The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

TCMA Report 2020-2021: THAI CEMENT Climate Actions through Stakeholders Collaboration

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thailandtcma, 2022-06-08 00:16:38

TCMA Report 2020-2021: THAI CEMENT Climate Actions through Stakeholders Collaboration

TCMA Report 2020-2021: THAI CEMENT Climate Actions through Stakeholders Collaboration

Keywords: TCMA,Thai Cement Manufacturers Association

Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration in 2021 I 1

2 I Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration in 2021

สารบัญ

1 TCMA เดนิ หน้าลดก๊าซเรือนกระจก พร้อมชู 3 แผนงานหลกั ร่วมขบั เคล่ือน
3 TCMA บรรลุเป้าหมายแรกลดกา๊ ซเรอื นกระจกจากมาตรการทดแทนปนู เมด็

เดนิ หนา้ สู่เป้าหมายใหม่ ‘MISSION 2023’ ลดก๊าซเรอื นกระจก 1 ลา้ นตัน CO2

6 TCMA ผลกั ดนั สนิ ค้าปนู ซเี มนต์ขน้ึ ทะเบียนสินคา้ ไทย
9 ‘เหมืองแร่’ สง่ิ สำ� คัญสรา้ งความสะดวกชวี ิตประจ�ำวนั
11 เหมอื งแรส่ ีเขียว เปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม ประโยชน์ต่อเศรษฐกจิ และชุมชน
13 เหมืองปนู ซีเมนต์ รกั ษ์สิง่ แวดล้อม รกั ษช์ ุมชน
16 เหมืองแรเ่ พือ่ ชุมชน สร้างสมดลุ อยู่ร่วมกันอย่างย่งั ยนื พร้อมตอบโจทยพ์ ัฒนาเศรษฐกจิ
19 อตุ สาหกรรมปูนซีเมนต์ ผนึกกำ� ลงั พันธมิตร เดนิ หน้าลดก๊าซเรือนกระจก
21 ผผู้ ลติ ปนู ซเี มนต์พร้อมใจส่ง “ปูนซีเมนต์ไฮดรอลกิ ” สนองวาระลดโลกร้อน
22 ปลกู ป่า (คอนกรีต) ลดโลกร้อน
23 สภาวิศวกร กา้ วรับเทรนด์โลก ใช้ปนู ซเี มนต์ไฮดรอลิกชว่ ยลดกา๊ ซเรือนกระจก
24 ทศิ ทางการพฒั นางานก่อสรา้ งดว้ ยปนู ซีเมนต์ไฮดรอลกิ ช่วยลดโลกรอ้ น
25 พฒั นาการของคอนกรีตในงานกอ่ สร้างเพ่ือลดโลกร้อน
26 COP26 กบั ทศิ ทางการก่อสรา้ งในอนาคต
29 อตุ สาหกรรมปนู ซเี มนต์ รวมพลังสง่ ต่อธารน้�ำใจสู่พน่ี ้องชาวไทยสู้ภยั โควิด-19
30 ผูผ้ ลติ ปูนซีเมนตร์ วมพลงั ปันน�ำ้ ใจ บรรเทาความเดือดร้อนผ้ปู ระสบอทุ กภัย
31 เก่ยี วกับ TCMA

2020T-h2a0i2C1e: mTheanitCCelmimeantteCAlcimtioantes AthcrtoioungshtShrtaokueghhoSldtaekreshCoolldlearbsorCaotliloanbionra2t0io2n1 I 3

การดำ� เนินงานของ TCMA

4 I 2T0h2a0i -C2e0m21e:nTthCalimCeatmeeAncttiColnims athteroAucgthioSntsatkherhooulgdherSstaCkoellhaoblodreartsioCnoilnla2b0o2r1ation

2020T-h2a0i2C1e: mTheanitCCelmimeantteCAlcimtioantes AthcrtoioungshtShrtaokueghhoSldtaekreshCoolldlearbsorCaotliloanbionra2t0io2n1 I 5

TCMA เดินหน้าลดกา๊ ซเรอื นกระจก

พร้อมชู 3 แผนงานหลักรว่ มขับเคลอ่ื น

การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (Climate Change) และการลดกา๊ ซเรอื นกระจก (Greenhouse Gases) นบั เปน็ วาระสำ� คญั
ของทกุ ประเทศทวั่ โลก ประเทศไทยไดแ้ สดงบทบาทและเจตจำ� นงในการรว่ มลดโลกรอ้ น (Global Warming) รว่ มกบั นานาประเทศ
สมาคมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไทย (TCMA) ในฐานะอุตสาหกรรมผู้ผลิตปูนซีเมนต์ของไทย จึงชู 3 แผนงานเดินหน้า
ลดกา๊ ซเรอื นกระจกใหเ้ กดิ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม สอดคลอ้ งแผนทนี่ ำ� ทางลดกา๊ ซเรอื นกระจกของประเทศ (Thailand NDC Roadmap)
และทศิ ทางการประชมุ สุดยอดดา้ นสภาพภมู ิอากาศของสหประชาชาติ (COP26)

TCMA เปน็ ความรว่ มมอื ของผผู้ ลติ ปนู ซเี มนตท์ กุ รายของไทยทใ่ี หค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื (Sustainable Development)
มีการด�ำเนินงานดา้ นน้ีมาอย่างต่อเนอ่ื งนบั แตก่ อ่ ต้ัง TCMA เมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ด้วยปัจจบุ ันการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
มผี ลกระทบมากขน้ึ หลายประเทศรวมทง้ั ประเทศไทยตงั้ เปา้ หมายลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกสทุ ธเิ ปน็ ศนู ยเ์ พอ่ื ลดภาวะโลกรอ้ น
TCMA จงึ ผนึกก�ำลังสมาชิกตั้งเป้าขบั เคล่ือนลดก๊าซเรอื นกระจกใน 3 แผนงาน

1. ส่งเสริมใชป้ นู ซีเมนต์
ท่ีลดก๊าซเรอื นกระจก
“ปูนซีเมนต์ไฮดรอลกิ ”
TCMA ส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิก
วิจยั พฒั นา และนําเทคโนโลยีมาใชใ้ นการผลติ
ปูนซีเมนต์ที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
เรยี กวา่ “ปนู ซเี มนตไ์ ฮดรอลกิ ” ตาม มอก. 2594
รวมท้ังได้บูรณาการความร่วมมือกับภาครัฐ
ภาควชิ าชพี ภาคอตุ สาหกรรม และภาคการศกึ ษา
ในการเชิญชวนให้ทุกภาคส่วนเปล่ียนมาใช้
ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกในทุกโครงการก่อสร้าง
ภายใต้ ‘บนั ทกึ ความเขา้ ใจวา่ ดว้ ยการบรู ณาการ
ความรว่ มมอื ในการจดั การดา้ นการเปลยี่ นแปลง
สภาพภมู อิ ากาศเพอื่ ประเทศไทยบรรลเุ ปา้ หมาย
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก : มาตรการ
ทดแทนปูนเม็ด’ ระหว่าง 16 หน่วยงาน โดย
การสนับสนุนของ 5 กระทรวง ต้ังเป้าปี พ.ศ.
2565 ลดได้ 300,000 ตัน CO2 เทียบเท่า
ปลูกต้นไม้กว่า 31 ล้านต้น ความร่วมมือนี้
ทุกภาคส่วนที่มีการใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก
จะนบั ไดว้ า่ เปน็ ผทู้ ม่ี สี ว่ นรว่ มอยา่ งแทจ้ รงิ ในการ
ลดก๊าซเรือนกระจก สอดคล้องตามนโยบาย
ภาครัฐ และมีส่วนร่วมกับประชาคมโลกในการ
ควบคุมการเพมิ่ ขึ้นของอณุ หภูมเิ ฉลยี่ ของโลก
1 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

2. พฒั นาเหมอื งสู่ความยงั่ ยนื อนาคตเปน็ แหล่งน�ำ้ และจุดเรียนรสู้ �ำหรบั ชมุ ชน
TCMA ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การนำ� ทรพั ยากรแรม่ าใชอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ ตามนโยบายรฐั บาล ควบคกู่ บั การพฒั นาเพอื่ ใชป้ ระโยชน์
พนื้ ทภี่ ายหลงั การทำ� เหมอื งสน้ิ สดุ โดยพนื้ ทเี่ หมอื งทเี่ หมาะสมอาจพฒั นาเปน็ แหลง่ นำ�้ หรอื จดุ เรยี นรสู้ ำ� หรบั ชมุ ชนนน้ั ๆ
จึงสง่ เสริมให้สมาชกิ ดำ� เนนิ งานตามแนวทางเหมืองแรส่ ีเขียว (Green Mining) ด้วยการทำ� เหมอื งให้ถูกตอ้ งและปลอดภยั ตามหลัก
วิชาการท่ีเกี่ยวข้อง การบริหารจัดการแร่ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าตามนโยบายภาครัฐ การเลือกใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพ่ือลด
การเกดิ ผลกระทบ รวมทง้ั การบรหิ ารจดั การและฟน้ื ฟสู ภาพพน้ื ทโี่ ดยคำ� นงึ ถงึ ความเหมาะสมของลกั ษณะการใชป้ ระโยชนพ์ น้ื ที่ เชน่
การปลกู ต้นไมใ้ นพืน้ ท่ีหลังการทำ� เหมอื ง เพื่อเพ่มิ พ้ืนทีป่ า่ และชว่ ยดูดซบั CO2 หรือบางพ้นื ท่ีที่เหมาะสมในการพฒั นาเปน็ แหลง่ น�้ำ
กจ็ ะพฒั นาเป็นแหล่งน�้ำเพ่ือชุมชนใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ตัวอย่างเชน่ ไดม้ กี ารบรหิ ารจดั การนำ� น�้ำจากขุมเหมืองบา้ นแม่ทาน
จงั หวดั ลำ� ปาง เชอื่ มตอ่ ไปยงั บอ่ นำ�้ ชมุ ชนใกลเ้ คยี งใหไ้ ดใ้ ชป้ ระโยชนก์ วา่ 250 ครวั เรอื น นบั เปน็ ตน้ แบบความรว่ มมอื การนำ� ทรพั ยากร
มาใช้อย่างคุ้มคา่ และพฒั นาพ้ืนทีเ่ พอื่ ชุมชนใชป้ ระโยชนใ์ นอนาคต ส่งผลใหอ้ ุตสาหกรรมและชมุ ชนเตบิ โตไปดว้ ยกันอย่างยง่ั ยืน

บ่อนำ้� ชุมชน : ระยะแรก บ่อน้�ำชุมชน : ปัจจบุ นั (ความจุ 50,000 ลูกบาศก์เมตร)

ระบบส่งน้ำ� เช่ือมต่อไปยังชุมชน

3. สร้าง Ecosystem ส�ำหรบั การจัดการวัสดทุ ่ีไม่ใช้แลว้ (Waste)
สนบั สนนุ ระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น (Circular Economy)
TCMA มนี โยบายสง่ เสรมิ สมาชกิ จดั การวสั ดทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ (Waste) อยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ ดว้ ยการสรา้ งความรู้

ความเขา้ ใจ และความร่วมมือกบั ภาคสว่ นท่เี กย่ี วข้องตลอดกระบวนการ หันมาใหค้ วามสำ� คญั กบั การบรหิ ารจัดการ Waste อยา่ ง
ถูกต้อง ปจั จบุ ันอตุ สาหกรรมปนู ซเี มนต์ไดน้ ำ� Waste ทง้ั จากภาคอตุ สาหกรรม ชุมชน และการเกษตร มากกวา่ 9.5 ลา้ นตันตอ่ ปี
มาเปน็ เชอื้ เพลงิ ในเตาเผาปนู ซเี มนตแ์ บบ Co-processing นอกจากนี้ ยงั มแี นวทางทจี่ ะศกึ ษาความเปน็ ไปไดใ้ นการนำ� เศษคอนกรตี
ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการกอ่ สรา้ งและรอ้ื ถอน (Demolition Waste) มาใชป้ ระโยชนอ์ กี ดว้ ย โดยการดำ� เนนิ งานลกั ษณะนเี้ ปน็ การใชท้ รพั ยากร
ใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด สอดคล้องตามนโยบาย BCG ของภาครฐั ไม่ก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบกับส่งิ แวดลอ้ มและชมุ ชน และเป็นการลด
การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกไดอ้ กี ทางหน่งึ

TCMA เชื่อมั่นว่าการด�ำเนินตาม 3 แผนงานข้างต้น และด้วยความร่วมมือสนับสนุนจากทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง จะท�ำให้
การลดก๊าซเรือนกระจกเป็นไปตามเป้าหมายท่ีวางไว้ ท้ังน้ี TCMA ยังคงมุ่งม่ันพัฒนาอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ให้สนองตอบความ
ต้องการใช้ปูนซีเมนต์ในการพัฒนาประเทศด้านโครงสร้างพ้ืนฐานได้อย่างพอเพียง ส่งเสริม และพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นมิตร
กบั สิง่ แวดล้อม ควบคูก่ บั ความรบั ผิดชอบต่อชุมชนและสงั คม เพ่ือนำ� ไปสกู่ ารพัฒนาท่ียงั่ ยนื ในทีส่ ดุ

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 2

TCMA บรรลุเปา้ หมายแรก
ลดก๊าซเรอื นกระจก

จากมาตรการทดแทนปนู เม็ด

เ‘ดMินหนIS้าสเู่Sปา้ IหOมายNใหม2่ 023’

ลดก๊าซเรอื นกระจก 1 ล้านตนั CO2

สมาคมอตุ สาหกรรมปนู ซเี มนตไ์ ทย (TCMA) ความสำ� เรจ็ ใน
การผนกึ กำ� ลงั รว่ มมอื บรู ณาการกบั ทกุ ภาคสว่ นลดกา๊ ซเรอื นกระจก
จากมาตรการทดแทนปนู เมด็ ในปี พ.ศ. 2564 ได้ 300,000 ตนั CO2
บรรลุเป้าหมายเร็วกว่าท่ีตั้งไว้ พร้อมเร่งเดินหน้าสู่เป้าหมายใหม่
“MISSION 2023” ลดก๊าซเรือนกระจกให้ได้ 1 ลา้ นตัน CO2
ภายใต้การคาดการณ์อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ที่ยังคงเติบโต
ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 2 ในปี พ.ศ. 2565 จากปจั จัยหนนุ โครงการ
ก่อสรา้ งพ้ืนฐานขนาดใหญ่ของภาครฐั

