The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข่าวสารกรมทรัพยากรธรณี ไตรมาส 2/65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prdmr.pr, 2022-05-31 04:09:00

ข่าวสารกรมทรัพยากรธรณี ไตรมาส 2/65

ข่าวสารกรมทรัพยากรธรณี ไตรมาส 2/65

ปที่ ๒๑ ไตรมาสที่ ๐๒ ประจําเดือน มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๕

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง�ิ แวดลอม

à¡ÒÐÍØ·ä¢ҹ‹ ¸Ã³ÕâšʵÙÅ

à¢Òà¤ÇʵÍÒØ·âÂÒ¤¹Ã¸ÃÒ³ªÕâ¤ÃÒª

¼ÒªÍÁطµҹиÇÃѹ³Õ¢Í¹á¡‹¹ ÊÒÁ;طÂѹҹâ¸Ãº³¡Õ¼ÒªÑ¹-ÊÒÁ¾Ñ¹âº¡ ᤹ÂÍÍØ·¹ÂÒ¹¹¸éÓÃ˳¹Õà¾ÒªÃǺÙó

วิสิ ััยทััศน์์ กรมทรัพั ยากรธรณีี

เป็็นองค์์กรที่่�ประชาชนชาวไทยและรััฐบาลเชื่�อมั่่�นในองค์์ความรู้้� ทางธรณีีวิิทยา และ
การบริิหารจััดการทรััพยากรธรณีีอย่่างมีีส่่วนร่่วมในการนำำ�พาประเทศไปสู่�ความมั่ �นคงของฐาน
ทรััพยากรธรณีีที่่�มีกี ารอนุุรัักษ์์ และการใช้ป้ ระโยชน์อ์ ย่า่ งสมดุุล และคุณุ ภาพชีวี ิิตที่่�ดีขี องประชาชน

บรรณาธิิการแถลง สารบััญ
สวััสดีีสมาชิิกทุุกท่่าน กลัับมาพบกัันอีีกครั้้�งกัับข่่าวสาร
กรมทรัพั ยากรธรณีี ไตรมาสที่่� ๒ ประจำำ�เดือื นมกราคม – มีนี าคม ๒๕๖๕ หน้้า
ซึ่ง�่ ในฉบับั นี้ก� องบรรณาธิกิ ารขอแนะนำ�ำ แหล่ง่ ท่อ่ งเที่่ย� วทั้้ง� ๕ อุทุ ยานธรณีี ใต้ร้ ่่มพระบารมี ี ๓
ในประเทศไทย ได้้แก่่ อุุทยานธรณีีโลกสตููล อุุทยานธรณีีโคราช อุุทยานธรณีีโลกสตูลู ๔
อุุทยานธรณีีผาชััน-สามพัันโบก อุุทยานธรณีีเพชรบููรณ์์ และ อุทุ ยานธรณีีโคราช ๖
อุุทยานธรณีีขอนแก่่น ที่่�มีีความมหััศจรรย์์ทางลัักษณะธรณีีวิิทยา อุุทยานธรณีีผาชันั สามพันั โบก ๘
อันั โดดเด่น่ แตกต่า่ งกันั ไป จากนั้้น� มาติดิ ตามประเด็น็ ข่า่ ว Hot Issue อุุทยานธรณีีเพชรบูรู ณ์์ ๑๐
“การเตรียี มการบันั ทึึกสถิติ ิโิ ลก ไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ ที่่ย� าวที่่ส� ุดุ ในโลก” ต่อ่ อุทุ ยานธรณีขี อนแก่่น ๑๒
Guinness World Records (GWR) กัับบทความน่่ารู้�เกี่�ยวกัับ บทความไม้้ตาก ๑๔
เรื่�อง ไม้้กลายเป็็นหิินในประเทศไทย สู่่�การขึ้้�นทะเบีียนสถิิติิโลก ข่า่ วไม้ต้ าก ๑๕
“ไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ ที่่ย� าวที่่ส� ุดุ ในโลก จ.ตาก” ที่่ก� ำำ�ลังั จะได้ร้ ับั การบันั ทึึก วัันคล้้ายวันั สถาปนากรมทรัพั ยากรธรณีี ๑๖
สถิิติโิ ลกในเร็ว็ ๆ นี้้� รอบรั้�ว้ ทธ. ๑๗
สำำ�หรับั กิจิ กรรมอื่น� ๆ ที่่น� ่า่ สนใจยังั มีมี าฝากอีกี เช่น่ เคย อาทิิ MNRE ๑๘
กรมทรััพยากรธรณีี ผนึึกกำ�ำ ลััง ทส. ร่ว่ มหารืือแนวทาง ๓ หน่ว่ ยงาน ข่่าวภููมิภิ าค ๑๙

ขานรับั นโยบาย ทส.ยกกำ�ำ ลังั เอ็ก็ ซ์์ วันั คล้า้ ยวันั สถาปนากรมทรัพั ยากรธรณีี ที่่�ปรึึกษา
ครบรอบ ๑๓๐ ปี ี ทธ.จัดั ประชุมุ รายงานผลการปฏิบิ ัตั ิงิ าน รอบ ๖ เดือื น นายพงศ์บ์ ุุณย์์ ปองทอง อธิบิ ดีีกรมทรััพยากรธรณีี
เป็็นต้้น รายละเอีียดทั้้�งหมดติิดตามได้้ในฉบัับนี้้�ค่่ะ สุุดท้้ายนี้้� นายสุวุ ภาคย์์ อิ่�มสมุุทร รองอธิิบดีกี รมทรัพั ยากรธรณีี
กรมทรัพั ยากรธรณีีมีีความยิินดีตี ้้อนรับั นายสุุวภาคย์ ์ อิ่่ม� สมุุทร และ นายสิิทธิิชััย เสรีสี ่ง่ แสง รองอธิิบดีกี รมทรััพยากรธรณีี
นายสิิทธิิชััย เสรีีส่่งแสง ในโอกาสเดิินทางเข้้ารัับตำำ�แหน่่งรองอธิิบดีี
กรมทรััพยากรธรณีี เมื่อ� วัันที่่� ๒๘ กุุมภาพันั ธ์์ ๒๕๖๕
บรรณาธิิการ
นางสาวมยุุรีี ธรรมานุสุ าร ผู้้�อำำ�นวยการส่ว่ นประชาสัมั พันั ธ์์

กองบรรณาธิกิ าร
ส่่วนประชาสัมั พัันธ์์

เจ้้าของ
กรมทรััพยากรธรณีี

จัดั ทำ�ำ โดย กรมทรัพั ยากรธรณีี
กระทรวงทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่่�งแวดล้้อม
๗๕/๑๐ ถนนพระราม ๖ แขวงทุ่�งพญาไท
เขตราชเทวีี กรุุงเทพฯ ๑๐๔๐๐
โทรศััพท์์ : ๐ ๒๖๒๑ ๙๕๐๐, ๐ ๒๖๒๑ ๙๖๐๓
โทรสาร : ๐ ๒๖๒๑ ๙๖๐๒

ใต้้ร่่มพระบารมีี

ทพุสทุ .ธรศ่ั่วักมรลางชน๒าม๕ถ๖ว๕ายพระพรปีีใหม่่

๑ มกราคม ๒๕๖๕ นายวราวุธุ ศิลิ ปอาชา รัฐั มนตรีวี ่า่ การกระทรวง
ทรัพั ยากรธรรมชาติแิ ละสิ่ง� แวดล้อ้ ม และภริยิ า พร้อ้ มด้ว้ ยนายจตุพุ ร บุรุ ุษุ พัฒั น์์
ปลัดั กระทรวงทรัพั ยากรธรรมชาติแิ ละสิ่ง� แวดล้อ้ ม นายพงศ์บ์ ุณุ ย์์ ปองทอง
อธิิบดีีกรมทรััพยากรธรณีี พร้้อมคณะผู้�บริิหารในสัังกััดกระทรวง
ทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่�งแวดล้้อม ร่่วมลงนามถวายพระพร และ
ถวายแจกันั ดอกไม้้ หน้า้ พระบรมฉายาลักั ษณ์พ์ ระบาทสมเด็จ็ พระเจ้า้ อยู่่�หัวั
และสมเด็็จพระนางเจ้้าฯ พระบรมราชิินีี เนื่่�องในโอกาสวัันขึ้�นปีีใหม่่
พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ ณ ศาลาสหทััยสมาคม ในพระบรมมหาราชวััง

กรมทรัพั ยากรธรณีี
ร่ว่ มถวายพระพรปีีใหม่่ ๒๕๖๕

๑ มกราคม ๒๕๖๕ นายพงศ์บ์ ุุณย์์ ปองทอง อธิบิ ดีกี รมทรัพั ยากรธรณีี
พร้้อมด้้วยคณะผู้�บริิหาร ร่่วมลงนามถวายพระพร และถวายแจกัันดอกไม้้
หน้า้ พระบรมฉายาลักั ษณ์พ์ ระบาทสมเด็จ็ พระเจ้า้ อยู่่�หัวั และสมเด็จ็ พระนางเจ้า้ ฯ
พระบรมราชินิ ีี เนื่อ� งในโอกาสวันั ขึ้น� ปีใี หม่ ่ พุทุ ธศักั ราช ๒๕๖๕ ณ ศาลาสหทัยั สมาคม
ในพระบรมมหาราชวััง

