The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2565

กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2565

Keywords: จป.,บุคลากร,คณะทำงาน,หน่วยงาน

เล่ม ๑๓๙ ตอนท่ี ๓๙ ก หน้า ๙ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๕
ราชกจิ จานเุ บกษา

กฎกระทรวง

การจดั ให้มีเจา้ หนา้ ทีค่ วามปลอดภยั ในการทางาน
บุคลากร หนว่ ยงาน หรือคณะบุคคลเพอื่ ดาเนนิ การด้านความปลอดภัย

ในสถานประกอบกจิ การ
พ.ศ. 2565

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๑๓ แห่งพระราชบัญญัติ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน
ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ กฎกระทรวงน้ใี ห้ใช้บงั คับเมือ่ พ้นกาหนดหกสิบวนั นับแต่วันประกาศในราชกิจจานเุ บกษา
เปน็ ตน้ ไป

ขอ้ ๒ ให้ยกเลิกกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙

ขอ้ ๓ ในกฎกระทรวงน้ี
“กรรมการความปลอดภัย” หมายความว่า กรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอ้ มในการทางานของสถานประกอบกิจการ
“คณะกรรมการความปลอดภัย” หมายความว่า คณะกรรมการความปลอดภัย อาชวี อนามยั
และสภาพแวดลอ้ มในการทางานของสถานประกอบกจิ การ
“ผู้แทนนายจ้างระดับบริหาร” หมายความว่า ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บริหารซ่ึงมีหน้าท่ีและอานาจ
ทาการแทนนายจ้างในการจ้าง การเลิกจ้าง การให้บาเหน็จ การลงโทษ หรือการวินิจฉัยข้อร้องทุกข์
และไดร้ ับมอบหมายเป็นหนงั สือใหเ้ ป็นผแู้ ทนนายจา้ งระดบั บรหิ ารเพอ่ื ปฏบิ ตั ิใหเ้ ปน็ ไปตามกฎกระทรวงน้ี
“หน่วยงานความปลอดภัย” หมายความว่า หน่วยงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน

หมวด ๑
เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภัยในการทางาน

เล่ม ๑๓๙ ตอนท่ี ๓๙ ก หน้า ๑๐ ๑๗ มถิ ุนายน ๒๕๖๕
ราชกิจจานเุ บกษา

ข้อ ๔ นายจ้างของสถานประกอบกิจการประเภทท่ีระบุในบญั ชที ้ายกฎกระทรวงน้ี ต้องจัด
ให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน เว้นแต่เป็นสถานประกอบกิจการประเภทที่มีจานวนลูกจ้าง
ไม่ถงึ เกณฑท์ ่ีต้องจัดใหม้ ีเจา้ หนา้ ทีค่ วามปลอดภยั ในการทางาน

เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานในสถานประกอบกิจการท่ีนายจ้างต้องจัดให้มี
ตามวรรคหน่ึง จะเป็นประเภทใดหรอื ระดับใด ให้เปน็ ไปตามที่กาหนดไว้ในหมวดนี้

ข้อ ๕ เจ้าหน้าที่ความปลอดภยั ในการทางานมสี องประเภท ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ในการทางานโดยตาแหนง่
(๒) เจ้าหนา้ ที่ความปลอดภยั ในการทางานโดยหนา้ ท่ีเฉพาะ

สว่ นท่ี ๑
เจา้ หนา้ ที่ความปลอดภัยในการทางานโดยตาแหน่ง

ข้อ ๖ เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภัยในการทางานโดยตาแหน่งมีสองระดบั ดังต่อไปน้ี
(๑) เจา้ หน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดบั หัวหน้างาน

(๒) เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภัยในการทางานระดบั บริหาร
ข้อ ๗ นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี ๑ และบัญชี ๒ ที่มีลูกจ้างจานวน
สองคนขึน้ ไป และสถานประกอบกิจการตามบัญชี ๓ ที่มีลกู จ้างจานวนยสี่ บิ คนขึ้นไป ตอ้ งจัดใหล้ ูกจา้ ง
ระดับหัวหน้างานซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ ๘ ทุกคน เป็นเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับ
หัวหน้างานของสถานประกอบกิจการ ท้ังนี้ ภายในหน่ึงร้อยย่ีสิบวันนับแต่วันท่ีมีลูกจ้างครบจานวน
ดังกลา่ ว
ในกรณีท่ีลูกจ้างระดับหวั หนา้ งานไมม่ คี ณุ สมบัติตามขอ้ ๘ ให้นายจ้างดาเนนิ การใหล้ กู จา้ งนน้ั
เข้ารับการฝึกอบรมตามข้อ ๘ (๑) เพ่ือแต่งตั้งให้เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับ
หวั หน้างาน ทั้งน้ี ภายในหน่ึงร้อยยสี่ บิ วันนับแต่วันทน่ี ายจ้างแต่งตงั้ ใหเ้ ป็นลกู จ้างระดบั หัวหน้างาน
ข้อ ๘ เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภัยในการทางานระดับหัวหนา้ งานตอ้ งเป็นลูกจา้ งระดบั หัวหน้างาน
และมคี ณุ สมบตั อิ ยา่ งหน่ึงอยา่ งใด ดงั ต่อไปน้ี
(๑) ผา่ นการฝึกอบรมหลกั สตู รเจา้ หนา้ ทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดบั หวั หนา้ งาน

(๒) เคยเป็นเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดบั หัวหน้างานตามกฎกระทรวงกาหนด
มาตรฐานในการบริหารและการจดั การด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
พ.ศ. ๒๕๔๙

(๓) มคี ณุ สมบัตติ ามข้อ ๑๕ ข้อ ๑๘ หรือขอ้ ๒๑ แล้วแตก่ รณี
ข้อ ๙ เจ้าหน้าที่ความปลอดภยั ในการทางานระดบั หวั หน้างานมหี นา้ ที่ ดังตอ่ ไปนี้
(๑) กากับดูแลลูกจ้างในหน่วยงานท่ีรับผิดชอบให้ปฏิบัติตามคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานของสถานประกอบกิจการ

เล่ม ๑๓๙ ตอนที่ ๓๙ ก หน้า ๑๑ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๕
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๒) วิเคราะห์งานในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อค้นหาความเส่ียงหรืออันตรายเบื้องต้นจาก
การทางาน โดยอาจรว่ มดาเนินการกับเจา้ หน้าทีค่ วามปลอดภยั ในการทางานระดบั เทคนคิ ระดับเทคนคิ
ข้นั สงู หรือระดับวชิ าชพี

(๓) จัดทาคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของ
หนว่ ยงานทีร่ บั ผิดชอบ โดยร่วมดาเนนิ การกับเจ้าหนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดบั เทคนคิ ระดบั
เทคนิคข้นั สงู หรอื ระดบั วชิ าชีพ เพ่ือเสนอคณะกรรมการความปลอดภยั หรอื นายจ้าง แล้วแต่กรณี และ
ทบทวนคูม่ อื ดังกลา่ วตามท่นี ายจา้ งกาหนด โดยนายจา้ งตอ้ งกาหนดใหม้ กี ารทบทวนอย่างนอ้ ยทกุ หกเดอื น

(๔) สอนวธิ กี ารปฏิบัติงานทีถ่ ูกตอ้ งแก่ลกู จ้างในหนว่ ยงานทรี่ บั ผิดชอบเพื่อให้เกดิ ความปลอดภัย

ในการทางาน
(๕) ตรวจสอบสภาพการทางานของเครื่องจักร เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ให้อยู่ใน

สภาพทป่ี ลอดภยั ก่อนลงมอื ปฏบิ ตั ิงานประจาวัน
(๖) กากับดูแลการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลของลูกจ้างในหน่วยงาน