1. ลดก๊าซเรอื นกระจกได้ 300,000 ตัน CO2 การสง่ เสรมิ ใชง้ าน ตลอดจนการรายงานผลและการทวนสอบ
จากมาตรการทดแทนปูนเม็ด เปน็ ตน้
• อตุ สาหกรรมปนู ซเี มนตร์ ว่ มเปน็ สว่ นหนง่ึ ในการลดผลกระทบ • ขอเชิญชวนให้ทุกภาคส่วนเปลี่ยนมาใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก
จากการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ (Climate Change) ในทุกโครงการก่อสร้าง เพื่อร่วมกันลดการปล่อย
ซึ่งเปน็ สาเหตขุ องภาวะโลกรอ้ น (Global Warming) ก๊าซเรือนกระจก
• จึงส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิกวิจัย พัฒนา และ • ต้องขอบคุณภาคีพันธมิตรทุกภาคส่วนท่ีให้การสนับสนุน
นําเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตปูนซีเมนต์ที่ลดการปล่อย และรว่ มเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการขบั เคลอื่ นนี้ จนมคี วามคบื หนา้
ก๊าซเรือนกระจก เรียกว่า “ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก” ตาม มาเปน็ ลำ� ดบั สามารถบรรลเุ ปา้ หมายการลด 300,000 ตนั CO2
มอก. 2594 เรว็ กวา่ เปา้ หมายทต่ี ง้ั ไวใ้ นปี พ.ศ. 2565 เทยี บเทา่ ปลกู ตน้ ไม้
• บรู ณาการความรว่ มมอื กบั ภาครฐั ภาควชิ าชพี ภาคอตุ สาหกรรม กว่า 31 ล้านต้น
และภาคการศึกษา ภายใต้ ‘บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการ • ทกุ ภาคสว่ นทม่ี กี ารใชป้ นู ซเี มนตไ์ ฮดรอลกิ นบั ไดว้ า่ เปน็ ผทู้ ม่ี ี
บูรณาการความร่วมมือในการจัดการด้านการเปล่ียนแปลง ส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการลดก๊าซเรือนกระจก สอดคล้อง
สภาพภูมิอากาศเพื่อประเทศไทยบรรลุเป้าหมายลดการ ตามนโยบายภาครัฐ และมีสว่ นร่วมกบั ประชาคมโลกในการ
ปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก : มาตรการทดแทนปนู เมด็ ’ ระหวา่ ง ควบคมุ การเพ่มิ ข้นึ ของอุณหภมู เิ ฉล่ยี ของโลก
16 หนว่ ยงาน โดยการสนบั สนนุ ของ 5 กระทรวง (กระทรวง
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม/กระทรวงอตุ สาหกรรม/ 2. พัฒนาเหมอื งหนิ ปนู
กระทรวงมหาดไทย/กระทรวงคมนาคม/กระทรวงเกษตร สู่ความย่ังยนื
และสหกรณ์) และรายงานความคืบหน้าต่อคณะกรรมการ
นโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศแห่งชาติ • “เขาวงโมเดล” และ “แก่งคอยโมเดล” ได้รบั ความเหน็ ชอบ
• ความร่วมมือครอบคลุมตั้งแต่การวิจัย พัฒนา การน�ำ ในรา่ งแผนผงั โครงการจากภาครฐั เปน็ ตน้ แบบการทำ� เหมอื ง
เทคโนโลยมี าใชใ้ นการผลติ การปรบั ปรงุ มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ ท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าเพ่ือ
และกฎระเบียบที่เก่ียวข้อง การสร้างความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ อนาคตเป็นแหล่งน้�ำและจุดเรียนรู้
ส�ำหรบั ชุมชน

3 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

• TCMA ตระหนกั ดวี า่ อตุ สาหกรรมปนู ซเี มนตท์ ไี่ ดร้ บั อนญุ าต การฟื้นฟูเหมือง และสอดคล้องกับการดูแลส่ิงแวดล้อม
จากรัฐให้น�ำทรัพยากรแร่มาใช้ให้คุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด อย่างย่ังยืน เพ่ือสร้างประโยชน์ให้กับชุมชนโดยรอบพ้ืนที่
ในทางเศรษฐกิจเพ่ือการพัฒนาประเทศ เรียกว่า License ตัวอย่างเช่น
to Operate จะท�ำอย่างไรให้เกิดความยั่งยืน ให้สังคม/ 1) การเป็นแหล่งน�้ำ : เหมืองบ้านแม่ทาน จังหวัดล�ำปาง
ชุมชนให้การยอมรบั และอนญุ าตให้ท�ำเหมือง หรอื มีโรงงาน พฒั นาเปน็ แหลง่ นำ้� และสง่ ตอ่ ไปยงั บอ่ นำ้� ชมุ ชนใกลเ้ คยี ง
อุตสาหกรรมอย่ใู นพืน้ ที่ ใหไ้ ดใ้ ชป้ ระโยชนก์ วา่ 250 ครวั เรอื น ทงั้ น้ี ชว่ งปที ผ่ี า่ นมา
• TCMA สง่ เสรมิ สมาชกิ ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การนำ� ทรพั ยากรแร่ ไดน้ ำ� นำ้� กวา่ 1.3 ลา้ นลกู บาศเ์ มตร จากบอ่ เหมอื งชว่ ยเหลอื
มาใช้อย่างคุ้มค่าตามนโยบายรัฐบาล ควบคู่กับการพัฒนา บรรเทาผลกระทบจากสถานการณ์ภัยแล้ง
เพอ่ื ใชป้ ระโยชนพ์ น้ื ทภี่ ายหลงั การทำ� เหมอื งสนิ้ สดุ โดยพนื้ ท่ี 2) การเป็นแก้มลิงรับน�้ำ : เหมืองห้วยแร่ จังหวัดสระบุรี
เหมืองท่ีเหมาะสมอาจพัฒนาเป็นแหล่งน�้ำ หรือจุดเรียนรู้ เปดิ คนั ขอบเหมอื งแรด่ นิ ซเี มนตท์ สี่ นิ้ สดุ การทำ� เหมอื งแลว้
สำ� หรับชมุ ชนนัน้ ๆ ให้เป็นพ้ืนที่แก้มลิง สามารถกักเก็บน้�ำได้ถึง 6.6 ล้าน
• TCMA ส่งเสรมิ ใหส้ มาชิกดำ� เนนิ งานตามแนวทางเหมอื งแร่ ลกู บาศกเ์ มตร ชว่ ยปอ้ งกนั นำ้� ทว่ มนาขา้ วในพนื้ ทม่ี ากกวา่
สีเขียว (Green Mining) ด้วยการท�ำเหมืองให้ถูกต้องและ 1,000 ไร่ และบรรเทาความเดอื ดร้อนในพ้นื ทีโ่ ดยรอบ
ปลอดภยั ตามหลกั วชิ าการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง นำ� วตั ถดุ บิ มาใชใ้ หเ้ กดิ เมือ่ ช่วงสถานการณ์อทุ กภยั ทผี่ า่ นมา
ประโยชน์อย่างคุ้มค่าตามนโยบายภาครัฐ ใช้เทคโนโลยีที่ 3) เหมืองในจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรี จังหวัด
ทันสมัย ควบคู่กับการบริหารจัดการพัฒนาพื้นที่ ดูแล นครศรีธรรมราช อยู่ระหว่างการพัฒนาเป็นแหล่งน�้ำ
สง่ิ แวดลอ้ มและสขุ ภาพของประชาชน และทส่ี ำ� คญั เปดิ โอกาส จดุ เรยี นรู้ และพน้ื ทสี่ นั ทนาการสำ� หรบั ชมุ ชนใชป้ ระโยชน์
ใหช้ มุ ชนและสงั คมมสี ่วนรว่ มตลอดกระบวนการ • นับเป็นต้นแบบความร่วมมือการน�ำทรัพยากรมาใช้อย่าง
• ปัจจุบันแนวทางการฟื้นฟูเหมืองได้ปรับให้สอดคล้องกับ คุ้มค่า และพัฒนาพ้ืนที่เพื่อชุมชนใช้ประโยชน์ในอนาคต
สภาพพนื้ ที่ และคำ� นงึ ถงึ ทกุ ภาคสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ ง โดยวางแผน สง่ ผลใหอ้ ตุ สาหกรรมและชมุ ชนเตบิ โตไปดว้ ยกนั อยา่ งยง่ั ยนื
และด�ำเนินการฟื้นฟูอย่างเป็นระบบตลอดกระบวนการ
ด�ำเนนิ งานของเหมือง และค�ำนงึ ถึงประโยชน์สูงสุดท่ไี ด้จาก

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 4

3. สร้าง Ecosystem สำ� หรบั การจัดการวสั ดุ • นอกจากน้ี ยังมแี นวทางท่จี ะศกึ ษาความเป็นไปไดใ้ นการนำ�
ท่ีไม่ใช้แลว้ (Waste) สนบั สนนุ ระบบ เศษคอนกรีตที่เกิดข้ึนจากการก่อสร้างและร้ือถอน
เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น (Circular Economy) (Demolition Waste) มาใช้ประโยชน์อีกด้วย โดยการ
ด�ำเนินงานลักษณะนี้ เป็นการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์
• อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ให้ความส�ำคัญต่อการใช้ทรัพยากร สูงสุด สอดคล้องตามนโยบาย BCG ของภาครัฐ ไม่ก่อ
อย่างคุ้มค่า ลดการเกิดของเสียและผลกระทบเชิงลบต่อ ให้เกิดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน และเป็นการลด
สิ่งแวดล้อม และเพ่ิมผลกระทบเชิงบวกต่อระบบเศรษฐกิจ การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกไดอ้ กี ทางหนงึ่
ด้วยการบริหารจัดการวัสดุที่ไม่ใช้แล้วอย่างเหมาะสมตาม
แนวทางเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น 4. ความรับผดิ ชอบ
• TCMA จึงมีนโยบายส่งเสริมสมาชิกจัดการวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว ตอ่ สงั คม
(Waste) อยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ ดว้ ยการสรา้ งความรู้
ความเข้าใจ และความรว่ มมือกบั ภาคสว่ นที่เกยี่ วข้องตลอด • สนับสนุนทุนและอุปกรณ์ทางการแพทย์เพ่ือดูแลผู้ติดเช้ือ
กระบวนการ หันมาให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการ โควิด-19 พร้อมส่งต่อความช่วยเหลือด้านการแพทย์
Waste อย่างถกู ต้อง ด้านสาธารณสุข และด้านความเป็นอยู่ไปยังทุกภูมิภาค
• ปัจจุบันอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ได้น�ำ Waste ท้ังจาก เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนและเป็นก�ำลังใจให้กับทุกฝ่าย
ภาคอุตสาหกรรม ชุมชน และการเกษตร มากกว่า ในสถานการณ์โควิด-19
1.5 ลา้ นตนั ต่อปี มาเป็นเชอ้ื เพลงิ ในเตาเผาปูนซีเมนตแ์ บบ • สนบั สนนุ ถงุ ยงั ชพี เครอ่ื งใชจ้ ำ� เปน็ ยารกั ษาโรค นำ้� ดมื่ และ
Co-processing รวมทั้งสนบั สนนุ ภาครฐั ในการใชป้ ระโยชน์ สุขากระดาษ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนใน
จากกระบวนการเผาของอตุ สาหกรรมปนู ซเี มนตม์ าดำ� เนนิ การ พ้ืนท่ีท่ีได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ท้ังระหว่างน้�ำท่วมและ
จัดการขยะติดเชอ้ื โควดิ -19 ทีจ่ งั หวดั นครศรธี รรมราช ภายหลงั น�ำ้ ลด
• สนับสนุนการศึกษาด้านเหมืองแร่ การพัฒนาด้าน
ทรพั ยากรธรณี และทำ� นุบ�ำรงุ พุทธศาสนา

ทศิ ทางดำ� เนินงานในปี พ.ศ. 2565

• TCMA ยังคงมุ่งเดินหน้าด�ำเนินการเร่ืองการลด
ก๊าซเรือนกระจกตลอดท้ังกระบวนการผลิต
การท�ำเหมืองตามแนวทาง Green Mining ใช้
ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
ควบคู่การดูแลชุมชนโดยผนึกก�ำลังบูรณาการ
ความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ท้ังภาคีในประเทศ
และตา่ งประเทศขบั เคล่อื นอย่างเข้มข้น
• ก�ำหนด “Mission 2023” ต้ังเป้าในปี พ.ศ. 2566
ลดก๊าซเรือนกระจกจากมาตรการทดแทนปูนเม็ด
ให้ได้ 1,000,000 ตนั CO2 เทียบเท่าปลูกต้นไม้
กวา่ 122,000,000 ตน้ โดยผผู้ ลติ ทกุ รายพรอ้ มใจ
ส่งปูนซีเมนต์ลดโลกร้อน “ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก”
เขา้ สกู่ ารใชง้ านในวงกวา้ งทว่ั ประเทศ เพอื่ ใหก้ ารลด
ก๊าซเรือนกระจกบรรลุเป้าหมาย
• ขอเชิญชวนร่วมลดก๊าซเรือนกระจกด้วยการใช้
ปนู ซเี มนต์ไฮดรอลกิ แทนปูนซเี มนตป์ อร์ตแลนด์