ข่า่ วสาร กรมทรััพยากรธรณีี ๓

อุทุ ยานธรณีโี ลกสตููล
๔ ข่่าวสาร กรมทรััพยากรธรณีี

อุทุ ยานธรณีโี ลกสตูลู

อุุทยานธรณีีโลกสตููล ได้้รัับรองเป็็นสมาชิิก

อุทุ ยานธรณีโี ลกของยููเนสโกเมื่อ่� วันั ที่่� ๑๗ เมษายน ๒๕๖๑ ครอบคลุมุ
พื้้น� ที่่� ๔ อำำ�เภอ ได้้แก่่ อำำ�เภอทุ่�งหว้้า อำ�ำ เภอมะนััง อำ�ำ เภอละงูู และ
อำ�ำ เภอเมืือง (เฉพาะอุทุ ยานแห่ง่ ชาติหิ มู่�เกาะเภตรา และอุทุ ยานแห่ง่ ชาติิ
ตะรุุเตา) รวมเป็็นพื้้�นที่่� ๒,๕๙๗ ตารางกิิโลเมตร มีีความโดดเด่่น
จากภููเขาสู่่�ท้้องทะเล โซนภููเขาโดดเด่่นภููมิิประเทศแบบคาสต์์
(Karst topography) ทำำ�ให้้เกิิดแหล่ง่ ท่อ่ งเที่่ย� วที่่ส� วยงามมากมาย
อาทิิ ถ้ำ�ำ�ภููผาเพชร ถ้ำำ��อุุไรทอง ถ้ำ�ำ� ทะลุุ น้ำ�ำ�ตกวัังสายทอง และ โซน
หมู่�เกาะทางทะเลที่่ม� ีชี ื่อ�่ เสียี งระดับั โลก ได้้แก่่ เกาะหลีเี ป๊ะ๊ เกาะอาดังั
เกาะราวีี เกาะหินิ ซ้้อน เป็น็ ต้้น มีีความหลากหลายทางชีีวภาพสููง
อย่่างไรก็็ตาม เมื่่�อ UNESCO ประกาศรัับรองขึ้้�นทะเบีียน
และเข้้าเป็น็ สมาชิกิ ของเครืือข่า่ ยอุทุ ยานธรณีโี ลกหรืือ GGN (Global
Geoparks Network) ทำ�ำ ให้้อุทุ ยานธรณีโี ลกสตููลแห่ง่ นี้้� เป็น็ ที่่�รู้จ้� ััก
ในระดัับโลกมากยิ่�งขึ้้�น มีีนัักท่่องเที่่�ยวเข้้ามาเยี่�ยมชม มีีนััก
วิิ ท ย า ศ า ส ต ร์์ จ า ก ใ น แ ล ะ ต่่ า ง ป ร ะ เ ท ศ เ ข้้ า ม า ศึึ ก ษ า แ ห ล่่ ง
ทางธรณีวี ิทิ ยา สร้้างเศรษฐกิจิ ในชุมุ ชนการท่่องเที่่ย� ว สร้้างโอกาส
ทางธุรุ กิจิ ใหม่ๆ่ สร้้างรายได้้จากการท่อ่ งเที่่ย� วและการศึึกษา ตลอดจน
มีกี ารแลกเปลี่ย� นความรู้แ�้ ละประสบการณ์ร์ ะหว่า่ งสมาชิกิ เครืือข่า่ ย
ของอุุทยานธรณีีโลกซึ่่�งจะเป็็นผลให้้เกิิดการพััฒนาอย่่างยั่ �งยืืน
แก่่ชุมุ ชนและท้้องถิ่น�

สามารถติิดต่่อข้้อมููลเพิ่่ม� เติมิ ได้้ที่่� www.satun-geopark.com

สถแานนทะเี่ ทนยี่ าํ ว!ทน่ี า สนใจ

ข่า่ วสาร กรมทรััพยากรธรณีี ๕

อุทุ ยานธรณีีโคราช
๖ ข่่าวสาร กรมทรััพยากรธรณีี

อุทุ ยานธรณีีโคราช

อุุทยานธรณีีโคราช มีีภููมิิประเทศเป็็นเทืือกเขา

หิินทรายโดดเด่่น เรีียกว่่า “เขาเควสตา” หรืือ “เขารููปอีีโต้้”
มีีซากช้้างดึึกดำ�ำ บรรพ์์ ๑๐ สกุุลที่่ถ� ููกค้้นพบ อีีกทั้้ง� พื้้น� ที่่�แห่ง่ นี้้�กำ�ำ ลััง
จะถููกยกขึ้�้นเป็็น ดินิ แดนแห่ง่ ๓ มงกุุฎของยููเนสโก หรืือ The UNESCO
Triple Crown อุทุ ยานธรณีีโคราช ครอบคลุมุ พื้้น� ที่่� ๕ อำำ�เภอ ได้้แก่่
อำำ�เภอสีคีิ้ว� อำำ�เภอสููงเนินิ อำำ�เภอขามทะเลสอ อำำ�เภอเมืืองนครราชสีมี า
และอำำ�เภอเฉลิมิ พระเกียี รติิ มีพี ื้้น� ที่่ป� ระมาณ ๓,๑๖๗ ตารางกิโิ ลเมตร

อุุทยานธรณีีโคราช มีีแหล่่งธรณีีวิิทยา แหล่่ง

ธรรมชาติิ และแหล่ง่ วัฒั นธรรม จำ�ำ นวน ๓๕ แหล่ง่ จำำ�แนกเป็น็ แหล่ง่
ธรณีีวิิทยาที่่�มีีคุุณค่่าระดัับนานาชาติิ จำ�ำ นวน ๔ แหล่่ง ได้้แก่่
๑) แหล่่งอนุุรัักษ์์ไม้้กลายเป็็นหิินสมััยไพลสโตซีีนตอนต้้นแห่่งแรก
ของเอเชียี ตะวันั ออกเฉียี งใต้้ที่่ม� ีคี วามหลากหลายของชนิดิ และสีสี ันั
๒) แหล่ง่ ไดโนเสาร์์อิกิ ััวโนดอนต์พ์ ัันธุ์�ใหม่่ของโลก ๓ สกุลุ ๓ ชนิิด
รวมทั้้ง� เต่่าและจระเข้้พันั ธุ์�ใหม่่ ๑ สกุุล ๒ ชนิดิ ๓) แหล่่งฟอสซิิล
ช้้างดึึกดำ�ำ บรรพ์์มากที่่�สุุดในโลกที่่�พบถึึง ๑๐ สกุุล จาก ๕๕ สกุุล
ที่่พ� บทั่่ว� โลก มีอี ายุุไมโอซีีนตอนกลางถึึงไพลสโตซีีนที่่ม� ากที่่�สุดุ แห่ง่
หนึ่่�งของโลก และ ๔) แหล่่งฟอสซิิลสััตว์์เลี้�ยงลููกด้้วยนมสมััย
ไพลสโตซีนี ตอนกลางช่ว่ งปลายที่่ม� ีคี วามหลากหลายทางชีวี ภาพมากที่่ส� ุดุ
ในเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ นอกจากนี้้�ยัังมีีภููมิิประเทศเขาเควสตา
แบบคู่่�ขนานและเป็็นส่่วนหนึ่่�งของเควสตาโคราชที่่�มีีความยาว
๑,๗๐๐ กิโิ ลเมตร นับั ว่า่ ยาวที่่ส� ุดุ แห่ง่ หนึ่่ง� ของโลก และยังั มีโี บราณสถาน
วัฒั นธรรม วิถิ ีชี ีวี ิติ ชุมุ ชน และความหลากหลายทางชีวี ภาพจำ�ำ นวนมาก
ซึ่่�งสอดคล้้องกับั แนวทางการเป็็นอุุทยานธรณีโี ลกของยููเนสโก

สถแานนทะเี่ ทนยี่ ําว!ทน่ี า สนใจ

ข่่าวสาร กรมทรัพั ยากรธรณีี ๗

อุุทยานธรณีีผาชััน สามพันั โบก
๘ ข่่าวสาร กรมทรัพั ยากรธรณีี

อุทุ ยานธสราณมีีผพัานั ชัโันบก

อุุทยานธรณีีผาชััน สามพัันโบก

จัังหวััดอุุบลราชธานีี เป็็นอุุทยานธรณีีประเทศไทย อัันดัับที่่� ๓
รองจากจังั หวัดั สตููล และจังั หวัดั นครราชสีมี า มีแี หล่ง่ ธรณีวี ิทิ ยาและ
แหล่ง่ อนุรุ ักั ษ์ธ์ รณีวี ิทิ ยาที่่ส� วยงามมากมายหลายแห่ง่ อาทิิ สามพันั โบก
สวนหินิ ประกายแสง สามหมื่น่� รูู เสาเฉลียี งใหญ่่ ผาแต้้ม ที่่ม� ีคี วามสวยงาม
โดดเด่่นแปลกตา และมีีคุุณค่่าทางวิิชาการด้้านธรณีีวิิทยาใน
ระดัับประเทศหรืือระดัับภาค ได้้รัับประกาศให้้เป็็นอุุทยานธรณีี
ผาชันั -สามพันั โบก จะช่ว่ ยส่ง่ เสริมิ การค้้า การลงทุนุ และการท่อ่ งเที่่ย� ว
การพััฒนาคุุณภาพชีวี ิิตที่่�ดีี และเสริิมสร้้างความเข้้มแข็ง็ ของชุมุ ชน
ตลอดจนการบริิหารจัดั การทรััพยากรธรรมชาติแิ ละสิ่ง� แวดล้้อม