ท่รี บั ผิดชอบ
(๗) รายงานการประสบอันตราย การเจบ็ ปว่ ย หรือการเกิดเหตุเดอื ดร้อนราคาญอนั เนอื่ งจาก

การทางานของลูกจ้างตอ่ นายจา้ ง และแจง้ ตอ่ เจ้าหนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดับเทคนคิ ระดบั
เทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ สาหรับสถานประกอบกิจการท่ีมีหน่วยงานความปลอดภัย ให้แจ้ง
ต่อหน่วยงานความปลอดภยั ทนั ทีท่เี กิดเหตุ

(๘) ตรวจสอบหาสาเหตกุ ารประสบอันตราย การเจบ็ ปว่ ย หรอื การเกดิ เหตุเดือดรอ้ นราคาญ
อันเน่ืองจากการทางานของลูกจ้างร่วมกับเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค ระดับ
เทคนิคข้ันสูง หรือระดับวิชาชีพ และรายงานผลการตรวจสอบ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแก้ไข

ปัญหาต่อนายจา้ ง เพ่ือป้องกนั การเกิดเหตโุ ดยไม่ชักชา้
(๙) ส่งเสรมิ และสนับสนนุ กิจกรรมความปลอดภัยในการทางาน
(๑๐) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการทางานอื่นตามที่นายจ้างหรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย

ในการทางานระดับบริหารมอบหมาย
ขอ้ ๑๐ นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี ๑ และบัญชี ๒ ท่ีมีลูกจ้างจานวน

สองคนขน้ึ ไป และสถานประกอบกิจการตามบญั ชี ๓ ทม่ี ลี ูกจ้างจานวนย่ีสิบคนข้ึนไป ต้องจัดให้ลกู จา้ ง
ระดับผู้บริหารซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ ๑๑ ทุกคน เป็นเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับ
บริหารของสถานประกอบกจิ การ ทั้งนี้ ภายในหนึง่ ร้อยยสี่ บิ วนั นับแต่วนั ท่มี ลี ูกจา้ งครบจานวนดังกลา่ ว

ในกรณีที่ลูกจ้างระดับผู้บริหารไม่มีคุณสมบัติตามข้อ ๑๑ ให้นายจ้างดาเนินการให้ลูกจ้างนั้น
เข้ารับการฝึกอบรมตามข้อ ๑๑ (๑) เพ่ือแต่งต้ังให้เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับ
บริหาร ท้งั นี้ ภายในหนง่ึ ร้อยยี่สบิ วนั นับแตว่ ันที่นายจ้างแตง่ ตั้งใหเ้ ปน็ ลูกจ้างระดบั ผู้บรหิ าร

เล่ม ๑๓๙ ตอนท่ี ๓๙ ก หน้า ๑๒ ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๖๕
ราชกจิ จานเุ บกษา

ในกรณีทไี่ ม่มลี กู จ้างระดับผูบ้ รหิ าร ให้นายจา้ งเปน็ เจ้าหนา้ ท่คี วามปลอดภัยในการทางานระดบั
บริหาร

ข้อ ๑๑ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับบริหารต้องเป็นลูกจ้างระดับผู้บริหาร
และมีคุณสมบัติอยา่ งหนึ่งอยา่ งใด ดังตอ่ ไปนี้

(๑) ผา่ นการฝึกอบรมหลักสตู รเจ้าหนา้ ที่ความปลอดภัยในการทางานระดบั บริหาร
(๒) เคยเป็นเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับบริหารตามกฎกระทรวงกาหนด
มาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
(๓) มีคุณสมบัตติ ามขอ้ ๒๑
ข้อ ๑๒ เจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภัยในการทางานระดับบรหิ ารมีหนา้ ท่ี ดังต่อไปน้ี
(๑) กากับดแู ลเจา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภยั ในการทางานทุกระดับซึ่งอยู่ในบงั คับบัญชาของตน
(๒) เสนอแผนงานหรือโครงการด้านความปลอดภัยในการทางานในหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ
ตอ่ นายจา้ ง
(๓) ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดาเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน
ให้เป็นไปตามแผนงานหรือโครงการ เพื่อให้มีการจัดการดา้ นความปลอดภยั ในการทางานที่เหมาะสมกับ
สถานประกอบกจิ การ
(๔) กากับดูแลและติดตามให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเพ่ือความปลอดภัยในการทางานของ
ลู ก จ้ า ง ต า ม ที่ ไ ด้ รั บ ร า ย ง า น ห รื อ ต า ม ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ท า ง า น
คณะกรรมการความปลอดภยั หรอื หน่วยงานความปลอดภัย

ส่วนท่ี ๒
เจ้าหนา้ ทีค่ วามปลอดภยั ในการทางานโดยหน้าทเี่ ฉพาะ

ข้อ ๑๓ เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานโดยหน้าที่เฉพาะของสถานประกอบกิจการ
มสี ามระดบั ดงั ต่อไปนี้

(๑) เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภัยในการทางานระดบั เทคนิค

(๒) เจ้าหนา้ ที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคขัน้ สงู
(๓) เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภัยในการทางานระดบั วิชาชพี
ข้อ ๑๔ นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี ๒ ที่มีลูกจ้างจานวนยี่สิบคนขึ้นไป
แต่ไม่ถึงห้าสิบคน ต้องจัดให้ลูกจ้างซ่ึงมีคุณสมบัติตามข้อ ๑๕ อย่างน้อยหน่ึงคน เป็นเจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค เพ่ือปฏิบัตหิ น้าท่ปี ระจาสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ ภายใน
หนึง่ ร้อยแปดสบิ วนั นับแต่วนั ที่มลี ูกจ้างครบจานวนดังกลา่ ว

เล่ม ๑๓๙ ตอนที่ ๓๙ ก หน้า ๑๓ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๕
ราชกจิ จานเุ บกษา

ขอ้ ๑๕ เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดบั เทคนิคต้องมีคณุ สมบัตอิ ยา่ งหน่งึ อย่างใด
ดังต่อไปน้ี

(๑) ผา่ นการฝึกอบรมหลักสูตรเจา้ หนา้ ทีค่ วามปลอดภยั ในการทางานระดับเทคนคิ
(๒) เคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคตามกฎกระทรวงกาหนด
มาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
พ.ศ. ๒๕๔๙
(๓) มคี ุณสมบตั ิตามขอ้ ๑๘ หรือขอ้ ๒๑ แลว้ แตก่ รณี
ข้อ ๑๖ เจ้าหนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางานระดับเทคนคิ มีหนา้ ท่ี ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน

(๒) วิเคราะห์งานเพื่อชี้บ่งอันตรายและกาหนดมาตรการป้องกันและข้ันตอนการทางาน
อยา่ งปลอดภยั เสนอตอ่ นายจา้ ง

(๓) แนะนาใหล้ ูกจ้างปฏิบัติตามค่มู ือวา่ ด้วยความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางานของสถานประกอบกิจการ

(๔) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจบ็ ป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญ
อันเนื่องจากการทางานของลูกจ้าง และรายงานผลการตรวจสอบ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแก้ไข
ปญั หาต่อนายจา้ ง เพ่อื ปอ้ งกันการเกดิ เหตโุ ดยไม่ชักชา้

(๕) รวบรวมสถิติและจัดทารายงานและข้อเสนอแนะเก่ียวกับการประสบอันตราย
การเจบ็ ป่วย หรือการเกิดเหตเุ ดอื ดร้อนราคาญอนั เนือ่ งจากการทางานของลกู จ้างเสนอตอ่ นายจ้าง

