The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การดำเนินงานอุตสาหกรรมท่องเที่ยว วิไล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wilai saeyang, 2020-02-29 23:48:44

การดำเนินงานอุตสาหกรรมท่องเที่ยว วิไล

การดำเนินงานอุตสาหกรรมท่องเที่ยว วิไล

การดาเนินงานอุตสาหกรรมท่องเทย่ี ว

การท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติ

สถานีวจิ ยั เกษตรที่สูงเชียงใหม่ (ขนุ วาง)

โครงการหลวงแห่งน้ีเป็นอีกหน่ึงสถานท่ีชมนางพญาเสือโคร่ง สภาพพ้นื ที่ของโครงการ
ส่วนใหญ่ลอ้ มดว้ ยเทือกเขาสลบั ซบั ซอ้ น มีแอ่งที่ราบระหวา่ งภูเขาเพยี งเลก็ นอ้ ย มีแม่น้า
สายสาคญั ท่ีไหลผา่ นคือ แม่น้าขนุ วาง ประชากรในพ้ืนท่ีเป็นชาวเขาเผา่ กะเหร่ียงและมง้
รวมท้งั สิ้น 7 หมู่บา้ น ข้ึนอยกู่ บั ตาบลแม่วิน อาเภอแม่วาง จงั หวดั เชียงใหม่

มีสถานที่ท่องเท่ียว เช่น ชมแปลงสาธิตไมผ้ ลเมืองหนาว ชมแปลงปลกู ผกั โรงเรือนเห็ด
เมืองหนาว แปลงปลูกดอกเบญจมาศหลากสีสนั ชมวิถีชีวิตของชาวเผา่ มง้ และกะเหร่ียง
หรือท่องเที่ยวแบบ เสน้ ทางเดินป่ าศึกษาธรรมชาติ (3 กิโลเมตร) ชมทุ่งกหุ ลาบพนั ปี สีแดง
และ ชมดอกพญาเสือโคร่ง

การเดินทาง : ระยะทางจากตวั เมืองเชียงใหม่ 106
กิโลเมตร ใชเ้ สน้ ทางหลวงหมายเลข 108 (เชียงใหม่-
ฮอด) ก่อนถึงอาเภอจอมทอง มีทางแยกขวามือข้ึนดอย
อินทนนท์ ตามทางหลวงหมายเลข 1009 ราว หลกั กม.
ที่30-31 มีทางแยกทางขวามือผา่ นบา้ นขนุ กลาง จุดกาง
เตน็ ทป์ ่ าสน ตรงไปอีก 16 กิโลเมตร จนถึงบา้ นขนุ วาง

สงั เกตป้ายโครงการทางขวามือ

การท่องเท่ียวในแหล่งวฒั นธรรม

เวยี งกมุ กาม

“เวยี งกมุ กาม” อดีตเมืองหลวงของอาณาจกั รลา้ นนา
“เวียงกุมกาม” ต้งั อยู่ที่ ตาบลท่าวงั ตาล อาเภอสารภี
จงั หวดั เชียงใหม่ เป็ นอดีตเมืองหลวงของอาณาจกั ร

ล้านนา ที่ พญามังรายโปรดให้สร้างข้ึนเม่ือปี
พ.ศ.1829 โดยโปรดให้ขุดคูเวียงท้ัง 4 ด้าน ไขน้า
แม่ปิ งใหข้ งั ไวใ้ นคูเมือง โบราณสถานที่ปรากฏอยใู่ น

เวียงกุมกามและใกล้เคียงเป็ นเมืองทดลองที่สร้าง
ข้ึนมา ก่อนที่จะมาเป็นเมืองเชียงใหม่



การสถาปนา

“เวยี งกมุ กาม” เกิดข้ึนหลงั จากที่พญามงั รายไดป้ กครองและพานกั อยใู่ นนครหริภุญชยั
(ลาพนู )อยู่ 2 ปี พระองคท์ รงศึกษาสิ่งหลายๆอยา่ งและมีพระราชดาริท่ีจะลองสร้างเมืองข้ึน
เมืองน้นั กค็ ือ”เวียงกมุ กาม” แต่พระองคก์ ท็ รงสร้างไม่สาเร็จ เพราะเวียงน้นั มีน้าท่วมอยทู่ ุก
ปี จนพญามงั รายจึงทรงตอ้ งไปปรึกษาพระสหายคือพอ่ ขนุ รามคาแหงแห่งสุโขทยั และพญา
งาเมืองแห่งอาณาจกั รพะเยา หลงั จากทรงปรึกษากนั แลว้ จึงทรงตดั สินใจไปหาทสี่ ร้างเมือง
ใหม่ ในท่ีสุดจึงไดพ้ ้นื ที่นครพงิ คเ์ ชียงใหม่เป็นเมืองใหม่และเป็นเมืองหลวงแห่งอาณาจกั ร
ลา้ นนาต่อมา จึงสรุปไดว้ า่ เวยี งกมุ กามน้นั เป็นเมืองท่ีทดลองสร้างข้ึน