5 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

TCMA ผลกั ดัน 2 เรอื่ งนจ้ี งึ ตอบโจทยเ์ ศรษฐกจิ เปน็ อยา่ งยงิ่ เรยี กไดว้ า่ ไทยทำ�
ไทยใช้ ไทยเจริญ โดยนอกจากจะช่วยเสริมความแข็งแกร่งให้
สนิ ค้าปนู ซีเมนต์ กับผู้ประกอบการไทยแล้ว ยังส่งผลให้ไทยมีขีดความสามารถ
ในการแข่งขันสูงขึ้น เป็นการกระตุ้นการผลิต การค้าตลอด
ขน้ึ ทะเบียนสินค้าไทย ซัพพลายเชน ก่อให้เกิดการจ้างงาน สร้างรายได้ มีเม็ดเงิน
หมนุ เวยี นเขา้ สรู่ ะบบเศรษฐกจิ สามารถพลกิ ฟน้ื จากผลกระทบ
สมาคมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไทย (TCMA) ผลักดัน ของโควดิ -19 นำ� มาซงึ่ ความเขม้ แขง็ มน่ั คงใหก้ บั ระบบเศรษฐกจิ
“สนิ คา้ ปนู ซเี มนต”์ ขน้ึ ทะเบยี นสนิ คา้ ไทย (Made in Thailand) ของไทยในระยะยาว
และสินค้าท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco-Friendly) เข้าสู่
การจดั ซอื้ จดั จา้ งภาครฐั สนบั สนนุ SMEs ตลอดซพั พลายเชน ด้วยความร่วมมือของผู้ผลิตปูนซีเมนต์ของไทยทุกราย
ยกระดบั เศรษฐกจิ และลดก๊าซเรอื นกระจก “สินค้าปูนซีเมนต์” ทยอยขึ้นทะเบียนสินค้าไทย FTI-Made
in Thailand รวมกว่า 160 รายการ ทงั้ ปนู ซเี มนต์ส�ำหรบั งาน
ปนู ซเี มนตเ์ ปน็ สนิ คา้ ตน้ นำ�้ ของอตุ สาหกรรมวสั ดกุ อ่ สรา้ ง โครงสรา้ งและงานหลอ่ ผลติ ภณั ฑค์ อนกรตี ปนู ซเี มนตส์ ำ� เรจ็ รปู
รวมถึงอุตสาหกรรมก่อสร้าง การท่ีภาครัฐส่งเสริมให้โครงการ และปูนซีเมนต์ส�ำหรับงานพิเศษ ตอบสนองงานก่อสร้าง
ก่อสร้างต่างๆ ของภาครัฐใช้สินค้าท่ีผลิตภายในประเทศ ทกุ ประเภทของภาครฐั ขณะเดยี วกนั สนิ คา้ ปนู ซเี มนตท์ เ่ี ปน็ มติ ร
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ถือเป็นส่วนส�ำคัญท่ีท�ำให้รากฐาน ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม เช่น ปนู ซีเมนต์ไฮดรอลกิ มอก. 2594 ที่ชว่ ย
การผลติ ของไทยมคี วามเขม้ แขง็ ตลอดซพั พลายเชน ขบั เคลอื่ น ลดก๊าซเรือนกระจก นอกจากจะข้ึนทะเบียนสินค้าไทย
สง่ ตอ่ กนั ตง้ั แตต่ น้ นำ้� ถงึ ปลายนำ้� ตลอดจน SMEs ซง่ึ เปน็ ฟนั เฟอื ง FTI-Made in Thailand แลว้ ยงั ขนึ้ ทะเบยี นสนิ คา้ ทเ่ี ปน็ มติ รตอ่
ฐานรากของเศรษฐกิจไทย ส�ำหรับการส่งเสริมให้ใช้สินค้าที่ สงิ่ แวดลอ้ มคขู่ นานกนั ไปดว้ ย กข็ อเชญิ ชวนใหโ้ ครงการกอ่ สรา้ ง
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมก็เป็นอีกหนึ่งประการสำ� คัญท่ีจะท�ำให้ ของภาครัฐเปล่ียนมาใช้ปูนซีเมนต์ท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
สินค้าไทยสามารถแข่งขันได้ในกลไกซัพพลายเชนของโลก เพ่ือสนับสนุนให้ไทยลดก๊าซเรือนกระจกได้ไม่น้อยกว่า
ซงึ่ เรอ่ื งสง่ิ แวดลอ้ ม โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การลดกา๊ ซเรอื นกระจก 300,000 ตัน CO2 ในปี พ.ศ. 2565
ถูกก�ำหนดเป็นวาระส�ำคัญระดับโลก และนับวันจะทวีความ
เข้มข้นมากข้ึนเรื่อยๆ และถูกเชื่อมโยงมาสู่เศรษฐกิจ การค้า ท้ายนี้ ผู้ผลิตปูนซีเมนต์ทุกรายยืนยันความพร้อม
การลงทุนในหลากหลายมิติ ดังนั้น นโยบายของภาครัฐทั้ง ในการจัดส่งสินค้าปูนซีเมนต์ท่ีมีมาตรฐาน ได้รับการรับรอง
FTI-Made in Thailand เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลด
ก๊าซเรือนกระจก เข้าสู่โครงการก่อสร้างของภาครัฐได้อย่าง
พอเพียง

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 6

7 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

เหมอื งปูนซีเมนต์ ข้อมลู เพม่ิ เตมิ

เหมอื งแรส่ เี ขียว

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 8

‘เหมืองแร’่

ส่งิ ส�ำคัญสร้างความสะดวกชีวติ ประจ�ำวนั

โดย รศ. ดร.พษิ ณุ บุญนวล นายกสมาคมวิศวกรเหมืองแร่ไทย

เคยรกู้ นั บา้ งไหมวา่ ความสะดวกสบายในชวี ติ ของเรา ตงั้ แตต่ น่ื จนเขา้ นอน การเดนิ ทาง เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้
เครอ่ื งส�ำอาง ยารักษาโรค ลว้ นมีสว่ นทจ่ี ะตอ้ งใช้แร่กนั ทั้งน้ัน

วันนไ้ี ดร้ บั เกียรตจิ าก รศ. ดร.พิษณุ บญุ นวล นายกสมาคมวศิ วกรเหมอื งแร่ไทย มาชว่ ยอธบิ ายใหเ้ ราได้เข้าใจ

ท�ำไมตอ้ งมีเหมืองแร่ ในการผลิตปูนซีเมนต์น้ัน เราต้องท�ำเหมืองหินปูน
เหมอื งดนิ เหนยี ว ดนิ ซเี มนต์ เพราะปนู ซเี มนตต์ อ้ งมอี งคป์ ระกอบ
เคยสังเกตกันไหมว่า ในชีวิตประจ�ำวันของเรานั้น ของแคลเซยี มออกไซด์ CaO (จากหนิ ปนู ) อะลมู นิ า Al2O3 (จาก
จะต้องใช้สอยผลิตภัณฑ์ท่ีมีแร่เป็นวัตถุดิบกันตลอดวัน ตั้งแต่ ดนิ เหนยี วและดนิ ซเี มนต)์ เหลก็ ออกไซด์ Fe2O3 (จากดนิ เหนยี ว
อ่างล้างหน้าแปรงฟัน เคร่ืองสุขภัณฑ์ต่างๆ ห้องน�้ำท่ีปูพ้ืน หรือแร่เหล็ก) และซิลิก้า SiO2 จากดินเหนียวและดินซีเมนต์
กระเบื้อง บุผนังด้วยกระเบ้ือง ซ่ึงเป็นผลิตภัณฑ์เซรามิก โดยน�ำวัสดุพวกน้ีตามสัดส่วนที่ออกแบบและค�ำนวณไว้มา
ท่ีต้องใช้แร่ดินขาว บอลเคลย์ เฟลด์สปาร์ ทรายแก้ว โดยใช้ บดผสม แล้วเผาให้เป็นซเี มนต์เม็ด (Clinker) จากนั้นจงึ เอาไป
ปูนปลาสเตอร์ท่ีผลิตจากแร่ยิปซัมเป็นเบ้าหล่อ นอกจากนี้ บดละเอียด โดยผสมแรย่ ปิ ซมั ลงไปอกี ประมาณ 4-5% ได้เปน็
ยังต้องส่องกระจกแต่งสวยแต่งหล่อกันสักหน่อย กระจกนี่ก็ ปูนซีเมนต์ให้ได้ใช้กัน แน่นอน ก็ต้องมีการท�ำเหมืองแร่ยิปซัม
ผลิตจากแร่ทรายแก้วโดยมีเฟลด์สปาร์และโดโลไมต์ผสม อกี ชนิดหนงึ่
เพอื่ ปรับปรงุ คณุ ภาพ
เอ!!!! คดิ ดแู ล้ว แคช่ ีวิตประจ�ำวันท่ีเรยี บงา่ ยน้ี ทุกคนกม็ ี
รวมท้ังบ้านที่เราอาศัยอยู่น้ัน สร้างขึ้นมาจากผลิตภัณฑ์ สว่ นรว่ มทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ความจำ� เปน็ ตอ้ งทำ� เหมอื งในหลายๆ ชนดิ แร่
จากเหมอื งแรเ่ กือบทั้งหลงั !!!! เริม่ ทเี่ สา คาน พนื้ และผนังบา้ น กันแล้ว ถ้าไม่ให้ท�ำเหมืองกันแล้วเราจะเอาของจ�ำเป็นพื้นๆ
คอนกรตี ใชท้ รายจากเหมอื งทราย หนิ จากเหมอื งและโรงโมห่ นิ ท่ีกล่าวมานี้จากไหนกัน ถ้าไม่รักเหมือง ก็ต้องท�ำความเข้าใจ
ทเี่ หน็ กนั อยทู่ ว่ั ประเทศ ใชเ้ หลก็ เสน้ จากเหมอื งเหลก็ โรงถลงุ เหลก็ กนั ละหนา!?
และโรงงานหลอมและรดี เหลก็ แล้วก็ต้องใช้ปนู ซเี มนต์

9 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

ทำ� ไมจงึ เหน็ เหมืองหนิ อยู่เกือบทกุ จงั หวัด การทำ� เหมืองแร่
ยคุ 4.0 นี้
หนิ มคี วามสำ� คญั กบั การพฒั นาประเทศเปน็ อยา่ งมาก
นอกจากใช้หนิ ในการสร้างท่ีอยู่อาศยั แล้ว ยังตอ้ งใช้สร้าง คนทำ� เหมอื งตอ้ งมี
ตึกใหญ่โตสูงระฟ้า สะพานลอย ถนนลอยฟ้าในกรุง จติ สำ� นึกที่ดี
ในเมอื งต่างๆ งานก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานของรฐั เชน่ ด้านสงั คม
ถนนหนทาง สะพาน ท่าเรือ สนามบิน ทางรถไฟรางคู่ และสง่ิ แวดลอ้ ม
ทางรถไฟความเร็วสูง รวมทั้งสนามกีฬาและงานป้องกัน
การกัดเซาะตล่ิงด้วย จึงเป็นเรื่องท่ีส�ำคัญอย่างยิ่งที่จะ
ต้องมีเหมืองหินกระจายอยู่ทุกพ้ืนท่ีของประเทศ เพ่ือ
ตอบสนองความตอ้ งการใชง้ านทกี่ ระจายอยทู่ วั่ ประเทศได้

เป็นไปได้ไหมที่การทำ� เหมอื งจะไม่ก่อให้เกดิ
ผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ มและสุขภาพของ
ชุมชน

เราก้าวเข้ามาในยุคใหม่แล้ว ยุคท่ีกฎหมายแร่ให้
ความสำ� คญั กบั การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน ใหค้ วามสำ� คญั ใน
เรอ่ื งการทำ� เหมอื งทไี่ มก่ อ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม
และสขุ ภาพของประชาชน มกี ารกำ� หนดมาตรการควบคมุ
จากหน่วยงานด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และสุขอนามัย
ให้เหมืองต้องปฏิบัติและรายงานการติดตามตรวจสอบ
มีการก�ำกับดูแลจากหน่วยงานราชการด้านเหมืองแร่
มีการส่งเสริมให้เหมืองปรับตัวและพัฒนา เช่น รางวัล
ส่งเสริมอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพ้ืนฐาน
ให้มีมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR-DPIM)
รางวัลเหมอื งแรส่ ีเขยี ว (Green Mining Award) สำ� หรบั
เหมืองท่ีด�ำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นมิตรกับ
สิง่ แวดล้อม ใช้ทรพั ยากรแรอ่ ยา่ งคุม้ คา่ มีความปลอดภยั
ทง้ั จากอบุ ตั เิ หตแุ ละสขุ อนามยั ของทงั้ พนกั งานและชมุ ชน
ใกล้เคียง มีสภาพแวดล้อมของพ้ืนที่ที่ดี ควบคุมและ
ปอ้ งกนั ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและชมุ ชนรอบเหมอื งทด่ี ี
และมปี ระสทิ ธภิ าพ โปรง่ ใส ตรวจสอบงา่ ย รวมทงั้ เปดิ โอกาส
ใหช้ ุมชนและสงั คมมีสว่ นรว่ มมากที่สุด

การท�ำเหมืองแร่ยุค 4.0 นี้ คนท�ำเหมืองต้องมี
จิตส�ำนึกท่ีดีด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ภายใต้
พระราชบญั ญตั แิ ร่ พ.ศ. 2560 และภายใตก้ ารกำ� กบั ดแู ล
ข อ ง ก ร ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม พ้ื น ฐ า น แ ล ะ ก า ร เ ห มื อ ง แ ร ่
และการสนับสนุนขององค์กรวิชาชพี ตา่ งๆ เชน่ สภาการ
เหมืองแร่ สภาวศิ วกร วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ
และสมาคมวิศวกรเหมืองแร่ไทย ท่ีช่วยสนับสนุนในเร่ือง
ของการพัฒนาองค์ความรู้ผ่านการจัดบรรยายและอบรม
ตลอดจนการจัดท�ำมาตรฐานการปฏิบัติงานต่างๆ เช่น
มาตรฐานการปฏบิ ตั กิ ารระเบดิ มาตรฐานการทำ� เหมอื งหนิ
และโรงโมห่ นิ เปน็ ตน้ จงึ มน่ั ใจวา่ จะสามารถนำ� พาไปสยู่ คุ
ของเหมอื งแรท่ ี่เป็นมติ รต่อชุมชนและส่ิงแวดลอ้ มในทส่ี ุด

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 10

เหมืองแรส่ เี ขียว

เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและชุมชน

การท�ำเหมืองแร่เป็นกิจกรรมพื้นฐาน พัฒนาเหมืองเปน็ แหล่งนำ�้ และจดุ เรียนรู้แก่ชุมชน
ส�ำคัญล�ำดับต้นๆ ท่ีสนับสนุนการขับเคล่ือน
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ของประเทศ นอกจากกระบวนการท�ำเหมืองตามหลักวิชาการ โดยค�ำนึงถึง
และสรา้ งสง่ิ อำ� นวยความสะดวกในชวี ติ ประจำ� วนั สงิ่ แวดลอ้ มและชมุ ชนแลว้ อตุ สาหกรรมปนู ซเี มนตย์ งั ใสใ่ จใหค้ วามสำ� คญั
การท�ำเหมืองแร่ได้มีพัฒนาการมาอย่าง ตลอดต่อเนื่องไปถึงการพัฒนาพื้นท่ีภายหลังการท�ำเหมืองสิ้นสุดลงด้วย
ต่อเนื่อง มีการน�ำเทคโนโลยีเข้ามาสนับสนุน ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางเหมืองแร่สีเขียว โดยค�ำนึงถึงความเหมาะสม
ด�ำเนินงานเพ่ือยกระดับการท�ำเหมือง ตาม ของพน้ื ทแี่ ละการใชป้ ระโยชน์ เชน่ การปลกู ตน้ ไมใ้ นพน้ื ทหี่ ลงั การทำ� เหมอื ง
แนวทาง ‘เหมอื งแรส่ ีเขยี ว’ (Green Mining) โดยคำ� นงึ ถงึ ความหลากหลายทางชวี ภาพ (Biodiversity) เพอ่ื เพมิ่ พน้ื ทปี่ า่
ภายใตก้ ารก�ำกับดูแลของหนว่ ยงานภาครัฐ และช่วยดดู ซบั กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์

เหมอื งแรส่ เี ขียว

อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ให้ความส�ำคัญ
ต่อการยกระดับพัฒนาเหมืองอุตสาหกรรม
ปูนซีเมนต์ตามแนวทางเหมืองแร่สีเขียว
(Green Mining) โดยมงุ่ สง่ เสรมิ การทำ� เหมอื ง
ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพตามหลกั วชิ าการ นำ� วตั ถดุ บิ
มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนอ์ ย่างคุ้มค่าตามนโยบาย
ภาครัฐ ใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัย ควบคู่กับ
การบรหิ ารจดั การพฒั นาพน้ื ท่ี ดแู ลสงิ่ แวดลอ้ ม
และสุขภาพของประชาชน และที่ส�ำคัญ
เปดิ โอกาสใหช้ มุ ชนและสงั คมมสี ว่ นรว่ มตลอด
กระบวนการ