(๖) ปฏบิ ตั งิ านด้านความปลอดภยั ในการทางานอื่นตามท่ีนายจา้ งมอบหมาย

ข้อ ๑๗ นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี ๒ ท่ีมีลูกจ้างจานวนห้าสิบคนข้ึนไป
แต่ไม่ถึงหน่ึงร้อยคน ต้องจัดให้ลูกจ้างซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ ๑๘ อย่างน้อยหน่ึงคน เป็นเจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยในการทางานเฉพาะระดับเทคนิคข้ันสูง เพื่อปฏิบัติหน้าท่ีประจาสถานประกอบกิจการ
ท้งั นี้ ภายในหน่ึงร้อยแปดสบิ วนั นับแต่วันทม่ี ลี ูกจา้ งครบจานวนดังกลา่ ว

ขอ้ ๑๘ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคข้ันสูงต้องมีคุณสมบัติอย่างหนึ่ง
อย่างใด ดังตอ่ ไปน้ี

(๑) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือเทียบเท่า และผ่าน
การฝกึ อบรมหลกั สูตรเจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดบั เทคนิคข้ันสงู และผา่ นการประเมนิ

(๒) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่ามัธยมศึกษาปีที่ ๖ หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือ
เทียบเท่า และได้ทางานเป็นเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคมาแล้วไม่น้อยกว่าหา้ ปี
และผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคขั้นสูง และผ่าน
การประเมนิ

เล่ม ๑๓๙ ตอนที่ ๓๙ ก หน้า ๑๔ ๑๗ มถิ นุ ายน ๒๕๖๕
ราชกิจจานุเบกษา

(๓) มีคณุ สมบัตติ ามขอ้ ๒๑
(๔) เคยเปน็ เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภยั ในการทางานระดบั เทคนิคขั้นสูงตามกฎกระทรวงกาหนด
มาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
พ.ศ. ๒๕๔๙
(๕) เคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง
ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ลงวันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ หรือเคยเป็นเจ้าหน้าท่ี
ความปลอดภัยในการทางานตามประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เร่ือง ความปลอดภัยใน
การทางานของพนักงาน ลงวันท่ี ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๔ และผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร

เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภยั ในการทางานระดบั เทคนคิ ข้นั สงู และผ่านการประเมิน
(๖) เคยเป็นเจา้ หนา้ ทีค่ วามปลอดภยั ในการทางานระดับวชิ าชีพตามประกาศกระทรวงแรงงาน

และสวัสดิการสังคม เรื่อง ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
และผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคข้ันสูง และผ่าน
การประเมนิ

ขอ้ ๑๙ เจา้ หน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดบั เทคนิคข้นั สงู มีหนา้ ท่ี ดังต่อไปน้ี
(๑) ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(๒) วิเคราะห์งานเพื่อช้ีบ่งอันตรายและกาหนดมาตรการป้องกันและขั้นตอนการทางาน
อย่างปลอดภัยเสนอต่อนายจา้ ง
(๓) วิเคราะห์แผนงานหรือโครงการและข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่าง ๆ และเสนอแนะ
มาตรการความปลอดภยั ในการทางานต่อนายจา้ ง

(๔) ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการ
หรือมาตรการความปลอดภัยในการทางาน

(๕) แนะนาให้ลูกจ้างปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกจิ การ

(๖) แนะนา ฝึกสอน และอบรมลูกจ้าง เพื่อให้การปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกดิ
ความไมป่ ลอดภัยในการทางาน

(๗) ตรวจสอบหาสาเหตุและวิเคราะห์การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุ
เดือดร้อนราคาญอันเนื่องจากการทางานของลูกจ้าง และรายงานผลการตรวจสอบ รวมท้ังเสนอแนะ
แนวทางการแกไ้ ขปัญหาตอ่ นายจ้างเพอื่ ปอ้ งกันการเกดิ เหตโุ ดยไมช่ ักช้า

(๘) รวบรวมสถติ ิ วิเคราะห์ขอ้ มลู และจดั ทารายงานและขอ้ เสนอแนะเก่ียวกบั การประสบอนั ตราย
การเจ็บปว่ ย หรอื การเกิดเหตุเดอื ดรอ้ นราคาญอันเน่ืองจากการทางานของลกู จ้างเสนอตอ่ นายจ้าง

(๙) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการทางานอน่ื ตามทนี่ ายจ้างมอบหมาย

เล่ม ๑๓๙ ตอนท่ี ๓๙ ก หน้า ๑๕ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๕
ราชกิจจานุเบกษา

ข้อ ๒๐ นายจา้ งของสถานประกอบกจิ การตามบัญชี ๑ ท่มี ีลูกจา้ งจานวนสองคนขน้ึ ไป และ
สถานประกอบกิจการตามบญั ชี ๒ ที่มีลูกจ้างจานวนหนึง่ ร้อยคนข้ึนไป ต้องจัดใหล้ ูกจ้างซงึ่ มีคณุ สมบตั ิ
ตามข้อ ๒๑ อย่างน้อยหนึ่งคน เป็นเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ เพื่อปฏิบัติ
หน้าที่ประจาสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่มีลูกจ้างครบจานวน
ดงั กลา่ ว

ข้อ ๒๑ เจา้ หน้าท่คี วามปลอดภัยในการทางานระดบั วชิ าชีพต้องมีคุณสมบัตอิ ยา่ งหนงึ่ อยา่ งใด
ดังตอ่ ไปนี้

(๑) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาตรี สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หรือ

เทยี บเท่าตามท่ีอธิบดีประกาศกาหนด
(๒) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาตรี และเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน

ระดับเทคนิคข้ันสูงมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี และผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัย
ในการทางานระดบั วชิ าชีพ และผ่านการประเมิน

(๓) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาตรี และเป็นผู้มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน
ไม่น้อยกวา่ ห้าปใี นสถานประกอบกจิ การตามบัญชี ๑ หรอื สถานประกอบกิจการตามบัญชี ๒ และผา่ น
การฝกึ อบรมหลักสตู รเจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดบั วิชาชีพ และผา่ นการประเมนิ ภายใน
ห้าปนี บั แตว่ นั ท่กี ฎกระทรวงนมี้ ผี ลใชบ้ งั คับ

(๔) เคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพตามกฎกระทรวงกาหนด
มาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
พ.ศ. ๒๕๔๙

(๕) เคยเป็นเจา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภยั ในการทางานระดับวชิ าชีพตามประกาศกระทรวงแรงงาน

และสวัสดิการสังคม เรื่อง ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
และผา่ นการฝึกอบรมหลักสตู รเจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดบั วชิ าชีพ และผ่านการประเมนิ
ภายในห้าปนี บั แต่วนั ที่กฎกระทรวงนีม้ ีผลใช้บังคับ

(๖) เคยเป็นเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง
ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ลงวันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ หรือเป็นผู้มีคุณสมบตั ิ
เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานตามประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรื่อง
ความปลอดภยั ในการทางานของพนักงาน ลงวนั ที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๔ และผา่ นการฝึกอบรม
หลักสูตรเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ และผ่านการประเมิน ภายในห้าปีนับแต่
วันที่กฎกระทรวงนี้มผี ลใช้บังคับ

ข้อ ๒๒ เจา้ หนา้ ที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพมหี นา้ ท่ี ดังต่อไปน้ี
(๑) ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจา้ งปฏิบัตติ ามกฎหมายว่าดว้ ยความปลอดภัย อาชีวอนามยั
และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน

เล่ม ๑๓๙ ตอนที่ ๓๙ ก หน้า ๑๖ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๕
ราชกิจจานุเบกษา