การล่มสลาย

เวยี งกมุ กามล่มสลายลงเพราะเกิดน้าท่วมคร้ังใหญ่ ในช่วงระหวา่ งปี พ.ศ. 2101 – 2317 ซ่ึง
ตรงกบั สมยั พม่าปกครองลา้ นนา พม่าปกครองลา้ นนาเป็นเวลาสองร้อยกวา่ ปี แต่ไม่ปรากฏ
หลกั ฐานท่ีกล่าวถึงเวยี งกมุ กามท้งั ๆท่ีเหตุการณ์น้าท่วมคร้ังใหญ่น้ีเป็นเรื่องร้ายแรงมาก ผลของ
การเกิดน้าท่วมน้ีทาใหเ้ วยี งกมุ กามถกู ฝังจมลงอยใู่ ตต้ ะกอนดินจนยากที่จะฟ้ื นฟูกลบั มา สภาพ
วดั ต่างๆและโบราณสถานท่ีสาคญั เหลือเพียงซากวหิ ารและเจดียร์ ้างท่ีจมอยใู่ ตด้ ินในระดบั
ความลึกจากพ้ืนดินลงไปประมาณ 1.50 -2.00 เมตร โดยวดั ท่ีจมดินลึกที่สุดคือวดั อีค่าง
รองลงมาคือ วดั ป่ ูเป้ี ย และวดั ก่ปู ่ าดอ้ ม

การขดุ คน้ พบ

ในปี พ.ศ. 2527 เร่ืองราวของเวียงกมุ กามกเ็ ร่ิมเป็นท่ีสนใจของนกั วิชาการและประชาชน
ทว่ั ไป ทาใหห้ น่วยศิลปากรท่ี 4 ขดุ แต่งบูรณะวดั ร้าง(ขดุ แต่งวิหารกานโถม ณ วดั ชา้ งค้า)
และบริเวณโดยรอบเวียงกมุ กามอยา่ งต่อเนื่องจนถึง พ.ศ. 2545 ปัจจุบนั เวยี งกมุ กามกไ็ ดร้ ับ
การพฒั นาใหก้ ลายเป็นสถานท่ีท่องเที่ยวแห่งหน่ึงของเมืองเชียงใหม่ เพราะเห็นวา่ เวยี งกมุ
กามมีความสมบูรณ์และเป็ นแหล่งความรู้การศึกษาในแบบของเร่ื องราวทางสถาปัตยกรรม
และศิลปกรรมตลอดจนวฒั นธรรมลา้ นาต่างๆ โดยศูนยก์ ลางของการนาเท่ียวชม
โบราณสถานต่างๆในเขตเวียงกมุ กามอยทู่ ี่วดั ชา้ งค้าที่ต้งั และ ลกั ษณะ

เวียงกมุ กามมีผงั เป็นรูปสี่เหล่ียมผนื ผา้ มีความยาวประมาณ 850 เมตร ไปตามแนวทิศ
ตะวนั ออกเฉียงใตส้ ู่ทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือ และกวา้ งประมาณ 600 เมตร ตวั เมืองยาวไป
ตามลาน้าปิ งสายเดิมที่เคยไหลไปทางดา้ นทิศตะวนั ออกของเมือง ดงั น้นั ในสมยั โบราณตวั
เวียงกมุ กามจะต้งั อยบู่ นฝั่งทิศตะวนั ตกหรือฝั่งเดียวกบั เมืองเชียงใหม่ แต่เช่ือกนั วา่ เน่ืองจาก
กระแสของแม่น้าปิ งเปล่ียนทิศทาง จึงทาใหเ้ วยี งกมุ กามเปลี่ยนมาต้งั อยทู่ างฝั่งดา้ น
ตะวนั ออกของแม่น้าดง่ั เช่นปัจจุบนั

ปัจจุบนั เวียงกมุ กามอยทู่ างทิศตะวนั ออกเฉียงใตข้ องเมืองเชียงใหม่ ประมาณ ก.ม. 3-4
ถนนเชียงใหม่-ลาพนู ดา้ นขวามือ ในเขตตาบลท่าวงั ตาล อาเภอสารภีและอยใู่ กลฝ้ ั่งดา้ นทิศ
ตะวนั ออกของแม่น้าปิ ง