พื้�้นที่่�อุุทยานธรณีีผาชััน-สามพัันโบก

กำำ�หนดขอบเขตได้้ ๓ พื้้น� ที่่� คืือ ๑. ดินิ แดนแห่ง่ ไดโนเสาร์์ ยุคุ สุดุ ท้้าย
ครอบคลุมุ พื้้น� ที่่� ๔ ตำำ�บลในเขต อ.ศรีเี มืืองใหม่่ ได้้แก่่ ต.นาคำำ� ต.สงยาง
ต.นาเลิิน และ ต.ลาดควาย ๒. แหล่่งธรรมชาติิแปลกตา ครอบคลุมุ
พื้้น� ที่่ส� ่ว่ นใหญ่ข่ องอุทุ ยานแห่ง่ ชาติผิ าแต้้ม บางส่ว่ นของ อ.โพธิ์ไ� ทร
(ต.สองคอน เหล่่างาม และสำ�ำ โรง) บางส่่วนของ อ.ศรีีเมืืองใหม่่
(ต.หนามแท่ง่ ) และบางส่ว่ นของ อ.โขงเจียี ม (ต.ห้้วยใผ่่ และนาโพธิ์ก� ลาง
๓. เขตแม่น่ ้ำำ��สองสีี ครอบคลุุมพื้้�นที่่� อ.โขงเจีียม (ต.โขงเจีียม และ
คำ�ำ เขื่่�อนแก้้ว) และ อ.สิิริินธร

สถแานนทะเี่ ทนยี่ าํ ว!ทน่ี า สนใจ

ข่า่ วสาร กรมทรััพยากรธรณีี ๙

อุุทยานธรณีเี พชรบูรู ณ์์
๑๐ ข่า่ วสาร กรมทรััพยากรธรณีี

อุุทยานธรณีีเพชรบูรู ณ์์

อุทุ ยานธรณีเี พชรบูรู ณ์์ เป็น็ พื้้น� ที่่ท�ี่่อ� ยู่�ระหว่า่ งการเคลื่อ่� นตัวั เข้้าหากันั

ของ ๒ เปลืือกโลกคืือ อินิ โดไชน่่าทางตะวัันออกและชาน-ไทยทางตะวัันตก เกิิดการดััน
และยกตััวของทะเลดึึกดำ�ำ บรรพ์์ขึ้�้นมากลายเป็น็ แผ่น่ ดิินและภููเขา ทำำ�ให้้เกิดิ สิ่่ง� มหัศั จรรย์์
ทางธรณีีวิิทยาต่่าง ๆ ขึ้�้นจนกลายมาเป็็นแหล่่งเรีียนรู้�้และแหล่่งท่่องเที่่�ยวที่่�สำำ�คััญใน
จังั หวััดเพชรบููรณ์์

ความโดดเด่่นทางธรณีีจัังหวััดเพชรบููรณ์์ มีีลัักษณะเป็็น

แอ่ง่ วางตัวั ตามแนวเหนืือ-ใต้้ เกิดิ จากเคลื่อ�่ นตัวั เข้้าหากันั ของเปลืือกโลกหรืืออนุทุ วีปี ๒ แผ่น่
คืือ อินิ โดไชน่า่ (Indochina Micro Plate) ทางตะวัันออก และ ชาน-ไทย (Shan-Thai
Micro Plate) ทางตะวันั ตกเมื่�่อ ๒๘๐-๒๔๐ ล้้านปีี เกิดิ เป็็นสิ่�งมหัศั จรรย์์ทางธรรมชาติิ
ที่่�หลากหลาย

พื้้�นที่่�ที่่�มีีศัักยภาพ อาทิิเช่่น ถ้ำ��ำ ใหญ่่น้ำ��ำ หนาว ถ้ำ�ำ�บัันทึึกโลก

บ้้านห้้วยลาด ต.หลักั ด่า่ น อ.น้ำ��ำ หนาว มีคี วามยาวเป็น็ อันั ดับั ๓ ของประเทศไทย ภายนอก
มีลี ักั ษณะเป็น็ เขาหินิ ปููนสููงประมาณ ๙๕๕ เมตรจากระดับั น้ำำ��ทะเล ทางเข้้าถ้ำำ�� เป็น็ ผาหินิ ปููน
วางตัวั แนวตะวัันออก-ตะวัันตก ตั้ง� ฉากกับั แนวระนาบ ประกอบด้้วยชั้้�นหินิ ปููนที่่ม� ีีขนาด
ตั้�งแต่่ น้้อยกว่่า ๕ เซนติเิ มตรถึึงชั้้น� ที่่ห� นาประมาณ ๕๐ เซ็็นติิเมตร ปากถ้ำ�ำ�อยู่�สูงจากพื้้�น
ประมาณ ๑๐ เมตร กว้้างประมาณ ๒ เมตร ลึึกลงไปในแนวดิ่ง� จนถึึงระดับั เดียี วกับั พื้้น� ราบ
หน้้าถ้ำ�ำ� ตััวถ้ำำ��ทอดลึึกเข้้าไปในภููเขา มีีความลึึกมากกว่่า ๑๐.๖ กิิโลเมตร ภายในโถงถ้ำ��ำ
มีคี วามกว้้างมากกว่่า ๑๐ เมตร สููงกว่่า ๑๐ เมตร บริิเวณโถงถ้ำ��ำ มีีหิินย้้อยจากเพดานถ้ำำ��
จำำ�นวนมาก และบางส่่วนมีีหิินที่่�เกิิดจากการตกผลึึกของแร่่แคลไซต์์หรืือหิินปููนผลึึกงอก
ขึ้น�้ มาจากพื้้น� ถ้ำ�ำ� ทำำ�ให้้เกิดิ เป็น็ หินิ ที่่ม� ีรีููปร่า่ งต่า่ งกันั ตามจินิ ตนาการ มีคี วามงามวิจิ ิติ รพิสิ ดาร
เช่น่ หิินรููปช้้าง หิินรููปน้ำ�ำ�ตก หินิ รููปผาม่่าน รููปคน รููปอาหารชนิิดต่า่ ง ๆ เป็็นต้้น ภายใน
ถ้ำำ��มีหี ้้องโถงเป็็นช่่วง ๆ มีีทางเดินิ เท้้าไปเชื่�่อมต่่อถึึงกันั

ความโดดเด่่น บนภููเขาปรากฏมีีซากฟอสซิิลหอยชนิิดต่่าง ๆ ปะการััง

และฟิิวซููลิินิิด (Fusulinids) ซึ่่�งเป็็นสิ่�งมีีชีีวิิตเซลล์์เดีียวที่่�เคยอาศััยอยู่�ในทะเลบนโลก
ในช่่วงเวลาต่่าง ๆ แต่่ได้้สููญพันั ธุ์�ไปหมดแล้้ว ฟอสซิลิ ฟิิวซููลิินิิดที่่เ� ขาถ้ำำ�� ใหญ่่น้ำ��ำ หนาวแห่ง่ นี้้�
มีหี ลายชนิดิ หลายขนาด ซึ่่ง� เป็น็ หลักั ฐานแสดงวิวิ ัฒั นาการของเปลืือกโลกในยุคุ เพอร์เ์ มียี น
(๒๘๐-๒๔๐ ล้้านปีี) ได้้อย่่างครบถ้้วน

สถแานนทะเี่ ทนยี่ าํ ว!ทน่ี า สนใจ

ข่า่ วสาร กรมทรัพั ยากรธรณีี ๑๑

อุุทยานธรณีีขอนแก่่น
๑๒ ข่่าวสาร กรมทรััพยากรธรณีี

อุทุ ยานธรณีีขอนแก่่น

อุุทยานธรณีีขอนแก่่น เป็็นอุุทยานธรณีีระดัับ

ประเทศ ได้้รับั การประกาศเมื่�อ่ วัันที่่� ๒๘ ตุลุ าคม ๒๕๖๓ ขณะนี้้�อยู่�
ในระหว่า่ งเตรียี มยื่น�่ เอกสารเสนอเข้้ารับั การประเมินิ เป็น็ อุทุ ยานธรณีี
โลกของยููเนสโก เป็็นลำำ�ดัับต่่อจากอุุทยานธรณีีโลกสตููล มีีพื้้�นที่่�
ประมาณ ๑,๐๓๘ ตารางกิโิ ลเมตร ครอบคลุมุ ๒ อำ�ำ เภอ คืือ อำำ�เภอภููเวียี ง
และ อำำ�เภอเวียี งเก่า่ ถููกขนานนามว่า่ เป็น็ อาณาจักั รไดโนเสาร์ป์ ระเทศไทย
ในแหล่ง่ ขุดุ ค้้นภููเวียี งที่่ค� ้้นพบไดโนเสาร์ส์ ายพันั ธุ์�ใหม่ข่ องโลก ๕ สายพันั ธุ์�
มีีทั้้�งตััวเล็็กและตััวใหญ่่ กิินพืืชและเนื้้�อสััตว์์ ตััวเต็็มวััยและวััยเยาว์์
อยู่�รวมกันั เป็น็ อาณาจักั รของไดโนเสาร์์ ได้้แก่่ ภูเู วียี งโกซอรัสั สิริ ินิ ธรเน
(Phuwiangosaurus sirindhornae) สยามโมซอรััส สุุธีีธรนิิ
(Siammosaurus suteethorni) สยามโมไทรัันนััส อิิสานเอนซิิส
(Siamotyrannus isanensis) กิินรีีมิินััส ขอนแก่่นเอนซิิส
(Kinnareemimus khonkaenensis) และภูเู วียี งเวเนเตอร์์ แย้ม้ นิิยมมิิ
(Phuwiangvenator yaemniyomi) รวมถึึงพบรอยตีีนไดโนเสาร์์
มากกว่่า ๖๐ รอยตีีน จากหลุุมขุดุ ค้้นรวม ๙ หลุมุ ด้้วยกัันนั่่น� เอง

