The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาโรงเรียนบ้านเชื้อเพลิง - สพป.สร.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wachiraya Deeying, 2022-05-19 01:11:40

แผนพัฒนาโรงเรียนบ้านเชื้อเพลิง - สพป.สร.3

แผนพัฒนาโรงเรียนบ้านเชื้อเพลิง - สพป.สร.3

แผนพัฒนาโรงเรียน

โครงการสนับสนนุ โรงเรียนพฒั นาตนเอง รุน่ ท่ี 2 ต่อเนือ่ งในปี 2564 มูลนธิ ลิ ำปลายมาศ

ข้อมูลพ้ืนฐานโรงเรียน

โรงเรียนบ้านเชื้อเพลิงปัจจุบันตั้งอยู่บ้านบ้านเชื้อเพลิง หมู่ที่ 12 ตำบลเชื้อเพลิง อำเภอปราสาท

จังหวดั สุรินทร์ มีเน้ือท่ี 9 ไร่ 2 งาน 52 ตารางวาจัดตั้งและเปดิ ทำการสอนเม่ือวันที่ เมื่อวนั ท่ี 10 กรกฎาคม

2593 นับรวมถึงปีการศึกษา 2564 เป็นเวลา 71 ปี ท่ตี ั้งของโรงเรียนมีอาณาเขต ดังนี้

ทศิ เหนือ จรดกบั ถนนเข้าหมบู่ ้านหนองซงุ

ทิศใต้ จรดกับ บา้ นนางจันทรา เทอดสวุ รรณ หมูท่ ี่ ๑๒

ทิศตะวันออก จรดกบั บา้ นนายถนดั ทองประดบั หมู่ที่ ๑๒

ทศิ ตะวนั ตก จรดกบั ถนนสายสรุ ินทร์ - ชอ่ งจอม

- หา่ งจากสถานอี นามัยตำบลเชอื้ เพลิง ๓ กโิ ลเมตร

- ห่างจากที่วา่ การอำเภอปราสาท ๘ กโิ ลเมตร

- ห่างจากสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๓ ๙ กิโลเมตร

ในพน้ื ท่ีเขตบรกิ ารประกอบดว้ ย.

หมู่ ๑ บ้านเชอ้ื เพลงิ

หมู่ ๙ บา้ นหนองชูง

หมู่ ๑๒ บ้านเช้ือเพลิงสามัคคี

ภาพรวมชุมชนในพื้นที่การบริหารมีสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการด้านต่าง ๆ ดังนี้ ชุมชน

โดยทวั่ ไปเป็นชมุ ชนชนบทฐานะค่อนข้างยากจน อาชพี ของชมุ ชน ทำนา และรับจา้ งเปน็ ส่วนใหญ่ อกี ท้งั ขาดแคลน

แหล่งน้ำในการบริโภคอย่ใู นเขตบรกิ ารขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ องค์การบรหิ ารส่วนตำบลเชือ้ เพลิง

ปัจจุบนั โรงเรียนบา้ นเช้อื เพลงิ เปดิ ทำการสอนตั้งแตช่ ้ันอนุบาล 1 ถงึ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 มีครู

จำนวน 14 คน จำนวนนักเรียน 201 คน นักการภารโรง 1 คน โดยมีนายสุธี ศรีเครือดำ ดำรงตำแหน่ง

ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเชอ้ื เพลิงในปัจจุบัน

ข้อมูลบคุ ลากร ตำแหน่ง ระดบั วุฒิ
ผู้อำนวยการโรงเรยี น ค.ศ.3 ศษ.ม.
ท่ี ช่ือ-สกุล ครูชำนาญการพเิ ศษ ค.ศ.3 ศษ.ม.
1 นายสุธี ศรเี ครอื ดำ ครูชำนาญการพเิ ศษ ค.ศ.3 ศษ.ม.
2 นางสนุ ันทา ถือคณุ ครชู ำนาญการพิเศษ ค.ศ.3 คบ.
3 นายสำราญ ออ่ นเรือง ครูชำนาญการ ค.ศ.2 ศษ.ม.
4 นางประภา ใจเสง่ยี ม ครูชำนาญการพิเศษ ค.ศ.3 ศษ.บ.
5 นางสาวกิติยา ผิวจันทร์ ครูชำนาญการพเิ ศษ ค.ศ.3 ศษ.ม.
5 นายสรุ พงษ์ ชนะเลศิ ครชู ำนาญการพิเศษ ค.ศ.3 ศษ.บ.
6 นางพรทิพย์ สิรปิ ฐมโรจน์ ครูชำนาญการพเิ ศษ ค.ศ.3 คบ.
7 นายสทิ ธิชัย ดมุ กลาง ครู ค.ศ.1 คบ.
8 นางอไุ ร หมายจันทร์ ครู ค.ศ.1 คบ.
9 นางสาววลิ าวัลย์ ดวงเวา ครู ค.ศ.1 คบ.
10 นางฐติ ิมา บุญสุยา ครผู ู้ชว่ ย
11 นางสาวศรแี พรว เอี่ยมสะอาด พนกั งานราชการ - คบ.
12 นางสาวรุ่งศิริ อบอ่นุ ครูอตั ราจ้าง บธ.บ
13 นางสาวจำลอง ศรกล้า ครอู ตั ราจ้าง คบ.วิทยาศาสตร์
14 นางสาวชลธิชา ยวงทอง ครูอตั ราจ้าง คบ.พลศึกษา
15 นายพชิ ญสทุ ธ์ ดุมกลาง ธุรการโรงเรียน ศษ.บ.ภาษาอังกฤษ
บธ.บ บรหิ ารธรุ กิจ
นางสาวมชั ฌิมาภัค คงคาชนะ นกั การภารโรง
16 นางสาววชิรญา ดยี ่ิง ม.6