โบราณสถานทส่ี าคญั

หลงั จากทห่ี น่วยกรมศิลปากรท่ี 4 เชยี งใหมไ่ ดท้ าการขดุ คน้ หาซากเมอื งและโบราณสถานเพ่มิ เตมิ กไ็ ดค้ น้ พบ
เจอวดั ต่างๆทจ่ี มอยู่ใตพ้ ้นื ดนิ เป็นจานวนหลายวดั ดงั ต่อไปน้ี

วดั กู่คา หรอื วดั เจดยี เ์ หลย่ี ม

เป็นวดั ทต่ี งั้ อยู่นอกเวยี งกมุ กาม พญามงั รายทรงใหข้ ดุ คูเมอื งทงั้ ๔ ดา้ น แลว้ นาดนิ ทข่ี ดุ ไดม้ าทาเป็นอฐิ
ประกอบกบั การใชศ้ ิลาแลงเพอ่ื ก่อเจดยี ์ ลกั ษณะเจดยี เ์ ป็นเจดยี ก์ ลวงสเ่ี หลย่ี มขา้ งในเจดียม์ ที างเขา้ ออกได้ มี
พระพทุ ธรูปประดบั ดา้ นละ ๑๕ องค์ แต่ละดา้ นมซี ุม้ พระชนั้ ละ ๓ องค์ มี ๕ ชน้ั รวมทงั้ องคเ์ จดยี ม์ พี ระพทุ ธรูป
๖๐ องค์ โดยวดั น้สี รา้ งข้นึ เพอ่ื บรรจอุ ฐั มเหสพี ระองคห์ น่งึ ทส่ี ้นิ ชวี ติ ทเ่ี วยี งกมุ กาม

วดั ก่คู า หรือวดั เจดียเ์ หลี่ยม

เป็นวดั ที่ต้งั อยนู่ อกเวียงกมุ กาม พญามงั รายทรงใหข้ ดุ คูเมืองท้งั
๔ ดา้ น แลว้ นาดินท่ีขดุ ไดม้ าทาเป็นอิฐประกอบกบั การใชศ้ ิลาแลง
เพ่อื ก่อเจดีย์ ลกั ษณะเจดียเ์ ป็นเจดียก์ ลวงส่ีเหล่ียมขา้ งในเจดียม์ ี
ทางเขา้ ออกได้ มีพระพทุ ธรูปประดบั ดา้ นละ ๑๕ องค์ แต่ละดา้ นมี
ซุม้ พระช้นั ละ ๓ องค์ มี ๕ ช้นั รวมท้งั องคเ์ จดียม์ ีพระพทุ ธรูป ๖๐
องค์ โดยวดั น้ีสร้างข้ึนเพอ่ื บรรจุอฐั มเหสีพระองคห์ น่ึงที่สิ้นชีวิตที่
เวียงกมุ กาม

วดั กานโถม หรือวดั ชา้ งค้า

เป็นวดั สาคญั ของเวียงกมุ กามควบคู่กบั วดั ก่คู า สาเหตุที่ช่ือวดั กาน
โถม เพราะต้งั ช่ือตามนายช่างกานโถมหรือหลานของพญามงั ราย ซ่ึง
เป็นผสู้ ร้างวดั น้ี พญามงั รายโปรดใหส้ ร้างวดั น้ีข้ึนเพ่อื บรรจุพระบรม
ธาตุท่ีไดจ้ ากประเทศลงั กา ลกั ษณะเจดียม์ ีฐานกวา้ ง ๑๒ เมตร สูง ๑๘
เมตร ทาซุม้ คูหา ๔ ทิศ ช้นั ล่างไวพ้ ระพทุ ธรูป ๔ องค์ ช้นั บนไว้
พระพทุ ธรูปยนื ๑ องค์ การซ่อมเจดียก์ านโถม คร้ังสุดทา้ ยอยใู่ น
ปลายสมยั รัชกาลที่ ๕ ผลของการซ่อมไดก้ ลายเป็นศิลปะพม่าซ่ึงเป็น
เจดียร์ ูปชา้ งค้า อนั เป็นท่ีมาของชื่อวดั ชา้ งค้า

วดั หวั หนอง

ต้งั อยใู่ นเวียงกมุ กาม ใกลก้ าแพงเมืองดา้ น
เหนือ วดั มีพ้ืนที่ประมาณ ๔ ไร่ ภายในวดั มี
สิ่งก่อสร้างประกอบดว้ ยซุม้ โขงประตูใหญ่
อโุ บสถ มณฑป วหิ ารและเจดีย์ ซ่ึงมีการ
สนั นิษฐานวา่ เป็นที่ประทบั ของกษตั ริยม์ าก่อน

