่งตะกอนที่ถูกปิ ดทับด้วยชั้นหนาของตะกอนน้าพา ท่ีเป็นพ้ืนท่ี
แปลงนาข้าวในปจั จุบนั น่ันเอง รอยเลื่อนอุตรดติ ถม์ ีอิทธพิ ลตอ่ สภาพภูมิประเทศของพื้นท่ีน้ีเป็นอย่างมาก อาทิเช่น พ้ืนท่ีอาเภอฟากท่า มีลักษณะเป็นผารอยเล่ือนท่ีเป็นแนวตรงหันหน้า
ไปทางทิศตะวันตกเยียงเหนือ พร้อมท้ังมีผาสามเหลี่ยมที่บริเวณบ้านฟากนา ตาบลฟากท่า อาเภอฟากท่า จังหวัดอุตรดิตถ์ ปรากฏหลักฐานของผา รอยเล่ือนท่ีชันเจนมาก และบริเวณ
ปากหว้ ยไพร มีเนนิ ตะกอนน้าพารูปพัดถูกรอยเล่ือนตดั เลอ่ื นออกจากกันแบบเหลอ่ื มซ้าย สว่ นพ้นื ทีบ่ ้านปางหมิน่ ตาบลบอ่ ทอง อาเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่าส่วนรอยเลื่อน
นี้ยาวต่อเนื่องประมาณ 1.5 กิโลเมตร ปรากฏอยู่ ณ บริเวณรอยต่อของช้ันตะพักเชิงเขากับพื้นที่ราบลุ่มที่มีระดับของพ้ืนท่ีแตกต่างกัน ในลักษณะผารอยเลื่อนสูง 2 เมตร นอกจากน้ียัง
พบวา่ มีธรณีสัณฐานของธารเหลอ่ื มซา้ ยของลาห้วยสาขาของหว้ ยนา้ ลอกเป็นระยะทาง 2 เมตร รอยเลื่อนอุตรดิตถ์มีลักษณะการเล่ือนในแนวด่ิงแบบรอยเล่ือนย้อนและเลื่อนตัวตามแนว
ระนาบแบบเหลื่อมซ้าย จากการตรวจข้อมูลในอดตี จากร่องสารวจพบว่าเคยเกิดแผ่นดินไหวบริเวณพ้ืนที่บ้านโพนดู่ ตาบลสองคอน อาเภอฟากท่า จังหวัดอุตรดิตถ์ เม่ือประมาณ 3,000
ปี ด้วยขนาด 6.3 และพื้นท่ีบ้านหนองแฮ้ว ตาบลเด่นเหล็ก อาเภอน้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ เม่ือประมาณ 4,000 ปี ด้วยแผ่นดินไหวขนาด 7.1 (ข้อมูลปี พ.ศ. 2554) เมื่อสืบค้นข้อมูล
พบว่าเม่อื วันที่ 25 มถิ นุ ายน 2541 ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 ซ่ึงเป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็ก มีศูนย์เกิดบริเวณอาเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ ประชาชนรู้สึกได้ในหลายอาเภอรวมท้ัง
อาเภอเมืองอุตรดิตถ์

8) กลุ่มรอยเล่ือนพะเยา เป็นรอยเล่ือนท่ีมีการวางตัวในแนวเกือบทิศเหนือ-ใต้ ค่อนมาทางทิศตะวันตกเยียงเหนือ ซ่ึงปรากฏอยู่บริเวณด้านทิศตะวันตกของขอบแอ่ง
พะเยาบริเวณเขตรอยต่อระหว่างอาเภอพาน ของจังหวัดเชียงราย อาเภอเมืองพะเยา ของจังหวัดพะเยา และอาเภอวังเหนือ ของจังหวัดลาปาง รอยเลื่ อนนี้มีความยาวประมาณ 120
กิโลเมตร รอยเลอ่ื นนี้ประกอบด้วย 7 ส่วนคือ ส่วนรอยเลื่อนพะเยาส่วนรอยเล่ือนพาน ส่วนรอยเล่ือนแม่ใจ ส่วนรอยเลื่อนแจ้ห่ม ส่วนรอยเล่ือนเมืองปาน ส่วนรอยเลื่อนแจ้ซ้อน และ
ส่วนรอยเลอ่ื นเวียงปา่ เป้า แสดงลักษณะของผารอยเล่ือนหลายแนวและตอ่ เน่อื งเป็นแนวตรง หันหน้าไปทิศตะวันออก บริเวณอาเภอวังเหนือมีผารอยเล่ือนที่สูง 200 เมตร ทางน้าสาขา
ต่าง ๆ ทีต่ ดั ผา่ นผารอยเลอ่ื นน้ี แสดงรอ่ งรอยกดั เซาะลงแนวดิ่งลึกมากจนถึงช้ันหินดาน ซง่ึ แสดงว่ารอยเลอ่ื นยงั คงมีพลังไมห่ ยุดน่ิงจวนจนปัจจุบัน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2552) ซ่ึงสอดคล้องกับ
กรณที ีเ่ กิดเหตกุ ารณ์แผ่นดินไหวขนาด 5.2 เม่ือวันท่ี 11 กันยายน 2537 มีจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ในเขตอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย ทาให้เกิดความเสียหายอย่างมาก
กับโรงพยาบาลอาเภอพาน จนต้องทบุ ทง้ิ สรา้ งใหม่ รวมทัง้ ส่งผลกระทบกับวัด และโรงเรียนตา่ ง ๆ ใน อาเภอพาน นอกจากนย้ี งั มแี ผน่ ดนิ ไหวเกิดข้ึนอีกหลายครั้งในป พ.ศ. 2538
และ 2539 ในพนื้ ทีจ่ ังหวัดพะเยา และจังหวัดเชียงราย