นายถนัด ทองประดบั

ข้อมูลนกั เรยี น ( ข้อมูลสำรวจเมอ่ื 17 กันยายน พ.ศ. 2564)

ระดับชน้ั เพศ รวม

อ.2 ชาย หญิง 25
อ.3 22
รวม 13 12 47
ป.1 9 13 26
ป.2 25
ป.3 22 25 28
ป.4 28
ป.5 9 17 17
ป.6 15 10 30
รวม 14 14 154
รวมทั้งหมด 13 15 201
89
13 17

72 82

94 107

สภาพ ความจำเปน็ แรงบันดาลใจ (ผนวกสถานการณ์โควดิ )
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้โรงเรียนหลายแห่งในจังหวัดสุรินทรร์ วมถงึ

โรงเรียนบ้านเชื้อเพลงิ ไม่สามารถจัดการเรยี นการสอนแบบปกติได้ นกั เรียนจำเป็นจะต้องเรียนตามรูปแบบ 5 On
ที่ทาง สพฐ.กำหนดขึ้น โดยให้คุณครูแต่ละชั้นแตล่ ะโรงเรียนได้เลอื กจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนของตนตาม
ความเหมาะสม เช่น On-site เรียนที่โรงเรียน โดยมีมาตรการเฝ้าระวังตามประกาศของศูนย์บริหารสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) On-air เรียนผ่านมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือ DLTV On-demand เรียนผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ 4.On-line เรียนผ่าน
อินเตอร์เน็ต และOn-hand เรียนที่บ้านด้วยเอกสาร เช่น หนังสือ แบบฝึกหัดใบงาน ในรูปแบบผสมผสาน หรือ
อาจใช้วิธีอื่นๆ เช่น วิทยุ เป็นต้น แต่เมื่อคณะครูและผูบ้ ริหารโรงเรียนบ้านเชื้อเพลงิ ได้เลือกจัดการเรียนการสอน
โดยยึดหลักตามความเหมาะสมกับนักเรียนแล้ว กลับพบว่า สิ่งที่จัดให้นักเรียนได้เรียนรู้อยู่ที่บ้าน ยังไม่เหมาะสม
กับบริบทและสภาพแวดล้อมของนักเรียนที่คุณครูได้เปลี่ยนบ้านใหเ้ ป็นโรงเรยี น คณะครูหลายท่านเห็นว่าสมควร
จะต้องสร้างทักษะอาชีพและคุณธรรมให้นักเรียนผ่านการเรียนรู้จากสิ่งที่อยู่รอบๆตัวนักเรียน ที่สำคัญผู้ปกครอง
ของนักเรียนส่วนใหญ่ทำเกษตรกรรมในครัวเรือนและนักเรียนก็คุ้นเคยกับสิ่งๆนี้อยู่แล้ว เพียงแต่นักเรียนยังไม่มี
การจดั กระบวนการอย่างเป็นรปู ธรรม

ดังนั้นโรงเรียนบ้านเชื้อเพลิงจึงขอจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะอาชีพและคุณธรรมผ่านโครงการ พัฒนา
ศกั ยภาพเสรมิ สร้างการดำรงชวี ิตและการประกอบอาชีพในอนาคตตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียง โดยใช้นวัตกรรมจิต
ศึกษา PBL และ PLC เป็นฐาน

วิสัยทศั นร์ ่วม
โรงเรยี นบ้านเชื้อเพลงิ มีการเปลย่ี นแปลงเชงิ ระบบเน้นการมสี ่วนรว่ มทุกภาคส่วน ดว้ ยนวัตกรรม จิตศึกษา

PBL และ PLC สร้างเครือขา่ ยการเรียนรูร้ ว่ มกนั ระดบั โรงเรยี นในการปฏริ ูปการศึกษาแบบยั่งยืน โดยผบู้ รหิ าร
เปล่ยี นวิธีคดิ นำวธิ ีการและนวตั กรรมเพื่อมาใชใ้ นการบริหารจัดการศึกษา เป็นนักเรยี นรู้ สามารถบริหารจดั
การศกึ ษาแนวใหม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสงั คมโลก ครูเปลย่ี นวิธีคิด จดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning
เป็นนักเรียนรู้ พัฒนาตนเองในวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงสภาวการณ์ของโลก สร้างเครือข่าย
การเรียนรู้ร่วมกันในการยกระดับศักยภาพการเรยี นรู้ ผเู้ รียน มศี ักยภาพในการเรียนรู้ไดเ้ หมาะสมกับวัย ดำเนิน
ชีวติ ด้วยความพอเพยี ง มีสมรรถนะ