วดั ธาตุขาว

ต้งั อยทู่ างทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือของเวียงกมุ กาม
อยลู่ ึกจากผวิ ดินประมาณ ๑ เมตร ประกอบดว้ ยเจดีย์
อโุ บสถ และมณฑป ลกั ษณะสถาปัตยกรรมของเจดีย์
เป็นเจดียก์ ลม ต้งั อยบู่ นฐานส่ีเหล่ียมยอ่ มุม แบบ
ศิลปะลา้ นนา

การท่องเท่ียวในความสนใจพเิ ศษ

การท่องเที่ยวเชิงผจญภยั

การเดินทางแบบผจญภยั ใกลช้ ิดธรรมชาติ เติมเตม็
ประสบการณ์ใหม่ๆใหก้ บั ตวั เอง การไดท้ าอะไรแปลก
ใหม่ ต่ืนเตน้ ทา้ ทาย การไดเ้ รียนทกั ษะและเทคนิคต่าง ได้
เจออะไรใหม่ๆแบบี่ไม่เคยเจอมาก่อน รวมถึงการได้
มุมมองใหม่ๆอยา่ งท่ีไม่เคยเห็นมาก่อน

การท่องเที่ยวเชิงผจญภยั " ในประเทศไทยน้นั ส่วนใหญ่จะเป็นที่ดึงดูดนกั ท่องที่ยวไดเ้ พยี ง
เฉพาะกลมุ่ เท่าน้นั เน่ืองจากการผจญภยั จะเนน้ กิจกรรมหนกั ๆและกลางแจง้ ไม่วา่ จะเป็นการ
เดินทางหรือสถานที่พกั กม็ กั จะไม่สะดวกสบายเท่าที่ควร จึงไม่ค่อยเหมาะกบั นกั ท่องเท่ียวท่ี

ไม่ชอบความสมบุกสมบนั ห่วงความสบายซกั เท่าไร แต่ในปัจจุบนั การท่องเท่ียวเชิงผจญภยั

กาลงั ไดร้ ับความนิยมเพ่ิมมากข้ึนเร่ือยๆ ท้งั จากนกั ท่องเท่ียวภายในประเทศและต่างประเทศ
เน่ืองจากมีการพฒั นาและปรับเปล่ียนกิจกรรมใหเ้ หมาะกบั นกั ท่องเท่ียวแต่ละกล่มุ ทาให้

นกั ท่องเท่ียวสามารถเลือกทากิจกรรมตามความตอ้ งการของแต่ละบุคคลได้ นอกจากน้ียงั มี
โรงแรมที่พกั เส้นทางการบิน เกิดข้ึนใหม่ใกลแ้ หลง่ ท่องเที่ยวเหล่าน้ี ทาใหก้ ารเดินทางมีความ
สะดวกสบายมากข้ึน ร่วมท้งั มีการส่งเสริมและสนบั สนุน การท่องเท่ียวเชิงผจญภยั มากข้ึน จึง
ทาให้ การท่องเที่ยวเชิงผจญภยั กาลงั เป็นท่ีนิยมของนกั ท่องเที่ยวท้งั ในและต่างประเทศมากข้ึน



ในคร้ังต่อไป เราจะนาเสนอกิจกรรมการผจญภยั ท่ีน่าตื่นเตน้ และ
หลากหลายมาฝาก ไม่วา่ จะเป็น กิจกรรมทางน้า กิจกรรมทางบก
และกิจกรรมทางอากาศ เช่น ล่องแก่ง พายเรือแคนู ดาน้าต้ืน ดาน้า
ลึก ขบั รถ ATV เป็นตน้ หรือสนใจทวั ร์ผจญภยั

http://xn--12caubz2g4aenea7o3a.blogspot.com/2012/12/blog-post.html

https://www.google.com/search?sxsrf=ALeKk030ZG4ZBiPxnE9FIRuZ0QW81
AW6qA%3A1582987996582&source=hp&ei

https://www.google.com/search?sxsrf=ALeKk00KRC1wkJNimE6Hy7q1Mv6
D95gbcw%3A1582988563683&ei=E31aXtanKcWcmgeiroOIDg&q=%

ประวตั ิผจู้ ดั ทา

โดย
นางสาววิไล แซ่ยา่ ง

ปวส.1/3
สาขาการโรงแรม


Click to View FlipBook Version