(๒) วิเคราะห์งานเพื่อช้ีบ่งอันตรายและกาหนดมาตรการป้องกันและข้ันตอนการทางาน
อยา่ งปลอดภัยเสนอตอ่ นายจา้ ง

(๓) ประเมนิ ความเส่ียงดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(๔) วิเคราะห์แผนงานหรือโครงการ และข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่าง ๆ และเสนอแนะ
มาตรการความปลอดภัยในการทางานตอ่ นายจา้ ง
(๕) ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการ
หรอื มาตรการความปลอดภยั ในการทางาน
(๖) แนะนาใหล้ กู จา้ งปฏิบตั ิตามคูม่ ือว่าด้วยความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ ม
ในการทางานของสถานประกอบกิจการ

(๗) แนะนา ฝึกสอน และอบรมลูกจ้าง เพ่ือให้การปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกดิ
ความไม่ปลอดภยั ในการทางาน

(๘) ตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมในการทางานหรือดาเนินการร่วมกับบุคคล หรือ

นิติบุคคลท่ีขึ้นทะเบียนหรือได้รับใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน หรือกฎหมายอื่นทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

(๙) เสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อให้มีการจัดการด้านความปลอดภัยในการทางานท่ีเหมาะสมกับ

สถานประกอบกจิ การและพฒั นาให้มปี ระสิทธิภาพอยา่ งต่อเนอ่ื ง
(๑๐) ตรวจสอบหาสาเหตุและวิเคราะห์การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุ

เดือดร้อนราคาญอันเนื่องจากการทางานของลูกจ้าง และรายงานผลการตรวจสอบ รวมท้ังเสนอแนะ

แนวทางการแก้ไขปญั หาต่อนายจ้างเพอื่ ปอ้ งกันการเกิดเหตุโดยไม่ชกั ช้า
(๑๑) รวบรวมสถติ ิ วิเคราะหข์ อ้ มลู และจดั ทารายงานและขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั การประสบอนั ตราย

การเจบ็ ป่วย หรือการเกดิ เหตเุ ดือดร้อนราคาญอนั เน่อื งจากการทางานของลกู จา้ งเสนอต่อนายจ้าง

(๑๒) ให้ความรู้และอบรมด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมแก่ลูกจ้างก่อนเข้าทางาน
และระหว่างทางาน เพ่อื ทบทวนความรู้อยา่ งน้อยปลี ะหน่ึงครงั้

(๑๓) ปฏิบตั ิงานด้านความปลอดภัยในการทางานอ่ืนตามท่ีนายจา้ งมอบหมาย

ข้อ ๒๓ นายจ้างต้องจัดให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดบั เทคนคิ ระดับเทคนคิ
ข้ันสูง และระดบั วิชาชีพไดร้ บั การฝกึ อบรมหรือมีการพัฒนาความรเู้ กี่ยวกบั ความปลอดภัยในการทางาน

เพ่ิมเติมปีละไม่น้อยกว่าสิบสองชั่วโมงตามหลักสูตรที่อธิบดีประกาศกาหนด โดยนายจ้างต้องแจ้งให้

อธบิ ดีหรือผ้ซู ึ่งอธบิ ดีมอบหมายทราบภายในสามสบิ วนั นับแตว่ ันทกี่ ารดาเนนิ การดงั กลา่ วแลว้ เสร็จ
ข้อ ๒๔ ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง

หรือระดับวิชาชีพ พ้นจากการเป็นลูกจ้างของสถานประกอบกิจการ ให้นายจ้างจัดให้มีเจ้าหน้าท่ี

ความปลอดภยั ในการทางานดงั กล่าวแทน แลว้ แตก่ รณี ภายในเก้าสิบวนั นับแตว่ ันท่ีพน้ จากการเป็นลูกจา้ ง

เล่ม ๑๓๙ ตอนท่ี ๓๙ ก หน้า ๑๗ ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๖๕
ราชกจิ จานเุ บกษา

หมวด ๒
คณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน

ของสถานประกอบกจิ การ

ขอ้ ๒๕ นายจ้างของสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างจานวนห้าสิบคนขึ้นไป ต้องจัดให้มี
คณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานของสถานประกอบกิจการ
ภายในสามสบิ วันนบั แตว่ ันท่มี ีลกู จา้ งครบจานวนดงั กลา่ ว

คณะกรรมการความปลอดภยั ตามวรรคหน่ึง ตอ้ งประกอบดว้ ย นายจ้างหรอื ผแู้ ทนนายจ้างระดับ
บริหาร เป็นประธานกรรมการความปลอดภัย ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา และผู้แทนลูกจ้าง
เป็นกรรมการความปลอดภัย

ในการแต่งต้ังคณะกรรมการความปลอดภัยตามวรรคสอง หากสถานประกอบกิจการ
ตามวรรคหน่ึง เป็นสถานประกอบกิจการในบัญชี ๑ หรือบัญชี ๒ ให้นายจ้างแต่งต้ังผู้แทนนายจ้าง
ระดับบังคับบัญชาซึ่งเป็นเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคข้ันสูงหรือระดับวิชาชีพ

จานวนหน่ึงคน แล้วแตก่ รณี เปน็ กรรมการความปลอดภัยและเลขานกุ าร
ในการแต่งตง้ั คณะกรรมการความปลอดภัยตามวรรคสอง หากสถานประกอบกิจการตามวรรคหน่งึ

เปน็ สถานประกอบกจิ การในบัญชี ๓ ใหน้ ายจา้ งแตง่ ต้ังผู้แทนนายจา้ งระดบั บงั คับบัญชาเพ่มิ ขน้ึ อกี หน่ึงคน
เปน็ กรรมการความปลอดภยั และเลขานกุ าร

ข้อ ๒๖ คณะกรรมการความปลอดภยั ตามขอ้ ๒๕ ให้มีจานวน ดังต่อไปน้ี โดยต้องมีจานวน
กรรมการความปลอดภัยซ่ึงเป็นผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชาและกรรมการความปลอดภัย
ซ่งึ เปน็ ผูแ้ ทนลูกจ้างในสัดส่วนทเ่ี ทา่ กนั

(๑) ไมน่ อ้ ยกว่าห้าคน สาหรบั สถานประกอบกจิ การทมี่ ีลกู จา้ งจานวนหา้ สบิ คนขนึ้ ไป แต่ไมถ่ งึ
หน่ึงร้อยคน

(๒) ไม่น้อยกว่าเจ็ดคน สาหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างจานวนหนึ่งร้อยคนขึ้นไป
แต่ไม่ถงึ หา้ รอ้ ยคน

(๓) ไม่น้อยกว่าสบิ เอ็ดคน สาหรบั สถานประกอบกิจการท่มี ลี ูกจา้ งจานวนหา้ รอ้ ยคนขึน้ ไป

ขอ้ ๒๗ การได้มาซ่ึงกรรมการความปลอดภยั ตามขอ้ ๒๕ ใหด้ าเนินการ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) กรรมการความปลอดภัยซึ่งเป็นผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา ให้นายจ้างแต่งตั้งจาก
ลูกจ้างระดับหัวหน้างานหรือเทียบเท่าข้ึนไป หรืออาจแต่งตั้งจากแพทย์หรือพยาบาลประจา
สถานประกอบกิจการกไ็ ด้
(๒) กรรมการความปลอดภัยซึ่งเป็นผู้แทนลูกจ้าง ให้มาจากลูกจ้างซึ่งไม่ใช่ลูกจ้างระดับ
บงั คับบัญชาเลือกกันเอง