การกำหนดเป้าหมายหรือผลลพั ธ์ทตี่ อ้ งการให้เกดิ แตล่ ะด้าน (KRA) เพอื่ นำไปสภู่ าพอนาคต (วสิ ยั ทศั น์รว่ ม)

KRA : Key Result Area KPI : Key Performance Indicator

KRA 1 : โรงเรยี น KPI 1.1 มกี ารจัดการให้เกิดการเปลยี่ นแปลงเชิงระบบ

KPI 1.1.1 มสี นามพลังบวก มีวถิ มี แี นวปฏิบัติและมบี รบิ ทท่เี อื้อต่อการ

เรยี นรู้

KPI 1.1.2 เป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ และมกี ระบวนการพัฒนาครผู ่าน

PLC

KPI 1.2 มรี ะบบการสนบั สนุนทด่ี ี

KPI 1.2.1 สนบั สนนุ จาก สพป.สร.3 ผู้ปกครองและชุมชน

KPI 1.2.2 ระบบขอ้ มลู เพื่อใช้บริหารจดั การและพัฒนาผเู้ รียน

KPI 1.2.3 ระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผ้เู รียน

KPI 1.2.4 มกี ารบูรณาการจดั การเรียนรูด้ ้วยนวัตกรรมจติ ศกึ ษา PBLและ

PLC

KPI 1.2.5 ระบบ Qinfo

KPI 1.3 เปน็ โรงเรียนพฒั นาตนเองทันต่อการเปลีย่ นแปลงใน

สถานการณ์โลก

KPI 1.3.1 เปน็ โรงเรยี นต้นแบบในการปฏริ ูปการศึกษา เกิดการขยายผลสู่

โรงเรยี นอน่ื ได้

KRA 2 : ผ้บู รหิ าร KPI 2.1 ผูม้ ีภาะวะผนู้ ำ มีสัมมาทิฐทิ างการศึกษา

KPI 2.1.1 มีความคดิ ทเ่ี ปน็ Growth mindset เขา้ ใจธรรมชาตกิ ารเรียนรู้

และการดำเนินชีวิตของมนุษย์

KPI 2.1.2 มคี วามกล้าหาญทางจรยิ ธรรม ( รับมือกับนโยบายโดยไม่

สญู เสยี ความเปน็ ตวั ของตัวเอง)

KPI 2.1.3 เป็นนกั เรียนรู้แสวงหาสิ่งใหมๆ่ บริหารจดั การแนวใหม่และมี

หลักนวตั กรรมในการบรหิ ารจดั การ

KPI 2.1.4 การสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรู้

KPI 2.1.5 .สง่ เสรมิ สนับสนนุ พฒั นาครูใหจ้ ัดการเรียนการสอนแบบ

Active learning

KPI 2.1.6 สร้างขวญั และกำลังใจใหค้ รแู ละบุคลากร

KPI 2.1.7 .เป็นโคช้ /Fa ในการสรา้ งการเรียนรใู้ ห้กบั ครูผู้เรยี นชมุ ชนและ

เครือข่าย

KPI 2.2 ผู้บริหารเปน็ ผนู้ ำทางวิชาการ

KPI 2.2.1 เขา้ ใจและออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะ

KPI 2.2.2 เข้าใจกระบวนการจัดการเรียนรู้

KPI 2.1.5 มีเป้าหมายจัดการศึกษาเพื่อผ้เู รียน

KRA3: ครู KPI 2.2.3 เข้าใจระบบการประเมินเพอื่ การพฒั นาและสรุปผลการเรียนรู้
KRA4: เครือข่าย ของผู้เรยี น

KPI 2.2.5 เขา้ ใจนวัตกรรมทใ่ี ช้
KPI 3.1 เข้าใจหลักสูตรฐานสมรรถนะและสามารถจดั การเรยี นร้ทู ่ีเปน็
Active Leaning
KPI 3.1.1 จิตศกึ ษาพฒั นาปัญญาภายใน
KPI 3.1.2 อนุบาลจิตศกึ ษา
KPI 3.1.3 บูรณาการ PBL ฐานสมรรถนะ
KPI 3.1.4 ภาษาไทยวรรณกรรมผ่านการคิดข้นั สูง
KPI 3.1.5 คณิตศาสตร์ Pro-Active
KPI 3.1.6 ความรูฐ้ านราก 3 มติ ิ ( Self EF พฒั นา 4 ด้าน)
KPI 3.1.7 เป็นนักเรียนรู้ มีลกั ษณะความรู้และทักษะท่เี หมาะสมต่อ