ความโดดเด่่นของแหล่่งขุุดค้้นภููเวีียง

เป็น็ หุบุ เขาที่่อ� ยู่�ในชั้้น� หินิ ตะกอนสีแี ดงของกลุ่�มหินิ โคราช มีอี ายุตุั้ง� แต่่
ไทรแอนซิิกตอนปลาย ถึึงยุุคครีีเทเชีียส ล้้อมรอบไปด้้วยเทืือกเขา
หิินทราย ๒ ชั้้�น โดยชั้้�นนอกสุุดเป็็นเทืือกเขาสููง ส่่วนชั้้�นถััดมาเป็็น
เทืือกเขาเตี้�ยๆ มีีลัักษณะเป็็นเทืือกเขารููปอีีโต้้ (Cuesta) โดยมีีด้้าน
ลาดชัันอยู่�ด้ านนอกล้้อมรอบแอ่่ง และเอีียงเทเข้้าด้้านใน ดัังนั้้�น
เทืือกเขาภููเวีียงจึึงเสมืือนกำำ�แพงยัักษ์์โอบล้้อมพื้้�นที่่�หุุบเขาภููเวีียง
ที่่ม� ีีทางเข้้าออกเพียี งทางเดียี ว

สถแานนทะเี่ ทนยี่ ําว!ทน่ี า สนใจ

ข่า่ วสาร กรมทรัพั ยากรธรณีี ๑๓

บทความไม้้ตาก

๕ เรื่่�องน่่ารู้�! ไม้้กลายเป็็นหิินในประเทศไทย สู่่�การขึ้้�นทะเบีียนสถิิติิโลก

Guinness World Records “ไม้ก้ ลายเป็็นหินิ ที่่�ยาวที่่�สุุดในโลก จ.ตาก”

แหล่่งไม้้กลายเป็น็ หินิ ในประเทศไทย
ไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ ในประเทศไทย พบกระจายทั่่ว� ทุกุ ภูมู ิภิ าคของประเทศไทย
โดยพบซากดึึกดำ�ำ บรรพ์์ลำ�ำ ต้้นไม้้ที่่�มีีอายุุเก่่าแก่่ที่่�สุุดในประเทศไทย
ที่่จ� ังั หวัดั เลย มีอี ายุใุ นช่ว่ งยุคุ คาร์บ์ อนิเิ ฟอรัสั (ประมาณ ๓๑๐ ล้า้ นปีกี ่อ่ น)
นอกจากนี้้ย� ัังพบซากไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ และตะกอนหลากหลายอายุ ุ ตั้้�งแต่่
ยุคุ เพอร์์เมียี นจนถึึงตะกอนยุคุ ควอเทอร์น์ ารีอี ายุไุ ม่่กี่�หมื่�นปี ี ตัวั อย่่างเช่น่
แหล่่งไม้้กลายเป็็นหิินบ้้านตาก อุุทยานแห่่งชาติิดอยสอยมาลััย-ไม้้กลาย
เป็น็ หินิ (เตรียี มการ) แหล่ง่ ไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ บ้า้ นทับั ไทร จ.พิจิ ิติ ร แหล่ง่ ไม้้
นิิยามไม้้กลายเป็น็ หินิ (Petrified Wood) กลายเป็น็ หินิ จ.นครราชสีมี า แหล่ง่ ไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ ภูปู อ จ.กาฬสินิ ธุ์� แหล่ง่
ไม้้กลายเป็็นหิิน มีีความหมายตามพจนานุุกรมศััพท์์ธรณีีวิิทยาฉบัับ ไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ โนนรังั จ.ขอนแก่น่ แหล่ง่ ไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ บ่อ่ ม่ว่ ง จ.กระบี่่�
ราชบััณฑิิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๔ ว่่า “เนื้้�อไม้้ที่่�กลายสภาพเป็็นหิิน
เนื่่อ� งจากสารละลายแร่ซ่ ึ่ง�่ ส่ว่ นใหญ่เ่ ป็น็ ซิลิ ิกิ า เข้า้ ไปแทนที่่เ� นื้้อ� ไม้อ้ ย่า่ งช้า้ ๆ แหล่่งไม้้กลายเป็น็ หินิ บ้า้ นตาก จัังหวััดตาก
คืือ แทนที่่�โมเลกุุลต่่อโมเลกุุลจนกระทั่่�งแทนที่่�ทั้้�งหมดโดยไม่่มีีการ แหล่ง่ ซากไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ บ้า้ นตาก จังั หวัดั ตาก ตั้้ง� อยู่่�ในพื้้น� ที่่อ� ุทุ ยาน
เปลี่ย� นแปลงรูปู ร่า่ งและโครงสร้า้ ง” แห่่งชาติิดอยสอยมาลััย-ไม้้กลายเป็็นหิิน (เตรีียมการ) ตำ�ำ บลตากออก
อำ�ำ เภอบ้้านตาก จัังหวััดตาก ถููกค้้นพบครั้�้งแรก เมื่�อปีี พ.ศ. ๒๕๔๖
กระบวนการเกิดิ ไม้ก้ ลายเป็็นหินิ โดยนายวชิริ ะ ม่ว่ งชุมุ และคณะ พบไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ โผล่ข่ึ้น� มาในห้ว้ ยกลางป่า่ ลึึก
ปััจจััยสำ�ำ คััญที่่�ทำ�ำ ให้้เกิิดไม้้กลายเป็็นหิินมาจาก ไม้้ แหล่่งแร่่และน้ำ��ำ จึึงร่ว่ มมือื กับั หน่ว่ ยงานที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งเปิดิ หน้า้ ดินิ ออกและพบว่า่ มีคี วามยาว
ตะกอน และเวลา ซึ่ง่� มีกี ระบวนการเกิดิ เริ่�มจากต้น้ ไม้ท้ ี่่เ� จริิญเติิบโตและ ถึึง ๗๒.๒๒ เมตร (ปััจจุุบัันมีีการผุุพัังจนเหลืือความยาว ๖๙.๗ เมตร)
ล้้มตายลงในสภาพแวดล้้อมที่่�เหมาะสม และยัังไม่่ถููกทำ�ำ ลายอาจเกิิดอยู่่� นัับว่่าเป็็นซากไม้้กลายเป็็นหิินที่่�มีีขนาดใหญ่่และสมบููรณ์์ที่่�สุุดเท่่าที่่ �
กัับที่่�ในแหล่่งหรืือถููกพััดพามาทัับถมพร้้อมกัับตะกอนที่่�ปิิดทัับ ฝัังกลบ เคยพบในประเทศไทย นอกจากนี้้� ผลการสำ�ำ รวจปรากฏว่า่ พบไม้้กลาย
ซากไม้อ้ ย่า่ งรวดเร็ว็ ทำ�ำ หน้า้ ที่่ป� ้อ้ งกันั การถูกู ย่อ่ ยสลาย มีกี ารสะสมปิดิ ทับั เป็น็ หินิ ฝังั ตัวั อยู่่�ใต้ช้ั้น� กรวดแม่น่ ้ำำ�� ยุคุ ควอเทอนารีี และในพื้้น� ที่่โ� ดยรอบกว่า่
ของตะกอนซ้ำ�ำ�ๆ ซากไม้จ้ มตัวั ลึึกลงไปในระดัับที่่�พอเหมาะ ซึ่่ง� การฝังั ตััว ๓๕ ตารางกิิโลเมตร ยัังพบเศษไม้้กลายเป็็นหิินกระจายตััวอยู่่� จึึงมีีการ
เป็น็ เวลานาน ทำ�ำ ให้เ้ กิดิ การซึึมผ่า่ นของสารละลายแร่ซ่ ิลิ ิกิ า เข้า้ ไปในช่อ่ งว่า่ ง ขุดุ ค้น้ มาเพื่่อ� จัดั แสดงและพัฒั นาเป็น็ แหล่ง่ ท่อ่ งเที่ย� วแล้ว้ จำ�ำ นวน ๗ หลุมุ ขุดุ ค้น้
ของเนื้้อ� ไม้แ้ ละเซลล์เ์ นื้้อ� เยื้อ� แร่ธ่ าตุทุ ี่่ซ� ึึมเข้า้ ไปแทนและตกผลึึกในช่อ่ งว่า่ ง ส่ว่ นใหญ่เ่ ป็น็ ไม้เ้ ทียี บเคียี งได้ก้ ับั ปัจั จุบุ ันั ในกลุ่�มไม้ท้ องบึ้้ง� และไม้ม้ ะค่า่ โมง
ส่่งผลให้้ซากไม้้มีีความแข็็งแรงมากขึ้ �น รวมถึึงแผ่่นเปลืือกโลกยกตััวขึ้้�น
ส่่งผลให้้ชั้�นตะกอนที่่�มีีซากดึึกดำ�ำ บรรพ์์ไม้้กลายเป็็นหิินนั้้�น โผล่่ขึ้�นมายััง
พื้้น� ผิิวโลก และถูกู พบเจอในเวลาต่่อมา