9) กลุ่มรอยเลื่อนแม่ลาว เป็นรอยเล่ือนที่มีการวางตัวในแนวทิศตะวันออกเยียงเหนือ-ตะวันตกเยียงใต้ ท่ีพาดผ่านอาเภอแม่สรวย อาเภอแม่ลาว และอาเภอเมือง
เชยี งราย ของจังหวัดเชยี งราย รอยเลอ่ื นน้ีมคี วามยาวประมาณ 80 กโิ ลเมตร รอยเล่อื นน้ีประกอบดว้ ย 2 ส่วนคือ สว่ นรอยเล่ือนแมล่ าว และส่วนรอยเล่ือนแม่กรณ์ (ข้อมูลปี พ.ศ. 2552)
โดยลา่ สุดผลจากการเลื่อนตัวของรอยเล่ือนแม่ลาวทาให้เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทยในรอบกว่า 50 ป คือเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.3 เม่ือวันท่ี 5
พฤษภาคม 2557 มีจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ในเขตตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ทาให้เกิดความเสียหายอย่างมากต่อบ้าน เรือนและทรัพย์สินของ
ประชาชน โรงเรียน วัด และโรงพยาบาล ในอาเภอแม่ลาว อาเภอแม่สรวย และอาเภอพาน สามารถรับรู้แรงสั่นสะเทือนถึงตึกสูงในกรุงเทพมหานคร โดยตรวจวัดแผ่นดินไหวตาม
ได้มากกว่าร้อยครั้ง และนอกจากน้ีในบริเวณน้ีเคยเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กถึงขนาดปานกลาง บ่อยคร้ังมากในรอบ 10 ปีท่ีผ่านมา รวมทั้งในปี พ.ศ. 2558 – 2559 ก็เกิดแผ่นดินไหว
ขนาดเลก็ ตรวจวัดศนู ยเ์ กดิ ไดห้ ลายครงั้ ในพื้นท่อี าเภอแมล่ าว และอาเภอแมส่ รวย จังหวดั เชียงราย

10) กลุ่มรอยเลอื่ นเมย รอยเล่ือนน้ีอยู่แนวเดยี วกันกบั รอยเลื่อนปานหลวงแต่ไมไ่ ด้ตอ่ เนอ่ื งกนั รวมทัง้ ไม่ไดต้ ่อเนื่องกบั รอยเล่ือนสะกาย ในเขตสหภาพเมยี นมาร์ รอย
เลอื่ นเมยเรมิ่ ต้นปรากฏในเขตพื้นทขี่ องสหภาพเมยี นมายาวต่อเนื่องเขา้ เขตประเทศไทยบริเวณลาน้าเมย ทบ่ี ้านทา่ สองยาง ตาบลท่าสองยาง อาเภอทา่ สองยาง จังหวัดตาก ตามแนวทศิ
ตะวนั ตกเยยี งเหนือ-ตะวันออกเยยี งใต้ พาดผ่านอาเภอแมร่ ะมาด อาเภอแมส่ อด อาเภอพบพระ อาเภอเมืองตาก อาเภอวังเจ้า ของจังหวดั ตาก อาเภอโกสัมพนี คร และอาเภอคลองลาน
ของจงั หวัดกาแพงเพชร มคี วามยาวรวมประมาณ 260 กโิ ลเมตร โดยตดั ผ่านช้นั หนิ แปรชนดิ หนิ ไนส์ หินปนู หินทรายสลับหินดินดาน และหินแกรนิต ธรณสี ณั ฐานทส่ี าคญั ทพี่ บคอื ธาร
เหลอ่ื ม สนั ก้ัน หุบเขาเส้นตรง และผารอยเล่ือน หลกั ฐานของธารเหล่ือมปรากฏชัดเจนทบ่ี ริเวณดา้ นทิศตะวนั ออกเยียงใตข้ องบ้านท่าสองยาง ตาบลท่าสองยาง ของอาเภอท่าสองยาง
จังหวดั ตาก ลาหว้ ยขนาดเลก็ ถกู ตัดใหห้ ักเหล่ือมเปน็ ระยะทาง 500 เมตร และบง่ บอกวา่ เปน็ รอยเล่ือนตามแนวระนาบเหล่อื มขวา (ข้อมลู ปี พ.ศ. 2549) การเล่อื นตัวของรอยเล่ือนเมย
ก่อใหเ้ กิดแผ่นดินไหวคร้งั สาคัญในประเทศไทย เมื่อวนั ท่ี 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2518 ได้เกิดแผน่ ดนิ ไหวขนาด 5.6 มศี ูนยเ์ กิดท่บี า้ นทา่ สองยาง ตาบลท่าสองยาง อาเภอท่าสองยาง จงั หวดั ตาก
ประชาชนรู้สกึ ไดห้ ลายหลายจงั หวัดในภาคเหนือ รวมทัง้ กรุงเทพมหานคร