วชิ าชพี
KPI 3.1.8 เป็นแบบอย่างท่ดี ีและช่วยเหลือ ส่งเสรมิ ในทุกๆดา้ น
KPI 3.1.9 แสวงหาการได้ Reflation (กลา้ ขอรับและยินดีที่รับฟงั )
3.2 ครมู คี วามคดิ ทเ่ี ป็น Growth mindset เป็นนกั เรยี นรู้ สามารถ
เรียนรู้ได้ดว้ ยตนเองและร่วมกับผู้อนื่
KPI 3.2.1 มีทกั ษะการเป็น ครโู ค้ช ครู Fa
KPI 3.2.2 สามารถบรหิ ารจัดการเวลาได้
KPI 3.2.3 มีความสามารถในการวัดผลประเมนิ ผลฐานสมรรถนะ
KPI 3.1.4 ประสานงานร่วมกบั ผู้ปกคองและชมุ ชนเพ่ือพัฒนาสมรรถนะ

ผเู้ รยี น (การสือ่ สาร การสร้างความเข้าใจการทำงานรว่ มกนั )
KPI 3.2.5 สามารถสะท้อนผลหรอื Feedback ผ้เู รยี น
KPI 3.2.6 มกี ารพัฒนาตนเองด้วยกระบวนการเรยี นรูร้ ่วมกับผู้อืน่ ผ่าน

PLC อย่างสม่ำเสมอ
KPI 3.๓. เป็นนักออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามธรรมชาตขิ อง

ผู้เรียน
KPI 3.๔ นำขอ้ มลู และสารสนเทศจากการประเมนิ ผลมาพัฒนาผู้เรยี นอย่าง

ตอ่ เน่ือง
KPI 3.๕ สะท้อนผลการเรยี นรู้ในรปู แบบ PLC
KPI 4.1 เครอื ข่ายการเรยี นรู้รว่ มกัน (ครู)
KPI 5.1.1 สร้างชมุ ชนการเรียนรแู้ ละยกระดับการจัดการเรียนรู้ด้วย PLC
KPI 5.1.2 มเี ครอื ขา่ ยกัลยาณมิตรเพ่ือวชิ าชพี (PLN)
KPI 4.2 เครือขา่ ยผปู้ กครองและชมุ ชน
KPI 5.2.1 โรงเรียนเปน็ แกนนำสามารถขยายผลสโู่ รงเรียนเครอื ข่ายในเขต

KRA5: นกั เรียน พื้นท่ีการศึกษา
KPI 5.2.2 มสี ว่ นรว่ มและสนับสนุนในการจดั การศึกษารว่ มกบั โรงเรียน
KPI 5.2.3 ผู้ปกครองมสี ่วนร่วมในการออกแบบจัดการศึกษาและ

ประเมนิ ผล
KPI 5.2.4 เกิดเครือขา่ ยกลั ยาณมิตรเพ่ือเรียนรวู้ ิชาชีพ (PLN)
KPI 5.2.5 พฒั นา ขับเคลื่อนและยกระดบั การจัดการเรยี นรรู้ ่วมกนั
KPI 5.2.6 การสรา้ งการมีสว่ นร่วมของผู้ปกครองและคณะกรรมการ
สถานศกึ ษา
KPI 5.1 Self Concept
KPI 5.1.1 มีการจัดการตนเอง มีทักษะ
KPI 5.1.2 มกี ารคิดขน้ั สงู คิดแกป้ ญั หา คิดสรา้ งสรรค์ คิดเชิงระบบ คิด

อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และตัดสนิ ปัญหาดว้ ยจตนเองได้
KPI 5.1.3 สามารถทำงานเป็นทีม มีทักษะอาชีพ และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ

สจุ ริต
KPI 5.1.4 มที กั ษะการส่ือสาร
KPI 5.1.5 เป็นพลเมืองท่ีเข้มแขง็ (มวี นิ ัย ซอ่ื สัตย์ จติ สาธารณะ ) มี

ทศั นคติท่ีดีต่อ ครอบครวั ชุมชน สังคมและประเทศชาติ
เคารพความแตกต่าง เห็นคุณค่าของตนเองและผ้อู ื่น)
KPI 5.1.6 สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และวทิ ยาการได้อย่างมีความสขุ
ยัง้ ยืน
KPI 5.2 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
KPI 5.2.1 สตแิ ละการตัดสินใจเชิงจริยธรรม ร้ตู วั รตู้ น

