The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

13.ผนวก ฉ.(การติดต่อสื่อสาร)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by .........., 2023-02-06 06:41:08

13.ผนวก ฉ.(การติดต่อสื่อสาร)

13.ผนวก ฉ.(การติดต่อสื่อสาร)

ชุดที่ ของ ชุด หน้า ๑ ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) การปฏิบัติงานภายใน ทก.มว.สื่อสารและศูนย์ข่าว ๑. ผบ.มว.ส. ๑.๑ เลือกที่ตั้ง ทก.มว.ส.,ศูนย์ข่าว,หมู่วิทยุ,หมู่ทางสาย ๑.๒ ควบคุมการปฏิบัติโดยทั่วไป และการปฏิบัติเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารทั้งหมด ๑.๓ จัดทำแผ่นสถานภาพเครื่องมือสื่อสาร,แผนผังการติดต่อสื่อสารทางสาย,แผนผังการ ติดต่อสื่อสารทางวิทยุและแผ่นบริวารวางสาย ๑.๔ รายงานข้อขัดข้องทางการสื่อสารและอิเลคทรอนิกส์ ๑.๕ รายงานสถานภาพการใช้การได้และการ ซบร.เครื่องมือสื่อสาร ๒. รอง ผบ.มว.ส. ๒.๑ จัดตั้ง ทก.มว.ส. ๒.๒ ตรวจการจัดตั้งและกำกับดูแลศูนย์ข่าว,หมู่วิทยุ,หมู่ทางสายให้สามารถปฏิบัติงานได้ภายใน ๓๐ นาที หลังจากไปถึงที่ตั้งใหม่ ๒.๓ จัดให้มีการระวังป้องกัน โดยจัดเวรยามที่ ทก.มว.ส. และกำหนดที่วางตัวในการระวัง ป้องกันของส่วนต่าง ๆ ๒.๔ ตรวจสอบการทำงานเครื่องมือสื่อสารทุกชนิด ให้สามารถปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี ๒.๕ จัดสาย ทำแผนการเคลื่อนย้าย และการทำลายอุปกรณ์ต่าง ๆ ในภาวะฉุกเฉิน ๒.๖ จัดทำแผนที่และแผนที่เส้นทางการวางสาย ๓. ส.หน.ศข. ๓.๑ จัดให้มีแบบฟอร์ม,อุปกรณ์และตารางดังต่อไปนี้ คือกระดาษเขียนข่าว,บัญชีแจกจ่ายของ ศูนย์ข่าว,แฟ้มชั่วคราว,แฟ้มถาวร,แฟ้มเสมียนศูนย์ข่าว,แฟ้มพนักงานเครื่องมือและตารางศูนย์ข่าว ๓.๒ จัดระเบียบภายในศูนย์ข่าว ให้พร้อมที่จะปฏิบัติงานได้ตลอดเวลา ๓.๓ ตรวจสอบกำกับดูแลการส่งข่าวสารต่าง ๆ ให้ไปยังผู้รับตามลำดับก่อนหลัง ๔. หน้าที่และการปฏิบัตินอกเหนือจากนี้ให้ปฏิบัติตาม รปจ.กองร้อย,รปจ.กองพันและคำสั่งตาม ผบ.ชา ตามลำดับชั้น


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 2 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) แผนผังการจัดภายในศูนย์ข่าว ป้าย ศข. แผนที่เส้นทางการวางสาย วิทยุ AN/VRC ๔๖ วิทยุ AN/VRC ๑๐๖ ผบ.มว.ส. รอง ผบ.มว.ส AN/GRA ๓๙ พนง.เครื่องมือทางวิทยุ ผช.หน.ศข. แผ่นสถานภาพทางการสื่อสาร แผ่นสถานภาพทางการสื่อสาร ตู้สลับสาย TA- ๓๑๒/PT พนง.เครื่องมือทางสาย ส.หน.ศข. ราวปืน


พลนำสาร (หน่วยส่งข่าวเข้า) ส.หน.ศข. พลนำสาร เสมียน ศข. ผู้รับข่าว พลนำสาร (หน่วยส่งข่าวเข้า) ส.หน.ศข. ชุดที่ ของ ชุด หน้า 3 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) การดำเนินกรรมวิธีต่อข่าวเข้าโดยพลนำสาร ๑ ๑ ๑ 1 ส่งข่าว ๑ ฉบับ พร้อมด้วยบัญชีนำสาร หรือใบรับส่งให้ ศข. ๑. รับข่าวจากพลนำสารลงชื่อเซ็นรับข่าวพร้อมลงเวลารับข่าวในบัญชีนำ สารหรือใบรับเสร็จแล้วคืนบัญชีนำสารหรือใบรับให้พลนำสารไป ๒.ลงเวลารับในข่าวพร้อมชื่อย่อวงกลมรอบไว้นำตารางงาน ศข.(เข้า)มา กรอกรายละเอียดในช่องเลขที่ ศข.เวลาในสนาม,เครื่องมือ,ความ เร่งด่วน ข่าว วัน/เวลา,รหัส ขีด -,นับหมู่ ขีด - ,ถึง จาก(ถ้าเป็นข่าว เข้าให้ขีดทับ/ถึง)เหลือไว้ช่อง “เวลารับ” ๓.นำบัญชีแจกจ่ายข่าวมากรอกรายละเอียดแจกจ่ายถึง,วันที่,เลขที่ ศข. พร้อมกับข่าวส่งให้พลนำสารไปส่งให้ผู้รับข่าว(น.หรือ ฝอ.) -รับข่าวพร้อมบัญชีแจกจ่ายข่าว ไปส่งให้ผู้รับข่าวลงชื่อเซ็นรับข่าวในบัญชี แจกจ่ายข่าว ลงเวลารับข่าวเสร็จแล้วนำบัญชีแจกจ่ายข่าวมาส่ง -รับบัญชีแจกจ่ายข่าวจากพลนำสาร นำเวลารับมาลงในตารางงาน ศข. ( ข่าว เข้า ) ส.หน.ศข. ส.หน.ศข.