11) กลุ่มรอยเลื่อนศรีสวัสด์ิ เป็นรอยเล่ือนท่ีพาดผ่านด้านทิศตะวันตกของประเทศไทย วางตัวในทิศตะวันตกเยียงเหนือ-ตะวันออกเยียงใต้ เริ่มต้นพาดผ่านพ้ืนที่ของ
สหภาพเมียนมาต่อเน่ืองเข้าเขตประเทศไทยในพ้ืนท่ีของอาเภออุ้มผาง ของจังหวัดตาก อาเภอทองผาภูมิ ของจังหวัดกาญจนบุรี พาดผ่านอุทยานแ ห่งชาติห้วยขาแข้ง อาเภอบ้านไร่
จังหวัดอุทัยธานี ต่อเนื่องมา อาเภอศรีสวัสดิ์ อาเภอหนองปรือ และอาเภอบ่อพลอย ของจังหวัดกาญจนบุรี และอาเภอด่านช้าง ของจังหวัดสุพ รรณบุรี รอยเลื่อนนี้วางตัวขนานกับลา
แม่น้าแควใหญ่ มีความยาวรวมประมาณ 220 กโิ ลเมตร รอยเล่ือนนต้ี ัดผา่ นชั้นหินดนิ ดาน หนิ ทราย และหินปนู เปน็ ส่วนใหญ่ ลกั ษณะธรณีสัณฐานท่ีแสดงถึงความมีพลัง เช่น ธารเหลื่อม
ธารหัวขาด หุบเขาเส้นตรง และผาสามเหลี่ยม บริเวณบ้านแก่งแคบ ตาบลท่ากระดาน อาเภอศรีสวัสด์ิ จังหวัดกาญจนบุรี พบว่าแนวรอยเลื่อนรอย เลื่อนส่วนย่อยท่ีมีความยาว 15
กิโลเมตร ที่แสดงธรณีสัณฐานของผาสามเหล่ียมจานวน 20 แห่ง และมีลักษณะของธารเหลื่อมของลาห้วยตะเคียน ห้วยฝาง และห้วยสะด่อง ในแบบหั กเหลื่อมขวาเป็นระยะทาง 100
เมตร 50 เมตร และ 250 เมตร ตามลาดบั จากการศกึ ษาประวัติการเลอื่ นตวั ในโบราณกาลของรอยเล่อื นศรีสวัสด์จิ ากรอ่ งสารวจพบวา่ เคยเกิดแผ่นดินไหวบริเวณบ้านแก่งแคบ ตาบลท่า
กระดาน อาเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี เม่ือประมาณ 1,000 ปี ด้วยขนาด 6.4 มาแล้ว (ข้อมูลปี พ.ศ. 2550) ท้ังนี้จากการตรวจวัดด้ว ยเครื่องมือวัดแผ่นดินไหวพบว่าเมื่อวันท่ี 22
เมษายน 2526 ไดเ้ กิดแผน่ ดนิ ไหวมศี นู ย์เกิดอยบู่ ริเวณอ่างเก็บน้าเขื่อนศรีนครินทร์ ใกล้ลาห้วยแม่พลู เกิดขึ้นตามแนวรอยเล่ือนศรีสวัสดิ์ ด้วยขนาด 5.9 สามารถรับรู้แรงสั่นสะเทือนได้
ถึงกรงุ เทพมหานคร และมแี ผน่ ดินไหวตามเกิดขึน้ อกี มากกว่าร้อยคร้งั