11 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

ปัจจุบันแนวทางการฟื้นฟูเหมืองได้ปรับให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่
และคำ� นงึ ถงึ ทกุ ภาคสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ ง โดยวางแผนและดำ� เนนิ การฟน้ื ฟอู ยา่ ง
เป็นระบบตลอดกระบวนการดำ� เนนิ งานของเหมอื ง และคำ� นึงถึงประโยชน์
สูงสุดที่ได้จากการฟื้นฟูเหมืองและสอดคล้องกับการดูแลสิ่งแวดล้อมอย่าง
ย่ังยืน มีการพัฒนาพื้นท่ีให้เป็นแหล่งน้�ำและจุดเรียนรู้เพื่อสร้างประโยชน์
ให้กับชมุ ชนโดยรอบพน้ื ท่ี ตวั อยา่ งเช่น เหมอื งบ้านแม่ทาน จังหวัดล�ำปาง
ท่ีพัฒนาเป็นแหล่งน้�ำและบริหารจัดการน้�ำส่งต่อไปให้ชุมชนใช้ประโยชน์
กวา่ 250 ครวั เรอื น หรอื เหมอื งในจงั หวดั นครสวรรค์ จงั หวดั ลพบรุ ี จงั หวดั
นครศรธี รรมราช ทอี่ ยรู่ ะหว่างการพฒั นาเป็นแหล่งนำ�้ จุดเรียนรู้ และพื้นที่
สนั ทนาการสำ� หรบั ชุมชนใช้ประโยชน์

พฒั นาเหมอื งชว่ ยภัยแลง้ และบรรเทานำ้� ท่วม เหมอื งปนู ซเี มนตต์ ามแนวทางเหมอื งแร่
สีเขียว ภายใต้การก�ำกับดูแลของหน่วยงาน
นอกจากน้ียังมีการพัฒนาบ่อเหมืองให้เป็นแหล่งน้�ำเพื่อช่วยเหลือชุมชน ภาครัฐ จึงเป็นต้นแบบของการท�ำเหมือง
ชว่ งทผ่ี า่ นมาได้น�ำนำ�้ กวา่ 1.3 ล้านลูกบาศ์เมตร จากบอ่ เหมอื งช่วยเหลือบรรเทา ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมตามหลักวิชาการ
ผลกระทบจากสถานการณ์ภัยแล้งแล้ว บ่อเหมืองบางบริเวณยังสามารถพัฒนา ควบคู่ไปกับประโยชน์ทางเศรษฐกิจและ
เปน็ แก้มลงิ รบั นำ�้ ช่วยบรรเทาความเดือดรอ้ นจากอุทกภยั ในพน้ื ท่ีโดยรอบเหมอื ง ชุมชนได้ใช้ประโยชน์อย่างสูงสุด สอดคล้อง
ไดอ้ กี ดว้ ย เชน่ สถานการณอ์ ทุ กภยั เมอื่ เรว็ ๆ นใ้ี นจงั หวดั สระบรุ ี กรมอตุ สาหกรรม กับทิศทางการด�ำเนินการของโลกในการ
พื้นฐานและการเหมืองแร่ ร่วมกับอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ ได้บริหารจัดการ พฒั นาอยา่ งย่งั ยืน (SDG Goals)
เหมอื งดนิ ซเี มนตท์ สี่ นิ้ สดุ การทำ� เหมอื งแลว้ ใหเ้ ปน็ พน้ื ทแ่ี กม้ ลงิ สามารถรองรบั นำ�้
ไดถ้ งึ 6.6 ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร สามารถบรรเทาอทุ กภัยแกช่ ุมชนและช่วยป้องกัน
น�้ำท่วมพืน้ ที่ปลูกขา้ วมากกว่า 1,000 ไร่ ทง้ั น้ี น้�ำท่ีกักเก็บในแก้มลิงนส้ี ามารถ
น�ำมาชว่ ยเหลอื ชมุ ชนบรรเทาความเดือดรอ้ นในชว่ งภัยแลง้ ได้อกี ด้วย

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 12

เหมืองปูนซเี มนต์

รักษ์สง่ิ แวดลอ้ ม รักษ์ชมุ ชน

การออกแบบเหมืองแบบ
Semi Open Cut

จากการเขา้ เยย่ี มชมการทำ� เหมอื งปนู ซเี มนต์ มสี งิ่ ใหมๆ่ สะพานลำ� เลยี งระบบปิด
ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ ภาพทเี่ หน็ แตกตา่ งไปจากทเี่ คยเขา้ ใจมากอ่ นหนา้ ปอ้ งกนั ฝุ่นละออง
และมีส่ิงดีๆ ท่ีอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ให้ความเอาใจใส่และ
ท�ำมาอย่างต่อเนื่อง จนอดไม่ได้ท่ีจะน�ำมาแบ่งปันถ่ายทอด
เลา่ สู่กนั ฟงั

การทำ� เหมอื งปนู ซเี มนตเ์ รม่ิ จากการออกแบบการทำ� เหมอื ง
ซึ่งเป็นข้ันตอนท่ีส�ำคัญท่ีสุด ที่ต้องศึกษาสภาพภูมิประเทศ
ส่งิ แวดลอ้ ม พน้ื ทีข่ า้ งเคียงโดยรอบ ชมุ ชน ข้อจ�ำกัดต่างๆ ต้อง
ถกู นำ� มาประมวลวเิ คราะหอ์ ยา่ งรอบคอบในการออกแบบเหมอื ง
จากนนั้ จะเป็นข้นั ตอนวางแผนการท�ำเหมอื ง โดยใชข้ อ้ มลู การ
ส�ำรวจแร่ประยุกต์ร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการ
ออกแบบเหมอื ง เพอื่ การใชท้ รพั ยากรอยา่ งคมุ้ คา่ สงู สดุ (Quarry
Optimization Software)

หินจากหน้าเหมืองจะถูกล�ำเลียงขนส่งเข้าสู่การย่อย
ก่อนส่งตอ่ ไปยงั กระบวนการผลติ ออกมาเป็นปูนซีเมนต์ใหเ้ รา
ไดใ้ ชง้ าน นำ� ไปสรา้ งสง่ิ อำ� นวยความสะดวกของเราในดา้ นตา่ งๆ
โดยเหมืองปูนซีเมนต์ให้ความส�ำคัญในการรักษาส่ิงแวดล้อม
จากกระบวนการลำ� เลยี งขนสง่ นี้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การควบคมุ
การฟงุ้ กระจายของฝนุ่ ละออง ผผู้ ลติ ปนู ซเี มนตจ์ ะเลอื กใชว้ ธิ กี าร
ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพพนื้ ที่ เชน่ การตดิ ตง้ั ระบบสเปรยน์ ำ้� หรอื

13 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

การน�ำเทคโนโลยีมาใช้งาน เช่น การใช้เคร่ืองโม่ก่ึงเคล่ือนที่
(Semi Mobile Crusher) หรอื เครอ่ื งโมช่ นดิ เคลอื่ นทไ่ี ด้ (Mobile
Crusher) หรือการติดต้ังระบบสายพานล�ำเลียง หรือปัจจุบัน
เร่มิ มีการนำ� รถบรรทกุ หนิ ปูนชนิดไฟฟา้ (EV Mining Truck)
เขา้ มาใชง้ าน ซงึ่ นอกจากจะชว่ ยลดการฟงุ้ กระจายของฝนุ่ ละออง
ยังเป็นการช่วยลดก๊าซเรือนกระจกได้อกี ทางหนง่ึ

รถบรรทกุ หนิ ปนู ชนดิ ไฟฟ้า
(EV Mining Truck)

การพฒั นาใชป้ ระโยชนข์ มุ เหมอื งทสี่ น้ิ สดุ การทำ� เหมอื ง
แลว้ ควบคกู่ บั การปลกู ตน้ ไมเ้ พอ่ื ฟน้ื ฟรู ะบบนเิ วศ โดยคำ� นงึ ถงึ
ความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นอีกเร่ืองหน่ึงที่ได้เรียนรู้
ได้เห็นถึงประโยชน์อย่างมากมายจากขุมเหมืองท่ีชุมชนและ
สังคมโดยรอบจะได้รับประโยชน์ในระยะยาว นอกเหนือจาก
การขับเคล่ือนทางเศรษฐกิจ สร้างงาน สร้างรายได้ ในช่วงที่
ยงั มีการทำ� เหมอื งอยู่ โดยพัฒนาขุมเหมอื งใหเ้ ป็นแหล่งเก็บนำ�้
สำ� หรบั ใหช้ มุ ชนใกลเ้ คยี งไดใ้ ชใ้ นยามแลง้ หรอื พฒั นาเปน็ พนื้ ที่
สนั ทนาการ ออกกำ� ลงั กาย พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ เปน็ ตน้ นอกจากน้ี
เหมอื งปนู ซเี มนตย์ งั มกี ารจดั ตงั้ ศนู ยเ์ รยี นรคู้ วามหลากหลายทาง
ชวี ภาพ (Bio-Diversity Center) เปน็ ศนู ยท์ เ่ี กบ็ รวบรวมพนั ธไ์ุ ม้
ท้องถ่ินจากพ้ืนที่เหมืองเพื่อน�ำมาเพาะพันธุ์ ศึกษาการเจริญ
เตบิ โต การออกดอก ออกผล และนำ� ขอ้ มลู ทไ่ี ดไ้ ปวางแผนการ
ฟ้ืนฟรู ะบบนเิ วศให้กลบั มาใกล้เคยี งกบั ของเดมิ มากท่ีสุด

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 14

แหลง่ น�้ำช่วยภยั แลง้ แก้มลงิ ชว่ ยน�้ำทว่ ม

ประโยชน์ของขุมเหมือง พ้นื ทสี่ ันทนาการ
ภายหลังสนิ้ สุดการท�ำเหมอื ง

การเขา้ เยย่ี มชมเหมอื งปนู ซเี มนตใ์ นครง้ั นี้ ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจภาพของการทำ� เหมอื งปนู ซเี มนตไ์ ดช้ ดั เจนมากขน้ึ รบั รไู้ ดถ้ งึ
ความเอาใจใสแ่ ละความตงั้ ใจของอตุ สาหกรรมปนู ซเี มนตท์ ม่ี ตี ลอดกระบวนการทำ� เหมอื ง มกี ารวเิ คราะหว์ างแผนอยา่ ง
รอบคอบ การนำ� เทคโนโลยีตา่ งๆ เข้ามาพฒั นาด�ำเนินงาน การป้องกนั และค�ำนงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มอันอาจ
เกดิ ขน้ึ และสงิ่ สำ� คญั คอื การคำ� นงึ ถงึ ความตอ้ งการของชมุ ชนในการใชป้ ระโยชนจ์ ากพน้ื ทเี่ หมอื ง ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั นโยบาย
ภาครฐั ตามแนวทางเหมอื งแรส่ ีเขยี ว (Green Mining) ทำ� ใหภ้ าคสว่ นตา่ งๆ มคี วามมนั่ ใจวา่ การท�ำเหมอื งปูนซเี มนต์
เป็นประโยชน์ตอ่ เศรษฐกจิ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ มของประเทศต่อไป

15 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

เหมอื งแร่ “เหมืองแร่เพ่ือชุมชน” เป็นนโยบายส�ำคัญของ กพร.
เพ่อื ชุมชน โดยด�ำเนนิ การตามแนวทางเหมืองแรส่ เี ขียว (Green Mining)
เพอื่ ชว่ ยยกระดบั มาตรฐานการทำ� เหมอื งและยกระดบั คณุ ภาพ
สรา้ งสมดุลอยู่ร่วมกัน ชวี ติ ของชมุ ชนทเี่ ปน็ ทต่ี ง้ั ของแหลง่ แร่ ทงั้ ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
อยา่ งยั่งยืน พร้อมตอบโจทย์ ด้านการสร้างงานสรา้ งอาชพี ด้านการศกึ ษา และด้านสุขภาพ
พฒั นาเศรษฐกจิ ของประชาชน เหมอื งแรเ่ พอ่ื ชมุ ชนนน้ั ครอบคลมุ ทง้ั ดา้ นความ
รับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ด้านการก�ำจัด-ลด-ป้องกัน-
โดย นริ นั ดร์ ย่งิ มหิศรานนท์ แกไ้ ขผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ดา้ นความปลอดภยั และสขุ ภาพ
อธบิ ดีกรมอุตสาหกรรมพ้นื ฐานและการเหมืองแร่ ของประชาชน ดา้ นการปรบั ปรงุ พน้ื ทส่ี เี ขยี วและทศั นยี ภาพของ
เหมอื ง ดา้ นการดำ� เนนิ งานทโี่ ปรง่ ใสตรวจสอบได้ และดา้ นการใช้
การท�ำเหมืองแร่ เป็นอุตสาหกรรมต้นน้�ำที่มีความ ทรัพยากรแร่อย่างคุ้มค่า โดยมุ่งหวังให้อุตสาหกรรมเหมืองแร่
ส�ำคัญต่อการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศ โดยมี เติบโตอยคู่ ู่กบั ชมุ ชนสอดคล้องกบั การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร่ (กพร.) กระทรวง
อุตสาหกรรม เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารจัดการแร่และ ทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเหมืองแร่
ใช้ประโยชน์จากแร่ให้คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ควบคู่ไปกับ ทงั้ สถาบนั การศกึ ษา องคก์ รวชิ าชพี และสมาคมทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั
การสรา้ งสมดลุ สงิ่ แวดลอ้ มบนพน้ื ฐานการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน อุตสาหกรรมเหมืองแร่ ล้วนมีส่วนส�ำคัญอย่างมากในการ
และสงั คม เพอ่ื การอยู่ร่วมกันอย่างยงั่ ยนื ยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ให้เป็นเหมืองแร่
เพอื่ ชมุ ชน โดยเขา้ มาชว่ ยกนั สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ดแู ลผปู้ ระกอบ
แร่เป็นวัตถุดิบพ้ืนฐานที่ส�ำคัญของหลายอุตสาหกรรม กจิ การดว้ ยกนั เอง ใหย้ กระดบั มาตรฐานการทำ� เหมอื งใหเ้ ปน็ ท่ี
ท่ีขับเคลื่อนเศรษฐกิจตามนโยบายการพัฒนาประเทศ เช่น ยอมรับของชุมชนและสังคม เช่น การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้
หนิ ปูน ส�ำหรับอุตสาหกรรมปนู ซีเมนตใ์ นการพัฒนาโครงสร้าง ในการทำ� เหมอื ง การศกึ ษาดงู านแนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี (Best Practice)
พ้ืนฐาน หรือแร่หายาก ส�ำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ในการ ของการท�ำเหมอื งในดา้ นตา่ งๆ รวมทั้งสถาบนั การศึกษากต็ อ้ ง
พฒั นายานยนตไ์ ฟฟา้ เปน็ ตน้ กพร. จงึ มบี ทบาทในการสง่ เสรมิ ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีการท�ำเหมืองที่
และสนับสนุนให้แร่มีความเพียงพอต่อการใช้งาน รวมทั้ง พฒั นาขนึ้ มาอยา่ งตอ่ เนอื่ งตามทศิ ทางของโลก เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากร
ก�ำกับดูแลผู้ประกอบกิจการเหมืองแร่ให้ด�ำเนินการตาม ท่ีจะเข้ามาในอุตสาหกรรมเหมืองแร่มีความรู้ความเข้าใจ และ
นโยบายภาครัฐ มีจรรยาบรรณและใชห้ ลักธรรมาภบิ าลในการ ช่วยกันดูแลอุตสาหกรรมเหมืองแร่ให้อยู่คู่กับชุมชนได้อย่าง
ประกอบกจิ การ และไมส่ รา้ งผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม เพื่อให้ ย่ังยืน พร้อมตอบสนองการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
อตุ สาหกรรมเหมอื งแรม่ คี วามเขม้ แขง็ และเตบิ โตไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ประเทศต่อไป
สามารถสนองตอบต่อนโยบายการพัฒนาประเทศท่ีขับเคล่ือน
เศรษฐกจิ ดว้ ยแนวทาง Bio-Circular-Green Economy (BCG)