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 4 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) การดำเนินกรรมวิธีต่อข่าวออกโดยพลนำสาร ๑ ๓ ๑ แฟ้มชั่วคราว ๑ แฟ้มถาวร ๑ ๑ ๑.ผู้เขียนข่าว เขียนข่าวขึ้น ๓ ฉบับ ส่งให้ ศข. ๑. รับข่าวจากผู้เขียนข่าว ๓ ฉบับ ลงเวลารับข่าว,ที่ของ ศข.,ส่งอย่างไรใน” ช่องนี้สำหรับ ศข.”เสร็จแล้วส่งคืนให้ผู้เขียนข่าว ๑ ฉบับ ๒. นำบัญชีนำสารมากรอกรายละเอียด เวลาออก,เลขที่ ศข.พร้อมกับข่าวส่ง ให้พลนำสารไปส่งให้หน่วยรับข่าว ศข.พร้อมทั้งให้คำแนะนำ(๑.เส้นทางที่ จะไป ๒.ความสำคัญของข่าว ๓.จะต้องรอคำตอบหรือไม่ ๔.ข่าวสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับข่าวฉบับนี้) ๑. รับข่าวพร้อมด้วยบัญชีนำสารไปส่งให้หน่วยรับข่าว นำบัญชีนำสารที่มี ลายมือชื่อเซ็นรับข่าว เวลารับข่าวมาส่งให้เสมียน ศข. ๑. เมื่อปล่อยพลนำสารไปแล้วเอาสำเนาข่าวในแฟ้มชั่วคราวมากรอก รายละเอียดในตารางงาน ศข.,ข่าว วัน/เวลา,รหัส ขีด-,นับหมู่ -,ถึง/จาก (ถ้าเป็นข่าวออกให้ขีด/ทับจาก)เหลือไว้ในช่องเวลารับเสร็จแล้วเก็บไว้ใน แฟ้มชั่วคราว ๑.รับบัญชีนำสารจากพลนำสารเอาสำเนาข่าวในแฟ้มชั่วคราวมาลงเวลารับในข่าว พร้อมชื่อย่อวงกลมรอบไว้และลงเวลารับในตารางงาน ศข.(ออก)เอาสำเนาข่าว ประกอบกับบัญชีนำสารเข้าด้วยกันเก็บเข้าแฟ้มถาวร ผู้เขียนข่าว ๓ เสมียน.ศข. พลนำ สาร ผู้รับข่าว ผู้เขียนข่าว ผู้เขียนข่าว ผู้เขียนข่าว ผู้เขียนข่าว ผู้เขียนข่าว


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 5 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) การดำเนินกรรมวิธีต่อข่าวเข้าโดยเครื่องมือไฟฟ้า 1 พนักงานเครื่องมือ(ข่าวเข้า) 2. ข่าวเข้าประจำวัน แฟ้มเสมียน ศข.(ข่าวเข้า) 1 1 1 ขอความกระจ่าง 1.รับข่าว(สำเนาข่าวเป็น ๓ ฉบับ)ลงเวลารับข่าวในข่าวทุกฉบับพร้อมชื่อย่อเสร็จ แล้วส่งให้เสมียน ศข. ๒ ฉบับ แผ่นที่ ๓ เก็บเข้าแฟ้มพนักงานข่าวเข้า ๑.รับข่าว ๒ ฉบับ จากพนักงานเครื่องมือ ๒.นำข่าว ๑ ฉบับ ไปถอดรหัสเป็นข้อความกระจ่างลงเวลาเท่าเดิมเปลี่ยนชื่อ ย่อผู้ถอดรหัสข่าวที่เป็นประมวลลับเก็บเข้าแฟ้มเสมียน ศข.เข้า ๓. นำเอาตารางงาน ศข.(ข่าวเข้า)มากรอกรายละเอียดในช่องเลขที่ ศข. เวลา ในสนาม,เครื่องมือ,ความเร่งด่วน,ข่าว วัน/เวลา,รหัส ขีด-,นับหมู่-,ถึงจาก(ถ้า เป็นข่าวเข้าขีดเครื่องหมาย/ถึง),เหลือไว้ช่องเวลารับ ๔.เอาบัญชีแจกจ่ายข่าวมาลงรายละเอียดในช่องแจกจ่ายถึง,วันที่,เลขที่ ศข., เสร็จแล้วส่งให้พลนำสารไปส่งให้ผู้รับข่าว ๑.รับข่าวพร้อมด้วยบัญชีแจกจ่ายจากเสมียน ศข.ดำเนินการส่งให้ผู้รับข่าวเมื่อ ผู้รับข่าวเช็นรับข่าว ลงเวลารับข่าวแล้วนำเอาบัญชีแจกจ่ายข่าวส่งให้เสมียน ศข. - เอาตารางงาน ศข.(ข่าวเข้า)มาลงเวลารับข่าว เสมียน ศข. พลนำสาร เสมียน ศข. หน่วยส่งข่าว ศข. พนักงานเครื่องมือ เสมียน ศข. พลนำสาร ผู้รับข่าว หน่วยส่งข่าวเข้า พนง.เครื่องมือ