จาก KRA/ KPI ส่กู ิจกรรมการดำเนินงาน กิจกรรม
KRA KPI :Key Performance Indicator
-.กจิ กรรมปรบั ปรงุ พฒั นาบรบิ ทโรงเรยี น
KRA1 : โรงเรียน KPI 1.1 มกี ารจัดการใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงเชงิ นา่ อยู่ นา่ เรียน ปลอดภัย
ระบบ -.กิจกรรมศกึ ษาแหล่งเรยี นรู้ในท้องถนิ่
KPI 1.1.1 มีสนามพลังบวก มวี ิถีมแี นวปฏบิ ตั ิ - Open House
และมีบรบิ ทท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ - Open Heart
KPI 1.1.2 เปน็ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ และมี - กจิ กรรม PLC ของโรงเรยี นในแต่ละ
กระบวนการพฒั นาครูผา่ น PLC ระดับช้นั
KPI 1.2 มีระบบการสนบั สนุนทด่ี ี - ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น
KPI 1.2.1 สนบั สนนุ จาก สพป.สร.3 ผูป้ กครอง - ประชาสัมพนั ธ์โรงเรยี น
และชุมชน - เปลี่ยนโครงสรา้ งตารางเรียนเชิงระบบ
KPI 1.2.2 ระบบข้อมลู เพ่ือใช้บริหารจัดการและ โดยใช้ ๓ นวัตกรรม จิตศึกษา PBL และ
พัฒนาผู้เรียน PLC
KPI 1.2.3 ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผู้เรียน - ใชร้ ะบบ Q- info เปน็ ระบบข้อมูลเพือ่
KPI 1.2.4 มกี ารบูรณาการจัดการเรียนรู้ดว้ ย ใชบ้ ริหารจดั การและพฒั นาผ้เู รียน
นวัตกรรมจิตศึกษา PBLและ PLC - สรา้ งเครือขา่ ยเพื่อการขยายผล
KPI 1.2.5 ระบบ Q-info แลกเปลย่ี นเรยี นรู้
KPI 1.3 เปน็ โรงเรยี นพฒั นาตนเองทนั ต่อการ
เปลย่ี นแปลงในสถานการณ์โลก - มีนโยบายท่ชี ดั เจน
KPI 1.3.1 เปน็ โรงเรยี นต้นแบบในการปฏริ ูป - การนิเทศติดตาม ส่งเสรมิ สนบั สนุน
การศึกษา เกดิ การขยายผลสู่โรงเรยี นอ่ืนได้ กำลงั ทรัพย์กำลังใจ
- การอบรมพฒั นาแลกเปลยี่ นเรียนรู้
KRA2 : ผบู้ ริหาร KPI 2.1 ผมู้ ภี าะวะผู้นำ มีสมั มาทิฐทิ าง - เป็นโคช้ /FA ในการสรา้ งกรเรียนรู้
การศึกษา ให้กับครู ผูเ้ รยี น ชมุ ชนและเครอื ข่าย
KPI 2.1.1 มีความคดิ ที่เป็น Growth mindset - กจิ กรรม PLC
เขา้ ใจธรรมชาติการเรยี นรแู้ ละการดำเนนิ ชวี ติ - สรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นรผู้ า่ น
ของมนษุ ย์ กระบวนการ PLC
KPI 2.1.2 มคี วามกลา้ หาญทางจรยิ ธรรม ( - การเผยแพรผ่ ลงานผ่านส่อื หลากหลาย
รับมือกบั นโยบายโดยไมส่ ูญเสียความเป็นตวั ของ - พัฒนาสภาพแวดล้อมภายในโรงเรยี น
ตัวเอง) - ประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
KPI 2.1.3 เปน็ นกั เรียนรู้แสวงหาส่งิ ใหม่ๆ ประชมุ ผู้ปกครอง
บรหิ ารจดั การแนวใหมแ่ ละมีหลกั นวัตกรรมใน -การสรา้ งเครอื ข่าย PLN
การบริหารจดั การ
KPI 2.1.4 การสรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นรู้
KPI 2.1.5 .สง่ เสริม สนับสนนุ พัฒนาครใู ห้
จัดการเรยี นการสอนแบบ Active learning

KRA3: ครู KPI 2.1.6 สรา้ งขวญั และกำลังใจให้ครแู ละ - เปล่ยี นแปลงเชงิ ระบบด้วยนวัตกรรม
บุคลากร จิตศกึ ษา PBL และ PLC
KPI 2.1.7 .เปน็ โค้ช/Fa ในการสร้างการเรียนรู้
ใหก้ บั ครูผเู้ รียนชุมชนและเครือขา่ ย - .กิจกรรมออกแบบแผนการจดั การ
KPI 2.2 ผบู้ ริหารเปน็ ผู้นำทางวิชาการ เรยี นรู้ จติ ศกึ ษา PBL
KPI 2.2.1 เขา้ ใจและออกแบบหลักสตู ร -.วัดและประเมนิ ผลฐานสมรรถนะ
สถานศึกษาฐานสมรรถนะ - การอบรมเพอื่ พฒั นาตนเอง
KPI 2.2.2 เข้าใจกระบวนการจดั การเรยี นรู้ - กจิ กรรม PLC สายชน้ั เรยี น โรงเรยี น
KPI 2.1.5 มเี ปา้ หมายจดั การศึกษาเพื่อผู้เรยี น ผู้ปกครอง PLC ออนไลน์เพ่ือพัฒนาครู
KPI 2.2.3 เขา้ ใจระบบการประเมนิ เพือ่ การ - กจิ กรรม AAR
พัฒนาและสรุปผลการเรียนรู้ของผเู้ รยี น - กิจกรรมการสอนภาษาไทยผา่ น
KPI 2.2.5 เข้าใจนวตั กรรมทใ่ี ช้ วรรณกรรม
KPI 3.1 เข้าใจหลกั สตู รฐานสมรรถนะและ - อบรมการจัดการเรยี นร้ฐู านสมรรถนะ
สามารถจดั การเรียนรู้ท่เี ป็น Active Leaning ผา่ นสื่อออนไลน์
KPI 3.1.1 จติ ศึกษาพฒั นาปัญญาภายใน - กจิ กรรม Work shop การวัดและ
KPI 3.1.2 อนบุ าลจิตศกึ ษา ประเมนิ ผล การเขยี น Feedback การ
KPI 3.1.3 บูรณาการ PBL ฐานสมรรถนะ Reflection และการออกแบบรปู แบบ
KPI 3.1.4 ภาษาไทยวรรณกรรมผา่ นการคิดข้นั การรายงานความกา้ วหนา้ ของผเู้ รียน
สูง - การประชมุ ผปู้ กครองเพ่ือสร้างความ
KPI 3.1.5 คณติ ศาสตร์ Pro-Active เข้าใจร่วมกนั
KPI 3.1.6 ความรู้ฐานราก 3 มิติ ( Self EF - กล่มุ เครือข่ายผู้ปกครอง เช่น Line
พัฒนา 4 ดา้ น) Facebook
KPI 3.1.7 เปน็ นกั เรียนรู้ มีลกั ษณะความรู้และ - กิจกรรมจิตศึกษา
ทักษะทีเ่ หมาะสมตอ่ วิชาชพี - กิจกรรม AAR (After action
KPI 3.1.8 เปน็ แบบอยา่ งทดี่ ีและชว่ ยเหลอื review)
ส่งเสรมิ ในทกุ ๆดา้ น - การอบรมเพอื่ พัฒนาครเู ปน็ ครู Coach
KPI 3.1.9 แสวงหาการได้ Reflation (กล้า /Facilitator
ขอรับและยินดีทีร่ ับฟัง)
3.2 ครูมีความคดิ ท่เี ปน็ Growth mindset เป็น
นกั เรียนรู้ สามารถเรยี นรูไ้ ดด้ ้วยตนเองและ
รว่ มกบั ผู้อื่น
KPI 3.2.1 มที ักษะการเปน็ ครโู คช้ ครู Fa
KPI 3.2.2 สามารถบริหารจดั การเวลาได้
KPI 3.2.3 มีความสามารถในการวัดผล
ประเมนิ ผลฐานสมรรถนะ