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 16

17 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

รวมพลังเพ่อื โลกของเรา

ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 18

อตุ สาหกรรมปนู ซเี มนต์

ผนึกกำ� ลงั พนั ธมิตร เดนิ หน้าลดก๊าซเรือนกระจก

อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ เทรนด์โลกเทรนด์ไทยโฟกสั เปา้ หมายลดก๊าซเรอื นกระจก
ผ นึ ก ก� ำ ลั ง พั น ธ มิ ต ร
ทั้งภาครัฐ ภาควิชาชีพ ปัจจุบันนานาประเทศมีการตื่นตัวถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ภาคอุตสาหกรรม และภาค (Climate Change) มีการก�ำหนดแนวทางและเป้าหมายที่ชัดเจนในการลดการปล่อย
การศกึ ษา เดนิ หนา้ ลดกา๊ ซ กา๊ ซเรอื นกระจกใหเ้ ปน็ ตามความตกลงปารสี (Paris Agreement) ทจี่ ะรว่ มกนั ควบคมุ การ
เรอื นกระจกตาม Thailand เพิม่ ขนึ้ ของอุณหภมู โิ ลกไม่ให้เกนิ 1.5 องศาเซลเซยี ส ช่วยลดความเส่ียงการเกดิ โลกร้อน
NDC Roadmap พร้อมชู (Global Warming) และลดผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เชน่ สหรฐั อเมรกิ า
‘ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก’ ช่วย กลบั เขา้ สคู่ วามตกลงปารสี พรอ้ มตง้ั เปา้ ลดปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกอยา่ งนอ้ ย 50% ภายใน
ลดโลกร้อน ปี พ.ศ. 2573 จีนใหค้ �ำมน่ั มงุ่ สู่ Net Zero Target ในปี พ.ศ. 2603 สหภาพยโุ รปบัญญัติ
เปน็ กฎหมาย EU Green Deal มงุ่ สู่ Carbon Neutral ในปี พ.ศ. 2593 เกาหลใี ตป้ ระกาศ
นโยบาย Green New Deal ม่งุ สู่ Net Zero Target ในปี พ.ศ. 2593 เป็นตน้

19 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี มี ม ติ เ ห็ น ช อ บ ใ ห ้ เ ร่ื อ ง ก า ร ผนกึ ก�ำลังพันธมติ รเดินหนา้ สู่เป้าหมาย
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นนโยบายส�ำคัญของ
ประเทศ และมอบหมายกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ ความรว่ มมือของทกุ ภาคส่วนเป็นสงิ่ ส�ำคญั ท่ที �ำให้บรรลุเปา้ หมาย
และสิ่งแวดล้อม โดยส�ำนักงานนโยบายและ ลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สมาคมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไทย
แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดท�ำ (TCMA) รว่ มกบั วศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สภาวศิ วกร และสมาคมคอนกรตี แหง่ ประเทศไทย ผนกึ กำ� ลงั 16 พนั ธมติ ร
พ.ศ. 2558-2593 รวมถงึ Thailand NDC Roadmap ภาครัฐ ภาควิชาชีพ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการศึกษา ขับเคล่ือน
เพื่อให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องใช้เป็นกรอบด�ำเนินงาน ตาม Thailand NDC Roadmap ตงั้ เป้าหมายลดก๊าซเรอื นกระจกจาก
ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายในสาขาตา่ งๆ เชน่ สาขากระบวนการ มาตรการทดแทนปูนเม็ดให้ได้ไม่น้อยกว่า 300,000 ตัน CO2 ในปี
ทางอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ ‘มาตรการ พ.ศ. 2565 ภายใตบ้ นั ทกึ ความเขา้ ใจว่าดว้ ยการบูรณาการความร่วมมือ
ทดแทนปนู เมด็ ’ ถกู กำ� หนดเปน็ มาตรการดำ� เนนิ การหลกั ในการจัดการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพ่ือประเทศไทย
เน่ืองจากมีศักยภาพสูงท่ีจะลดก๊าซเรือนกระจก บรรลุเป้าหมายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยการสนับสนุนของ
จากการน�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ควบคู่กับการวิจัยและ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กระทรวงอุตสาหกรรม
พฒั นา จนออกมาเปน็ ผลติ ภณั ฑป์ นู ซเี มนตท์ ลี่ ด CO2 กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ครอบคลุมต้ังแต่การวิจัยพัฒนา การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิต
การปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์และกฎระเบียบท่ีเก่ียวข้อง การสร้าง
ความรู้ความเข้าใจ การส่งเสริมใช้งาน ตลอดจนการรายงานผลและ
การทวนสอบ

TCMA พร้อมเดนิ หน้าขบั เคลอ่ื นรว่ มกับทุกภาคสว่ นอยา่ งตอ่ เนื่อง เพือ่ บรรลุเปา้ หมาย 300,000 ตนั CO2 ในปี พ.ศ. 2565
ทัง้ นี้ อุตสาหกรรมปนู ซเี มนต์ให้ความสำ� คัญกับการลดก๊าซเรอื นกระจกตลอดกระบวนการผลิต มกี ารวิจัยพัฒนา และนำ� เทคโนโลยี
เขา้ มาใช้ ปจั จบุ ันมี “ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก” มอก. 2594 ได้รบั การรบั รองสินค้า Made in Thailand และผลิตภณั ฑ์ที่เปน็ มิตรกับ
สิ่งแวดล้อม การใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกแทนปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ จะช่วยลดก๊าซเรือนกระจกได้อย่างมีนัยส�ำคัญ โดยปูนซีเมนต์
ไฮดรอลิก 10,000 ตัน สามารถลดก๊าซเรอื นกระจกได้ 520 ตัน CO2 เทยี บเทา่ ปลูกต้นไมก้ วา่ 61,000 ตน้ เลยทเี ดียว ซ่ึงหากมี
การใช้งานปนู ซเี มนต์ไฮดรอลกิ เพิม่ ขึ้น ก็จะเป็นการลดการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกใหเ้ พิ่มมากขนึ้ ตามไปดว้ ย

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 20

ผ้ผู ลติ ปูนซเี มนต์

พ“รป้อูนมใจซสง่ีเมนต์
ไฮดรอลกิ ”

สนองวาระลดโลกร้อน

ปนู ซเี มนตเ์ ปน็ วสั ดกุ อ่ สรา้ งทที่ ว่ั โลกคนุ้ เคย “ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก” นับเป็นพัฒนาการด้าน
ใช้กันมาเนิ่นนานในการก่อสร้างสิ่งอ�ำนวย วสั ดศุ าสตรใ์ นอตุ สาหกรรมการกอ่ สรา้ งของไทย ทตี่ อบโจทย์
ความสะดวกให้กับมวลมนุษยชาติ ท้ังอาคาร การพัฒนาอย่างย่งั ยนื ได้อย่างครบถว้ น นอกจากสามารถ
ทอี่ ยอู่ าศยั ถนนหนทาง สะพาน ทา่ เรอื สนามบนิ ช่วยลดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเปรียบเสมือนการปลูกต้นไม้
ทางรถไฟรางค/ู่ ความเรว็ สงู สนามกฬี า อา่ งเกบ็ นำ้� ให้กับโลกของเราแล้ว ยังเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
และอื่นๆ อกี มากมาย เกิดประโยชน์สูงสุดตามหลักการ Bio-Circular-Green
Economy (BCG) และนำ� ไปสสู่ งั คมคารบ์ อนตำ่� (Low Carbon
ปูนซีเมนต์ได้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเน่ือง Society)
เพ่ือให้สามารถตอบสนองการใช้งานได้ตรงตาม
วัตถุประสงค์ ปัจจุบันปูนซีเมนต์ได้ถูกพัฒนา “ปูนซีเมนต์ไฮดรอลกิ ” พรอ้ มใหใ้ ชง้ านทั่วประเทศ
คุณสมบัตแิ ละประสทิ ธภิ าพเพม่ิ มากขึ้น รวมทงั้ แลว้ ในทกุ ชอ่ งทางจดั จำ� หนา่ ยของผผู้ ลติ ปนู ซเี มนตท์ กุ ราย
ช่วยลดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นวาระส�ำคัญของ มาร่วมกันขับเคลื่อนลดก๊าซเรือนกระจกวันน้ี ด้วยการ
โลก เรียกวา่ “ปูนซีเมนตไ์ ฮดรอลิก” เปลยี่ นมาใชป้ ูนซีเมนตไ์ ฮดรอลกิ เพื่อวันพรงุ่ น้ีทด่ี กี ว่า

“ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก” ถูกออกแบบมา
เ พื่ อ ใ ช ้ ท ด แ ท น ปู น ซี เ ม น ต ์ ป อ ร ์ ต แ ล น ด ์
โดยเพ่ิมเติมคุณสมบัติของปูนซีเมนต์ให้ลด
การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อย่างมี
นยั สำ� คญั มคี ณุ ลกั ษณะตามมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์
อตุ สาหกรรม มอก. 2594 (อา้ งอิงกบั มาตรฐาน
ASTM C1157) จดั เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ มติ รกบั
สง่ิ แวดลอ้ ม และไดร้ บั การรบั รองเปน็ สนิ คา้ ทผี่ ลติ
ในประเทศไทย (Made in Thailand)

“ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก” มีการใช้งาน
แพร่หลายในต่างประเทศ ท้ังในสหรัฐอเมริกา
สหภาพยโุ รป ตามมาตรฐาน EN 197-1 และหลาย
ประเทศในภมู ภิ าคเอเชยี โดยนำ� มาใชง้ านทดแทน
ปนู ซเี มนตป์ อรต์ แลนด์ ทง้ั การกอ่ สรา้ งอาคารสงู
สะพาน ถนน พนื้ ทาง อโุ มงค์ รวมไปถงึ ผลติ ภณั ฑ์
คอนกรีตหล่อส�ำเร็จรูป ส�ำหรับในประเทศไทย
เริ่มมีการใช้งานเพิ่มมากขึ้นในโครงการก่อสร้าง
หลายประเภทของท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค
วชิ าชพี และภาคอตุ สาหกรรม

21 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

ปลกู ปา่ (คอนกรตี ) อยา่ งไรกต็ าม จากการทไี่ ดต้ ดิ ตามขา่ วคราวความคบื หนา้
ของภาคีร่วมด�ำเนินการทุกภาคส่วน พบว่า มีการด�ำเนินการ
ลดโลกรอ้ น อย่างต่อเน่ืองและไม่หยุดยั้ง ท�ำให้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกได้รับ
การยอมรับในมาตรฐานของทางราชการในหลายๆ แห่ง เช่น
โดย รศ. ดร.สมติ ร สง่ พิรยิ ะกจิ มยผ. 1101-64 ถึง มยผ. 1106-64 ของกรมโยธาธิการและ
ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา ผังเมือง ว่าด้วยการก�ำหนดคุณลักษณะของวัสดุในงาน
วศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โครงสรา้ งอาคาร มทช. 101-2563 และ มทช. 231-2564 ของ
กรมทางหลวงชนบท วา่ ดว้ ยมาตรฐานงานคอนกรตี คอนกรตี
ปีเศษๆ หลังจากท่ีได้มีโอกาสไปร่วมพิธีลงนามว่าด้วย เสรมิ เหลก็ และผวิ ทางจราจรคอนกรตี นอกจากน้ี แบบกอ่ สรา้ ง
การส่งเสริมการใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกทดแทนปูนซีเมนต์ ต่างๆ ของกรมชลประทานได้มีการปรับแก้ให้ใช้ปูนซีเมนต์
ปอรต์ แลนด์ (ชอื่ เตม็ ยาวมาก) ในวนั ท่ี 31 สงิ หาคม 2563 วนั นนั้ ไฮดรอลิกเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว ส�ำหรับข่าวดีที่ก�ำลังรอฟังอยู่
มีความสองจติ สองใจเป็นอยา่ งมาก ใจหนงึ่ ก็เอาใจช่วย อยาก ด้วยความชื่นชมก็คือ การปรับปรุงมาตรฐานการก่อสร้างงาน
ให้การใช้งานปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกเกิดขึ้นในบ้านเราเมืองเรา ทางหลวง ทางหลวงพเิ ศษ งานสะพาน และโครงการเมกะโปรเจก็ ต์
เปน็ จรงิ เปน็ จงั ใจหนง่ึ กค็ ดิ วา่ ... “ไมน่ า่ รอด” เนอ่ื งจากการสรา้ ง ตา่ งๆ เช่น รถไฟความเรว็ สงู สนามบิน ทีภ่ าครฐั เปน็ เจา้ ของ
การยอมรับในภาคเอกชนและการแก้ไขข้อก�ำหนดรายละเอียด โครงการ ให้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกอยู่ในรายการวัสดุที่สามารถ
ก่อสร้างภาครัฐค่อนข้างท�ำได้ยากมาก ถึงแม้ว่าการพิสูจน์ใน ใชง้ านได้
เชงิ เทคนิคท้งั ในต่างประเทศ (โดยเฉพาะในยโุ รป มีการใชง้ าน
ปูนซเี มนต์ไฮดรอลกิ สูงมากกว่าร้อยละ 75 ของปริมาณการใช้ ในชว่ งระยะเวลาทผี่ า่ นมามโี ครงการกอ่ สรา้ งจำ� นวนมาก
ปูนซีเมนต์ทั้งหมด) และในประเทศไทยได้แสดงให้เห็นอย่าง เช่น อาคารเอสซีจี 100 ปี อาคาร FYI Center สะพาน
ชดั เจนวา่ คุณสมบตั ขิ องปูนซีเมนตท์ ้งั 2 มาตรฐาน (มอก. 15 ต�ำมะลัง จังหวัดสตูล ก่อสร้างด้วยปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก และ
และ มอก. 2594) แทบจะเปน็ ในเรอ่ื งกระบวนการผลติ เทา่ นนั้ ท่ีส�ำคัญก็คือ อาคารที่ท�ำการสภาวิศวกรแห่งใหม่ก็ก่อสร้าง
สามารถใช้ทดแทนกันได้ ไม่มีเหตุตอ้ งใชด้ ว้ ยความระมัดระวัง ด้วยปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกเช่นกัน นอกจากนี้ยังมีวัสดุก่อสร้าง
อีกหลายชนิดท่ีสามารถใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกแทนปูนซีเมนต์
ปอร์ตแลนด์ได้ อาทเิ ช่น คอนกรตี ผสมเสรจ็ เสาเข็มคอนกรีต
อฐิ คอนกรตี รบั นำ�้ หนกั กระเบอ้ื งหลงั คาคอนกรตี ซเี มนตบ์ อรด์
ฯลฯ นับได้ว่าในช่วงเวลาไม่ก่ีปีมานี้ ประเทศไทยได้ก้าวมา
ไกลมากส�ำหรับการแสดงให้เห็นเชิงประจักษ์ว่า สามารถใช้
ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกทดแทนปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ได้อย่าง
แทจ้ รงิ อยา่ งไรกต็ าม เปา้ หมายทย่ี งิ่ ใหญข่ องภาครี ว่ มดำ� เนนิ การ
ทุกภาคส่วน คือ การใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกให้ได้ประมาณ
6 ล้านตัน จากปรมิ าณการใช้ปนู ซเี มนต์เฉลี่ย 25-30 ลา้ นตนั
ในปหี นา้ ยงั คงทา้ ทายจติ สำ� นกึ เรอื่ งมลภาวะในแวดวงวศิ วกรรม
อยา่ งมาก หากการทดแทนปนู ซเี มนตป์ อรต์ แลนดด์ ว้ ยปนู ซเี มนต์
ไฮดรอลกิ บรรลเุ ปา้ หมาย จะสามารถลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก
ไดม้ ากถงึ 300,000 ตันคารบ์ อนไดออกไซด์ ซง่ึ จะเทียบเท่า
การปลกู ต้นไมถ้ งึ 31.5 ล้านตน้ ทเี ดยี ว