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 6 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) การดำเนินกรรมวิธีต่อข่าวออกโดยเครื่องมือไฟฟ้า 3 1 1 แฟ้มชั่วคราว 1 ข้อความกระจ่างแฟ้มเสมียน ศข.(ออก) 1 ข่าวเข้าประจำวัน แฟ้มถาวร แฟ้มพนักงานข่าวออก ๑. ผู้เขียนข่าวเขียนข่าวขึ้น ๓ ฉบับ ส่งให้ ศข. ๑.รับข่าวจากผู้เขียนข่าว ๓ ฉบับ ลงเวลารับข่าว,ที่ของ ศข.,ส่งอย่างไรใน”ช่องนี้ สำหรับ ศข.”เสร็จแล้วส่งคืนให้ผู้เขียนข่าว ๑ ฉบับ ๒.ส่งตัวจริงหรือสำเนาข่าว ๑ ฉบับ ให้ ส.หน.ศข. เพื่อกรอกรายละเอียดลงใน ช่องตารางาน ศข.(ออก) ๓.นำเอาข่าว ๑ ฉบับเข้าประมวลลับ เสร็จแล้วส่งให้พนังงานเครื่องมือ ๔.ข่าวที่เป็นข้อความกระจ่างที่เข้าประมวลลับเก็บเข้าแฟ้มเสมียน ศข.(ออก) ๕.กระดาษร่างหรือสำเนาอื่น ๆ นำไปทำลายด้วยการเผา ๑. รับข่าวที่เข้าประมวลลับจากเสมียน ศข.ดำเนินการส่งให้หน่วยรับข่าว เมื่อหน่วยรับข่าวตอบรับแล้วลงเวลาในข่าวพร้อมชื่อย่อวงกลมรอบไว้แจ้งเวลา รับข่าวให้เสมียน ศข.ทราบ ๑.เอาตารางงาน ศข.ออกมากรอกรายละเอียดในช่องเลขที่ ศข.,เวลาในสนาม, เครื่องมือ,ความเร่งด่วน,ข่าว วัน/เวลา,รหัสขีดเครื่องหมาย/ทับ,นับหมู่ลง ตัวเลขกลุ่มคำ,ถึง/จาก(ถ้าเป็นข่าวออกให้ขีด/ทับจาก)เหลือไว้ในช่องเวลารับ เสร็จแล้วเก็บสำเนาข่าวไว้ในแฟ้มชั่วคราว ๑.เมื่อได้รับข่าวจากพนักงานเครื่องมือแล้วเอาสำเนาข่าวในแฟ้มชั่วคราวมาลงเวลารับในตารางงาน ศข.ออกพร้อมลงเวลารับในข่าว ลงชื่อย่อวงกลมรอบไว้เสร็จแล้วเก็บข่าวเข้าแฟ้มถาวร พนง.เครื่องมือ เสมียน ศข. เสมียน ศข. เสมียน ศข. พนง.เครื่องมือ หน่วยรับข่าว ศข. ผู้เขียนข่าว ผู้เขียนข่าว 3 ส.หน.ศข. ส.หน.ศข.


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 7 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) การปฏิบัติงานหมู่วิทยุ ๑.ผบ.หมู่วิทยุ ๑.๑ ควบคุมดูแลการปฏิบัติโดยทั่วไป และการปฏิบัติเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารในหมู่วิทยุทั้งหมด ๑.๒ เขียนแผนผังการติดต่อสื่อสารทางวิทยุ ๑.๓ กำหนดจุดวางตัวในการระวังป้องกันของกำลังพลในหมู่วิทยุ ๑.๔ ตรวจสอบการทำงานของเครื่องมือสื่อสารในหมู่วิทยุทั้งหมดให้สามารถปฏิบัติงานได้เป็น อย่างดี ๒. เจ้าหน้าที่ที่ใช้เครื่องมือในการปฏิบัติงานในหมู่วิทยุต้องมีความรู้และความสามารถดังนี้ ๒.๑ สามารถติดตั้งเครื่องมือสื่อสารได้อย่างถูกต้อง ๒.๒ ทราบข่ายการติดต่อทางวิทยุทั้งสิ้นของหน่วย ๒.๓ ใช้ นปส.และ นสป.ได้อย่างถูกต้อง ๒.๔ ปฏิบัติหน้าที่เป็นชุดแผ่นผ้าสัญญาณได้ ๒.๕ เคร่งครัดต่อวินัยของข่ายวิทยุและความสามารถในการรับ – ส่ง ๒.๖ สามารถรับ – ส่งข่าวสารทันตามกำหนดเวลา ๒.๗ สามารถปฏิบัติงานรับ – ส่งข่าวได้อย่างต่อเนื่องไม่ขาดตอน ๓. การติดตั้งและการใช้งานวิทยุโทรศัพท์ ให้มีข้อพิจารณาในเรื่องต่อไปนี้ ๓.๑ ติดตั้งวิทยุและข่ายที่กำหนดให้ ภายใน ๒๕ นาที และเริ่มการติดต่อสื่อสารที่มีการ รปภ.เต็มที่ ๓.๒ ให้ใช้ข้อพิจารณาเหล่านี้ในการติดตั้งใช้งาน ๓.๒.๑ มีสิ่งกำบัง(ตามธรรมชาติ,มนุษย์สร้างขึ้น)ระหว่างฝ่ายเรา ฝ่ายข้าศึก ๓.๒.๒ หลีกเลี่ยงพื้นที่ที่จะถูกดูดกลืน/รบกวนคลื่น เช่น สายไฟฟ้าแรงสูงและอื่น ๆ ๓.๒.๓ มีการช่อนพราง ๓.๓ ติดตั้งเครื่องทำไฟให้สามารถใช้งานได้ภายใน ๒๕ นาที หลังจากติดตั้งเครื่องมือเสร็จ ๓.๔ บันทึกและลงบัญชีข่าวสารถูกต้อง


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 8 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) ๓.๕ รักษาความลับข่าวสารข้อความกระจ่างก่อนเข้ารหัส ๓.๖ ใช้เทคนิคโต้ตอบการต่อต้านทางอิเลคทรอนิกส์ ๓.๖.๑ ใช้กำลังออกอากาศต่ำที่สุด ๓.๖.๒ หลีกเลี่ยงการส่งข่าวเป็นประจำ ๓.๖.๓ ใช้แป้นพิมพ์เฉพาะเมื่อจำเป็น ๓.๖.๔ ปรับเครื่องส่งไปยังคลื่นลวง ๓.๖.๕ ทำงานต่อไปภายใต้การรบกวนนั้นถ้าทำได้ ๔. หน้าที่ของแต่ละบุคคล ๔.๑ เจ้าหน้าที่ทุกนายต้องทำความสะอาดอาวุธยุทโธปกรณ์และเครื่องมือสื่อสารทุกชนิดที่ รับผิดชอบให้สะอาดอยู่เสมอและพร้อมที่จะปฏิบัติงาน ๔.๒ ช่างวิทยุติดตั้งเสาอากาศ RC-๒๙๒ ๔.๓ ช่างวิทยุเตรียมชิ้นส่วนซ่อม บัญชีชิ้นส่วนซ่อม ๔.๔ พลวิทยุโทรเลข(๑)ติดตั้งเสาอากาศ AN/GRA -๕๐ ๔.๕ พลวิทยุโทรเลข(๑)ติดตั้งวิทยุ AN/GRC -๑๐๖ พร้อมต่อสายดินเรียบร้อย ๔.๖ พลวิทยุโทรมเลข(๒)ติดตั้งเสาอากาศ RC-๒๙๒ ๔.๗ พลวิทยุโทรศัพท์เป็นพลขับพรางรถ ๔.๘ พลวิทยุโทรศัพท์ติดตั้งโทรศัพท์ให้สามารถปฏิบัติงานได้ตลอดเวลา ๕. ซ่างซ่อมวิทยุมีหน้าที่ดังนี้ ๕.๑ ปรนนิบัติบำรุงต่อเครื่องมือสื่อสารและอิเลคทรอนิกส์อย่างเหมาะสม ๕.๒ ทำการบันทึกสภาพของเครื่องมือสื่อสารและอิเลคทรอนิกส์ ๕.๓ ดำเนินการ ซบร.ขั้นหน่วยให้กับเครื่องมือสื่อสารและอิเลคทรอนิกส์ต่าง ๆ ของกองร้อย ๕.๔ ดำรงสภาพชิ้นส่วนซ่อมตามอัตราพิกัดของหน่วย ๕.๕ ประสานการส่งกลับเครื่องมือสื่อสารและอิเลคทรอนิกส์ที่ต้องการซ่อมไปยังหน่วยซ่อมบำรุง


