The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prdmr.pr, 2021-07-02 02:57:08

Third Circular

Third Circular

การประชุมวชิ าการดา นธรณวี ทิ ยาและทรัพยากรธรณี Third Circular

¸Ã³ÕÇ¶Ô ãÕ ËÁ‹ ¹ÇµÑ ¡ÃÃÁä·Â
à¾Í×è ¡ÒþѲ¹Ò·ÕÂè èѧ¹×

กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม
กรมทรพั ยากรธรณี กรมทรพั ยากรน้ําบาดาล

กรมอุตสาหกรรมพ้นื ฐานและการเหมืองแร
กรมเชือ้ เพลงิ ธรรมชาติ กรมชลประทาน

การไฟฟาฝา ยผลติ แหงประเทศไทย
สมาคมธรณีวทิ ยาแหง ประเทศไทย
สภาการเหมืองแร สมาคมอุทกธรณีวทิ ยาไทย
Coordinating Committee for Geoscience
Programmes in East and Southeast Asia
สาํ นกั งานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

บริษทั ปตท. จํากดั (มหาชน)
บรษิ ทั ปตท.สาํ รวจและผลติ ปโ ตรเลียม จาํ กัด (มหาชน)

2564

เปน ท่ที ราบกนั ดวี า การใชท รัพยากรธรณี อาทิ ทรัพยากรแร น้ําบาดาล และแรเชื้อเพลงิ ในปจ จบุ นั มอี ัตราเพม่ิ สงู ขึน้
เนอื่ งดว ยการพัฒนาทางเศรษฐกจิ และการขยายตวั ของชุมชน รวมทั้งสภาพเหตุการณธรณีพบิ ตั ิภัยทีน่ ับวันมีความรนุ แรงและสง
ผลกระทบตอประชาชนเปนวงกวาง อันเน่ืองมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สิ่งเหลานี้นํามาซ่ึงการขาดแคลน
ทรพั ยากรธรณี ความไมป ลอดภัยในชวี ติ และทรัพยสิน รวมท้ังมีปญ หาดา นมลพิษสงิ่ แวดลอมท่ีเกดิ จากการใชท รัพยากรธรณี จึง
มีความจาํ เปนอยางยิ่งที่ภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวของทางธรณีวิทยา จะตองรว มกันแสดงบทบาททาง
วชิ าการในดา นองคค วามรแู ละเทคโนโลยี และขอ เสนอแนะการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรณี เพอ่ื นาํ ไปตอบสนองความตองการ
ของสงั คม บนพืน้ ฐานของการพฒั นาทย่ี ่งั ยืนอยางสมดุลในทกุ มิติ

กรมทรพั ยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม โดยความรวมมอื กบั กรมทรพั ยากรนาํ้ บาดาล กรม
อตุ สาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมชลประทาน กรมเช้อื เพลิงธรรมชาติ การไฟฟาฝายผลติ แหง ประเทศไทย สมาคม
ธรณีวทิ ยาแหงประเทศไทย สภาการเหมอื งแร สมาคมอทุ กธรณวี ิทยาไทย CCOP และสํานักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรและ

เทคโนโลยีแหง ชาติ จึงไดรว มจัดการประชุมวิชาการ ธรณีไทย 2564 ภายใตหัวขอ “ธรณีวถิ ีใหม นวตั กรรมไทยเพื่อการ
พัฒนาที่ยัง่ ยืน” เพอ่ื เปนเวทีใหผูเช่ียวชาญ และนักธรณวี ทิ ยาทกุ สาขา ไดแสดงบทบาทในการนําเสนอองคความรแู ละ
นวตั กรรมทางดา นธรณีวิทยา ตลอดจนขอเสนอแนะการบริหารจดั การทรัพยากรธรณี ธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม และธรณี

พิบัติภยั รวมไปถงึ การแลกเปลี่ยนองคความรูแ ละประสบการณเ พือ่ กระตนุ ใหเ กดิ ความรวมมอื ทางวชิ าการทสี่ ามารถ
สนองตอบความตอ งการของประชาชนในวถิ ใี หม และสรา งความตระหนกั หรือการเรยี นรใู หแ กสังคมใหมกี ารอนุรักษ
และบริหารจดั การทรัพยากรธรณอี ยา งย่ังยืน

