The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นูรฮูดา-ปวส1อาหาร-11 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by danurhuda.00, 2023-06-02 03:20:23

it

นูรฮูดา-ปวส1อาหาร-11 (1)

การน าเอาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสารสนเทศ โดยอาศัย เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้างวิธีการด าเนินการและขั้นตอนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเช่น กรรมวิธีการด าเนินการเพื่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุด 1. ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความที่ เกิดขึ้นจากการด าเนินงาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยังไม่สามารถน าไปใช้ ประโยชน์ในการตัดสินใจได้ทันที จะน าไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว 2. บุคลากร ป็นผู้ใช้และเป็นผู้สร้างสารสนเทศ ดูแลก ากับ ปกติบุคลากรทั้งองค์กรจะเกี่ยวข้อง กับ สารสนเทศด้วยกันทั้งนั้น ซึ่งจะเกี่ยวข้องในรูปแบบที่เป็นทั้งผู้ใช้และผู้พัฒนา บุคลากรในองค์กรจึงแยกออกเป็น บุคลากร 3. ซอฟต์แวร์หมายถึงชุดค าสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงล าดับ ขั้นตอนการท างานที่เขียนขึ้นด้วยค าสั่งของคอมพิวเตอร์ ค าสั่งเหล่านี้เรียง กันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ท างาน ตามค าสั่ง 2. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศประกอบไปด้วยอะไรบ้าง 1. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนและระเบียบวิธีการจัดเก็บข้อมูลให้อยู่ ในรูปแบบที่จะเป็นสารสนเทศได้ เช่น การก าหนดให้มีการป้อนข้อมูลใน ทุกๆ วัน 2. ข้อมูล ข้อมูลถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งความส าคัญที่มีความสามารถในการช่วย วางแผนงานบริหารบริการจัดการ ดังนั้นข้อมูลต้องมีความถูกต้องและ น่าเชื่อถือ 3. ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมในระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วย System Software (ซอฟต์แวร์ระบบ) Application Software (ซอฟต์แวร์ประยุกต์)


4. ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งฮาร์ดแวร์จะถูกควบคุมโดยซอฟต์แวร์เป็นเครื่องมือที่ช่วย ในการจัดการสารสนเทศ โดยหลักๆ ฮาร์ดแวร์เป็นอุปกรณ์ที่ประมวลผลข้อมูลเพื่อสร้างข้อมูลสารสนเทศ ที่ ท างานได้อย่างรวดเร็วและมีความแม่นย า ซึ่งฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ต่างๆ สามารถแบ่งออกได้ 3 หน่วยคือ หน่วยแสดงผล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยรับข้อมูล ฮาร์ดแวร์หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็น เครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการท างาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลส ารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การท างาน แตกต่างกัน 5. บุคลากร บุคลากรถือได้ว่าเป็นอีกองค์ประกอบที่ส าคัญไม่แพ้ส่วนอื่นๆ เพราะบุคลากรนั้น มีความรู้ ความสามารถ อีกทั้งยังมีความเข้าใจในขั้นตอนและวิธีการด าเนินการ และการจัดการเกี่ยวกับสารสนเทศ ทั้งหมด


1. .Storage (การจัดเก็บข้อมูล) คือ อุปกรณ์เก็บข้อมูล อะไรที่เก็บข้อมูลได้เราเรียก Storage หมดครับ ตัว Storage ก็มีหลายแบบ เช่น ใช้ส่วนตัว เช่น Google Drive , One Drive , Thumb Drive ส าหรับเก็บ File office 2. Output (การแสดงผล) คือ มีอุปกรณ์ส่งออก (output device) ท าหน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล โดยน าผล ที่ได้ออกจาก หน่วยความจ าหลักแสดง ให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออก 3. Process (การประมวลผลข้อมูล) คือขั้นตอนในการน าคอมพิวเตอร์มาช่วยในการประมวลผลข้อมูล โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือการน าข้อมูลเข้า (Input Data), การประมวลผล (Processing), และการน าเสนอข้อมูล (Output Data) ซึ่งทั้ง 3 ขั้นตอนนี้ต้องท างานต่อเนื่องกัน สามารถเรียกกรรมวิธีนี้ว่า "วงจรการประมวลผล (Data Processing Cycle)


4. Input (การน าเข้าข้อมูล) คือ เป็นกระบวนการบันทึกข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ การสร้างฐานข้อมูลที่ละเอียด ถูกต้อง เป็นสิ่งส าคัญอย่างยิ่งในการปฏิบัติงานด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ซึ่งจ าเป็นต้องมีการประเมินคุณภาพ ข้อมูล ที่จะน าเข้าสู่ระบบในเรื่องแหล่งที่มาของข้อมูล วิธีการส ารวจข้อมูลมาตราส่วนของแผนที่ ความถูกต้อง


Click to View FlipBook Version