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 9 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) ที่ให้การสนับสนุน ๕.๖ ให้ทำบัญชีคุมเครื่องมือ ๖.หน้าที่และการปฏิบัตินอกเหนือจากนี้ให้ปฏิบัติตาม รปจ.กองร้อย รปจ.กองพันและคำสั่งจาก ผบ.ชา การปฏิบัติงานของหมู่ทางสาย ๑.ผบ.หมู่ทางสาย ๑.๑ ควบคุมดูแลการปฏิบัติทั่วไป และการปฏิบัติเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารในหมู่ทางสายทั้งหมด ๑.๒ กำหนดจุดวางตัวในการระวังป้องกันของกำลังพลในหมู่ทางสาย ๑.๓ ตรวจสอบการทำงานเครื่องมือสื่อสารในหมู่ทางสายทั้งหมด ให้สามารถปฏิบัติงานได้เป็น อย่างดี ๑.๔ กระตุ้นเตือนและกำกับดูแลให้ผู้ที่มีหน้าที่ในการวางสายทุกจุดตามแผนผังการวางสาย ให้ วางสายให้เสร็จอย่างรวดเร็วและครบถ้วนทุกสาย ๑.๕ ในสถานการณ์การสื่อสารทางสายนั้น ต้องพิจารณาในเรื่องต่อไปนี้ ๑.๕.๑ มีการวางแผนและแบ่งความรับผิดชอบให้กั่วหน้าพลทางสาย,พลทางสายเพื่อวาง ไปยังส่วนต่าง ๆ ๑.๕.๒ มีการ ลว.เส้นทางวางสายร่วมกับ ผบ.มว.ส. ๑.๕.๓ เลือกเส้นทางการวางสายร่วมกับ ผบ.มว.ส. ๑.๕.๔ ประสานการวางสายโทรศัพท์กับส่วนที่เกี่ยวข้องที่ต้องการใช้ ๑.๕.๕ ตรวจความเรียบร้อยในการวางสาย ๑.๕.๖ ตรวจความเรียบร้อยและความเร็วในการเก็บสาย ๒. พลสลับสาย ๒.๑ ทำการติดตั้งและมีการบริวาร ให้มีตู้สลับสายและต้องมั่นใจในเรื่องต่อไปนี้ ๒.๑.๑ มั่นใจว่ามีไฟพอใช้การได้ดี ๒.๑.๒ ปลายสายที่เข้าตู้ขันแน่น


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 10 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) ๒.๑.๓ จัดสายให้ต่ำก่อนเข้าตู้ ๒.๑.๔ ใช้ระเบียบปฏิบัติของตู้สลับสายที่เหมาะสม ๒.๑.๕ ต่อสายดินเรียบร้อย ๒.๒ พลสลับสายเป็นพนักงานหลักในการใช้ตู้สลับสาย โดยมีข้อควรระลึกคือ ๒.๒.๑ ต้องตอบสนองคำขอทันท่วงที ๒.๒.๒ เมื่อพลสลับสายไม่อยู่ให้ประสาน ผบ.หมู่ทางสายจัดพลสลับสายผู้ช่วยมาทำการสลับ สายแทน ต้องให้มีพลประจำตู้สลับสายอยู่ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ห้ามละทิ้งเด็ดขาด ๓. หัวหน้าพลทางสาย ๓.๑ รับผิดชอบวางสายจากตู้สลับสาย ไปยังหน่วยรับการสนับสนุนที่แบ่งมอบให้ ๓.๒ ดูแลความเรียบร้อยในการวางสาย,หัวต่อและอุปกรณ์ทางโทรศัพท์ โดยมีข้อพิจารณาดังนี้ ๓.๒.๑ ทำการทดสอบสายก่อนและระหว่างทาง ๓.๒.๒ ป้องกันสายเป็นอย่างดี ณ จุดเริ่มต้น และจุดที่เปลี่ยนทิศทางเพื่อลดความตึงของสาย ๓.๒.๓ใช้อุปกรณ์ช่วยและยึดตึงเหมาะสม ณ จุดที่ต้องการวางสายข้ามศีรษะและจุดที่ ต้องการระวังเป็นพิเศษ ๓.๒.๔ วางสายข้ามศีรษะมีความสูงเพียงพอ(๑๔-๑๘ ฟุต) ๓.๒.๕ ผูกปลายสายตามที่กำหนดใน นปส. ๓.๒.๖ ดำรงรักษาวงจรทางสาย โดยทราบข้อขัดข้องและความเสียหายทั้งปวงของวงจร และทำการแก้ไขปัญหาโดยเร็วที่สุด ๔.พลทางสาย ๔.๑ เป็นผู้ช่วยหัวหน้าพลทางสาย ในการปฏิบัติงานทั้งปวง ๔.๒ มีความสามารถต่อสาย แต่งสายได้เป็นอย่างดี ๕. การวางสายไปยังหน่วยดำเนินกลยุทธ หรือการวางสายนอกที่ตั้งให้ปฏิบัติดังนี้ ๕.๑ วางสายไปยัง นยส.พัน.๑,นยส.พัน.๒ โดยชุดสมทบทางสายจาก ร้อย.ป.