แหล่่งไม้้กลายเป็น็ หิินที่่ย� าวที่่�สุดุ ในโลก
ซากดึึกดำ�ำ บรรพ์์ไม้้กลายเป็็นหิินสามารถพบได้้เกืือบทั่่�วทุุกมุุมโลก
ในชั้น� หิินตะกอนตั้ง� แต่ย่ ุุคดีีโวเนีียน (ประมาณ ๓๙๐ ล้า้ นปีกี ่อ่ น) ซี่่ง� เป็น็
ช่่วงเวลาที่่�เริ่ม� ปรากฏพืืชที่่�มีเี นื้้�อไม้้ (woody plants) โดยพบที่่�มีอี ายุุเก่่า
แก่ท่ ี่่ส� ุดุ ทางตะวันั ออกเฉียี งใต้ข้ องรัฐั นิวิ ยอร์ก์ ประเทศสหรัฐั อเมริกิ า และ
พบได้้ทุุกยุุคหลัังจากนี้้�จนถึึงช่่วงอายุุไม่่กี่�พัันปีี แหล่่งไม้้ซากดึึกดำำ�บรรพ์์
สำำ�คัญั ในโลก เช่น่ Damaraland ประเทศนามิเิ บียี มณฑล Xinjiang ประเทศจีนี
Lesbos ประเทศกรีซี Badlands ประเทศแคนาดา อุทุ ยาน Petrified wood
หลายแห่ง่ ในประเทศสหรัฐั อเมริกิ า จังั หวัดั Santa Cruz ประเทศอาร์เ์ จนตินิ า
อุทุ ยานแห่่งชาติิ Mount Halimun Salak ประเทศอิินโดนีีเซียี รวมถึึง
แหล่่งไม้้กลายเป็็นหิิน จ.ตาก ประเทศไทย ทั้้�งนี้้� ตามบัันทึึกสถิิติิ
Guinness World Record พบไม้้กลายเป็น็ หินิ ที่่ย� าวที่่ส� ุดุ ในโลกปััจจุบุ ััน
ที่่�เมือื ง Qitai มณฑล Xinjiang ประเทศจีีน มีคี วามยาว ๓๘ เมตร และ
ไม้้กลายเป็็นหินิ หลุุมที่่� ๑ อ.บ้้านตาก จ.ตาก มีคี วามยาว ๖๙.๗ เมตร
เตรียี มบัันทึึกใหม่่เป็็นไม้้กลายเป็็นหิินที่่�ยาวที่่�สุุดในโลก

๑๔ ข่า่ วสาร กรมทรััพยากรธรณีี

ข่า่ ว ไม้้ตาก

ทส. ยกกำำ�ลััง X ผนึึกกำำ�ลััง ๓ หน่่วยงาน อส. - ปม. - ทธ. ร่่วมลงนาม MOU
แหล่่งซากดึึกดำำ�บรรพ์์ ไม้้กลายเป็็นหิิน จัังหวััดตาก

๙ กุุมภาพัันธ์์ ๒๕๖๕ กระทรวงทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่�งแวดล้้อม การลงนามบันั ทึึกข้อ้ ตกลงในครั้ง�้ นี้้ � มีวี ัตั ถุปุ ระสงค์เ์ พื่่อ� ร่ว่ มกันั อนุรุ ักั ษ์แ์ ละ
โดย กรมอุทุ ยานแห่ง่ ชาติ ิ สัตั ว์ป์ ่า่ และพันั ธุ์์�พืชื กรมป่า่ ไม้้ และกรมทรัพั ยากรธรณีี บริหิ ารจัดั การแหล่ง่ ซากดึึกดำ�ำ บรรพ์ส์ ่ง่ เสริมิ การเป็น็ แหล่ง่ เรียี นรู้้�ทางวิชิ าการ
ร่ว่ มลงนามบันั ทึึกข้อ้ ตกลงความร่ว่ มมือื ทางวิชิ าการ (MOU) ด้า้ นการอนุรุ ักั ษ์์ ด้้านซากดึึกดำำ�บรรพ์์ ธรณีีวิิทยา และธรรมชาติิวิิทยา สร้้างการรัับรู้� และ
และบริิหารจััดการแหล่่งซากดึึกดำำ�บรรพ์์พื้้น� ที่่�อุทุ ยานแห่่งชาติิดอยสอยมาลัยั – การให้้บริิการองค์์ความรู้�แก่่ประชาชน รวมทั้้�ง สนัับสนุุนการใช้้ทรััพยากร
ไม้้กลายเป็็นหิิน (เตรีียมการ) และพื้้�นที่่�ป่่าสงวนแห่่งชาติิป่่าแม่่สลิิดและ บุคุ ลากร ความช่ว่ ยเหลือื ทางวิชิ าการ และตามอำ�ำ นาจหน้า้ ที่่ข� องแต่ล่ ะหน่ว่ ยงาน
ป่่าโป่ง่ แดง ตำ�ำ บลตากออก อำ�ำ เภอบ้า้ นตาก จังั หวัดั ตาก เพื่่�อร่ว่ มกัันอนุุรักั ษ์์ ร่่วมกัันพััฒนาบุุคลากรของหน่่วยงานทั้้�งสาม ด้้านการแลกเปลี่�ยนเรีียนรู้�
และบริิหารจััดการแหล่่งซากดึึกดำำ�บรรพ์์ ส่่งเสริิมการเป็็นแหล่่งเรีียนรู้� การจััดการแหล่่งเรีียนรู้� การจััดกิิจกรรม และการถ่่ายทอดองค์์ความรู้�
ทางวิชิ าการด้า้ นซากดึึกดำำ�บรรพ์์ ธรณีีวิิทยา และธรรมชาติิวิิทยา สร้้างการรับั รู้� ด้า้ นซากดึึกดำ�ำ บรรพ์์ ธรณีีวิิทยา และธรรมชาติิวิทิ ยา ทั้้ง� นี้้� ทั้้ง� สามหน่ว่ ยงาน
และการให้้บริิการองค์์ความรู้�แก่่ประชาชน โดยมีีนายธััญญา เนติิธรรมกุุล จะร่ว่ มกันั จััดทำำ� Road Map และแผนปฏิิบััติิงานร่ว่ มกันั ต่อ่ ไป
อธิิบดีีกรมอุุทยานแห่ง่ ชาติ ิ สััตว์์ป่า่ และพันั ธุ์์�พืช นายสุุรชััย อจลบุุญ อธิบิ ดีีกรมป่า่ ไม้้
และนายพงศ์บ์ ุุณย์์ ปองทอง อธิิบดีีกรมทรัพั ยากรธรณีี เป็น็ ประธาน ลงนาม
ความร่ว่ มมืือผ่า่ นระบบออนไลน์์ Zoom Application

กรมทรัพั ยากรธรณีี ร่ว่ มกับั สมาคมธรณีวี ิทิ ยาแห่ง่ ประเทศไทย กรมทรััพยากรธรณีี จััดกิิจกรรม “ค่่ายเด็็กรัักษ์์ไม้้ตาก”
แถลงความพร้้อม “การเตรีียมการบัันทึึกสถิิติิโลก ไม้้กลาย สู่่�การบัันทึึกสถิิติิโลก “ไม้้กลายเป็็นหิินที่่�ยาวที่่�สุุดในโลก”
เป็็นหิินที่่�ยาวที่่�สุุดในโลก” ต่่อ Guinness World Records (GWR) กรมทรััพยากรธรณีี โดยสำ�ำ นัักงานทรััพยากรธรณีี เขต ๑ ร่่วมสร้้าง
ผ่่านแพล็็ตฟอร์์มออนไลน์์เต็็มรููปแบบ องค์์ความรู้�ให้ก้ ัับเยาวชนในจังั หวัดั ตาก ผ่่านกิจิ กรรม “ค่่ายเด็็กรัักษ์์ไม้ต้ าก”
๒๙ มีนี าคม ๒๕๖๕ เวลา ๑๐.๓๐ น. กรมทรัพั ยากรธรณีี และสมาคม รุ่�นที่� ๑ และ ๒ ระหว่า่ งวันั ที่� ๒๕ - ๒๘ กุมุ ภาพันั ธ์์ ๒๕๖๕ และ ๔ - ๗ มีนี าคม ๒๕๖๕
ธรณีวี ิทิ ยาแห่ง่ ประเทศไทย จัดั งานแถลงข่า่ ว “การเตรียี มการบันั ทึึกสถิติ ิโิ ลก ณ อุทุ ยานแห่ง่ ชาติดิ อยสอยมาลัยั -ไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ อำ�ำ เภอบ้า้ นตาก จังั หวัดั ตาก
ไม้้กลายเป็น็ หินิ ที่่�ยาวที่่ส� ุุดในโลก” ต่อ่ Guinness World Records (GWR) ซึ่ง่� กิจิ กรรมการจัดั ค่า่ ยครั้ง�้ นี้้ด� ำำ�เนินิ การโดยสมาคมธรณีวี ิทิ ยาแห่ง่ ประเทศไทย
โดยมีี นายพงศ์บ์ ุณุ ย์์ ปองทอง อธิบิ ดีกี รมทรัพั ยากรธรณีี และนายสมหมาย เตชวาล ภายในกิิจกรรมประกอบด้้วย การให้อ้ งค์์ความรู้�ไม้้กลายเป็็นหิิน และการเดิิน
นายกสมาคมธรณีีวิิทยาแห่่งประเทศไทย เป็็นประธานในการแถลงข่่าว ศึึกษาเส้้นทางธรรมชาติิบนดอยสอยดาว เพื่่�อเป็็นการส่่งเสริิมให้้เยาวชน
ผ่า่ นระบบ Zoom Meeting และ Facebook Live เพจ “กรมทรัพั ยากรธรณี”ี ในพื้้น� ที่่จ� ังั หวััดตากได้้มีโี อกาสเรีียนรู้�มรดกธรณีใี นท้้องถิ่น� จนเกิดิ การอนุรุ ัักษ์์
ทั้้ง� นี้้ � จะมีพี ิธิ ีีมอบป้้ายบัันทึึกสถิติ ิโิ ลก ไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ ที่่�ยาวที่่ส� ุดุ ในโลก หวงแหน และภููมิิใจตลอดจนสนัับสนุุนให้้เยาวชนได้้เป็็น “มััคคุุเทศก์์น้้อย”
จาก Guinness World Records (GWR) ในวันั ศุุกร์ท์ ี่่� ๒๙ เมษายน ๒๕๖๕ เพื่่อ� ถ่่ายทอดเรื่�องราวของ “ไม้้ตาก” ที่่จ� ะถููกบัันทึึกสถิิติิเป็็นไม้้กลายเป็็นหิิน
ณ อุทุ ยานแห่ง่ ชาติ ิ ดอยสอยมาลัยั -ไม้ก้ ลายเป็น็ หินิ (เตรียี มการ) ตำ�ำ บลตากออก ที่่�ยาวที่่�สุุดในโลก การจััดค่่ายเด็็กรัักษ์์ไม้้ตาก ในครั้้�งนี้้� ได้้รัับการสนัับสนุุน
อำำ�เภอบ้้านตาก จัังหวัดั ตาก จาก ปตท. และ ปตท. สผ. ซึ่ง�่ เป็น็ การเตรียี มความพร้อ้ มต่อ่ การบันั ทึึกสถิติ ิโิ ลก
“ไม้ก้ ลายเป็็นหินิ ที่่ย� าวที่่�สุุดในโลก” ต่อ่ Guinness World Records