นอกจากปลูกต้นไม้แล้ว ปลูกป่าคอนกรีตด้วยการใช้
ปนู ซเี มนต์ไฮดรอลิก กล็ ดโลกร้อนอีกดว้ ย

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 22

สภาวิศวกร
กา้ วรับเทรนด์โลก
ใช้ปนู ซเี มนต์ไฮดรอลิก
ชว่ ยลดกา๊ ซเรอื นกระจก

การลดกา๊ ซเรอื นกระจก (Greenhouse Gas Emission วาระส�ำคญั ทีร่ ่วมกันของโลก
Reduction) เป็นเรื่องที่สภาวิศวกรให้ความส�ำคัญและ อาคารทท่ี ำ� การสภาวศิ วกรแหง่ ใหม่ พนื้ ทใ่ี ชส้ อยประมาณ
ร่วมด�ำเนินการขับเคล่ือนอย่างจริงจัง เพ่ือบรรลุเป้าหมาย
รักษาระดับอุณหภูมิโลกไม่ให้เพ่ิมขึ้นเกิน 1.5 องศาเซลเซียส 9,000 ตารางเมตรน้ี สภาวศิ วกรใหค้ วามสำ� คญั ถงึ สภาพแวดลอ้ ม
กอ่ นสนิ้ ศตวรรษ ตามเปา้ หมายทผี่ นู้ ำ� โลกเหน็ พอ้ งในการประชมุ ทางภายภาพ กรอบอาคาร ระบบวศิ วกรรม และมงุ่ การอนรุ กั ษ์
Conference of the Parties (COP) ครง้ั ที่ 26 ทเ่ี มอื งกลาสโกว์ พลงั งานตามมาตรฐานอาคารเขยี วไทย (TREES) รวมทงั้ สภาวศิ วกร
สหราชอาณาจกั ร ส่งเสริมให้ใช้ ‘ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก’ มาตรฐาน มอก. 2594
ซงึ่ เปน็ Low Carbon Cement ในการก่อสรา้ ง สามารถช่วย
สภาวศิ วกร เปน็ ภาคหี ลกั รว่ มดำ� เนนิ การบรู ณาการความ ลดกา๊ ซเรือนกระจกได้ถงึ 62,000 กโิ ลกรัม CO2 (เทียบเท่า
ร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาควิชาชีพ ภาคอุตสาหกรรม และ ปลกู ต้นไม้ 7,341 ต้น) นับเปน็ บทบาทสำ� คญั ของสภาวิศวกร
ภาคการศึกษา โดยการสนับสนุนของ 5 กระทรวง (กระทรวง ท่ีด�ำเนินการสอดคล้องกับเทรนด์ของโลกในการส่งเสริมและ
อุตสาหกรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ขับเคลอื่ นการลดกา๊ ซเรอื นกระจก
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ จนสามารถบรรลุเป้าหมายแรกลดการปล่อย
กา๊ ซเรอื นกระจกได้ 300,000 ตนั CO2 จากสาขากระบวนการ
ทางอตุ สาหกรรมและการใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ มาตรการทดแทนปนู เมด็
แ ล ะ เ พ่ื อ เ ป ็ น ก า ร ส นั บ ส นุ น น โ ย บ า ย ภ า ค รั ฐ ใ น ก า ร มุ ่ ง สู ่
Net Zero จึงพร้อมสนับสนุนเพิ่มเป้าหมายการลดการปล่อย
ก๊าซเรอื นกระจกให้ได้ 1,000,000 ตัน CO2 ในปี พ.ศ. 2566

การลดก๊าซเรือนกระจกเป็นเรื่องส�ำคัญ โดยสภาวิศวกร
มุ่งส่งเสริมให้วิศวกรในทุกสาขามีส่วนร่วมด�ำเนินการ ปัจจุบัน
เทรนด์โลกให้ความส�ำคัญกับเร่ืองการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภมู อิ ากาศ (Climate Change) อกี ทง้ั เทคโนโลยมี คี วามกา้ วหนา้
วัสดุและผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในงานโครงสร้างอาคารได้รับการวิจัย
และพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่อง ท้ังด้านความเป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดล้อม
มีมาตรฐาน มีความคงทน สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา
ท่ยี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals : SDG) ซงึ่ เป็น

23 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

ทิศทางการพฒั นางานก่อสรา้ ง
ดว้ ยปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกช่วยลดโลกร้อน

โดย ศ. ดร.สมนึก ตงั้ เตมิ สริ ิกลุ
หัวหน้าศนู ย์วิจัยเทคโนโลยีการก่อสรา้ งและบ�ำรงุ รกั ษา SIIT

ปัจจุบันอุตสาหกรรมก่อสร้างเริ่มหันมาใช้วัสดุก่อสร้าง ช่วยลดโลกรอ้ นอยา่ งย่งั ยืน
ทเ่ี ป็นมิตรตอ่ สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างย่ิงทจ่ี ะสามารถชว่ ย ปัจจุบันประเทศไทยมีการใช้ปูนซีเมนต์อยู่ที่ประมาณ
ลดกา๊ ซเรอื นกระจกลดโลกรอ้ นไดม้ ากขนึ้ วสั ดดุ งั กลา่ วเกดิ จาก 20-30 ลา้ นตันต่อปี หากโครงการกอ่ สรา้ งตา่ งๆ เปลยี่ นมาใช้
การน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาปรับใช้ในกระบวนการผลิต ปนู ซเี มนตไ์ ฮดรอลกิ กจ็ ะชว่ ยลดการปลอ่ ย CO2 ไปไดห้ ลายแสน
เพ่ือช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกสู่ ตันต่อปี ในระยะแรกนี้ ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกท่ีผลิตออกมายัง
ชน้ั บรรยากาศ จำ� กดั อยทู่ ชี่ นดิ การใชง้ านทวั่ ไป ทง้ั น้ี ในอนาคตจะมกี ารพฒั นา
สถาบนั เทคโนโลยนี านาชาตสิ ริ นิ ธร (SIIT) ไดข้ บั เคลอื่ น ผลติ ปนู ซเี มนตช์ นดิ ใหมๆ่ ทลี่ ดการปลอ่ ย CO2 ออกมาสำ� หรบั
ศึกษาวิจัยเรื่องดังกล่าว และเป็นหนึ่งในภาคีที่ร่วมบูรณาการ การใช้งานแบบเฉพาะเจาะจงอีกหลายประเภท เรียกได้ว่า
ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาควิชาชีพ ภาคอุตสาหกรรม ปจั จบุ นั วงการอตุ สาหกรรมวสั ดกุ อ่ สรา้ งของไทยไดม้ กี ารพฒั นา
และภาคการศึกษา โดยการสนับสนุนของ 5 กระทรวง เพื่อ และเร่ิมด�ำเนินการให้สอดคล้องกับทิศทางสากลในการพัฒนา
บรรลุเป้าหมายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลดโลกร้อน ชนิดปูนซีเมนต์ที่ช่วยลดก๊าซเรือนกระจกลดโลกร้อนได้อย่าง
จากสาขากระบวนการทางอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ มีนัยส�ำคัญ ซึ่งอุตสาหกรรมก่อสร้างคงหลีกเล่ียงไม่ได้และ
มาตรการทดแทนปูนเม็ด ตอ้ งปรบั ตวั เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ทศิ ทางการพฒั นาวสั ดกุ อ่ สรา้ ง
ท่ีผ่านมาในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ ในขั้นตอนการผลิต ชนดิ ใหม่ๆ ท่ีชว่ ยลดก๊าซเรือนกระจกและลดโลกรอ้ น
ปนู ซเี มนตจ์ ะมกี ารปลอ่ ย CO2 จาก 2 กระบวนการหลกั ไดแ้ ก่ สง่ิ ทที่ กุ ภาคสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งควรตระหนกั อกี ประการหนง่ึ
กระบวนการเผาวตั ถดุ บิ ในอณุ หภมู สิ งู (Calcination) โดยเฉพาะ นอกจากการใชป้ นู ซเี มนตท์ ล่ี ดโลกรอ้ นแลว้ นนั่ คอื การใหค้ วาม
หินปูนและกระบวนการเผาไหม้ของเช้ือเพลิงท่ีใช้ในการผลิต ส�ำคัญกับงานโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ เริ่มต้ังแต่ข้ันตอน
ซ่ึงในอดีตท่ีผ่านมาอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ได้ด�ำเนินการใน การออกแบบ การเลอื กใชว้ สั ดใุ หเ้ หมาะกบั ลกั ษณะการทำ� งาน
หลายวธิ ที ่จี ะช่วยลดการปลอ่ ย CO2 รวมถึงลดการใชพ้ ลงั งาน ของสงิ่ แวดลอ้ มและสภาพของพน้ื ท่ี เนน้ การใหไ้ ดม้ าซง่ึ โครงสรา้ ง
เช่น การปรับเปลี่ยนการผลิตจากแบบเปียก (Wet Process) ทม่ี คี วามคงทนและมอี ายกุ ารใชง้ านทย่ี าวนาน ซงึ่ จะเปน็ การชว่ ย
มาเปน็ แบบแหง้ (Dry Process) หรอื การใชว้ ตั ถดุ บิ ทมี่ าจากขยะ ลดการใชท้ รพั ยากรและลดการปล่อย CO2 ไดอ้ ีกทางหนงึ่ ดว้ ย
หรือกากของเสียท่ีปล่อย CO2 น้อยๆ จากการเผาในเตาเผา การพัฒนาปูนซีเมนตช์ นิดใหมๆ่ ส�ำหรับการใช้งานแบบเฉพาะ
เมด็ ปนู เป็นต้น เจาะจงท่ีลดการปล่อย CO2 ก็เป็นอีกวิธีการหน่ึงท่ีจะช่วยลด
การปลอ่ ย CO2 ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ และเปน็ หนทาง
ส�ำหรับ SIIT ได้มีการศึกษาและวิจัย และ ไปสกู่ ารก่อสร้างทยี่ ่งั ยนื ตอ่ ไป
ส นั บ ส นุ น ก า ร ท� ำ ง า น ข อ ง ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม
มาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เรอื่ งการพฒั นา
วัสดุก่อสร้างใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ผู้ใช้งาน ส�ำหรับ การใชป้ ูนซเี มนต์ไฮดรอลกิ ในงานกอ่ สรา้ งประเภทตา่ งๆ

“ปนู ซเี มนตไ์ ฮดรอลกิ ” ผผู้ ลติ ปนู ซเี มนตไ์ ดม้ พี ฒั นา
กระบวนการผลิตโดยใช้วัสดุทดแทนปูนเม็ด ซ่ึง
สามารถชว่ ยลดการปลอ่ ย CO2 ได้ โดยคณุ ภาพของ
ปูนซีเมนต์ไม่ได้ลดลงแต่อย่างใด สามารถใช้แทน
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ได้ นับเป็นการด�ำเนินงาน
ที่ชัดเจนของภาคอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ของไทย
ที่พยายามผลักดันการใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกเพื่อ

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 24

พฒั นาการ ผลการประชุมสหประชาชาติ ว่าด้วยการ
เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (COP26) ทเี่ มอื งกลาสโกว์
ของคอนกรตี สหราชอาณาจักร เม่อื ปีที่ผ่านมาทุกประเทศมีเปา้ หมาย
ในงานกอ่ สรา้ ง ที่ชัดเจนในการร่วมกันลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ส�ำหรับประเทศไทยเองก็มีการประกาศเป้าหมายมุ่งสู่
เพ่ือลดโลกร้อน Net Zero ในปี พ.ศ. 2608 ‘คอนกรตี ’ เป็นหน่ึงในวัสดุ
กอ่ สรา้ งทสี่ ามารถมสี ว่ นรว่ มในการชว่ ยลดกา๊ ซเรอื นกระจก
ลดโลกรอ้ นลงได้

นาวาอากาศเอก ศ. ดร.ธนากร พีระพนั ธุ์ นายก
สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย (สคท.) กล่าวว่า
ปจั จบุ นั วสั ดกุ อ่ สรา้ งมหี ลากหลายประเภทใหเ้ ลอื กใชง้ าน
โดยคอนกรตี ยงั คงเปน็ วสั ดกุ อ่ สรา้ งหลกั ของงานกอ่ สรา้ ง
มีการน�ำเทคโนโลยีมาพัฒนาในงานคอนกรีตอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง การใชป้ นู ซเี มนตไ์ ฮดรอลกิ มาผลติ คอนกรตี กเ็ ปน็
ส่วนหนึ่งของการพัฒนาเทคโนโลยีคอนกรีต ที่นอกจาก
จะชว่ ยลดการใชท้ รพั ยากรแลว้ ยงั มสี ว่ นสำ� คญั ในการลด
การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่ช้ันบรรยากาศ
ช่วยลดโลกร้อน