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 11 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) ๕.๒ วางสายไปยัง นยส.กรม โดยหัวหน้าพลทางสาย(๒) รับผิดชอบ ๕.๓ วางสายไปยังฐานแสง โดยหัวหน้าพลทางาสาย(๒)รับผิดชอบ ๕.๔ วางสายไปยังส่วนสัมภาระโดยหัวหน้าพลทางสาย(๒)รับผิดชอบ ๕.๕ วางสายไปยัง ศปย.กรม ป. และ บช.กรม ป. โดยผบ.หมู่ทางสายรับผิดชอบ ๕.๖ วางสายไปยังหน่วยรับการ พย. โดย ผบ.หมู่ทางสายรับผิดชอบ ๕.๗ เมื่อมีภารกิจที่ต้องวางสายไปยังนอกที่ตั้ง ให้ ผบ.หมู่ทางสายรับผิดชอบวางสายภายใน ทั้งหมด โดยแบ่งมอบพลทางสายมาเป็นผู้ช่วยในการปฏิบัติ ๖. หน้าที่และการปฏิบัตินอกเหนือจากนี้ ให้ปฏิบัติตาม รปจ.กองร้อย,รปจ.กองพัน หรือคำสั่งจาก ผบ.ชา ตามลำดับชั้นกำหนด การติดต่อสื่อสารและการปฏิบัติของส่วนสื่อสาร กองร้อยปืนใหญ่สนาม มีระบบการติดต่อสื่อสารที่สำคัญ ๒ ระบบคือ ระบบวิทยุและระบบ ทางสายในขั้นแรกของการปฏิบัติการนั้น ปกติใช้วิทยุเป็นหลักก่อน แล้วจึงเริ่มระบบทางสายใน พื้นที่ ที่มีโอกาส แต่จะต้องเตรียมพร้อมที่ชดเชยหรือทดแทนได้ทันที ระบบวิทยุ - รถ ผบ.ร้อย.ป.ปกติแล้วให้ใช้วิทยุ RT – ๕๒๔ เป็นข่าย บช./อย.พัน และ RT – ๔๔๒ เปิดข่าย อย. เว้นแต่เมื่อจัดเป็นกองร้อยขึ้นสมทบให้กับหน่วยกำลังรบ ปกติแล้วให้ใช้ RT- ๕๔๒ เปิด ข่าย บช.กองร้อย. และ RT – ๔๔๒ เปิดข่าย บช.กองพันดำเนินกลยุทธ - รถ บก.สย.๑ ใช้วิทยุ AN/VRC – ๔๖ เปิดข่าย อย. และต่อเครื่องควบคุมทางระยะไปที่รถ บก.สย.๒ AN/GRR – ๕ เปิดข่าย อย.กรม ป. - รถ บก.สย.๒ ใช้วิทยุ AN/VRC – ๔๖ เปิดข่าย บช./อย.พัน และต่อเครื่องควบคุมทางระยะไปที่ รถ บก.สย.๑ เว้นแต่จัดเป็นกองร้อย ป.แยกเฉพาะ ให้ปรับเปลี่ยนข่าย บช.หน่วยรับการสนับสนุน AN/GRR – ๕ เปิดข่าย แจ้งเตือนภัยเนิ่น - รถหมู่แผนที่ ๑ ใช้วิทยุ AN/GRC – ๑๖๐ เปิดข่ายแผนที่พัน ป.ป. เว้นแต่เมื่อจัดเป็นกองร้อย


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 12 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) ขึ้นสมทบหน่วยกำลังรบ ให้ปรับเปลี่ยนเป็นข่าย บช.กองร้อย ป. - รถหมู่แผนที่ ๒ AN/GRC – ๑๖๐ เปิดข่าย บช,/อย.กองพันเพื่อปฏิบัติงานแผนที่ หรืองาน พิเศษเช่น ส่งทิศทางอาจเปลี่ยนไปใช้ข่าย ผท.พัน.ป. ในห้วงระยะเวลาสั้นและให้รีบกลับมาใช้ข่าย บช./อย.กองพัน.เช่นเดิม เว้นแต่จัดเป็นกองร้อยขึ้นสมทบหน่วยกำลังรบให้ปรับเปลี่ยนเป็นข่าย บช.กองร้อย.ป. วินัยการใช้วิทยุ ก. ปฏิบัติตาม รปจ.และ นปส.อย่างเคร่งครัด ข. รักษาวินัยในการใช้ข่ายและวงจรโดยกวดขัน ค. ถ้าจำเป็นให้ใช้การสื่อสารอย่างอื่นแทน ง. ห้ามส่งข่าวยาวทางวิทยุ ถ้าจำเป็นให้แบ่งเป็นตอน ๆ ง. ห้ามส่งข่าวยาวทางวิทยุ ถ้าจำเป็นให้แบ่งเป็นตอน ๆ จ. อย่าเช็ควิทยุบ่อย ๆ หรือเรียกขานกันนาน ๆ โดยไม่จำเป็น ฉ. ออกอากาศด้วยกำลังส่งน้อยที่สุดเท่าที่จำเป็น ช. การรายงานและสถิติต่าง ๆ จะต้องตรวจสอบอยู่เสมอ และที่จำเป็นจริง ๆจึงให้ส่งทาง วิทยุโดยใช้รหัส ซ. ปรับเครื่องรับส่งให้ได้ความถี่แน่นอนตรงกับคลื่นที่ได้รับมอบรับส่งข่าวอย่างมี ประสิทธิภาพ ฌ. ข่าวเกี่ยวกับการยุทธหรือความลับต้องใช้รหัสเสมอ ญ. ปฏิบัติตามกฎหรือระเบียบการใช้วิทยุอย่างเคร่งครัด ๑. ฟังก่อนส่ง ๒. ส่งข่าวเฉพาะเรื่องที่ได้รับอนุมัติ ๓. ตอบรับทันทีทันใด ๔. ข่าวต้องสั้น กะทัดรัด ชัดเจน และสมบูรณ์ ๕. ส่งอย่างชัดถ้อยชัดคำ ให้สามารถรับได้ถูกต้อง ๖. ต้องนึกว่าข้าศึกรับฟังตลอดเวลา