29

12) กลุ่มรอยเลอ่ื นเจดีย์สามองค์ เปน็ รอยเลอื่ นท่ีอยู่ดา้ นทศิ ตะวันตกของประเทศไทยท่มี คี วามสาคัญมากต่อประชาชนในกรุงเทพมหานคร เป็นรอยเลื่อนท่ีเร่ิมปรากฏ
ข้ึนในเขตสหภาพเมียนมาเข้าสู่ตะเข็บชายแดนประเทศไทยบริเวณด่านเจดีย์สามองค์ อาเภอสังขละบุรี พาดผ่านอาเภอทองผาภูมิ อาเภอศรีสวัสด์ิ อาเภอเมืองกาญจนบุรี และส้ินสุด
บริเวณอาเภอด่านมะขามเต้ีย จังหวัดกาญจนบุรี โดยวางตัวขนานกับลาแม่น้าแควน้อย มคี วามยาวรวมประมาณ 200 กโิ ลเมตร รอยเลื่อนตดั ผา่ นชน้ั หินปูน หินทราย และหินดินดาน
หลักฐานทางธรณีสัณฐานซ่ึงแสดงถึงได้รับอิทธิพลจากกระบวนการแปรสัณฐานยุคใหม่ หรือบ่งบอกยังคงความมีพลังอยู่ในปัจจุบัน เช่น ธารเหล่ื อม ผารอยเล่ือน ธารหัวขาด สันก้ัน
หนองหลม่ พนุ า้ รอ้ น และผาสามเหล่ยี ม ซ่ึงบ่งชว้ี า่ รอยเลอ่ื นน้เี ล่อื นตวั ตามแนวระนาบเหล่อื มขวาและตามแนวดง่ิ แบบรอยเลือ่ นย้อน จากการศกึ ษาประวัตกิ ารเลือ่ นตัวในโบราณกาลของ
รอยเล่อื นเจดยี ส์ ามองคจ์ ากรอ่ งสารวจบรเิ วณบ้านทิพุเย ตาบลชะแล อาเภอทองผาภมู ิ จงั หวัดกาญจนบรุ ี พบวา่ เคยเกิดแผ่นดินไหวในอดีตมาแล้วด้วยขนาด 6.4 เม่ือประมาณ 2,000 ปี
มาแล้ว (ข้อมูลปี พ.ศ. 2550)

13) กลุ่มรอยเล่ือนระนอง วางตัวในทิศตะวันออกเยียงเหนือ-ตะวันตกเยียงใต้ เร่ิมต้ังแต่ในทะเลอันดามันตามหลักฐานการสารวจปิโตรเลียมข้ึนแผ่นดินท่ีอาเภอตะก่ัว
ป่า และอาเภอครุ ะบรุ ี ของจังหวัดพังงา ต่อเน่ืองมายังพื้นท่อี าเภอสขุ สาราญ อาเภอกะเปอร์ อาเภอเมอื งระนอง อาเภอละอุ่น และอาเภอกระบุรี ของจังหวัดระนอง พาดผ่านพื้นท่ีอาเภอ
พะโตะ๊ อาเภอสวี อาเภอเมอื งชมุ พร และอาเภอท่าแซะ ของจังหวัดชุมพร และต่อเนือ่ งไปในพื้นทอี่ าเภอบางสะพานน้อย อาเภอบางสะพาน อาเภอทับสะแก อาเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์
และอาเภอกยุ บรุ ี ของจังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ และลงอ่าวไทยบริเวณทิศตะวันออกของอาเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีความยาวเยพาะส่วนที่ปรากฏบนแผ่นดินประมาณ
300 กิโลเมตร หินตา่ งๆ ทถ่ี กู รอยเล่อื นน้ตี ดั ผา่ นคือ หินโคลนปนกรวด หนิ ทราย หินดินดาน และหนิ ปูน เปน็ ส่วนใหญ่รองลงมาเปน็ หินแกรนิต ลักษณะธรณีสัณฐานที่สาคัญประกอบด้วย
ธารเหล่ือม พุน้าร้อน และผาสามเหล่ือม ซึ่งบ่งชี้ว่ารอยเลื่อนระนองมีการเลื่อนตัวตามแนวระนาบเหลื่อมซ้าย (ข้อมูลปี พ.ศ. 2550) เหตุ การณ์แผ่นดินไหวท่ีเกิดข้ึนสัมพันธ์กับกลุ่มรอย
เล่ือนน้ีตามข้อมูลของสานักสารวจธรณีวิทยาของสหรัฐอเมริกา (USGS) ระบุว่าได้เกิดขึ้นเม่ือวันท่ี 27 - 28 กันยายน 2549 มีขนาด 4.1 - 4.7 จานวน 6 ครั้ง และในวันท่ี 8 ตุลาคม
2549 มีขนาด 5.0 จานวน 1 คร้ัง ท้ังสองเหตุการณ์นี้มีศูนย์เกิดในอ่าวไทยด้านทิศตะวันออกของอาเภอสามร้อยสามยอด จังหวัดประจวบคีรีขั นธ์ ประชาชนในหลายท้องที่รู้สึกได้ถึง
แรงสั่นสะเทือนของพ้ืนดิน ได้แก่ อาเภอหัวหิน อาเภอสามร้อยยอด อาเภอกุยบุรี อาเภอปราณบุรี อาเภอบางสะพาน อาเภอทับสะแก ของจังหวัดป ระจวบคีรีขันธ์ และอาเภอชะอา
อาเภอทา่ ยาง ของจังหวดั เพชรบุรี