สคท. ได้ร่วมขับเคลื่อนส่งเสริมการใช้ปูนซีเมนต์
ไฮดรอลกิ ตงั้ แตเ่ รมิ่ ตน้ เมอื่ ปี พ.ศ. 2555 ในชว่ งของการ
ยกร่างมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และส�ำนักงาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้ประกาศมาตรฐานปูนซีเมนต์
ไฮดรอลิกในปีต่อมา มอก. 2594-2556 ช่วงที่ผ่านมา
สคท. ไดร้ ว่ มกบั สมาคมอตุ สาหกรรมปนู ซเี มนตไ์ ทย (TCMA)
และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องขับเคลื่อนลดก๊าซเรือนกระจก
ด้วยการส่งเสริมใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกในงานก่อสร้าง
ประเภทตา่ งๆ ควบคไู่ ปกบั การสง่ เสรมิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ
เ กี่ ย ว กั บ ปู น ซี เ ม น ต ์ ไ ฮ ด ร อ ลิ ก ท่ี ส า ม า ร ถ ช ่ ว ย ล ด
ก๊าซเรือนกระจกได้อย่างมีนัยส�ำคัญ โดยท่ีคุณสมบัติ
ที่สำ� คัญของปูนซเี มนตไ์ มไ่ ดล้ ดลง

เป็นที่น่ายินดีว่า ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ภาครัฐได้
ปรบั เปลยี่ นขอ้ กำ� หนดตา่ งๆ เปน็ การเปดิ กวา้ งใหส้ ามารถ
นำ� ปนู ซเี มนตไ์ ฮดรอลกิ ไปใชใ้ นงานกอ่ สรา้ งประเภทตา่ งๆ
ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม ขณะทง่ี านกอ่ สรา้ งของภาคเอกชนเอง
ได้เปล่ียนมาใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกอย่างต่อเน่ือง
นอกจากนี้ สคท. ไดส้ ง่ เสรมิ ใหภ้ าคสว่ นตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง
โดยเฉพาะภาคการศกึ ษา ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั
ปนู ซเี มนตไ์ ฮดรอลกิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตวั อยา่ งเชน่ การเผยแพร่
ในการประชมุ วชิ าการคอนกรตี โดยในปี พ.ศ. 2565 สคท.
จะเปน็ เจา้ ภาพจดั ขนึ้ ระหวา่ งวนั ท่ี 30 มนี าคม-1 เมษายน
สคท. พร้อมบูรณาการความร่วมมือขับเคลื่อนกับทุก
หน่วยงาน เพื่อชว่ ยเราช่วยโลกลดก๊าซเรอื นกระจก

25 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

โดย รศ. ดร.สมติ ร สง่ พริ ยิ ะกจิ ส�ำหรับคนในอุตสาหกรรมก่อสร้างอาจจะอยากรู้ว่า
ประธานสาขาวศิ วกรรมโยธา ประเทศไทยท�ำอะไรไปบ้างกับเรื่องน้ี เราถึงมาได้ขนาดน้ี
วศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ แต่ก็ยังไม่ส�ำคัญเท่ากับการคาดการณ์ว่า ประเทศไทยจะท�ำ
มเี รอ่ื ง “ไกลตวั ” ทสี่ ำ� คญั เกดิ ขนึ้ ในชว่ งตน้ เดอื นพฤศจกิ ายน อะไรต่อไป เพ่ือที่จะบรรลุเป้าหมายต่อไป และจะกระทบต่อ
อตุ สาหกรรมก่อสรา้ งอย่างไรในอนาคต
2564 ท่ีผ่านมา จนเราอาจจะนึกไม่ถึงว่าเกี่ยวข้องกับวงการ
ก่อสร้างได้อย่างไร หลายๆ ท่านคงได้ยินข่าวว่า คณะผู้แทน มองย้อนกลบั ไปในช่วง 5-6 ปที ี่ผา่ นมา นบั ตัง้ แต่ปี ค.ศ.
ประเทศไทย โดยท่านนายกรัฐมนตรี ได้แสดงเจตจ�ำนงใน 2015 จะเหน็ ไดว้ า่ เรามกี จิ กรรมการกอ่ สรา้ งโรงไฟฟา้ ขนาดเลก็
การร่วมแก้ปัญหาภูมิอากาศอย่างเต็มท่ี เพ่ือบรรลุเป้าหมาย เกิดข้ึนมากมาย ท้ังท่ีเป็น Solar Farm หรือโรงไฟฟ้าชีวมวล
ความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี ค.ศ. 2050 และบรรลุ หรือโรงไฟฟ้าจากอุตสาหกรรมเล้ียงสัตว์ หรือการรับซ้ือไฟฟ้า
เปา้ หมายการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกสทุ ธิเป็นศนู ยไ์ ด้ในปี ค.ศ. จากประเทศเพ่ือนบ้านทดแทนการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิง
2065 พร้อมกันน้ีประเทศไทยได้แสดงถึงความก้าวหน้าอย่าง ถา่ นหนิ เหลา่ นอ้ี าจถอื ไดว้ า่ เปน็ ผเู้ ลน่ สำ� คญั ในการลดการปลอ่ ย
เหนอื ชน้ั โดยในปี ค.ศ. 2019 ไทยลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก กา๊ ซ CO2 และกา๊ ซมเี ทน ประกอบกับการเข้ามาอยา่ งมากขนึ้
ได้ 17% เร็วกว่าเปา้ หมายท่ตี ้งั ไว้คือ 7% ภายในปี ค.ศ. 2020 ของรถยนต์ประหยดั พลงั งานหลากหลายรปู แบบ
ซึง่ เรว็ กวา่ เป้าหมายท่ตี ัง้ ไวถ้ ึง 2 เทา่ หลงั ใหส้ ัตยาบันเป็นภาคี
ของความตกลงปารีสเมื่อปี ค.ศ. 2015 (COP21) นบั วา่ ในวนั นอกจากน้ี เทรนด์ของสินค้าหลากหลายชนิดให้ความ
ดงั กล่าวท่เี มอื งกลาสโกว์ สกอตแลนด์ ประเทศไทยยนื ได้อยา่ ง ส�ำคัญถึงการปล่อยก๊าซ CO2 ถ้าเราเลือกซ้ือรถ รถแต่ละรุ่น
สง่าผ่าเผยประเทศหนึ่งในเวทีโลกว่าด้วยการเปล่ียนแปลง จะแจง้ ถงึ CO2/km ทปี่ ลอ่ ยออก ถา้ เราจองตว๋ั เครอื่ งบนิ เราจะ
สภาพภมู อิ ากาศ ไดร้ บั แจง้ บนบอรด์ ดง้ิ พาสวา่ เครอ่ื งบนิ ทเี่ รานงั่ ปลอ่ ย CO2 กมี่ าก
กี่น้อย ความเข้มข้นของความต้ังใจที่จะลดการปล่อย CO2 น้ี
อาจจะท�ำให้เราเห็นในแบบก่อสร้างว่าอาคารแต่ละหลังปล่อย
CO2 มากเท่าไหร่ และต่อไปการประมูลงานก่อสร้างจะต้อง
ค�ำนึงถึงกระบวนการท�ำงานที่ลดการปล่อย CO2 ด้วยเช่นกัน
นอกเหนอื ไปจากราคา เวลา และคณุ ภาพ ทิศทางการกอ่ สรา้ ง
นา่ จะมงุ่ ไปในทศิ ทางทเ่ี ปน็ Modular มากขน้ึ ใชเ้ วลาการกอ่ สรา้ ง
นอ้ ยลง ลด Overhead ในเชงิ ของการใชพ้ ลงั งานสกปรกมากขน้ึ
ใชว้ ัสดุกอ่ สร้างที่ประหยัดพลังงานและลดการปลอ่ ยก๊าซ CO2
ตง้ั แตว่ สั ดุกอ่ สร้างจนถงึ ขน้ั ตอนก่อสร้างมากขึน้

ปูนซีเมนต์ เป็นวัสดุก่อสร้างท่ีกระบวนการผลิตปล่อย
กา๊ ซ CO2 คอ่ นขา้ งมาก รองมาจากอตุ สาหกรรมเหลก็ เนอ่ื งจาก
กระบวนการผลิตที่ใช้ความร้อนสูงในการหลอมละลายแร่ธาตุ
ต่างๆ ดังน้ันผู้ผลิตปูนซีเมนต์ทุกรายในประเทศไทยจึงได้
ร่วมมือกันผลักดันการใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกเพ่ือทดแทน
การใชง้ านปนู ซเี มนตป์ อรต์ แลนดท์ นี่ ยิ มใชด้ ง้ั เดมิ โดยปนู ซเี มนต์
ไฮดรอลิกจะสามารถลดปริมาณการปล่อย CO2 ได้ประมาณ
40 กิโลกรัม/ตันปูนซีเมนต์ท่ีทดแทนได้ ถ้าเราสามารถใช้
ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกทดแทนปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ได้ 5.8
ล้านตัน (จากปริมาณการบริโภคประมาณ 35 ล้านตันต่อปี)
เราจะลดการปลอ่ ย CO2 ได้ถงึ 300,000 ตนั CO2 ทีเดียว

ทา่ นนายกรฐั มนตรกี ลา่ วในการประชมุ COP26 ตอ่ หนา้
ผแู้ ทนประเทศต่างๆ กว่า 190 ประเทศ วา่ ...เราไม่มแี ผน 2
สำ� หรบั การลดอณุ หภมู ขิ องโลก เพราะวา่ เรามโี ลกเพยี งใบเดยี ว
ซง่ึ เปน็ บา้ นของพวกเรา พรอ้ มกบั คำ� สญั ญาวา่ “จะบรรลเุ ปา้ หมาย
ความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี ค.ศ. 2050 และบรรลุ
เปา้ หมายการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกสทุ ธเิ ปน็ ศนู ยไ์ ดใ้ นปี ค.ศ.
2065” ถงึ ตรงนี้ COP26 ดเู หมอื นจะไม่ “ไกลตวั ” เพราะเปน็
เร่ืองบ้านของเราเอง ถ้านักสร้างบ้านอย่างพวกเราไม่ปรับตัว
กค็ งต้องหาโลกใหมอ่ ยู่กันละครบั

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 26

27 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

การช่วยเหลอื ชมุ ชนและสังคม

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 28

อุตสาหกรรม
ปนู ซเี มนต์

รวมพลงั สง่ ต่อธารน้�ำใจ
สูพ่ ่ีน้องชาวไทยสู้ภัยโควดิ -19

อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โดยความร่วมมือผู้ผลิต อีกท้ังร่วมกันมอบทุนและอุปกรณ์ทางการแพทย์ให้กับ
ปนู ซเี มนตข์ องไทย มคี วามหว่ งใยทกุ ภาคสว่ นทไี่ ดร้ บั ผลกระทบ โรงพยาบาลหนองแค จงั หวดั สระบรุ ี มอบอปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งใช้
จากสถานการณ์โควิด-19 จึงได้ร่วมกันส่งต่อความช่วยเหลือ ท่ีจ�ำเป็นในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุม ชุดตรวจหาเช้ือ
สพู่ ่นี อ้ งชาวไทยในทุกภูมิภาคอย่างต่อเนอ่ื ง ทงั้ ด้านการแพทย์ เชิงรุก (ATK) ชดุ PPE ใหก้ ับโรงพยาบาลสนาม อ�ำเภอตาคลี
ด้านสาธารณสุข และด้านความเป็นอยู่ เพื่อบรรเทาความ จงั หวดั นครสวรรค์ และมอบเคร่อื งตรวจวัดอุณหภมู ิ หน้ากาก
เดือดร้อนและเป็นก�ำลังใจให้กับทุกฝ่ายในสถานการณ์น้ี อนามัย เจลแอลกอฮอล์ ให้กับกองสาธารณสุข จุดบริการ
ทั้งการสนับสนุนการด�ำเนินงานของโรงพยาบาล จัดสร้าง ประชาชน จดุ คัดกรองในพ้ืนที่ตา่ งๆ ของจงั หวดั สระบุรี
โรงพยาบาลสนาม มอบเตยี งสนาม/เตยี งทผี่ ลติ จากวสั ดทุ ดแทน
ให้กับโรงพยาบาลในจังหวัดต่างๆ เช่น ล�ำปาง เพชรบูรณ์ รวมท้ังสนับสนุนดูแลชุมชนและสังคม มอบถุงยังชีพ
นครสวรรค์ อทุ ยั ธานี นครศรธี รรมราช สระบรุ ี นครปฐม ลพบรุ ี พรอ้ มอปุ กรณป์ อ้ งกนั เชอ้ื ไวรสั หนา้ กากอนามยั เจลแอลกอฮอล์
สุพรรณบุรี เป็นต้น ปรับปรุงหอผู้ป่วยหนัก พร้อมมอบชุด ให้กบั ชุมชน กองสาธารณสขุ จุดบรกิ ารประชาชน จดุ คดั กรอง
จัดท�ำห้องความดันลบ มอบวสั ดุเพื่อใชก้ อ่ สร้างห้องอาบน้ำ� ใน ต่างๆ สถานพยาบาล ชุมชน และหน่วยงานราชการในพื้นท่ี
โรงพยาบาลสนามบษุ ราคมั มอบอปุ กรณเ์ พอื่ จดั ตงั้ ศนู ยพ์ กั คอย จังหวัดสระบุรี และจังหวัดอื่นๆ มอบผลิตภัณฑ์รักษ์สุขภาพ
ในหลายจงั หวัดทั่วประเทศ ตง้ั จดุ คัดกรองให้กับโรงพยาบาล ให้กับผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในโรงพยาบาลสนาม จังหวัดสระบุรี
รวม 14 แหง่ และสนบั สนนุ ขา้ วกลอ่ งใหก้ บั บคุ ลากรทางการแพทย์
นอกจากนี้ยังได้สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์และ ณ ศูนย์บริการฉีดวัคซีนกลางบางซ่ือ มอบผลิตภัณฑ์ท�ำความ
สาธารณสขุ เครอื่ งใหอ้ อกซเิ จนดว้ ยอตั ราการไหลสงู (Oxygen สะอาด นำ�้ ยาบว้ นปาก และเจลแอลกอฮอล์ ใหก้ บั กองบงั คบั การ
High Flow) อุปกรณ์ปกป้องทางเดินหายใจแบบจ่ายอากาศ ตำ� รวจจราจรกลาง มอบวสั ดุทนไฟส�ำหรับซอ่ มแซมเมรุเผาศพ
บรสิ ทุ ธิ์ เครอ่ื ง Teleconsult (Hi Care) ชดุ เกบ็ สง่ิ สง่ ตรวจสำ� หรบั ใหก้ บั วดั แคนอก จงั หวดั กรงุ เทพมหานคร มอบปนู ซเี มนตใ์ หก้ บั
เชื้อไวรัส เคร่ืองเอกซเรย์แบบเคลื่อนที่พร้อมเคร่ืองอ่านและ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เพ่ือให้น�ำไปฝึกวิชาชีพ
แปลงสญั ญาณภาพเอกซเรยเ์ ปน็ ดจิ ทิ ลั เครอื่ งวดั ความดนั โลหติ ช่างกอ่ สร้างให้กบั ประชาชนใน 16 จังหวดั
อัตโนมัติชนิดสอดแขน เปลแรงดันลบ ถุงมือทางการแพทย์
และรถเอกซเรย์เคล่ือนที่ให้กับโรงพยาบาลและศูนย์รับผู้ป่วย นับเป็นความร่วมมือผู้ผลิตปูนซีเมนต์ของไทยท่ีร่วมกัน
โควดิ -19 รวม 6 แหง่ ในจังหวัดสงขลา ส่งมอบธารน้�ำใจแห่งความช่วยเหลือจากอุตสาหกรรม
ปนู ซเี มนต์ไปส่คู นไทยอย่างตอ่ เนื่อง และขอเปน็ กำ� ลงั ใจให้กับ
ทุกฝ่ายกา้ วสู่ Now Normal ไปด้วยกัน