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 13 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) ๗. ใช้ระบบรับรองฝ่ายเมื่อสงสัย ๘. ถ้าถูกรบกวนให้ทำงานต่อไป และแจ้งให้หน่วยเหนือทราบด้วยวิธีอื่น ๙.ไม่ฝ่าฝืนการระงับวิทยุ ๑๐. ใช้คำพูดตามระเบียบการและเรียกขานให้ถูกต้อง ๑๑. อย่าใช้ข้อความกระจ่างกับรหัสหรือประมวลลับปะปนกัน ข้อควรระวังการใช้เครื่องมือสื่อสาร ทางวิทยุ ๑. ก่อนติดหรือดับเครื่องยนต์ให้ปิดวิทยุก่อน ๒. การตรวจดูการทำงานแมทชิ่งถ้าไม่ตรงกับความถี่ที่ใช้งานให้ปรับด้วยมือ ๓. ระมัดระวังอย่าให้ปากพูดหูฟังกระทบกระแทกหรือเปียกน้ำ ๔. ระมัดระวังการใส่สายอากาศอัตโนมัติ พยายามใส่ขั้วต่อให้ถูกต้องโดยสังเกตดุมให้ตรงกับ จุดม๊าค ๕. การใส่ถ่าน BA - ๓๘๖ ระมัดระวังให้ตรงรู ๖. ให้ถอดแบตเตอรี่ออกเมื่อวิทยุไม่ได้ใช้งานมากกว่า ๑ วัน ๗. การติดตั้งเสาอากาศให้ขันเสาอากาศให้แนบสนิทกับจุดรองรับบนตัวเครื่องเพื่อป้องกันเกลียว เสาอากาศชำรุด ๘. เพื่อให้ได้ระยะในการติดต่อที่ดีที่สุด ควรให้เสาอากาศตั้งอยู่ในแนวดิ่งคือตั้งฉากกับพื้นดิน ๙. อย่าเปลี่ยนความถี่หรือสวิทซ์เลือกแบนในขณะที่สวิทซ์ปากพูดหูฟังที่ติดอยู่กับวิทยุนั้นกำลังกดอยู่ ๑๐. เมื่อทำการพับเก็บสำหรับเสาอากาศแบบยาว ๑๐ ฟุต AT- ๒๗๑ A/PRC ให้พับจากส่วน ปลายเข้ามาหาโคนเสาอากาศและเสาอากาศแบบยาว ๓ ฟุต AT - ๘๙๒ PRC ให้พับหาด้านเว้าเสมอ ๑๑. เครื่องรับ – ส่ง RT – ๕๒๔ และ R - ๔๔๒ การที่ไม่มีแหล่งจ่ายกำลังป้อนเข้าเครื่องรับส่ง เลยนั้น อาจเป็นเพราะวงจร CIRCUIT BREAKER ให้ผลักสวิทซ์ POWER ไป OFF BREAKER RESET แล้วกลับไปที่ LOW หรือ HIGH ถ้าเป็นอีกอย่าตั้งใหม่ให้นำซ่อม


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 14 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) ทางสาย (ผนวก ฉ ( การติดต่อสื่อสาร)ประกอบระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม–ป.พัน.๓ ) ๑. การใช้ถุงมือหรือแผ่นพลาสติกหุ้มกันน้ำ ๒. การใส่แบตเตอรี่ให้ถูกต้อง ตรวจดูสภาพก่อนใช้งานทุกครั้ง การปฏิบัติทั่วไปของ จนท.สื่อสารและผู้ใช้เครื่องมือ ๑. การใช้เครื่องมือ เอกสารทุกครั้งก่อนจะนำไปใช้ ให้เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเครื่องมือนั้นทำการ ตรวจเช็คทุกครั้งก่อนที่จะนำไปใช้งาน ๒.เมื่อมีการติดตั้งใช้งานเมื่อทำการติดตั้งเสร็จแล้ว ให้เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเครื่องมือนั้น ๆ ทำ การตรวจเช็คการติดต่อสื่อสารทุกครั้งว่าตืดต่อสื่อสารได้หรือไม่ ถ้าไม่ได้ให้รีบทำการแก้ไข ถ้าแก้ไข ไม่ได้ให้แจ้งให้ จนท.สื่อสารกองร้อยมาทำการแก้ไขให้ ๓. พนักงานวิทยุทุกนายจะต้องเช็คเครื่องติดต่อสื่อสารกันทุกครั้งก่อนที่จะออกปฏิบัติงานและจัดให้ มีการใช้ระบบรับรองฝ่ายทุกครั้งที่มีการเปิดสถานีติดต่อสื่อสารกันครั้งแรก และมีการรับส่งข่าวกัน หรือเมื่อเกิดสงสัยคู่สถานีว่าใช่ฝ่ายเดียวกันหรือไม่ ๔. จนท.ที่มีเครื่องมือสื่อสารประจำอยู่กองร้อยจะต้องทำการปรนนิบัติบำรุงเครื่องมือสื่อสารอยู่ เสมอเมื่อมีเวลา ๕.จนท.สื่อวสารของกองร้อยจะต้องดำเนินการวางสายการติดต่อสื่อสารให้เสร็จโดยเร็ว เมื่อต่อได้ แล้วให้ทำการตกแต่งสายให้เรียบร้อยเพื่อสายจะไม่ได้กีดขวางการปฏิบัติงานของส่วนต่าง ๆ และ ทำการติดป้ายปลายสายให้กับตู้สลับสาย,บก.สย.๑,บก.สย.๒ ๖.จนท.ตู้สลับสายให้ดำเนินการติดตั้งตู้สลับสาย ฝังสายดิน ผูกป้ายสลับสายและทำการเช็กการ ติดต่อสื่อสารโดยเร็วที่สุดว่าติดต่อได้ทุกจุดหรือไม่ วางครบทุกจุดหรือไม่มีการตกแต่งสายทุกสาย เรียบร้อยหรือไม่ ทำการวางเต๊นท์พรางเต๊นท์ ขุดหลุม กรอกกระสอบทรายและทำการเช็กทุกสาย ทุก ๆ ๑๕ นาที ให้ทำการติดต่อให้ได้ตลอดเวลา เขียนแผนการติดต่อสื่อสารที่ได้ทำการติดตั้งไว้ แล้วและนำแผ่นป้ายประจำตู้สลับสายมาติดตั้งให้เรียบร้อย ๗. นายสิบสื่อสารทำการควบคุมกำกับดูแลการติดตั้งเครื่องมือสื่อสารทั้งหมดให้เรียบร้อย - เขียนแผนการติดต่อสื่อสารทางสายทางสายและทางวิทยุส่ง มว.สื่อสารและนำไปติดที่ บก.สย.๑, บก.สย.๒,ทก.ร้อย