14) กลมุ่ รอยเลอื่ นคลองมะรยุ่ เป็นกลมุ่ รอยเล่อื นตามแนวระนาบท่ีวางตัวขนานกับกลุ่มรอยเล่ือนระนองแบบเหล่ือมซ้ายเช่นเดียวกัน และเล่ือนตัวในแนวด่ิงแบบรอย
เลอ่ื นยอ้ น แนวรอยเลื่อนนี้เร่ิมปรากฏในทะเลอันดามันบริเวณทิศตะวันออกของเกาะภูเก็ต และเกาะยาว ในบริเวณอ่าวพังงา รอยเล่ือนยาวต่อเนื่องข้ึนบกบริเวณลาคลองมะรุ่ย อาเภอ
ทับปดุ อาเภอตะกวั่ ทงุ่ และอาเภอท้ายเหมือง ของจังหวัดพังงา พาดผ่านต่อเน่ืองไปในพื้นท่ีอาเภอพนม อาเภอคีรีรัฐนิคม อาเภอบ้านตาขุน อาเภอวิภาวดี อาเภอท่ายาง และอาเภอไช
ยา ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความยาวเยพาะส่วนบนแผ่นดินประมาณ 140 กิโลเมตร ซึ่งในเขตอาเภอไชยานี้ปรากฏว่ามีแหล่งพุน้าร้อนหลายแห่ งไหลขึ้นมาตามแนวรอยเลื่อนนี้ เป็น
รอยเลื่อนทตี่ ดั ผา่ นหินโคลนปนกรวด หนิ ทราย หินดนิ ดาน หนิ ปูน และหินแกรนติ หลกั ฐานทางธรณสี ณั ฐานท่ีพบได้แก่ ธารเหลื่อม ผารอยเลื่อน ผาสามเหล่ียม และสันก้ัน เป็นต้น จาก
การศกึ ษาประวัตกิ ารเลอ่ื นตัวในโบราณกาลในรอ่ งสารวจพบวา่ พ้นื ทบี่ า้ นบางลึก ตาบลพลูเถื่อน อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี พบลักษณะธรณีสัณฐานที่สัมพันธ์กับแนวรอยเล่ือนคือ
ผาสามเหล่ยี ม 2 ผา วางตัวในทศิ ทางตะวันออกเยียงเหนือ – ตะวันตกเยียงใต้ หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเยียงใต้ และลาน้าสาขาของคลองแหกที่แสดงการหักเลื่อนเป็นระยะทาง 95
เมตร ในแบบเหล่ือมซ้าย นอกจากน้ีในร่องสารวจพบชั้นตะกอนกรวด ชั้นทราย และดินเหนียวถูกรอยเลื่อนจานวน 3 แนว ตัดเล่ือนออกจากกันในแน วดิ่งแบบย้อน ประเมินได้ว่ารอย
เลื่อนส่วนน้ีเคยทาให้เกิดแผ่นดินไหวในอดีตด้วยขนาด 6.8 เม่ือประมาณ 2,000 ปีล่วงมาแล้ว (ข้อมูลปี พ.ศ. 2550) จากการรวบรวมข้อมูลแผ่นดินไหวพบว่ามีแผ่นดินไหวเม่ือวันท่ี 4
กันยายน 2551 ด้วยขนาด 3.1 มศี นู ย์เกดิ ทอี่ าเภอพนม จังหวัดสุราษฎรธ์ านี และวันท่ี 23 ธันวาคม 2551 ด้วยขนาด 4.1 มีศนู ยเ์ กิดที่อาเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี นอกจากนี้เมอื่
วนั ท่ี 16 เมษายน 2555 มแี ผ่นดนิ ไหวขนาด 4.3 มีศูนยเ์ กิดทตี่ าบลศรสี ุนทร อาเภอถลาง จงั หวดั ภเู ก็ต ทาให้บ้านเรอื นประชาชนเสยี หายบางส่วนหลายหลัง ประชาชนทั่วท้ังเกาะภูเก็ตรู้สึก
ได้ถงึ แรงสัน่ สะเทอื นของแผน่ ดนิ ไหว อกี ท้งั เมือ่ วันท่ี 7 พฤษภาคม 2558 ได้เกดิ แผน่ ดนิ ไหวขนาด 4.5 มีศูนยเ์ กิดในทะเลใกลก้ ับเกาะยาว อาเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา ประชาชนรู้สึกสั่น
ไหวได้ในพ้ืนทจี่ งั หวัดภเู ก็ต พงั งา และกระบ่ี