ข่า่ วสาร กรมทรััพยากรธรณีี ๑๕

วัันคล้้ายวัันสถาปนากรมทรััพยากรธรณีี

๑๓๐ ปีีครบรอบ

๑๗ มกราคม ๒๕๖๕ เวลา ๐๗.๐๙ น. กรมทรััพยากรธรณี ี จัดั งานเนื่่�องในวันั
คล้้ายวันั สถาปนาครบรอบ ๑๓๐ ปีี โดยนายพงศ์บ์ ุุณย์์ ปองทอง อธิิบดีีกรมทรััพยากรธรณีี
พร้้อมด้้วยคณะผู้�บริิหาร ร่่วมพิิธีีบวงสรวงพระนารายณ์์ และศาลพระภููมิิเจ้้าที่่� จากนั้้�น
เวลา ๑๐.๐๐ น. ประกอบพิิธีีทางศาสนา พระสงฆ์์จำำ�นวน ๙ รููป เจริิญพระพุุทธมนต์์
ถวายภัตั ตาหาร และปัจั จัยั ไทยธรรม โดยนายพงศ์บ์ ุณุ ย์์ ปองทอง เป็น็ ประธานจุดุ ธูปู เทียี น
บูชู าพระรัตั นตรัยั โดยร่่วมกัับคณะผู้�บริิหารถวายภัตั ตาหารและปััจจัยั
จากนั้้น� ในเวลา ๑๑.๐๐ น. นายพงศ์บ์ ุุณย์์ ปองทอง อธิบิ ดีีกรมทรััพยากรธรณีี
เป็น็ ประธานในพิธิ ีมี อบโล่ป่ ระกาศเกียี รติคิ ุณุ แก่ข่ ้า้ ราชการ ลูกู จ้า้ งประจำ�ำ และพนักั งานราชการ
ดีเี ด่น่ ประจำ�ำ ปีี พ.ศ. ๒๕๖๓ จำำ�นวน ๕ ราย ณ ห้อ้ งประชุมุ ชั้น� ๑ อาคารเพชรกรมทรัพั ยากรธรณีี

๑๖ ข่า่ วสาร กรมทรััพยากรธรณีี

รอบรั้�ว้ ทธ.

กรมทรััพยากรธรณีี ให้้การต้้อนรัับ รมว.ทส. ณ สวนพฤกษศาสตร์์
สมเด็จ็ พระนางเจ้้าสิิริิกิิติ์์� จังั หวััดเชียี งใหม่่
๒๐ มีนี าคม ๒๕๖๕ นายวราวุธุ ศิลิ ปอาชา รัฐั มนตรีวี ่า่ การกระทรวงทรัพั ยากรธรรมชาติิ
และสิ่�งแวดล้้อม พร้้อมด้้วยนายจตุุพร บุุรุุษพััฒน์์ ปลััดกระทรวงทรััพยากรธรรมชาติิและ
สิ่�งแวดล้้อม และคณะผู้�บริิหารฯ ลงพื้้�นที่่�ตรวจเยี่�ยมการจััดเตรีียมงานเฉลิิมพระเกีียรติิสมเด็็จ
พระนางเจ้า้ สิริ ิกิ ิติิ์� พระบรมราชินิ ีนี าถ พระบรมราชชนนีพี ระพันั ปีหี ลวง เนื่่อ� งในโอกาสมหามงคล
เฉลิิมพระชนมพรรษา ๙๐ พรรษา ๑๒ สิงิ หาคม ๒๕๖๕ ซึ่�ง่ กรมทรััพยากรธรณีี ร่ว่ มจััดกิิจกรรม
ภายใต้น้ ิทิ รรศการแผ่น่ ดินิ แม่่ แผ่น่ ดินิ ทรัพั ยากรธรณีี โดยมีนี ายพงศ์บ์ ุณุ ย์์ ปองทอง อธิบิ ดีกี รมทรัพั ยากรธรณีี
พร้้อมด้้วย นายสิิทธิิชััย เสรีีส่่งแสง รองอธิิบดีีกรมทรััพยากรธรณีี และนายสุุธีี จงอััจฉริิยกุุล
ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นักั งานทรัพั ยากรธรณีี เขต ๑ ร่ว่ มกับั คณะบอร์ด์ ผู้้�บริหิ ารองค์ก์ ารสวนพฤกษศาสตร์์
ร่ว่ มให้ก้ ารต้้อนรับั ณ สวนพฤกษศาสตร์์สมเด็จ็ พระนางเจ้า้ สิิริิกิติิ์ � จังั หวััดเชียี งใหม่่

ร่ว่ มต้้อนรัับรองอธิิบดีีคนใหม่่
๒๘ กุุมภาพัันธ์์ ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๐๐ น.
คณะผู้�บริิหารกรมทรััพยากรธรณีีร่ว่ มให้้การต้้อนรัับ
นายสุวุ ภาคย์ ์ อิ่่�มสมุุทร และนายสิิทธิิชััย เสรีีส่่งแสง
ในโอกาสเดินิ ทางเข้า้ รับั ตำ�ำ แหน่ง่ รองอธิบิ ดีกี รมทรัพั ยากรธรณีี
โอกาสนี้้� คณะฯ ร่่วมพิิธีีสัักการะถวายมาลััย
แด่่พระนารายณ์์ ศาลพระภููมิิเจ้้าที่่� และถ่่ายภาพ
ร่่วมกััน ณ อาคารเพชร กรมทรััพยากรธรณีี

คณะอนุกุ รรมการเครืือข่า่ ยอุทุ ยานธรณีปี ระเทศไทยอนุมุ ัตั ิจิ ัดั ประชุมุ TGN
ครั้้ง� ที่่� ๑ (1st Thailand Geoparks Network Symposium)
๒๘ กุุมภาพัันธ์์ ๒๕๖๕ นายพงศ์์บุุณย์์ ปองทอง อธิิบดีีกรมทรััพยากรธรณีี
เป็น็ ประธานการประชุมุ คณะอนุกุ รรมการเครือื ข่า่ ยอุทุ ยานธรณีปี ระเทศไทย ครั้ง�้ ที่่� ๑/๒๕๖๕
โดยมีีนายสิิทธิิชััย เสรีีส่่งแสง รองอธิิบดีีกรมทรััพยากรธรณีี เป็็นรองประธานอนุุกรรมการ
และนางอััปสร สอาดสุุด ผู้้�อำ�ำ นวยการกองธรณีวี ิทิ ยา ทำ�ำ หน้้าที่่อ� นุกุ รรมการและเลขานุุการ
ทั้้ง� นี้ � มีอี นุกุ รรมการเข้า้ ร่ว่ มการประชุมุ ทั้้ง� สิ้น� ๑๕ ท่า่ น ประกอบด้ว้ ย ผู้้�อำ�ำ นวยการอุทุ ยานธรณีี
ในประเทศไทย และผู้�แทนหน่่วยงานที่่เ� กี่�ยวข้อ้ ง ซึ่�ง่ คณะอนุุกรรมการเครือื ข่า่ ยอุุทยานธรณีี
ประเทศไทย เป็็นคณะอนุุกรรมการฯ ภายใต้้คณะกรรมการแห่่งชาติิว่่าด้้วยอุุทยานธรณี ี
ทำำ�หน้้าที่่�ในการกำ�ำ หนดหลัักเกณฑ์์ แนวทางการดำ�ำ เนิินงานของเครืือข่่ายอุุทยานธรณีี
ในประเทศ ตลอดจนการขัับเคลื่�อนงานอุุทยานธรณีีในการจััดกิิจกรรมแลกเปลี่�ยนเรีียนรู้�
ส่ง่ เสริิม สนัับสนุุนตลอดจนเป็็นศูนู ย์ก์ ลางข้้อมููลและประชาสััมพัันธ์์