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 15 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) - ตรวจดูตู้สลับสาย การผูกป้ายปลายสาย ตู้สลับสาย ,บก.สย.๑ ,บก.สย.๒ ๘. เครื่องรับ - ส่ง RT-๕๒๔/VRC และเครื่องรับช่วย R-๔๔๒/VRC ถ้าต้องการใช้ SQURLCH ให้ หมุนไปที่ NEW ON รปจ. การปฏิบัติงานของหมู่สื่อสารร้อย ป. ๑. ส.สื่อสาร ๑.๑ เลือกที่ตั้งตู้สลับสาย,ปก.๙๓ ๑.๒ ควบคุมการปฏิบัติโดยทั่วไปและการปฏิบัติเกี่ยวกับการการติดต่อสื่อสารทั้งหมดภายใน กองร้อย ป. ๑.๓ จัดทำแผ่นสถานภาพเครื่องมือสื่อสาร,แผนผังการติดต่อสื่อสารทางสายและทางวิทยุส่งให้ ผบ.มว.ส. และนำไปติดไว้ที่ ทก.ร้อย,บก.สย.๑,บก.สย.๒ ๑.๔ ตรวจการจัดตั้งและกำกับดูแลการวางสาย การตบแต่งสายภายในกองร้อยทั้งหมด และให้ สายภายในกองร้อยสามารถติดต่อกันได้อย่างน้อย ๖ ทางสาย ภายใน เวลา ๒๐ นาที หลังจากที่รถ คันสุดท้ายของกองร้อยผ่านจุดแยกเสร็จเรียบร้อยแล้ว ๑.๕ กำหนดที่วางตัวในการระวังป้องกันของกำลังพลภายในส่วน ๑.๖ ไป ลลขต.ร่วมกับคณะ ลลขต.ของกองร้อย 2. พลทางสายหมายเลข ๑ ( ส.อ) ๒.๑ ทำหน้าที่พลขับรถสื่อสาร ๑ และทำการจอดรถพรางรถ ๒.๒ รับผิดชอบในการจัดตั้ง ปก.๙๓ ขุดหลุม,กรอกกระสอบทรายและทำการพรางพร้อมกับพล ทางสาย ( พล.ฯ ) อีก ๑ นาย ๒.๓ จัดเตรียมรถไป ลลขต.พร้อมกับไป ลลขต.ร่วมกับคณะ ลลขต.ของกองร้อย ๓. พลทางสาย หมายเลข ๒ ( ส.อ.) ๓.๑ ควบคุมกำกับดูแลร่วมกับพลทางสาย (พล.ฯ) อีก ๒ นาย ทำการค้ำสายและตบแต่งสาย ให้กับ บก.สย.๑, บก.สย.๒ และหมู่ปืนทั้งหมด พร้อมกับติดป้ายปลายสายด้วย


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 16 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) ๓.๒ รับผิดชอบการวางสายภายนอกร่วมกับพลขับรถสื่อสาร ๒ และพล.ฯ อีก ๒ นาย ถ้าพล ทางสายหมายเลข ๓ ไม่ได้บรรจุ ถ้าได้รับการร้องขอจาก มว.สื่อสาร ๔. พลทางสายหมายเลข ๓ ( ส.อ.) ๔.๑ รับผิดชอบการวางสายภายนอกร่วมกับพลขับรถสื่อสาร ๒ และพล.ฯ อีก ๒ นาย ถ้าได้รับการร้องขอจาก มว.สื่อสาร ๔.๒ รับผิดชอบการวางสายการตบแต่งสายที่วางจาก ศอย.ร้อย.ป. ไปยัง ศอย.พัน.ป. และจาก ตู้สลับสายกองร้อยไปยังตู้สลับสายกองพัน พร้อมกับติดปล้ายปลายสายด้วย ๕. พลสลับสาย ( ส.อ.) ๕.๑ จัดตั้งตู้สลับสาย,สลับสาย ขุดหลุม กรอกกระสอบทรายและพรางตู้สลับสาย ๕.๒ รีบดำเนินการต่อสายเข้าตู้สลับสายและให้สายสามารถติดต่อกันได้อย่างน้อย ๖ ทางสาย ในเวลา ๒๐ นาที หลังจากรถคันสุดท้ายของกองร้อยผ่านจุดแยกกองร้อย ๕.๓ ทำการฝังสายดินของตู้สลับสาย ผูกป้ายปลายสาย ตบแต่งสาย จัดระเบียบภายในตู้สลับ สาย ทำแผ่นสถานภาพเครื่องมือสื่อสารและอื่น ๆ มาติดตั้งที่ตู้สลับสาย ๕.๔ จัดทำแผนภาพการติดต่อสื่อสารติดไว้ที่ตู้สลับสายให้ทันสมัยอยู่เสมอทุกที่ตั้ง ๖. พลสลับสาย ( ส.ต. ) - ช่วยพลสลับสาย (ส.อ.) ทำการจัดตั้งตู้สลับสาย สลับสาย ขุดหลุม กรอกกระสอบทราย พราง ตู้สลับสาย ฝังสายดิน ติดป้ายปลายสาย ตบแต่งสายและจัดระเบียบภายในตู้สลับสาย ๗. พลทางสาย ( พล.ฯ ,ส.ต.) ๗.๑ มีหน้าที่ช่วยเหลือพลทางสาย ( ส.อ.) วางสาย เก็บสาย ตบแต่งสาย ค้ำสายตามที่ได้รับ มอบจาก ส.สื่อสาร ๗.๒ ทำการวางตัวระวังป้องกัน ขุดหลุมบุคคล พรางหลุม เขียนแผ่นจดระยะ ๗.๓ ปฏิบัติตามคำสั่งของ ผบ.ชา ตามลำดับชั้นภายในส่วน