15) กลุ่มรอยเล่ือนเพชรบูรณ์ วางตัวในทิศเหนือ-ใต้ ซึ่งขนาบสองข้างของแอ่งที่ราบเพชรบูรณ์ ท่ีมีการเอียงเทเข้าหากลางแอ่งท้ังสองด้าน จากภาพดาวเทียมและ
ภาพถา่ ยทางอากาศพบวา่ ความคมชดั และความต่อเน่ืองของแนวเส้นรอยเล่อื นด้านทศิ ตะวันออกของแอ่งเพชรบรู ณ์มมี ากกว่าแนวรอยเลอื่ นดา้ นทศิ ตะวันตก มีลักษณะการเลื่อนแบบรอย
เลื่อนปกติ รอยเลอื่ นน้พี าดผ่านพ้ืนทีข่ องอาเภอหล่มเก่า อาเภอหลม่ สัก และอาเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีความยาวประมาณ 150 กิโลเมตร ลักษณะของธรณีสัณฐานท่ีบ่ง
บอกความมีพลังของรอยเล่ือนนปี้ ระกอบดว้ ย ผารอยเลื่อน และผาสามเหลี่ยมท่ีเรียงซ้อนกันเป็นระดับไม่น้อยกว่า 5 ช้ัน ช้ีว่าการเล่ือนตัวของรอยเล่ือนน้ีมีการเล่ือนตัวอย่างต่อเน่ือง ณ
บริเวณเนินเขาห่างออกมาด้านทิศตะวันออกประมาณ 1.5 กิโลเมตร ของบ้านซาบอน อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ ถูกขุดเป็นบ่อยืมดินลูกรั งซ่ึงพบชั้นกรวดชั้นทรายถูกรอยเลื่อน
เพชรบูรณ์ตดั ขาดออกจากกนั ประมาณ 1 เมตร ในแบบรอยเลอ่ื นปรกติ อันทาให้เกดิ เหตกุ ารณแ์ ผน่ ดินไหวเมอ่ื ประมาณ 30,000 ท่ีแล้ว และจากข้อมูลร่องสารวจบ้านซับกองทอง ตาบล
สามแยก อาเภอวเิ ชยี รบรุ ี จังหวัดเพชรบรู ณ์ พบหลกั ฐานแผน่ ดนิ ไหวโบราณเกดิ ขนึ้ ขนาด 7.0 เมอื่ ประมาณ 1,500 ปี และ 200 ปีที่แล้ว (ข้อมูลปี พ.ศ. 2560) หากมองย้อนหลังไปราว
30 ปี รอยเลื่อนเพชรบูรณ์ เคยทาให้เกิดแผ่นดินไหวขึ้นเม่อื วนั ที่ 12 ตลุ าคม 2533 ด้วยแผ่นดินไหวขนาด 4.0 ทาให้ประชาชนรู้สึกได้ท่ี อาเภอหล่มสัก อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์
และเมอ่ื วันท่ี 23 กรกฎาคม 2534 เกดิ แผ่นดินไหวขนาด 3.5 ประชาชนร้สู ึกได้ในพื้นท่รี อยตอ่ ของจงั หวดั เพชรบูรณ์ และจังหวัดเลย

16) กลุ่มรอยเลื่อนเวียงแหง มีทิศทางการวางตัวในแนวทิศเหนือ-ทิศใต้ รอยเลื่อนนี้พาดผ่านต้ังแต่อาเภอเวียงแหง และต่อเน่ืองถึงอาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ มี
ความยาวรวมท้ังหมดประมาณ 100 กิโลเมตร มีลักษณะการเลื่อนแบบรอยเล่ือนปกติ ลักษณะของธรณีสัณฐานที่บ่งบอกความมีพลังของรอยเลื่อนนี้ประกอบด้วย ผารอยเลื่อน ผา
สามเหล่ียม หุบเขาเส้นตรง ข้อมูลธรณีวิทยาแผ่นดินไหวท่ีในร่องสารวจบ้านเปียงหลวง ตาบลเปียงหลวง และบ้านเวียงแหง ตาบลเมืองแหง อาเภ อเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ พบ
หลกั ฐานแผน่ ดินไหวโบราณเกดิ ขน้ึ อย่างน้อย 5 เหตุการณ์ เมื่อประมาณ 30,000 ปีท่ีแลว้ 20,000 ปีท่ีแล้ว 18,000 ปีทีแ่ ล้ว 15,000 ปที ี่แล้ว 9,000 ปีที่แล้ว และคร้ังล่าสุดเมื่อประมาณ
2,000 ปีทแี่ ลว้ เคยทาใหเ้ กิดแผ่นดินไหวในอดีตด้วยขนาด 6.8 อตั ราเล่อื นตัวระยะยาวของรอยเล่อื นเวียงแหง มีคา่ สงู สุด 0.11 มม./ปี

30

เอกสารอ้างอิง

กรมทรัพยากรธรณี, 2550, โครงการศึกษาคาบอบุ ัตซิ ้าในพนื้ ทีท่ ี่แสดงรอ่ งรอยการเคลอื่ นตวั ของรอยเลอ่ื นในจังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี กระบี่ พงั งา และ
ภูเก็ต (รอยเลื่อนระนองและรอยเล่ือนคลองมะรุ่ย): รายงานยบับสมบรู ณ,์ ภาควชิ าธรณวี ิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั เสนอตอ่ กรมทรัพยากรธรณ,ี
กรงุ เทพฯ, 327 หน้า.

กรมทรัพยากรธรณ,ี 2551, โครงการศึกษาคาบอุบัตซิ ้าในพื้นที่ที่แสดงรอ่ งรอยการเคลือ่ นตวั ของรอยเลอื่ นใน จงั หวัดเชียงใหม่ ลาพนู ลาปาง และแพร่ (รอยเล่ือนแม่ทาและรอยเล่ือน
เถิน): รายงานยบบั สมบูรณ,์ ภาควิชาธรณีวทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เสนอตอ่ กรมทรัพยากรธรณี, กรงุ เทพฯ, 327 หน้า.