การประชุมวิชาการในคร้ังนี้ เปดโอกาสใหผูเขารวมประชุมและผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงานตางๆ
สามารถแบง ปน ความรแู ละความเชยี่ วชาญดา นสาขาธรณวี ทิ ยา ผา นการบรรยายสนุ ทรพจน การบรรยายวชิ าการ

และการเสวนาทางวิชาการในรูปแบบออนไลน รวมท้งั เปดเวทใี หนสิ ิต นักศึกษา ไดร ว มการนําเสนอผลงาน
วิชาการผานการบรรยายและนิทรรศการ โดยมเี ปา ประสงคสําคญั ของการประชมุ วิชาการ เพื่อแสดงถงึ
พฒั นาการของขอ มูลธรณวี ทิ ยาและเทคโนโลยี ประโยชนข องงานธรณวี ทิ ยาเพื่อสง มอบสสู งั คมไทยสกู าร
พัฒนาท่ยี ่งั ยนื และความสําคญั ของการสื่อสารการเรียนรทู างธรณีวิทยาใหแกประชาชนไทย

หวั ขอ การประชมุ • การศึกษาวจิ ัยขอมลู ธรณวี ทิ ยา แหลงแร ซากดกึ ดาํ บรรพ
นา้ํ บาดาล และพลงั งาน เพ่อื การพฒั นาองคค วามรู หรอื นาํ ไปสกู าร
1. Geo-Resources for the Society : แกไ ขปญหา การอนุรักษ หรอื การพัฒนาใชประโยชนอยางยง่ั ยนื
ทรพั ยากรธรณีเพอ่ื ประชาชน: ธรณีวทิ ยา หรอื การพสิ จู นแ นวคดิ ทฤษฎี หรอื สมมตฐิ านทางวิชาการ
แหลง ทรัพยากรแร ซากดกึ ดาํ บรรพ
นา้ํ บาดาล และพลังงาน • เทคโนโลยสี มัยใหม เทคนคิ วิถใี หม หรอื นวัตกรรม ทีน่ ํามาใชในการ
สํารวจหรอื การบรหิ ารจดั การธรณีวทิ ยา แหลง แร ซากดกึ ดําบรรพ
นํ้าบาดาล และพลังงาน

2. Geo-Environments for Society : • การศึกษาวจิ ยั ขอ มูลธรณพี ิบตั ิภัยท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลง
ธรณีวิทยาส่งิ แวดลอ มเพื่อประชาชน: ของเปลือกโลกและสภาพภมู อิ ากาศ ธรณีวทิ ยาสงิ่ แวดลอม
ธรณพี บิ ตั ภิ ัย ธรณวี ทิ ยาส่งิ แวดลอ ม ผลกระทบสารพิษตามธรรมชาติหรอื จากการทาํ เหมือง และ
ผลกระทบสารพษิ ตามธรรมชาตหิ รอื การจาํ แนกเขตเพ่อื วางแผนใชประโยชนทด่ี ิน เพอื่ การพัฒนาองค
จากการทําเหมอื ง และการจาํ แนกเขต ความรู หรอื นําไปสกู ารแกไขปญหา หรือการพฒั นาใชป ระโยชน
เพือ่ วางแผนใชประโยชนท ีด่ ิน อยางยงั่ ยนื หรอื การพิสจู นแนวคดิ ทฤษฎี หรอื สมมตฐิ านทาง
วิชาการ
3. Geo-Education for Society:
ธรณวี ทิ ยาเพือ่ การเรยี นรเู พื่อประชาชน: • เทคโนโลยสี มยั ใหม เทคนคิ วถิ ใี หม หรือนวตั กรรม ท่นี าํ มาใช
อทุ ยานธรณี แหลงทอ งเท่ียวทาง ในการสํารวจหรือการบริหารจดั การธรณพี ิบตั ิภยั ธรณวี ทิ ยาส่ิง-
ธรณีวิทยา การพัฒนาสือ่ สารการเรยี นรู แวดลอม ผลกระทบสารพิษตามธรรมชาติหรือจากการทําเหมอื ง
และการจัดทาํ กฎระเบียบหรอื จรยิ ธรรม และการจําแนกเขตเพ่อื วางแผนใชป ระโยชนท ด่ี นิ
ทางธรณีวทิ ยา
• การบริหารจดั การธรณวี ทิ ยาเพอื่ การเรยี นรู การจดั ต้งั อุทยานธรณี
การพัฒนาแหลงทองเท่ยี วทางธรณีวทิ ยาประเภทตางๆ การพัฒนา
สือ่ สารการเรยี นรูภายใตบริบทวถิ ใี หม หรือการจดั ทํากฎระเบียบ
และจริยธรรมทางธรณวี ิทยา