KPI 3.1.4 ประสานงานร่วมกบั ผ้ปู กคองและ

ชมุ ชนเพื่อพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียน (การส่ือสาร

การสรา้ งความเข้าใจการทำงานรว่ มกนั )

KPI 3.2.5 สามารถสะท้อนผลหรือ Feedback

ผู้เรยี น

KPI 3.2.6 มกี ารพฒั นาตนเองด้วยกระบวนการ

เรียนรู้ร่วมกับผู้อืน่ ผา่ น PLC อยา่ งสม่ำเสมอ

KPI 3.๓. เป็นนกั ออกแบบการจดั กิจกรรมการ

เรียนรตู้ ามธรรมชาติของผ้เู รยี น

KPI 3.๔ นำข้อมูลและสารสนเทศจากการ

ประเมินผลมาพฒั นาผู้เรยี นอย่างตอ่ เนื่อง

KPI 3.๕ สะทอ้ นผลการเรยี นรูใ้ นรปู แบบ PLC

KRA4: นกั เรยี น KPI 5.1 Self Concept - กิจกรรมพัฒนาปัญญาภายในด้วย

KPI 5.1.1 มกี ารจัดการตนเอง มที ักษะ กระบวนการจิตศึกษา

KPI 5.1.2 มีการคดิ ขัน้ สงู คิดแก้ปญั หา คิด - กจิ กรรมบรู ณาการ PBL ฐาน

สรา้ งสรรค์ คดิ เชงิ ระบบ คิด อย่างมวี ิจารณญาณ สมรรถนะ

และตัดสินปัญหาด้วยจตนเองได้ - กิจกรรมเรียนรู้ค่ายฐานการเรยี นรู้สู่

KPI 5.1.3 สามารถทำงานเป็นทมี มที ักษะอาชีพ ทักษะอาชีพในโรงเรยี น

และเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ สุจรติ - กจิ กรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ในทอ้ งถ่ิน

KPI 5.1.4 มีทักษะการส่อื สาร - กจิ กรรม Create For Food ตาม

KPI 5.1.5 เปน็ พลเมอื งท่ีเข้มแขง็ (มีวนิ ัย ความสนใจในแตล่ ะระดบั ชนั้ ดว้ ย

ซ่ือสัตย์ จิตสาธารณะ ) มี ทัศนคติท่ดี ีต่อ นวัตกรรม PBL และ PLC

ครอบครวั ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ เคารพ - กจิ กรรม Change For Food Day

ความแตกตา่ ง เห็นคุณคา่ ของตนเองและผูอ้ ่ืน) - กิจกรรมภาษาไทยวรรณกรรมสกู่ ารคดิ

KPI 5.1.6 สามารถอย่รู ่วมกับธรรมชาติ และ ข้ันสูง

วิทยาการได้อย่างมีความสุข ยง้ั ยืน - กิจกรรมการนำเสนองานด้วยวิธกี ารท่ี

KPI 5.2 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ หลากหลายระดบั ช้นั เรียน