กรมทรัพยากรธรณ,ี 2552, โครงการศึกษาคาบอบุ ัติซา้ ในพ้ืนท่ที ่ีแสดงรอ่ งรอยการเลอื่ นตวั ของรอยเลอื่ นมีพลังในจงั หวัดเชียงราย เชยี งใหม่ และพะเยา (กลุ่มรอยเลอ่ื นแมจ่ ันและ
กลมุ่ รอยเลื่อนพะเยา), รายงานยบับสมบูรณ์, ภาควิชาวิทยาศาสตร์ พ้ืนพภิ พ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เสนอต่อกรมทรัพยากรธรณี, 392 หน้า.

กรมทรัพยากรธรณ,ี 2554, โครงการศึกษาคาบอบุ ตั ซิ า้ ในพนื้ ทท่ี ่ีแสดงรอ่ งรอยการเลอ่ื นตัวของรอยเลอ่ื นมีพลงั ในจังหวดั อตุ รดติ ถ์ นา่ น พิษณุโลก และสโุ ขทยั (กล่มุ รอยเลอ่ื น
อตุ รดิตถ์ และกลุม่ รอยเล่อื นปัว): รายงานยบับสมบูรณ,์ ภาควชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนพิภพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เสนอต่อกรมทรัพยากรธรณี,
กรงุ เทพฯ, 139 หน้า.

กรมทรัพยากรธรณ,ี 2555, โครงการศึกษารอยเลื่อนนครนายก: รายงานยบบั สมบูรณ์, ภาควชิ าวิทยาศาสตร์พืน้ พิภพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เสนอตอ่ กร
มทรพั ยากรธรณ,ี กรุงเทพฯ, 346 หนา้ .

กรมทรัพยากรธรณี, 2558, โครงการสารวจธรณฟี สิ ิกส์โดยการวดั ความเรว็ คลน่ื เยือนในหลมุ เจาะปี 2558: รายงานผลการเจาะสารวจดนิ และวดั ความเร็วคลื่นเยอื น, บริษทั เอสที
เอสอินสตรูเมนทจ์ ากดั เสนอตอ่ กรมทรพั ยากรธรณ,ี กรงุ เทพฯ, 13-15 หน้า.

กรมทรัพยากรธรณ,ี 2558, โครงการการวดั ความเร็วคลื่นเยือนการจา้ งเหมาสารวจและวิเคราะหค์ วามเรว็ คล่ืนเยือน: รายงานยบบั สมบรู ณ,์ ภาควิชาวิทยาศาสตรพ์ ื้นพภิ พ คณะ
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เสนอต่อกรมทรพั ยากรธรณ,ี กรงุ เทพฯ, 8-17 หน้า.

กรมทรัพยากรธรณี, 2561, โครงการศึกษาคาบอบุ ัติซ้าแผน่ ดินไหวของกลุ่มรอยเลือ่ นเพชรบูรณ์: รายงานยบับสมบูรณ์, ภาควิชาวทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนพิภพ คณะวทิ ยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เสนอตอ่ กรมทรัพยากรธรณ,ี กรุงเทพฯ, 266 หน้า.

ปรชี า สายทอง และสุวทิ ย์ โคสวุ รรณ, 2549, แผน่ ดนิ ไหวโบราณของกลุม่ รอยเล่ือนเมย-แมป่ งิ จงั หวัดตาก: กองธรณีวิทยาสงิ่ แวดล้อม กรมทรัพยากรธรณี, รายงานวิชาการยบบั ที่
กธส.4/2549, 86 หน้า.

สุวิทย์ โคสวุ รรณ, ปรชี า สายทอง, วรี ะชาติ วเิ วกวิน และเอกชัย แกว้ มาตย,์ 2550, แผ่นดินไหวโบราณของกลมุ่ รอยเลอ่ื นศรีสวสั ดิแ์ ละเจดียส์ ามองค์ จงั หวัดกาญจนบรุ ี: กอง
ธรณีวทิ ยาสิง่ แวดล้อม กรมทรพั ยากรธรณี, กรุงเทพฯ, รายงานวิชาการ ยบับท่ี กธส. 4/2550, 139 หน้า.

สุวิทย์ โคสุวรรณ, ญาดารกั ษ์ วิลุนกจิ , นพรัตน์ รตั นวิจิตร และภควัต ศรวี ังพล, 2554, การประเมินภยั พบิ ัติแผ่นดนิ ไหวภาคตะวนั ออกเยียงเหนือ: สานักธรณีวิทยาสิ่งแวดลอ้ ม กรม
ทรัพยากรธรณี, กรุงเทพฯ, รายงานวชิ าการ, 56 หน้า.

สวุ ิทย์ โคสวุ รรณ, ญาดารักษ์ วิลนุ กิจ, นพรัตน์ รัตนวิจิตร และภควัต ศรวี ังพล, 2554, การประเมินภยั พิบัติแผ่นดนิ ไหวภาคเหนอื : สานักธรณวี ิทยาส่ิงแวดลอ้ ม กรมทรัพยากรธรณ,ี
กรุงเทพฯ, รายงานวิชาการ, 51 หน้า.