• การดาํ เนนิ การตามพันธกรณรี ะหวา งประเทศ

ขอมลู ทัว่ ไปสําหรับงานประชุมฯ

วันทจ่ี ดั งานประชุมฯ 4-6 สิงหาคม 2564
On-line (ไมจ าํ กดั จาํ นวน)
รูปแบบการจดั งาน
กําหนดสง - การลงทะเบยี นผานระบบ on-line ภายในวนั ที่ 25 มถิ ุนายน - 25 กรกฎาคม 2564

บน www.dmr.go.th หรอื Facebook ของกรมทรัพยากรธรณี
- บทคดั ยอ ผลงานทางวิชาการ ภายในวันที่ 7 กรกฎาคม 2564
- โปสเตอรแ สดงผลงานทางวิชาการ ภายในวนั ที่ 15 กรกฎาคม 2564

คาใชจาย การเขา รวมการประชุมและเอกสารประกอบการประชมุ
ไมม คี าลงทะเบยี น
จดหมายเชิญ
จดหมายเชญิ อยา งเปน ทางการจะถกู สง ไปตามคาํ ขอของผทู ต่ี อ งการเขา รว มการประชมุ
ภาษาทางการ โดยในจดหมายเชญิ ดงั กลา วจะไมไ ดก ลา วถงึ การชาํ ระคา ใชจ า ยใด ๆ เชน การลงทะเบยี น
ผปู ระสานงาน การเดนิ ทาง

ภาษาทางการสําหรบั การประชุมคอื ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ
ดร.ดวงฤทัย แสแสงสีรุง นกั ธรณวี ิทยาชํานาญการพิเศษ
75/10 ถ.พระราม6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร: 026219845 โทรสาร: 026219841
Email : [email protected]

แนวทางการสงบทความ
ตนฉบับของบทความและงานวิจัยเปนแบบ “บทคดั ยอ (Abstract)” ในรูปแบบโปรแกรม MS-Word สามารถสงบทความได

ทง้ั ภาษาไทยหรอื ภาษาองั กฤษ โดยสง ใหก บั เจา หนา ทป่ี ระสานงานหรอื จดุ รบั เอกสารของกรมทรพั ยากรธรณี ในรปู แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สท ่ี
ระบตุ วั ผเู ขยี นอยา งชดั เจน หากมภี าพประกอบขอใหแ สดงคาํ อธบิ ายภาพแบบเต็ม ท้งั นี้ บทคดั ยอ จะอยใู นเอกสารขนาด A4 โดยแนะนาํ
ใหใ ชต ัวอกั ษร TH SarabunPSK 16 ระยะหางบรรทัด 1.0 ระยะกัน้ หนา 2.5 ซม ระยะกั้นหลัง 2.5 ซม ระยะขอบบน 3.0 ซม ระยะ
ขอบลา ง 2.5 ซม ชื่อผแู ตง และผูแตงรวม ประกอบดวยท่อี ยทู สี่ ามารถตดิ ตอไดและ e-mail ของผูแตง คนแรก และกรณุ าสงบทคดั ยอ
ดังกลา วไดท่ี [email protected] ภายในวันท่ี 7 กรกฎาคม 2564 พรอ มแจง ความประสงคร ะบเุ ปน การนําเสนอแบบ
Poster หรอื oral presentation