เล่ม ๑๓๙ ตอนที่ ๓๙ ก หน้า ๑๘ ๑๗ มถิ ุนายน ๒๕๖๕
ราชกิจจานุเบกษา

ข้อ ๒๘ นายจ้างต้องจดั ให้กรรมการความปลอดภัยไดร้ ับการฝึกอบรมหลกั สตู รคณะกรรมการ
ความปลอดภัย ภายในหกสิบวันนับแตว่ ันที่ได้รับการแต่งตั้งหรือไดร้ ับเลือก เว้นแต่กรรมการความปลอดภยั
ผู้น้นั เคยผา่ นการฝกึ อบรมหลกั สูตรดงั กล่าวมาแลว้

ขอ้ ๒๙ กรรมการความปลอดภยั มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสองปี
ให้นายจ้างดาเนินการแต่งตั้งหรือจัดให้มีการเลือกกรรมการความปลอดภัยใหม่ตามข้อ ๒๗
ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในสามสิบวนั กอ่ นวนั ท่ีกรรมการความปลอดภัยครบวาระ
ในกรณีท่ีไม่อาจดาเนินการแต่งต้ังหรือจัดให้การเลือกกรรมการความปลอดภัยใหม่ให้แล้วเสร็จ
ภายในกาหนดเวลาตามวรรคสอง ให้กรรมการความปลอดภัยซ่ึงพ้นจากตาแหน่งตามวาระน้ันอยู่ใน

ตาแหน่งเพ่อื ดาเนนิ งานตอ่ ไปจนกว่ากรรมการความปลอดภัยซงึ่ ไดม้ าใหม่เขา้ รบั หน้าท่ี
ในกรณีที่จานวนลูกจ้างในสถานประกอบกิจการลดลงเหลือน้อยกว่าห้าสิบคน ให้กรรมการ

ความปลอดภัยดาเนินการต่อไปจนกว่าครบวาระ
ข้อ ๓๐ นอกจากการพน้ จากตาแหน่งตามวาระ กรรมการความปลอดภยั พ้นจากตาแหน่ง เมอื่
(๑) พ้นจากการเป็นผู้แทนนายจ้างระดับบริหาร ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา ผู้แทนลูกจ้าง

หรอื เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภัยในการทางานระดบั เทคนคิ ขั้นสงู หรอื ระดบั วชิ าชพี
(๒) พน้ จากการเป็นลูกจ้างในสถานประกอบกจิ การ
ข้อ ๓๑ การได้มาซ่ึงกรรมการความปลอดภัยแทนตาแหน่งท่ีว่าง ให้นายจ้างดาเนินการ

ตามข้อ ๒๗ โดยอนุโลม และให้กรรมการความปลอดภัยซ่ึงได้รับการแต่งตั้งหรือได้รับเลือก
แทนตาแหนง่ ที่วา่ ง อยู่ในตาแหนง่ เท่ากบั วาระท่เี หลืออยู่ของกรรมการความปลอดภัยซงึ่ ตนแทน

ขอ้ ๓๒ คณะกรรมการความปลอดภยั มีหน้าทแี่ ละอานาจ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) จัดทานโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

ของสถานประกอบกจิ การ เสนอต่อนายจา้ ง
(๒) จัดทาแนวทางการป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ การประสบอันตราย การเจ็บป่วย

หรอื การเกดิ เหตเุ ดอื ดร้อนราคาญอันเนอ่ื งจากการทางานของลูกจ้าง หรอื ความไมป่ ลอดภยั ในการทางาน
เสนอตอ่ นายจา้ ง

(๓) รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแก้ไขสภาพการทางานและ
สภาพแวดล้อมในการทางานให้เป็นไปตามกฎหมายเก่ียวกับความปลอดภัยในการทางานต่อนายจ้าง
เพื่อความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ผู้รับเหมา และบุคคลภายนอกท่ีเข้ามาปฏิบัติงานหรือ
เขา้ มาใช้บริการในสถานประกอบกิจการ

(๔) สง่ เสริมและสนับสนนุ กจิ กรรมด้านความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบกจิ การ
(๕) พิจารณาคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ของสถานประกอบกิจการเพอื่ เสนอความเหน็ ต่อนายจ้าง

เล่ม ๑๓๙ ตอนท่ี ๓๙ ก หน้า ๑๙ ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๖๕
ราชกจิ จานุเบกษา

(๖) สารวจการปฏิบัติการดา้ นความปลอดภัยในการทางานและรายงานผลการสารวจดังกลา่ ว
รวมท้ังสถิติการประสบอันตรายท่ีเกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการน้ันในการประชุมคณะกรรมการ
ความปลอดภัยทกุ คร้งั

(๗) พิจารณาโครงการหรือแผนการฝึกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน รวมถึง
โครงการหรือแผนการอบรมเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบในด้านความปลอดภัยของลูกจ้าง
หวั หนา้ งาน ผบู้ รหิ าร นายจา้ ง และบุคลากรทุกระดับเพ่อื เสนอความเหน็ ต่อนายจ้าง

(๘) จัดวางระบบให้ลูกจ้างทุกคนทุกระดับมีหน้าที่ต้องรายงานสภาพการทางานท่ีไม่ปลอดภัย
ตอ่ นายจา้ ง

(๙) ติดตามผลความคบื หน้าเร่อื งทีเ่ สนอตอ่ นายจ้าง
(๑๐) รายงานผลการปฏิบัติงานประจาปี รวมท้ังระบุปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
ในการปฏบิ ัตหิ น้าทข่ี องคณะกรรมการความปลอดภยั เม่อื ปฏิบัตหิ นา้ ท่คี รบหนงึ่ ปเี สนอตอ่ นายจา้ ง
(๑๑) ประเมนิ ผลการดาเนินงานด้านความปลอดภยั ในการทางานของสถานประกอบกจิ การ
(๑๒) ปฏบิ ตั ิงานดา้ นความปลอดภัยในการทางานอืน่ ตามทนี่ ายจา้ งมอบหมาย
ข้อ ๓๓ ให้คณะกรรมการความปลอดภัยประชุมอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง หรือ
เมือ่ กรรมการความปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หน่งึ ร้องขอ
การประชมุ ให้เปน็ ไปตามขอ้ บังคบั ทคี่ ณะกรรมการความปลอดภัยกาหนด
ในการประชุมแต่ละครั้ง ให้แจ้งกาหนดการประชุมและระเบียบวาระการประชุมให้กรรมการ
ความปลอดภัยทราบไมน่ อ้ ยกวา่ สามวนั กอ่ นถงึ วันประชมุ เว้นแต่มีเหตุจาเป็นเรง่ ดว่ น
เมื่อเกิดอุบัติเหตุหรือภยันตรายใด ๆ ที่เป็นเหตุให้ลูกจ้างหรือบุคคลภายนอกสูญเสียอวัยวะ
ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต ให้มีการประชุมคณะกรรมการความปลอดภัยโดยไม่ชักช้าเพื่อดาเนินการ
ทบทวนรายงานการสอบสวนอุบตั เิ หตุ รวมทง้ั เสนอแนะแนวทางป้องกันแก้ไขตอ่ นายจ้าง
ข้อ ๓๔ นายจ้างต้องเผยแพร่และปิดประกาศรายชื่อและหน้าท่ีรับผิดชอบของคณะกรรมการ
ความปลอดภยั โดยเปดิ เผย ณ สถานประกอบกจิ การเปน็ เวลาไม่นอ้ ยกวา่ สิบหา้ วนั เพ่ือให้ลกู จ้างทราบ
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการความปลอดภัย ให้นายจ้างดาเนินการตามวรรคหน่ึงภายใน
เจด็ วนั นับแต่วนั ท่ีเปลยี่ นแปลง
ให้นายจ้างปิดประกาศมติของที่ประชุมคณะกรรมการความปลอดภัยเก่ียวกับความปลอดภัย
ในการทางานไวใ้ นท่ีเปิดเผย ณ สถานประกอบกิจการ เพอ่ื ใหล้ กู จา้ งทราบภายในเจด็ วันนบั แตว่ ันทม่ี มี ติ
ข้อ ๓๕ นายจ้างต้องจัดทาสาเนาบันทึกรายงานผลการดาเนินงานหรือรายงานการประชุม
เกี่ยวกับการดาเนินการของคณะกรรมการความปลอดภัย เก็บไว้ในสถานประกอบกิจการเป็นเวลา