ทธ. จัดั ประชุมุ รายงานผลการปฏิบิ ัตั ิงิ าน รอบ ๖ เดืือน
๑๕ มีนี าคม ๒๕๖๕ กรมทรััพยากรธรณีี โดยกลุ่�มพัฒั นาระบบริหิ าร จััดประชุมุ การ
รายงานผลการดำำ�เนินิ งานตามตัวั ชี้้ว� ัดั ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยมีี นายพงศ์บ์ ุณุ ย์์ ปองทอง
อธิิบดีกี รมทรัพั ยากรธรณีี เป็็นประธาน พร้อ้ มด้้วย นายสุุวภาคย์ ์ อิ่่ม� สมุทุ ร - นายสิทิ ธิิชัยั เสรีสี ่่งแสง
รองอธิิบดีีกรมทรััพยากรธรณีี คณะผู้�บริิหาร ผู้้�มีีส่่วนเกี่�ยวข้้อง และผู้�สนใจเข้้าร่่วมรัับฟัังการ
นำ�ำ เสนอผลผลการดำำ�เนิินงานตามตััวชี้้�วััด และติิดตามความก้้าวหน้้าผลการดำำ�เนิินงานตาม
คำ�ำ รับั รองการปฏิบิ ัตั ิริ าชการ ของหน่ว่ ยงานในสังั กัดั กรมทรัพั ยากรธรณี ี ผ่า่ นระบบ Zoom Meeting
จำำ�นวนทั้้�งสิ้�น ๒๔ ตัวั ชี้้ว� ััด ประกอบด้้วย
๑) กลุ่�มตัวั ชี้้ว� ัดั ตามมาตรการปรับั ปรุงุ ประสิทิ ธิภิ าพในการปฏิบิ ัตั ิริ าชการ จำ�ำ นวน ๖ ตัวั ชี้้ว� ัดั
๒) กลุ่�มตัวั ชี้้�วััดตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่่าย หรืือตััวชี้้�วััดของงานโครงการ จำำ�นวน ๑๘ ตััวชี้้ว� ััด

ข่า่ วสาร กรมทรัพั ยากรธรณีี ๑๗

MNRE

การประชุมุ คณะกรรมการนโยบายบริหิ ารจัดั การแร่แ่ ห่ง่ ชาติิ กรมทรััพยากรธรณีี ผนึึกกำำ�ลััง ทส. ร่่วมหารืือแนวทาง
ครั้้ง� ที่่� ๑/๒๕๖๕ พลเอก ประวิติ รฯ เป็็นประธานการ ๓ หน่่วยงาน ขานรัับนโยบาย ทส.ยกกำำ�ลังั เอ็็กซ์์
ประชุุม คนร. ย้ำ�ำ� บริิหารจััดการแร่่ต่่ อ เ นื่่� อ ง ๑๖ มีนี าคม ๒๕๖๕ นายพงศ์บ์ ุณุ ย์์ ปองทอง อธิบิ ดีกี รมทรัพั ยากรธรณีี
ลดผลกระทบภาคอุุตสาหกรรม เพื่่อ� ประโยชน์ป์ ระชาชน พร้้อมด้้วย นายสุุวภาคย์์ อิ่่�มสมุุทร และนายสิิทธิิชััย เสรีีส่่งแสง
๕ มกราคม ๒๕๖๕ เวลา ๑๐.๐๐ น. พลเอก ประวิติ ร วงษ์ส์ ุวุ รรณ รองอธิบิ ดีกี รมทรัพั ยากรธรณีี ได้ร้ ่ว่ มประชุมุ หารือื กับั นายรัชั ฎา สุรุ ิยิ กุลุ
รองนายกรัฐั มนตรีี ในฐานะประธานกรรมการนโยบายบริหิ ารจัดั การแร่่ ณ อยุุธยา อธิิบดีีกรมอุุทยานแห่่งชาติิ สััตว์์ป่่า และพัันธุ์์�พืืช และ
แห่ง่ ชาติิ (คนร.) เป็น็ ประธานการประชุมุ คนร. ครั้ง� ที่� ๑/๒๕๖๕ พร้อ้ มด้ว้ ย นายสุุรชัยั อจลบุุญ อธิิบดีกี รมป่า่ ไม้้ ณ ห้อ้ งประชุุมชั้�น ๖ อาคาร
นายวราวุุธ ศิิลปอาชา รัฐั มนตรีีว่า่ การกระทรวงทรัพั ยากรธรรมชาติิ ศูนู ย์ป์ ฏิบิ ัตั ิกิ าร กรมอุทุ ยานแห่ง่ ชาติ ิ สัตั ว์ป์ ่า่ และพันั ธุ์์�พืชื เพื่่อ� เร่ง่ รัดั
และสิ่�งแวดล้้อม คณะกรรมการและผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิที่่�เข้้าร่่วมประชุุม การดำ�ำ เนิินงานตามนโยบาย “ทส. ยกกำำ�ลังั X” โดยมีีประเด็็นหารือื
ผ่่านระบบวิิดีีทััศน์์ทางไกล ณ ห้้องประชุุม ชั้้�น ๑ อาคารเพชร สำ�ำ คััญ ดังั นี้้�
กรมทรััพยากรธรณีีที่่�ประชุุมรัับทราบความก้้าวหน้้าการดำ�ำ เนิินการ ๑. การพััฒนาแหล่่งไม้้กลายเป็็นหิิน อุุทยานแห่่งชาติิ
ติดิ ตามและประเมิินผลแผนแม่่บทการบริหิ ารจััดการแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ดอยสอยมาลััย-ไม้ก้ ลายเป็็นหิิน จัังหวัดั ตาก เพื่่อ� เตรีียมความพร้อ้ ม
๒๕๖๔ เดืือนกัันยายน ๒๕๖๔ ที่่�มีีผลการดำำ�เนิินงานที่่�สำำ�เร็็จแล้้ว การจััดงานการเฉลิิมฉลอง Guinness World Record ในวันั ที่่� ๒๙
จำำ�นวน ๑๖ ตััวชี้้ว� ััด (คิดิ เป็็นร้้อยละ ๙๔ ของจำำ�นวนตัวั ชี้้ว� ัดั ทั้้ง� หมด) เมษายน ๒๕๖๕
และเมื่ �อประเมิินความสำำ�เร็็จของแผนแม่่บทการบริิหารจััดการแร่่ ๒. การพััฒนาอุุทยานธรณีีโลกสตููล เพื่่�อสนัับสนุุน
พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ ในภาพรวม การประเมินิ ซ้ำ�ำ�อุทุ ยานธรณีีโลกสตูลู
๓. การบริิหารจััดการทรััพยากรแร่่ เพื่่�อการกำำ�หนดเขต
พื้้น� ที่่แ� หล่ง่ ต้น้ น้ำ��ำ และป่า่ น้ำ�ำ� ซับั ซึึมตามพระราชบัญั ญัตั ิแิ ร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐
๔. การคััดเลืือกแหล่่งท่่องเที่่�ยวที่่�สำำ�คััญ โดยกรมอุุทยาน
แห่ง่ ชาติ ิ สัตั ว์ป์ ่า่ และพันั ธุ์์�พืชื และกรมป่า่ ไม้ ้ คัดั เลือื กแหล่ง่ ท่อ่ งเที่่ย� ว
ที่่�สำ�ำ คััญ จำ�ำ นวน ๑๐๐ แห่่ง เพื่่�อให้้กรมทรััพยากรธรณีีศึึกษาและ
พััฒนาองค์์ความรู้้�ทางวิิชาการและเสถีียรภาพความปลอดภััย
โดยเฉพาะแหล่ง่ ถ้ำ�ำ�ในพื้้�นที่่ข� อง ทส.
๕. ขอบเขตการดำำ�เนินิ งานภายใต้บ้ ันั ทึึกข้อ้ ตกลงความร่ว่ มมือื
ทางวิิชาการ (MOU) กรมทรััพยากรธรณีี กัับกรมอุุทยานแห่่งชาติิ
สัตั ว์์ป่่า และพัันธุ์์�พืืช