KPI 5.2.1 สตแิ ละการตัดสนิ ใจเชิงจริยธรรม - กจิ กรรม Active learning PBL ตาม

รู้ตัวรู้ตน หลกั สตู รฐานสมรรถนะ

- กิจกรรมคณิตศาสตร์ Proactive

- ความร้ฐู านราก ๓ มิติ ( Self ,Ef ,

พฒั นาการ ๔ ดา้ น)

- โครงการพัฒนาทักษะด้าน EF ของ

ผู้เรยี นจัดการเรียนรูด้ ้วยเครอื่ งมอื EF

Guideline

- โครงการพฒั นาสมรรถนะครูในการ

จัดการเรียนรดู้ ว้ ยสอ่ื และเทคโนโลยี

ดิจิทัล

- โครงการสรุปองค์ความรู้ (เปดิ บ้าน)

KRA5: เครอื ข่าย KPI 4.1 เครือข่ายการเรียนรู้รว่ มกนั (คร)ู - เปน็ วิทยากรใหค้ วามรู้
ทอ้ งถน่ิ
คณะกรรมการ KPI 5.1.1 สร้างชมุ ชนการเรียนรู้และยกระดบั - กจิ กรรมครูทีบ่ ้าน
สถานศึกษา ชมุ ชน
การจัดการเรียนรดู้ ว้ ย PLC - กิจกรรม Open House

KPI 5.1.2 มีเครือข่ายกลั ยาณมติ รเพื่อวชิ าชพี - กิจกรรม Open Heart

(PLN) - กิจกรรมการประชมุ คณะกรรมการ

KPI 4.2 เครอื ข่ายผูป้ กครองและชมุ ชน สถานศึกษา

KPI 5.2.1 โรงเรยี นเปน็ แกนนำสามารถขยายผล - กจิ กรรม PLC

สู่โรงเรยี นเครือข่ายในเขตพื้นทกี่ ารศึกษา - กิจกรรมภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ การเกษตร

KPI 5.2.2 มีสว่ นรว่ มและสนบั สนุนในการจดั และวิถพี อเพยี ง

การศึกษาร่วมกับโรงเรยี น - PLN Online On-site รว่ มกับ

KPI 5.2.3 ผปู้ กครองมสี ่วนร่วมในการออกแบบ เครือข่าย

จดั การศกึ ษาและประเมนิ ผล

KPI 5.2.4 เกดิ เครอื ข่ายกลั ยาณมิตรเพอื่ เรยี นรู้

วชิ าชีพ (PLN)

KPI 5.2.5 พฒั นา ขบั เคลือ่ นและยกระดบั การ

จัดการเรยี นรู้ร่วมกัน

KPI 5.2.6 การสร้างการมีส่วนรว่ มของผูป้ กครอง

และคณะกรรมการสถานศึกษา

ปฏิทนิ การดำเนินงาน ระยะเวลาการดำเนินงาน
กิจกรรม
ก.ย.64 ต.ค.64 พ.ย.64 ธ.ค.64 ม.ค.65 ก.พ.65 ม.ี ค.65 เม.ย.65

1. ทำ DE ตน้ น้ำ เพ่ือระดมคิดทำวสิ ัยทศั นร์ ว่ ม ทำ
แผนพัฒนาโรงเรยี นและเสนอโครงการ

2. ทำ DE กลางน้ำ เพอื่ นำเสนอการทำงาน
สะท้อนปรับปรุงพฒั นาแผนให้เหมาะสมกบั
สถานการณ์ผา่ นกระบวนการทำ PLC ของครู
ในทุกๆ สปั ดาห์

3. ดำเนินกิจกรรมผบู้ รหิ าร
4. ดำเนนิ กจิ กรรมครู
5. ดำเนินกิจกรรมนักเรียน
6. ดำเนินกจิ กรรมท้องถน่ิ คณะกรรมการ

สถานศึกษา ชุมชน
7. ทำ DE ปลายน้ำ เพื่อประเมิน สะท้อนผลการ

พฒั นาโรงเรยี น และปรับปรุงพฒั นาแผนฯ
8. สรปุ ผลรายงาน

การประเมินผล วิธีการ เคร่ืองมือ (ต้องสอดคล้องกบั KRA)

แบบสงั เกต แบบการสัมภาษณ์ แบบประเมิน KSA ครูหรอื แบบทดสอบผ้เู รียน รายละเอียด ประมาณการ