เล่ม ๑๓๙ ตอนท่ี ๓๙ ก หน้า ๒๐ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๕
ราชกจิ จานเุ บกษา

ไม่น้อยกว่าสองปีนับแต่วันจัดทา และพร้อมท่ีจะให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบ เว้นแต่มี
การร้องทกุ ข์วา่ นายจ้างไม่ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายหรือมีการฟ้องร้องคดเี ก่ียวกบั ความปลอดภยั ในการทางาน
แม้จะพ้นเวลาท่ีกาหนด ให้นายจ้างเก็บรักษาเอกสารน้ันไว้จนกว่าจะมีคาสั่งหรือคาพิพากษาถึงท่ีสุด
เกี่ยวกับเร่ืองดงั กล่าว

สาเนาบันทึกรายงานผลการดาเนินงานหรือรายงานการประชุมเก่ียวกับการดาเนินการของ
คณะกรรมการความปลอดภัยตามวรรคหนึ่ง นายจ้างอาจจัดทาในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และ
เกบ็ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วไวเ้ ป็นหลกั ฐาน

ขอ้ ๓๖ นายจ้างต้องเก็บหลักฐานการเปลี่ยนแปลงกรรมการและเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
ในการทางาน รวมทั้งหนา้ ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการความปลอดภัย และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
ในการทางานดังกล่าวไว้ในสถานประกอบกิจการเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสองปี และพร้อมท่ีจะให้พนักงาน
ตรวจความปลอดภยั ตรวจสอบ โดยอาจจดั เกบ็ ในรูปแบบขอ้ มูลอเิ ล็กทรอนิกส์ก็ได้

ขอ้ ๓๗ เมื่อนายจ้างได้รับข้อเสนอแนะของคณะกรรมการความปลอดภัยเก่ียวกับความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานแล้ว หากข้อเสนอแนะดังกล่าวเป็นข้อเสนอแนะ
ตามขอ้ ๓๒ (๓) ใหน้ ายจา้ งปฏิบัตติ ามขอ้ เสนอแนะโดยไม่ชักชา้

ในกรณีท่ีข้อเสนอแนะเป็นข้อเสนอแนะตามข้อ ๓๒ (๑) (๒) (๕) หรือ (๗) ให้นายจ้าง
พิจารณาดาเนินการตามท่ีเห็นสมควร และหากนายจ้างไม่อาจดาเนินการตามข้อเสนอแนะได้ ให้แจ้ง
เหตุผลที่ไมอ่ าจดาเนนิ การได้ใหค้ ณะกรรมการความปลอดภยั ทราบด้วย

หมวด ๓
หนว่ ยงานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน

ข้อ ๓๘ นายจ้างของสถานประกอบกจิ การตามบญั ชี ๑ ต้องจัดใหม้ หี นว่ ยงานความปลอดภยั
อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน เพ่ือดูแลและปฏิบัติงานดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั
และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ ภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีจัดต้ัง
สถานประกอบกจิ การดงั กล่าว

ข้อ ๓๙ นายจ้างในสถานประกอบกิจการตามบัญชี ๒ ท่ีมีลูกจ้างจานวนสองร้อยคนขึ้นไป
ต้องจัดให้มีหน่วยงานความปลอดภัยเพื่อดูแลและปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ ภายในหกสิบวนั นบั แต่วนั ที่มีลกู จ้างครบจานวน
ดังกล่าว

ในกรณีท่ีจานวนลูกจ้างในสถานประกอบกิจการตามวรรคหนึ่ง ลดลงจนมีจานวนน้อยกว่า
สองรอ้ ยคนแตไ่ ม่น้อยกวา่ หนงึ่ รอ้ ยคน ให้สถานประกอบกิจการน้ันคงหนว่ ยงานความปลอดภัยไว้

เล่ม ๑๓๙ ตอนท่ี ๓๙ ก หน้า ๒๑ ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๖๕
ราชกจิ จานเุ บกษา

ขอ้ ๔๐ หน่วยงานความปลอดภยั มีหน้าท่ี ดังต่อไปนี้
(๑) วางแผนการบริหารความเสี่ยงของสถานประกอบกิจการและดูแลให้มีการดาเนินการ
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
(๒) จัดทาขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกับการป้องกันอนั ตรายจากอุบตั ิเหตุและอุบัติภัย และการควบคมุ
ความเสย่ี งภายในสถานประกอบกิจการเสนอต่อนายจา้ ง
(๓) จัดทาคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ของสถานประกอบกิจการ
(๔) จัดทาข้อเสนอแนะเก่ียวกบั อปุ กรณค์ ้มุ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลซง่ึ ตอ้ งสอดคล้องกับ
การทางานแต่ละประเภทตามท่ีกฎหมายกาหนดเสนอต่อนายจ้าง เพื่อให้ลูกจ้างหรือผู้ท่ีเกี่ยวข้อง
ใชใ้ นขณะปฏบิ ัตงิ าน
(๕) ส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการและการปฏิบัติงานของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ เพื่อป้องกันอันตราย
ในการทางานหรอื การเจบ็ ปว่ ยเน่อื งจากการทางานในสถานประกอบกิจการ
(๖) จัดอบรมเกี่ยวกับความรู้พ้ืนฐานและข้อปฏิบัติเก่ียวกับความปลอดภัยในการทางาน
แก่ลูกจ้างที่เข้าทางานใหม่ก่อนให้ปฏิบัติงาน รวมทั้งลูกจ้างซึ่งต้องทางานท่ีมีความแตกต่างไปจากงานเดิม
ทเ่ี คยปฏบิ ัตอิ ยู่และอาจเกดิ อันตรายด้วย
(๗) ประสานการดาเนินงานความปลอดภัยในการทางานกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายใน
และภายนอกสถานประกอบกจิ การ รวมทั้งหนว่ ยงานราชการทเ่ี กี่ยวข้อง
(๘) ตรวจประเมนิ ระบบความปลอดภยั ในการทางานในภาพรวมของสถานประกอบกจิ การ
(๙) รวบรวมผลการดาเนินงานของเจา้ หน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานทุกระดับและติดตาม
ผลการดาเนินงานดา้ นความปลอดภัยในการทางานให้เปน็ ไปตามนโยบายและแผนงานของสถานประกอบ
กิจการ พร้อมทัง้ รายงานใหน้ ายจา้ งและคณะกรรมการความปลอดภัยทราบทกุ สามเดอื น
(๑๐) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภยั ในการทางานอืน่ ตามที่นายจา้ งมอบหมาย
ข้อ ๔๑ นายจ้างตามข้อ ๓๘ และข้อ ๓๙ ต้องจัดให้ลูกจ้างซ่ึงผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร
ผบู้ ริหารหน่วยงานความปลอดภัยและไม่เปน็ เจ้าหน้าที่ความปลอดภยั ในการทางานระดบั วชิ าชพี จานวน
หน่ึงคน เป็นผู้บรหิ ารหนว่ ยงานความปลอดภัยประจาสถานประกอบกิจการ เพ่ือทาหนา้ ที่เฉพาะดา้ นบรหิ าร
บังคบั บญั ชา และรบั ผิดชอบในการปฏิบตั ิงานของหนว่ ยงานความปลอดภยั
ในการแต่งต้ังผู้บริหารหน่วยงานความปลอดภัยตามวรรคหน่ึง หากบุคคลที่นายจ้างแต่งตั้ง
เคยเป็นเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ ให้บุคคลดังกล่าวได้รับการยกเว้นไม่ต้อง
ผา่ นการฝกึ อบรมหลักสูตรผูบ้ ริหารหนว่ ยงานความปลอดภยั