29 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

ผ้ผู ลติ ปูนซีเมนต์รวมพลงั ปนั นำ้� ใจ
บรรเทาความเดือดรอ้ นผู้ประสบอุทกภัย

ผู้ผลิตปูนซีเมนต์ของไทยลุยบรรเทาความเดือดร้อน Big Bag และกระสอบทราย นอกจากนี้ ไดร้ ว่ มกันช่วยเหลือ
ประชาชนในพื้นท่ที ไ่ี ด้รับผลกระทบจากน�ำ้ ท่วม พรอ้ มรว่ มกับ บรรเทาความเดือดร้อนผู้ประสบอุทกภัยในหลายพื้นท่ีอย่าง
อุตสาหกรรมจังหวัดสระบุรีและหน่วยงานเทศบาลระบาย ตอ่ เนือ่ ง ท้ังในอำ� เภอบางบาล จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา และ
น้�ำท่วมในพ้ืนที่อ�ำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี ด้วยการเปิด อำ� เภอเสาไห้ อำ� เภอแก่งคอย อ�ำเภอบ้านหมอ ชุมชนริมแม่นำ้�
คันขอบเหมืองแร่ดินซีเมนต์ท่ีส้ินสุดการท�ำเหมืองแล้ว ปา่ สกั จงั หวดั สระบรุ ี ดว้ ยการสนบั สนนุ ถงุ ยงั ชพี เครอื่ งใชจ้ ำ� เปน็
(เหมอื งหว้ ยแร)่ ใหเ้ ปน็ พน้ื ทแ่ี กม้ ลงิ สามารถรองรบั นำ�้ ไดถ้ งึ 6.6 ยารักษาโรค น�ำ้ ดม่ื และสุขากระดาษ
ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร ชว่ ยป้องกนั นำ�้ ท่วมนาขา้ วในพนื้ ท่ีมากกวา่
1,000 ไร่ พรอ้ มทั้งรว่ มกบั ส�ำนกั งานชลประทานและองค์การ สำ� หรบั พนื้ ทน่ี ำ้� ลด ไดร้ ว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย อาทิ วทิ ยาลยั
บรหิ ารสว่ นจงั หวดั ปอ้ งกนั นำ�้ ทว่ มในอำ� เภอหนองโดน จงั หวดั เทคนคิ สระบุรี เทศบาลต�ำบลท่าลาน ณ วดั บัวงาม (เรงิ ราง)
สระบรุ ี ดว้ ยการสนบั สนนุ หนิ กวา่ 300 ตนั ปดิ กนั้ พนงั กน้ั นำ�้ ที่ วดั มว่ งนอ้ ย และโรงเรยี นวดั มว่ งนอ้ ย ดำ� เนนิ การทำ� ความสะอาด
พงั ทลายของคลองสง่ นำ�้ เรงิ ราง และสนบั สนนุ หนิ กวา่ 100 ตนั (Big Cleaning) ใน 12 พน้ื ทรี่ มิ คลองระพพี ฒั นท์ ไี่ ดร้ บั ผลกระทบ
ใชซ้ อ่ มคนั ดนิ 24R ปอ้ งกนั การพงั ทลายของตลงิ่ ถนนคนั คลอง จากน้�ำท่วม นับเป็นอีกหน่ึงภารกิจท่ีผู้ผลิตปูนซีเมนต์ของไทย
ชยั นาท-ปา่ สกั ในอำ� เภอบา้ นหมอ จงั หวดั สระบรุ ี พรอ้ มสนบั สนนุ ให้ความส�ำคัญและร่วมกันด�ำเนินการอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้
ชุมชน สงั คม และอุตสาหกรรม เดนิ หน้ารว่ มกันไปอย่างยง่ั ยืน

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 30

18 Hydraulic Cement

เก่ยี วกบั TCMA

สมาคมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไทย (TCMA) เป็นความร่วมมือของผู้ผลิตปูนซีเมนต์ช้ันน�ำของไทย
ที่มุ่งม่ันพัฒนาอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ให้เป็นก�ำลังหลักในการพัฒนาประเทศด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน
เมพีกอื่ านร�ำพไสทปัฒมุกสารน่กู คาาายมอรอทพุตุตี่มสฒั สุ่างานหมหากั่นกทรยรีย่รกร่ังมมรยทะปดืนี่เูนปับซ็นพีเมมัฒนิตนตรก์าไทอับยุตสิ่(สงTแาCวหMดกลAร้อ)รเมมป็นปดคูน�ำวเซนาีเมินมรอน่วุตตมส์เมพาือืห่อขกรอ่รวงรมผมเู้ผปด็ลน้วิตกยปาคลูนวังซามีเหมรลนับักตผใ์ชนิดั้นกชนาอารบขพตอัฒ่องไสทนังยาคม

ประเทศด้านโครงสร้างพื้นฐาน ดาเนินอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้ว ย

TคCวMาAมรจับดผทิดะเบชยีอนบกตบั่อกสรังะคทมรวงพาณชิ ย์ เมอ่ื วนั ที่ 8 พฤษภาคม 2549 ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลางเชอื่ มโยง
และสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งผผู้ ลติ ปนู ซเี มนตข์ องไทย ดว้ ยการแลกเปลยี่ นความเหน็ ประสบการณ์
มแแลลสี ะะว่แดนน้าวรนปคเTดว่ชสCฏว้มาื่อิ่งาMนบิใมแนมคตัวAโเกหทยวิดาจา็นดง่ีลรมดแใี้อพปนลปทมรดฒัะละะสา้เสออบนน่งบดัีนยาตเกสภจปนา่ ารัะยงรกรนิมๆะับณดเ�ำใทหทกม้า์ ศง้้ัเแรนากดลอะซมิทดา้ะย่ึงแานรคา่กนตกวงววารยงาาปรฐร่งัพมยฏาทยรากิบนำืน� ่วณรัตเดหมแะิทิชล้าดมมี่ดยนะอืับือดี์ใโงกนรคเ้ามะดดารนห่ือรา้้างสววพสนนิ่ง่าันรตกัฒงแ้าทร่าวผงะงี่นดบพ8ู้ผาๆลว้นืลอพน้อทฐิุตตกฤมาั้งปสาษนดอรูานภ้าผัหนซนาลกจีเคกมติะรามนนรรดาตมท2มา้ ์ปข5านาเอูน4หคซงซ9มวึ่งไีเาือทกมทมงยานาปรหตดดลยน้า์ขอ้วกน้าอดยรทกงภกะี่ไรเดทปยัาะับบร็ยนดแกวศา้ลนแาูนนลกรกยมะพเาสป์การัฒาลตผลมี่รยลานฐานงิตารานถ

อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ของไทย

TCMA ประสานการท�ำงานกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปัจจุบัน
เปน็ สมาTชCกิ MขAองปGรlะoสbาaนl CกeาmรทenาtงaาnนdกCับoหnนc่rวeยteงาAนssภoาcคiaรtiัoฐnภ(GาคCCวิชA)าสชภีพาผภ้ผู าลคิตอปุตนู สซเีามหนกตรแ์ หรง่มอาแเลซียะ น
(กปAลนู Sุม่ซEเีอมAตุ นCภแoNสตfหoาาคnแ์FC่ หงหecกeกง่เrdmาอเรeอeรรteเเrศeมชชnaึกยีปtีtAยiษoูนM(sAnาซs(asoเี Aมทoincasนfั้งuiniaตCaใftนCa์nieสocปemภtnCรmuาeeะr(eเอmnทGenตุ trศCteสsMCแnP:าลAtrAaหoะ)nกPFตduสCรr่uาfoรMภงcaมdecปา)แurtผรหแsucะู้ลผ่งreเAeปทะลrmrทรศssิตะาiเtAปทป:งymูศันาจACนไจซiFlทtuุบรีCเyยbม่ัวนMCนม:เป)lตAกu็นแ์CแับbลสหPsกะม่ทง:Aลา�ำอACุ่ชมงาC)ิากพเรPนซขัวนAีรยอมธC่วนงทมม)้งั ิ(กGตรสAับlนรวoSกผบัมbEลสู้ผaAทุ่มนlNลั ้พุนCงิตกFeันสปemาธนูdรนมeทัeซบnิตำ�rีเtรaสงมผาtaนนiนnู้oผุตขนndลอ์ ิตง

การทางานของกลุ่มอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

สมาชกิ TCMA

สมาคมอตุ สาหกรรมปนู ซีเมนตไ์ ทย ฉบบั ปรบั ปรุง ครั้งท่ี 16: มีนาคม 2565

31 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

คณะกรรมการ TCMA นายก
นายชนะ ภมู ี อุปนายก
นายนภดล รมยะรปู อุปนายก และเลขาธกิ าร
นายระพี สุขยางค ์ อปุ นายก
นายศวิ ะ มหาสันทนะ อปุ นายก
นายภากร เล่ียวไพรัตน ์ เหรัญญกิ และนายทะเบียน
นายวรายทุ ธ เสรมิ ศักด์สิ กุล กรรมการ
นายวสันต ์ อมิตรสูญ ผู้ช่วยเลขาธกิ าร-งานบริหารท่ัวไป
นายสยามรัฐ สุทธานุกลู ผู้ชว่ ยเลขาธกิ าร-งานบรหิ ารทัว่ ไป
นายปัญญา โสภาศรพี ันธ ์ ท่ีปรกึ ษา
นายศาณติ เกษสุวรรณ ผู้อ�ำนวยการบริหาร
เจ้าหน้าที่ส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม
สำ� นกั งาน TCMA เจ้าหนา้ ที่ส่งเสริมอุตสาหกรรม
นางสาวภัทราวรรณ สุขคันธรักษ ์
นางสาวกานดา บพุ พัณชาตินานนท ์ ประธาน
นางสาวทิพยว์ ลั ย ์ โชคประยรู เธียร คณะทำ� งาน
คณะทำ� งาน
คณะท�ำงาน คณะทำ� งาน
คณะทำ� งาน TCMA on Sustainability คณะท�ำงาน
ดร.วันเฉลิม ชโลธร คณะทำ� งาน
นายธนากร สุวรรณศรสี ุข เลขานกุ าร
นายอานนท์ จนั ทร์แยม้
นายจริ ัฏฐ์ สิริเฉลมิ พงศ์
นายประเสรฐิ มานิตยกูล
นายมงคล พรชนื่ ชวู งศ์
นายรชั มงคล วงษ์รักษ์

คณะท�ำงาน TCMA on Green Mining and Stakeholder Engagement
นายทนิ กร กก๊ เครือ ประธาน
นายมงคล พรชนื่ ชวู งศ ์ ทป่ี รึกษา
นายวีระวัฒน์ รัตนาพิทกั ษเ์ ทพ คณะท�ำงาน
นายสพุ รรณ แซ่เอ้ียว คณะทำ� งาน
นายสมภพ เทพพานิช คณะท�ำงาน
นายปรญิ ญา วลิ ยั ธรรม คณะทำ� งาน
นายสงกรานต ์ อ่อนค�ำเหลอื ง คณะท�ำงาน
นายรฐั สยาม ดีที เลขานกุ าร

คณะท�ำงาน TCMA on Circular Economy
นางสาวอุมาพร เจริญศักดิ ์ ประธาน
นายอดิศักด์ิ เดชไพรขลา คณะท�ำงาน
นายภาคภูม ิ แสวงกลุ คณะท�ำงาน
นายสฤษดิ ์ แสงออ่ น คณะทำ� งาน
นายพทุ ธพล วสันตดลิ ก คณะทำ� งาน
นายยุทธพล ใจด ี คณะท�ำงาน
นายเจตพล เอมมณ ี เลขานกุ าร

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 32

คณะท�ำงาน TCMA on Industry Reputation ประธาน
นายปิยากร ชินะรัตนกุล คณะทำ� งาน
นางไปรยา ชแู ก้ว คณะท�ำงาน
นางสาวพรปรารถนา ประมขุ ชัย คณะท�ำงาน
นายชัยรัตน์ กิตติธร คณะท�ำงาน
นายเนตวิ ัฒน์ อ�่ำรอด เลขานุการ
นางสาวผกาพกั ตร ์ ศรีแกว้ ประธาน
คณะท�ำงาน
คณะท�ำงาน TCMA-Environment คณะท�ำงาน
นายสมหวงั สินธมุ งคลชยั คณะทำ� งาน
นายอดศิ กั ด ิ์ เดชไพรขลา คณะทำ� งาน
นายณรงเดช วณิชฤทธา คณะท�ำงาน
นายภาสิษฎ์ ไชยศร เลขานุการ
นายพิศาล อรรคคำ� ประธาน
นางสาวสาวติ ร ี ผาตยานนท ์ ประธานร่วม
นางสาวมนวกิ านต ์ ขจรบญุ คณะท�ำงาน
คณะทำ� งาน
คณะท�ำงาน TCMA-Operational Excellence คณะทำ� งาน
นายอรรถวุฒ ิ คล้ายนลิ คณะท�ำงาน และเลขานุการ
นายกานต์ ศภุ นิรันดร์ ประธาน
นายณรงค์ คำ� แท ้ คณะทำ� งาน
นายวัยพจน์ แยม้ แกว้ คณะท�ำงาน
นายววิ ัฒน ์ พัฒนวิโรจน ์ คณะทำ� งาน
นายชาญวุฒิ ลม้ิ พิชัย คณะท�ำงาน
คณะทำ� งาน และเลขานกุ าร
คณะทำ� งาน TCMA-Product Standard ประธาน
นายประเสรฐิ มานิตยกลู คณะท�ำงาน
นางสาวพจมาน แสงนวล คณะท�ำงาน
นายณัฐวุฒ ิ กองม่วง คณะท�ำงาน
นายกมล บางย่ขี ัน คณะท�ำงาน
นายสมโภชน์ ยธกิ ลุ คณะท�ำงาน
นายอานนท์ จันทรแ์ ย้ม เลขานกุ าร

คณะท�ำงาน TCMA-Wisdom
นายกรชิ ชินประสาทศกั ด์ิ
นายจินดา สายัณหศ์ ริ ิ
นายสุเมธ โลหะภาคย์
นายสิทธิศักดิ ์ เลา้ จนิ ตนาศร ี
นายชัยรัตน ์ กิตติธร
นายจตพุ ล เนตรศิริ
นางนพสั ร์ฉตั ร น้อมศริ ิ

33 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration

2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration I 34

35 I 2020-2021: Thai Cement Climate Actions through Stakeholders Collaboration


Click to View FlipBook Version