สวุ ิทย์ โคสุวรรณ, ญาดารักษ์ วลิ นุ กจิ , นพรตั น์ รัตนวิจติ ร และภควตั ศรีวงั พล, 2555, การประเมนิ ภยั พบิ ตั ิแผน่ ดนิ ไหวภาคกลางและภาคตะวันตก: สานักธรณีวิทยาสงิ่ แวดล้อม กรม
ทรัพยากรธรณี, กรุงเทพฯ รายงานวชิ าการ, 47 หน้า.

สรุ เชษฐ์ รวมธรรม, สุวทิ ย์ โคสุวรรณ, นพรตั น์ รตั นวิจติ ร, อัจยรา โพธิสม และภควัต ศรีวงั พล, 2556, การประเมินภัยพบิ ตั ิแผน่ ดนิ ไหวภาคใต้: สานักธรณวี ิทยาสง่ิ แวดลอ้ ม กรม
ทรัพยากรธรณ,ี กรุงเทพฯ, รายงานวชิ าการ, 50 หน้า.

สมชาย รจุ าจรัสวงศ,์ สวุ ทิ ย์ โคสวุ รรณ, ศุภวิชญ์ ยอแสงรัตน์, ปรีชา สายทอง, ภควัต ศรวี งั พล, อาพร ปญั จะศรี และคณะ, 2553, โครงการศกึ ษารอยเลือ่ นฝัง่ ตะวนั ออกในรัศมี 100
กโิ ลเมตร จากกรงุ เทพมหานคร, รายงานยบบั สมบรู ณ์, กองธรณีวทิ ยาสงิ่ แวดลอ้ มกองธรณเี ทคนิค กรมทรัพยากรธรณ,ี รายงานวิชาการยบับ ท่ีกธส.2/2553, 58-66 หน้า.

ภควัต ศรวี งั พล, นุชติ ศิริทองคา, ฐติ ิวรดา อนิ ศรี และสุพรรชนก คุ้มพุม่ , 2553, การสารวจวดั คลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อนในพนื้ ที่ท่ีมีโอกาสเกดิ รอยเลือ่ นรัศมี 100 กิโลเมตร รอบ
กรุงเทพมหานคร บรเิ วณอาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม และอาเภอทา่ มะกา จงั หวัดกาญจนบรุ :ี สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณี, กรุงเทพฯ, 19 หนา้ .

Cluff, L.S. and Cluff, J.l. 1984, Importance of assessing degrees of fault activity for engineering decisions: In Proceeding of the 8th World Conference on
Earthquake Engineering, San Francisco, V. 2, p. 629-636.

Pailoplee, S., 2014, Earthquake Activities along the Strike-slip Fault System on the Thailand-Myanmar Border Terrestrial: Atmospheric and Oceanic Sciences 25(4): p. 483-490.
Pailoplee, S., and Charusiri, P., 2016 Seismic hazards in Thailand: a compilation and updated probabilistic analysis. Earth, Planets and Space, 68(1), p. 98.
Slemmons, D.B., 1977, State-of-the-Art for Assessing Earthquake Hazards in the United States, Report 6, Faults and Earthquake Magnitude: U.S. Army Corps of Engineering, Wa-

ter Ways Experiment Station Miscellaneous Paper S-73, 129 p.

31

คณะทางานดา้ นแผนทีธ่ รณีพิบัตภิ ยั

(ตามคาสงั่ กรมทรัพยากรธรณีที่ 540/2561 ลงวันที่ 30 มีนาคม 2561)

1. ผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะด้านวจิ ัยและพัฒนาธรณีวทิ ยา ประธานคณะทางาน
2. ผูอ้ านวยการกองธรณวี ิทยาสง่ิ แวดล้อม รองประธานคณะทางาน
3. ศ.ดร.ปญั ญา จารศุ ริ ิ คณะทางาน
4. นายวรวุฒิ ตันตวิ นชิ คณะทางาน
5. นายเลิศสนิ รกั ษาสกลุ วงศ์ คณะทางาน
6. รศ.ดร.สุทธศิ ักด์ิ ศรลมั พ์ คณะทางาน
7. ผู้อานวยการศนู ย์สารสนเทศทรัพยากรธรณี คณะทางาน
8. ผู้อานวยการศนู ย์วจิ ัยและพฒั นาทรัพยากรธรณี คณะทางาน
9. นางสาวศิรประภา ชาติประเสรฐิ คณะทางาน
10. นายศกั ดา ขุนดี คณะทางาน
11. นายสุวทิ ย์ โคสุวรรณ คณะทางานและเลขานกุ าร
12. นางทพิ วรรณ สทุ ธสิ ขุ คณะทางานและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
13. นางรชนชิ ล ย่ีสารพฒั น์ คณะทางานและผชู้ ่วยเลขานกุ าร
14. นางสาวพชิ ญาภัค บญุ ทอง คณะทางานและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

32


Click to View FlipBook Version