เล่ม ๑๓๙ ตอนที่ ๓๙ ก หน้า ๒๒ ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๖๕
ราชกิจจานเุ บกษา

ในกรณีที่ผู้บริหารหน่วยงานความปลอดภัยพ้นจากการเป็นลูกจ้างของสถานประกอบกิจการ
นายจ้างต้องจดั ใหม้ ีผบู้ ริหารหน่วยงานความปลอดภัยแทนภายในเกา้ สบิ วนั นบั แต่วันทผี่ บู้ รหิ ารหนว่ ยงาน
ความปลอดภัยเดมิ พน้ จากการเป็นลูกจา้ ง

หมวด ๔
การขน้ึ ทะเบยี นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน

และผบู้ รหิ ารหน่วยงานความปลอดภัย

ข้อ ๔๒ นายจ้างต้องนารายช่ือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้างาน
ระดับบริหาร ระดับเทคนิค ระดับเทคนิคข้ันสูง หรือระดับวิชาชีพ และผู้บริหารหน่วยงาน
ความปลอดภัย ไปข้ึนทะเบยี นต่อกรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน พร้อมเอกสารหรือหลกั ฐานตามที่
ระบุไว้ในแบบคาขอ ภายในสามสบิ วันนบั แต่วันท่นี ายจา้ งแต่งตั้งบคุ คลดงั กล่าว

ขอ้ ๔๓ การฝึกอบรมเพื่อให้มีคุณสมบัติเป็นเจ้าหน้าท่คี วามปลอดภัยในการทางาน ผู้บริหาร
หน่วยงานความปลอดภัย หรือคณะกรรมการความปลอดภัยตามกฎกระทรวงนี้ นายจ้างจะจัดการ
ฝกึ อบรมเองหรอื ใหผ้ ้ใู หบ้ รกิ ารดา้ นการฝึกอบรมเปน็ ผู้ดาเนนิ การกไ็ ด้

หลักสูตรการฝึกอบรม คุณสมบัติของวิทยากร และการดาเนินการฝึกอบรมตามวรรคหน่ึง
ให้เป็นไปตามทีอ่ ธิบดีประกาศกาหนด

ขอ้ ๔๔ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานต้องจัดให้มีการประเมินตามข้อ ๑๘ (๑) (๒)
(๕) และ (๖) และข้อ ๒๑ (๒) (๓) (๕) และ (๖)

หลกั เกณฑ์การประเมนิ ตามวรรคหน่งึ ให้เป็นไปตามท่ีอธิบดปี ระกาศกาหนด
ขอ้ ๔๕ ในกรณีท่ีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้างาน ระดับบริหาร
ระดับเทคนิค ระดับเทคนิคข้ันสูง หรือระดับวิชาชีพ หรือผู้บริหารหน่วยงานความปลอดภัย
ในสถานประกอบกิจการพ้นจากตาแหน่งหรือพ้นจากหน้าท่ี แล้วแต่กรณี นายจ้างต้องแจ้งการพ้นจาก
ตาแหน่งหรือพ้นจากหน้าท่ีของบุคคลดังกล่าวให้กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานทราบภายในสามสิบวัน
นบั แตว่ นั ท่บี ุคคลน้นั พน้ จากตาแหนง่ หรอื พน้ จากหนา้ ท่ี หรอื บคุ คลดังกล่าวอาจใช้สทิ ธแิ จง้ ก็ได้

หมวด ๕
การแจ้งและการส่งเอกสาร

ข้อ ๔๖ เม่ือมีคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยหรือกรรมการความปลอดภัย
ให้นายจ้างส่งสาเนาคาสั่งดังกล่าวตอ่ อธิบดหี รอื ผู้ซงึ่ อธิบดีมอบหมาย ภายในสิบห้าวนั นับแตว่ ันท่ีมคี าส่ัง
แตง่ ต้งั

ข้อ ๔๗ ให้นายจา้ งจัดสง่ รายงานผลการดาเนินงานของเจา้ หนา้ ที่ความปลอดภัยในการทางาน
ระดับเทคนิค ระดับเทคนิคข้ันสูง และระดับวิชาชีพ ต่ออธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย สองครั้ง

เล่ม ๑๓๙ ตอนที่ ๓๙ ก หน้า ๒๓ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๕
ราชกจิ จานุเบกษา

โดยครั้งแรกภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ี ๓๐ มิถุนายน และคร้ังท่ีสองภายในสามสิบวันนับแต่วันที่
๓๑ ธนั วาคม ของทุกปี ท้ังน้ี ตามแบบทอี่ ธิบดีประกาศกาหนด

ข้อ ๔๘ ในกรณีที่กฎกระทรวงนี้มิได้กาหนดวิธีการแจ้งหรือส่งเอกสารไว้เป็นการเฉพาะ
การส่งเอกสารหรือหลักฐานต่ออธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมาย ให้นายจ้างแจ้งหรือส่งโดยวิธีการ
ทางอิเล็กทรอนิกส์ตามทีอ่ ธิบดปี ระกาศกาหนดเป็นหลัก ในระหวา่ งทีย่ ังไม่สามารถแจง้ หรอื ส่งโดยวธิ กี าร
ทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ได้ ใหแ้ จ้งหรือส่งตามวธิ กี ารทอ่ี ธิบดปี ระกาศกาหนดไปพลางกอ่ น

บทเฉพาะกาล

ขอ้ ๔๙ ให้เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางาน และหัวหน้าหน่วยงานความปลอดภัย
ซ่ึงนายจ้างได้แต่งตั้งตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน
และผ้บู ริหารหน่วยงานความปลอดภยั ตามกฎกระทรวงน้ี

ขอ้ ๕๐ ให้คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

ในสถานประกอบกิจการตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ ซง่ึ ดารงตาแหนง่ อยูก่ อ่ นวันท่กี ฎกระทรวงน้ี
ใช้บงั คับ เป็นคณะกรรมการความปลอดภยั ตามกฎกระทรวงน้ี จนกว่าจะครบวาระการดารงตาแหนง่

ข้อ ๕๑ ให้หน่วยงานความปลอดภัยตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและ
การจดั การด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นหน่วยงาน
ความปลอดภยั ตามกฎกระทรวงนี้

ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 2 มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖5
สุชาติ ชมกล่ิน

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน

บัญชีท้ายกฎกระทรวงการจัดใหม้ ีเจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางาน บคุ ลากร หน่วยงาน
หรอื คณะบุคคลเพื่อดาเนนิ การดา้ นความปลอดภยั ในสถานประกอบกจิ การ พ.ศ. 2565

บัญชี ๑

ลาดับ สถานประกอบกจิ การ

๑. อตุ สาหกรรมเกย่ี วกับการทาเหมอื งตามกฎหมายว่าดว้ ยแร่
๒. อตุ สาหกรรมเกี่ยวกบั กจิ การปิโตรเลียมตามกฎหมายวา่ ด้วยปโิ ตรเลยี ม
๓. อตุ สาหกรรมเกย่ี วกบั ปิโตรเคมี
๔. อตุ สาหกรรมเกีย่ วกับการกล่นั นามันปโิ ตรเลยี ม
๕. อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการแยกกา๊ ซธรรมชาติ