โปสเตอรผ ลงานทางวชิ าการ เจา ของผลงานตอ งสง ไฟลผ ลงานในแนวตง้ั ขนาด 85x120 ซม. หรอื ขนาด A0 ในรปู แบบรปู ภาพ
นามสกุล .JPG ภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2564 เพือ่ ผูจดั งานจะนําไปประกอบการจดั ทาํ การนาํ เสนอในรปู แบบออนไลน ตอไป

การจัดประชุมวิชาการธรณไี ทย ประจาํ ป 2564

ณ กรมทรพั ยากรธรณี กรงุ เทพมหานคร
วนั ที่ 4-6 สิงหาคม 2564

กําหนดการประชมุ

รปู แบบการประชมุ วชิ าการ • ผูน าํ เสนอผลงานสามารถนาํ เสนอในรปู
แบบ On-line โดยแจง ความประสงคท่ี
1. การประชมุ ทางวชิ าการ จดั ระหวา งวันท่ี 4-5 สงิ หาคม 2564 (09.00-17.00น.) ในรปู แบบ online ประกอบดว ย คณะทาํ งานดานวชิ าการและนิทรรศการ หรือ
• Keynote Paper www.dmr.go.th หรือ Facebook ของกรม
• การบริหารจดั การธรณีวิทยาและทรพั ยากรธรณี ทรพั ยากรธรณี
• ธรณีพิบตั ภิ ยั และธรณวี ทิ ยาสิ่งแวดลอ ม
• ธรณีวทิ ยา ซากดึกดําบรรพ แร นา้ํ บาดาล ปโตรเลียม • เวลาการนาํ เสนอผลงานปกติเร่อื งละ 15 นาที
• ธรณวี ทิ ยาเพื่อการอนุรักษและการเรียนรู และ Keynote เร่อื งละ 20 นาที

2. การเสวนาวิชาการ จดั ในวนั ท่ี 6 สิงหาคม 2564 (09.00-16.00น.) ในรปู แบบ online ประกอบดวยเรอื่ ง • ผูสนใจสามารถตรวจสอบลาํ ดับการนาํ เสนอ
• Geological Map compilation ผลงานตามโปรแกรมไดต้ังแตว นั ที่ 15-30
• วชิ าชีพธรณวี ิทยา กรกฎาคม 2564 ไดท่ี www.dmr.go.th หรือ
• ธรณไี ทยเพอ่ื ประชาชน Facebook ของกรมทรพั ยากรธรณี

3. การจดั แสดงโปสเตอรโ ปสเตอรผ ลงานทางวิชาการและนิทรรศการออนไลน ณ www.dmr.go.th

โปสเตอรผลงานทางวิชาการและนิทรรศการออนไลน
การจัดประชมุ วิชาการธรณไี ทย ประจาํ ป 2564

นิทรรศการในงานประชมุ วชิ าการ 2. บูธนิทรรศการทางวชิ าการและบริหารจดั การธรณี
1. โปสเตอรผ ลงานทางวชิ าการ
- การบรหิ ารจดั การธรณวี ทิ ยาและทรพั ยากรธรณี - โคกหนองนาโมเดลตามแนวทางพระราชดําริ
- ธรณพี บิ ัติภยั และธรณีวทิ ยาส่ิงแวดลอม - นโยบายและบริหารจัดการทรัพยากรธรณีของประเทศ
- ธรณวี ทิ ยา ซากดึกดําบรรพ แร นํ้าบาดาล ภายใตค ณะกรรมการระดบั ชาติ
ปโตรเลียม - วาฬอําแพงและการดาํ เนินการตามพระราชบัญญัติ
คุมครองซากดกึ ดาํ บรรพ พ.ศ. 2551
- ธรณวี ทิ ยาเพอื่ การอนรุ ักษและการเรียนรู - ววิ ัฒนาการแผนท่ธี รณวี ทิ ยาไทย

- ท่สี ดุ แหงธรณวี ทิ ยาของประเทศ

- นวตั กรรมทางธรณีวิทยาและเทคโนโลยี

http://www.dmr.go.th
กรมทรพั ยากรธรณี 75/10 ถ.พระรามท6่ี แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400

75/10 Rama VI Road, Ratchatewi, Bangkok 10400


Click to View FlipBook Version