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 17 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) ระบบข่ายการสื่อสารทางวิทยุ ร้อย.ป.สนาม ( ร้อย.ป.พัน.ป.ชต. ) บช.อย./ พัน.ป. X X X แจ้งเตือนภัยเนิ่น อย.ร้อย. XXX บช./อย.กรม.ป. ผท.พัน.ป. ผช.รอง ผบ.ร้อย. AN/VRC- ๔๖ ผตน.๑ PRC - ๖๒๔ AN/GRC – ๑๖๐ ผบ.ร้อย. AN/VRC- ๔๗ ผตน.๒ PRC - ๖๒๔ AN/GRC- ๑๖๐ ผตน.๓ PRC ๖๒๔ AN/GRC – ๑๖๐ รอง ผบ.ร้อย. AN/VRC- ๔๖ นลว.ผท. AN/GRC- ๑๖๐ ผท. AN/GRC- ๑๖๐ AN/GRR – ๕ AN/GRR – ๕


AN/GRR-๕ AN/GRR-๕ ชุดที่ ของ ชุด หน้า 18 ของ 27 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) ระบบข่ายการสื่อสารทางวิทยุ เมื่อเป็น ร้อย.ป.แยกเฉพาะ นามข่าย แผนที่พัน ป. บช./อย.พัน.ป. อำนวยการยิง บช./อยงกรม ป ****** แจ้งเตือนภัย *********** ร้อย ป. บช.หน่วยรับการสนับสนุน ผตน.๓ หมู่ PRC-๖๒๔ AN/GRC- ๑๖๐ ผช.รอง ผบ.ร้อย. AN/VRC- ๔๖ รอง ผบ.ร้อย. AN/VRC- ๔๖ นลว.ผท. AN/GRC- ๑๖๐ ผท. AN/GRC- ๑๖๐ ผบ.ร้อย. AN/VRC- ๔๗ นยส. PRC-๖๒๔ AN/GRC- ๑๖๐


AN/GRR-๕ ชุดที่ ของ ชุด หน้า 19 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) ระบบข่ายการสื่อสารทางวิทยุ เมื่อ กองร้อย.ป.ขึ้นสมทบหน่วยกำลังรบ นามข่าย บช.ร้อย.ป. นามข่าย นามข่าย แจ้งเตือนภัย ******* อย. บช.กองพัน ดำเนินกลยุทธ บช.กองร้อย ดำเนินกลยุทธ ผบ.ร้อย AN/VRC- ๔๗ ผช.รอง ผบ.ร้อย. AN/VRC- ๔๖ รอง ผบ.ร้อย. AN/VRC- ๔๖ ผตน.๓ หมู่PRC๖๒๔ AN/GRC- ๑๖๐ นยส. PRC-๖๒๔ AN/GRC- ๑๖๐ ผท. AN/GRC- ๑๖๐ นลว.ผท. AN/GRC- ๑๖๐


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 20 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) แผนผังการติดต่อสื่อสารทางสาย ร้อย.บก.ฯ ณ ที่รวมพล ขั้นต้น C นาโพธิ์น้ำเงิน Cนาโพธิ์ดำ C นาโพธิ์แดง TA-135 ช่องทาง บก.พัน C C นาโพธิ์ บก.ร้อย C = ตู้สลับสาย ณ ที่กองบังคับการ = โทรศัพท์สนาม TA-312/PT = วงจรทางสายที่วางแล้ว


C ศอย.พัน นาโพธ์ิดา นาโพธ์ิดา นาโพธ์ิแดง S12-Cบช.ป.3 C ชุดที่ ของ ชุด หน้า 21 ของ 27 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) แผนผังการติดต่อสื่อสารทางสาย ร้อย.บก.ฯ ณ ที่รวมพลทางยุทธวิธี C C C S13-22 บก. ร้อย บก.พัน TA-125 หมู่สร ส.1 สูทกรรม S13-27 ช่องทาง 1-4 หมู่กระสุน หมู่ ซย C นาโพธิ์ ส.2 ส.3 C = ตู้สลับสาย ณ ที่กองบังคับการ C = ตู้สลับสาย = วงจรทางสายที่วางแล้ว = โทรศัพท์สนาม = วงจรทางสายที่คาดว่าจะวาง ส.4 ศปอ.กรม.ป.3 C


กรม ป.3 ชุดที่ ของ ชุด หน้า 22 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) แผนผังการติดต่อสื่อสารทางสาย ร้อย.บกฯ ณ ที่ตั้งยิง O O O O O O C นยส.3 C นยส.2 C นยส.1 Cนาโพธิ์น้ำเงินC นาโพธิ์ดำ Cนาโพธิ์แดง TA-125 C ส.1 S13-22 บก.ร้อย C ศอย.พัน TA-125 บก.พัน ยามคอยเหตุ C C นยส.กรม.2 ช่องทาง ส.2 S13-27 Cนาโพธิ์ C


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 23 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓) แผนผังการติดต่อสื่อสารทางสาย ร้อย.ป ณ ที่รวมพล ขั้นต้น C c C = ตู้สลับสาย ณ ที่กองบังคับการ = โทรศัพท์สนาม TA-312/PT = วงจรทางสายที่วางแล้ว ส.1 ส.2 TA-125


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 24 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓)


ชุดที่ ของ ชุด หน้า 25 ของ 25 หน้า ( ผนวก ฉ (การติดต่อสื่อสาร ) ประกอบ ระเบียบปฏิบัติประจำในสนาม – ป.3 พัน.๓)


Click to View FlipBook Version