บญั ชี ๒

ลาดบั สถานประกอบกิจการ

๑. อตุ สาหกรรมสง่ิ พิมพ์
๒. อตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑอ์ าหาร
๓. อุตสาหกรรมเครอ่ื งดม่ื
๔. อตุ สาหกรรมผลติ ภัณฑ์จากยาสูบ
๕. อตุ สาหกรรมส่ิงทอ
๖. อตุ สาหกรรมเสือผ้าหรือเครื่องแตง่ กาย
๗. อตุ สาหกรรมเคร่อื งหนงั
๘. อตุ สาหกรรมผลิตภัณฑจ์ ากไม้
๙. อุตสาหกรรมกระดาษหรอื ผลิตภัณฑท์ ีแ่ ปรรปู จากกระดาษ
๑๐. อุตสาหกรรมการผลิตสารเคมีหรือเคมภี ณั ฑ์
๑๑. อุตสาหกรรมเภสชั ภณั ฑห์ รือเวชภณั ฑ์ทางการแพทย์
๑๒. อตุ สาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง
๑๓. อตุ สาหกรรมผลิตภัณฑ์พลาสตกิ
๑๔. อตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑ์ท่ที าจากแรอ่ โลหะ
๑๕. อุตสาหกรรมโลหะหรือผลิตภณั ฑ์ที่ทาจากโลหะ
๑๖. อุตสาหกรรมอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์
๑๗. อุตสาหกรรมเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ หรอื อปุ กรณ์ไฟฟา้
๑๘. อตุ สาหกรรมเครอื่ งจักรหรอื เครื่องมือกล



ลาดบั สถานประกอบกิจการ

๑๙. อตุ สาหกรรมยานพาหนะ ชนิ ส่วนยานพาหนะ หรอื อุปกรณ์เสรมิ สาหรับยานพาหนะ
๒๐. อตุ สาหกรรมเฟอรน์ ิเจอร์
๒๑. อตุ สาหกรรมเครื่องประดบั
๒๒. อุตสาหกรรมเครือ่ งดนตรี
๒๓. อตุ สาหกรรมอุปกรณ์กีฬาออกกาลังกาย
๒๔. อตุ สาหกรรมของเล่น
๒๕. อุตสาหกรรมเครื่องมอื อุปกรณท์ างการแพทย์
๒๖. อุตสาหกรรมการผลิต การจดั ส่ง หรอื การจา่ ยไฟฟ้า
๒๗. อุตสาหกรรมการผลติ หรือการบรรจุกา๊ ซ
๒๘. อตุ สาหกรรมการผลติ ถ่านโค้ก
๒๙. อตุ สาหกรรมการผลิต การเก็บ หรือการจาหนา่ ยไอนา
๓๐. อตุ สาหกรรมการเลยี งสตั ว์หรือการเพาะปลูก
๓๑. สถานบี ริการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการค้านามันเชือเพลงิ
๓๒. คลงั นามนั เชือเพลงิ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการควบคุมนามันเชอื เพลงิ
๓๓. การให้บริการบาบดั นาเสียหรือกาจัดของเสียตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการสง่ เสริมและรักษา

คุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ
๓๔. อุตสาหกรรมการนาวัสดทุ ่ใี ชแ้ ลว้ กลบั มาใช้ใหม่
๓๕. อุตสาหกรรมการแตง่ แร่ การขุดแรร่ ายย่อย หรือการร่อนแร่ตามกฎหมายวา่ ด้วยแร่
๓๖. การก่อสร้าง การดัดแปลง การซอ่ มแซม หรือการรอื ถอนอาคารตามกฎหมายวา่ ด้วย

การควบคมุ อาคาร
๓๗. อตุ สาหกรรมการขนส่ง
๓๘. การบริการการเดินอากาศตามกฎหมายว่าดว้ ยการเดนิ อากาศ
๓๙. กจิ การคลงั สินค้า กิจการไซโล หรอื กจิ การห้องเย็นตามกฎหมายว่าดว้ ยคลงั สินคา้ ไซโล

และห้องเยน็
๔๐. กิจการโทรคมนาคมตามกฎหมายวา่ ดว้ ยองค์กรจดั สรรคลืน่ ความถแ่ี ละกากบั

การประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วทิ ยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม
๔๑. การติดตัง การซอ่ ม หรือการซ่อมบารุงเครื่องจักร
๔๒. โรงแรมตามกฎหมายว่าดว้ ยโรงแรม
๔๓. กจิ การนิตบิ ุคคลอาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด
๔๔. หา้ งสรรพสินคา้ ธุรกิจค้าปลีก หรือธุรกจิ ค้าส่ง
๔๕. ศูนยก์ ารจัดประชมุ และการแสดงสนิ คา้
๔๖. โรงพยาบาล
๔๗. การทดสอบและวเิ คราะหก์ ารปฏบิ ตั กิ ารทางกายภาพ เคมี ชวี ภาพ หรือวิศวกรรม
๔๘. การขายและการบารงุ รกั ษายานยนต์หรอื การซอ่ มยานยนต์
๔๙. สวนสตั ว์หรือสวนสนกุ



บัญชี ๓

ลาดบั สถานประกอบกิจการ
๑. ธุรกิจสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าดว้ ยธุรกิจสถาบันการเงิน
๒. ธรุ กิจหลกั ทรัพยต์ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
๓. สหกรณ์ตามกฎหมายวา่ ด้วยสหกรณ์
๔. การประกนั ชวี ติ ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันชวี ติ หรือการประกันวินาศภยั

ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันวนิ าศภัย
๕. โรงรับจานาตามกฎหมายวา่ ด้วยโรงรับจานา
๖. โรงถ่ายทาภาพยนตร์หรือละคร
๗. สวนพฤกษศาสตร์
๘. สนามกฬี าหรือการนันทนาการ
๙. สถานที่มีอาหาร สุรา หรอื เครื่องดม่ื อยา่ งอน่ื จาหนา่ ย โดยจัดใหม้ ีการแสดงดนตรี

หรอื การแสดงอ่ืนใดเพื่อการบันเทิง
๑๐. สานกั งานบริหารของสถานประกอบกจิ การตามบัญชี ๑ และบญั ชี ๒

เล่ม ๑๓๙ ตอนท่ี ๓๙ ก หน้า ๒๔ ๑๗ มถิ นุ ายน ๒๕๖๕
ราชกจิ จานเุ บกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๑๓ แห่งพระราชบัญญัติ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ บัญญัติให้นายจ้างจัดให้มี
เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพ่ือดาเนินการด้านความปลอดภัย
ในสถานประกอบกิจการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง โดยเจ้าหน้าที่ความปลอดภยั
ในการทางานและบุคลากรจะต้องขึ้นทะเบียนต่อกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สมควรกาหนดหลักเกณฑ์
วธิ ีการ และเงื่อนไขในการจัดใหม้ เี จ้าหนา้ ท่คี วามปลอดภัยในการทางาน บคุ ลากร หนว่ ยงาน หรอื คณะบคุ คล
เพื่อดาเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ และการข้ึนทะเบียนเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัย
ในการทางานและบุคลากรดังกล่าว เพ่ือเป็นกลไกสาคัญในการกากับ ดูแล และบริหารจัดการด้านความปลอดภัย
ในสถานประกอบกจิ การ อนั จะทาใหก้ ารดาเนินการด้านความปลอดภยั ในสถานประกอบกิจการมีประสิทธิภาพ
มากยิ่งข้นึ จงึ จาเป็นตอ้ งออกกฎกระทรวงนี้


Click to View FlipBook Version