คณะกรรมการแห่ง่ ชาติวิ ่า่ ด้ว้ ยอุทุ ยานธรณีี เห็น็ ชอบ รมว.ทส. วราวุธุ ฯ และคณะตรวจเยี่่ย� มพื้น้� ที่่� “อุทุ ยาน
ให้อ้ ุทุ ยานธรณีขี อนแก่น่ เข้า้ รับั การประเมินิ เป็น็ อุทุ ยาน ธรณีผี าชััน สามพัันโบก“ จัังหวััดอุบุ ลราชธานีี
ธรณีโี ลกของยูเู นสโก ๒๖ มีนี าคม ๒๕๖๕ นายวราวุธุ ศิลิ ปอาชา รัฐั มนตรีวี ่า่ การ
๓ กุมุ ภาพันั ธ์์ ๒๕๖๕ นายวราวุธุ ศิลิ ปอาชา รัฐั มนตรีวี ่า่ การ กระทรวงทรัพั ยากรธรรมชาติแิ ละสิ่ง� แวดล้อ้ ม พร้อ้ มด้ว้ ย นายจตุพุ ร บุรุ ุษุ พัฒั น์์
กระทรวงทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่�งแวดล้้อม เป็็นประธาน ปลัดั กระทรวงทรัพั ยากรธรรมชาติแิ ละสิ่ง� แวดล้อ้ ม และผู้�บริหิ ารระดับั สูงู
การประชุมุ คณะกรรมการแห่ง่ ชาติวิ ่า่ ด้ว้ ยอุทุ ยานธรณีี ครั้ง�้ ที่่� ๑/๒๕๖๕ ลงพื้้�นที่่�ติิดตามการดำำ�เนิินงานอุุทยานธรณีีผาชััน สามพัันโบก
โดยมีีนายจตุุพร บุรุ ุุษพัฒั น์์ ปลััดกระทรวงทรัพั ยากรธรรมชาติแิ ละ จังั หวัดั อุบุ ลราชธานีี โดยมีี นายพงศ์บ์ ุณุ ย์์ ปองทอง อธิบิ ดีกี รมทรัพั ยากรธรณีี
สิ่ง� แวดล้อ้ ม นายพงศ์บ์ ุุณย์์ ปองทอง อธิบิ ดีกี รมทรััพยากรธรณีี และ นายสุวุ ภาคย์ ์อิ่ม� สมุทุ ร และนายสิทิ ธิชิ ัยั เสรีสี ่ง่ แสง รองอธิบิ ดีกี รมทรัพั ยากรธรณีี
คณะกรรมการฯ เข้า้ ร่ว่ มการประชุมุ ทั้้ง� สิ้�น 26 ท่่าน การประชุมุ ครั้�ง้ นี้้� นายพงศ์์รััตน์์ ภิิรมย์์รััตน์์ ผู้้�ว่่าราชการจัังหวััดอุุบลราชธานีี และ
ที่่�ประชุุมมีีมติิเห็็นชอบให้้อุุทยานธรณีีขอนแก่่นเสนอชื่่�อเพื่่�อเข้้ารัับ นายสุุริิยััน กิิจสวััสดิ์� ผู้้�อำำ�นวยการอุุทยานธรณีีผาชััน สามพัันโบก
การประเมิินเป็็นอุุทยานธรณีีโลกของยููเนสโก โดยนำำ�เสนอเรื่�องต่่อ จังั หวััดอุบุ ลราชธานี ี ร่่วมให้้การต้อ้ นรัับ
คณะรััฐมนตรีีเพื่่�อทราบและส่่งหนัังสืือแสดงเจตจำ�ำ นงเพื่่�อรัับ
การประเมินิ จากยููเนสโกภายในเดือื นกรกฎาคม ๒๕๖๕

๑๘ ข่า่ วสาร กรมทรััพยากรธรณีี

ข่่าวภูมู ิภิ าค

สทข.๓ ร่่วมประชุุมบููรณาการจััดการทรััพยากร
อธิบิ ดีกี รมทรัพั ยากรธรณีี ลงพื้น้� ที่่ต� รวจราชการ ธรรมชาติแิ ละสิ่่ง� แวดล้อ้ มในพื้น�้ ที่่จ� ังั หวัดั นครนายก
สำำ�นักั งานทรััพยากรธรณีี เขต ๑ จังั หวัดั ลำำ�ปาง
ผู้้�ตรวจราชการกระทรวงทรััพยากรธรรมชาติิฯ นายทิินกร ทาทอง ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นัักงาน
ติดิ ตามการดำ�ำ เนินิ งานและเยี่่ย� มชมพิพิ ิธิ ภัณั ฑ์ส์ ิริ ินิ ธร
๒๔ มกราคม ๒๕๖๕ นายพงศ์์บุุณย์์ ปองทอง และสำำ�นักั งานทรัพั ยากรธรณีี เขต ๒ ทรัพั ยากรธรณีี เขต ๓ มอบหมายให้น้ างสาวศิริ ิพิ ร สูงู ปานเขา
อธิิบดีกี รมทรัพั ยากรธรณีี พร้้อมคณะผู้�บริิหาร ทธ. ผู้้�อำำ�นวยการส่่วนส่่งเสริิมการบริิหารจััดการ
นางสุุรียี ์์ ธีีระรังั สิิกุลุ ผู้้�ตรวจราชการกรม รัักษาการ ๓๐ มีนี าคม ๒๕๖๕ นายเถลิงิ ศักั ดิ์� เพ็ช็ รสุวุ รรณ ทรัพั ยากรธรณีี สทข. ๓ เข้า้ ร่ว่ มประชุุมบูรู ณาการ
แทนรองอธิบิ ดีี นางสุภุ าภรณ์ ์ วรกนก ผู้้�อำำ�นวยการ ผู้�ตรวจราชการกระทรวงทรััพยากรธรรมชาติิและ จััดการทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่�งแวดล้้อมในพื้้�นที่่�
กองอนุุรัักษ์์และจััดการทรััพยากรธรณีี และ สิ่�งแวดล้้อม ลงพื้้�นที่่�ตรวจราชการในเขตตรวจ จังั หวัดั นครนายก โดยมีี นายสมชาย เปรมพาณิชิ ย์น์ ุกุ ูลู
นายสมศักั ดิ์� วัฒั นาปฤดา ผู้้�อำำ�นวยการกองวิเิ คราะห์์ ราชการที่่� ๑๒ ติิดตามการดำำ�เนิินงาน โครงการ ผู้้�อำ�ำ นวยการสำ�ำ นัักงานทรััพยากรธรรมชาติิและ
และตรวจสอบทรัพั ยากรธรณี ี ร่ว่ มกับั คณะผู้�บริหิ าร กิิจกรรมตามภารกิิจกระทรวง ฯ ของหน่่วยงาน สิ่�งแวดล้้อม จังั หวัดั นครนายก เป็น็ ประธาน ในวันั ที่่�
สวนพฤกษศาสตร์์สมเด็็จพระนางเจ้้าสิิริิกิิติ์ � ในพื้้�นที่่�จัังหวััดกาฬสิินธุ์์� ทั้้�งนี้้� คณะฯ ได้้เดิินทาง ๑๗ มีีนาคม ๒๕๖๕ โดย นางสาวศิริ ิพิ ร สูงู ปานเขา
จังั หวัดั เชียี งใหม่ ่ ลงพื้้น� ที่่ต� รวจเยี่ย� มและมอบนโยบาย ติดิ ตามการดำำ�เนินิ งานและเยี่ย� มชมพิพิ ิธิ ภัณั ฑ์ส์ ิริ ินิ ธร นำ�ำ เสนอแผนการดำำ�เนินิ งานของกรมทรัพั ยากรธรณีี
ให้้แก่่เจ้้าหน้้าที่�สำำ�นัักงานทรััพยากรธรณีี เขต ๑ สำ�ำ นักั งานทรัพั ยากรธรณีี เขต ๒ โดยมีนี างสาวศศอร ขันั สุภุ า ในภาพรวม โครงการที่่ด� ำำ�เนินิ ในพื้้น� จังั หวัดั นครนายก
โดยมีี นายสุธุ ีี จงอััจฉริยิ กุลุ ผู้้�อำำ�นวยการสำ�ำ นัักงาน นัักวิิชาการทรััพยากรธรณีีชำำ�นาญการพิิเศษ และ และข้้อมููลรายงานแผนที่่�พื้้�นที่่�เสี่�ยงภััยแผ่่นดิินถล่่ม
ทรัพั ยากรธรณีี เขต ๑ ให้้การต้อ้ นรัับ เจ้้าหน้า้ ที่่พ� ิพิ ิิธภัณั ฑ์ส์ ิิรินิ ธร ร่่วมให้้การต้อ้ นรัับ ระดับั หมู่่�บ้้าน แก่ ่ ทสจ.นครนายก

กรมทรัพั ยากรธรณีรี ่ว่ มสนับั สนุุนจัังหวััดสตูลู เตรีียมความพร้อ้ มประเมิินซ้ำำ��
อุทุ ยานธรณีีโลกสตููล และจััดการประชุุมเครืือข่า่ ยอุุทยานธรณีี

๗ มีีนาคม ๒๕๖๕ นายสุวุ ภาคย์ ์ อิ่่ม� สมุทุ ร รองอธิิบดีกี รมทรััพยากรธรณีี นางอััปสร สอาดสุุด
ผู้้�อำำ�นวยการกองธรณีวี ิทิ ยา นายสุรุ ชัยั ศิริ ิพิ งษ์เ์ สถียี ร ผู้้�เชี่ย� วชาญเฉพาะด้า้ นอนุรุ ักั ษ์แ์ หล่ง่ ธรณีวี ิทิ ยา
นางสาวอรอุุมา สุ่่�มมาตย์์ ผู้้�อำ�ำ นวยการสำำ�นัักงานทรััพยากรธรณีี เขต ๔ พร้้อมคณะเจ้้าหน้้าที่่�
กรมทรัพั ยากรธรณีี เข้า้ ร่ว่ มการประชุมุ คณะกรรมการอำำ�นวยการอุทุ ยานธรณีโี ลกสตูลู ครั้ง้� ที่่� ๑/๒๕๖๕
เพื่่�อรัับทราบการเตรีียมความพร้้อมประเมิินซ้ำำ�� อุุทยานธรณีีโลกสตููล และจััดการประชุุมเครืือข่่าย
อุทุ ยานธรณี ี ณ ศาลาว่า่ การจังั หวัดั สตูลู โดยนายเอกรัฐั หลีเี ส็น็ ผู้้�ว่า่ ราชการจังั หวัดั สตูลู เป็น็ ประธาน
การประชุุม

ข่า่ วสาร กรมทรัพั ยากรธรณีี ๑๙

à¡ÒÐ䢋ËÒ´·ÃÒ§ÒÁ¢ÒÇÊÐÍÒ´ «ØŒÁËԹ⤌§áË‹§ÃÑ¡¹ÔÃѹ´Ã


Click to View FlipBook Version