งบประมาณ

KRA กจิ กรรม ผู้เก่ยี วข้อง ผลลพั ธข์ องกิจกรรม รายละเอยี ด
งบประมาณ

KRA1 : -.กจิ กรรมปรบั ปรุงพฒั นาบริบท -สพฐ - โรงเรยี น ห้องเรยี น 19,000

โรงเรียน โรงเรียนน่าอยู่ นา่ เรยี น ปลอดภยั -สพป บรเิ วณโรงเรียน มีความ

-.กจิ กรรมศึกษาแหล่งเรยี นรูใ้ น -นกั เรยี น สะอาด ปลอดภยั สรา้ ง

ท้องถ่นิ -ครู สนามพลังบวกท่ีเอ้ือต่อ

- Open House -ผู้บรหิ าร การจดั การเรยี นรู้

- Open Heart -คณะกรรมการ -โรงเรียนเป็นแบบอย่าง

- กิจกรรม PLC ของโรงเรยี นใน สถานศกึ ษา ในการจดั การเรียนรู้

แต่ละระดับชั้น -มีชมุ ชน PLC ทเ่ี อื้อต่อ

- ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน การเรยี นรู้

- ประชาสัมพนั ธ์โรงเรยี น -โรงเรียนมีการบริหาร

- เปลีย่ นโครงสรา้ งตารางเรยี น จัดการท่เี ป็นระบบโดย

เชิงระบบโดยใช้ ๓ นวตั กรรม จิต ใช้นวัตกรรมจิตศึกษา

ศกึ ษา PBL และ PLC PBL และ PLC

- ใชร้ ะบบ Q- info เปน็ ระบบ -โรงเรียนมรี ะบบข้อมลู

ขอ้ มูลเพ่ือใชบ้ รหิ ารจัดการและ สารสนเทศเพ่ือการ

พัฒนาผู้เรียน พัฒนาการจดั การเรยี นรู้

- สรา้ งเครอื ขา่ ยเพ่ือการขยายผล โดยโรงเรียนเปน็ ผู้นำ

แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เครอื ข่าย ในการ

เปลย่ี นแปลงเชิงระบบ

KRA2 : - การนิเทศติดตาม ส่งเสรมิ ผบู้ งั คบั บัญชา -ผู้บรหิ ารเป็น Coach 19,500

ผูบ้ รหิ าร สนับสนนุ กำลังทรพั ย์กำลังใจ ระดับตา่ งๆ ใหก้ ับเครือข่าย

- การอบรมพฒั นาแลกเปล่ยี น ครู -ผู้บรหิ ารเป็น Coach

เรียนรู้ นักเรยี น ให้กบั ครู

- เปน็ โค้ช/FA ในการสรา้ งกร ผู้ปกครอง -มคี วามรู้สามรถนำไป

เรียนรใู้ ห้กับครู ผ้เู รยี น ชมุ ชน ปฏบิ ตั ิ เปน็ นักเรียนรู้

และเครือขา่ ย ตลอดเวลา

- กิจกรรม PLC - มชี ุมชนแหง่ การเรยี นรู้

- สรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรูผ้ ่าน ผ่านกระบวนการ PLC

กระบวนการ PLC - มกี ารเผยแพรผ่ ลงาน

- การเผยแพร่ผลงานผา่ นสอ่ื ผ่านสอื่ หลากหลาย

หลากหลาย

- พัฒนาสภาพแวดล้อมภายใน - เปลีย่ นแปลงเชงิ ระบบ
ดว้ ยนวตั กรรมจิตศึกษา
โรงเรียน PBL และ PLC

- ประชุมคณะกรรมการ -ครมู ีความรเู้ ป็นผู้นำดา้ น
วิชาการ
สถานศึกษาประชุมผู้ปกครอง - เปน็ Coach ใหก้ ับ
ผ้เู รียน
-การสรา้ งเครอื ข่าย PLN -เป็นนักเรียนรแู้ ละ
พัฒนาตนเองตลอดเวลา
- เปล่ยี นแปลงเชิงระบบดว้ ย - จัดกิจกรรมการเรยี นรู้
หลากหลายรปู แบบและ
นวัตกรรมจิตศกึ ษา PBL และ ทุกๆดา้ น
- มีเครอื ขา่ ยผ้ปู กครอง
PLC เพือ่ สร้างความเข้าใจ
รว่ มกัน
KRA3: ครู - .กจิ กรรมออกแบบแผนการ ผู้บริหาร 18,800

จดั การเรียนรู้ จิตศึกษา PBL ครู

-.วัดและประเมนิ ผลฐาน นกั เรียน

สมรรถนะ คณะกรรมการ

- การอบรมเพอ่ื พฒั นาตนเอง สถานศึกษา

- กิจกรรม PLC สายช้ันเรยี น

โรงเรยี น ผู้ปกครอง PLC

ออนไลนเ์ พื่อพฒั นาครู

- กจิ กรรม AAR

- กิจกรรมการสอนภาษาไทยผา่ น

วรรณกรรม

- อบรมการจดั การเรยี นรู้ฐาน

สมรรถนะผ่านสือ่ ออนไลน์

- กจิ กรรม Work shop การวัด

และประเมินผล การเขียน

Feedback การ Reflection

และการออกแบบรปู แบบการ

รายงานความก้าวหนา้ ของผ้เู รยี น

- การประชมุ ผูป้ กครองเพ่ือสร้าง

ความเขา้ ใจรว่ มกนั

- กลุ่มเครอื ขา่ ยผูป้ กครอง เช่น

Line Facebook

- กิจกรรมจิตศึกษา

- กจิ กรรม AAR (After action

review)

- การอบรมเพื่อพัฒนาครเู ป็นครู

Coach /Facilitator

KRA4: ผูเ้ รยี น - กิจกรรมพฒั นาปัญญาภายใน ผบู้ ริหาร -เกิดการพฒั นาปัญญา 36,000
ภายในด้วยกระบวนการ 6,700
ด้วยกระบวนการจิตศกึ ษา ครู จติ ศึกษา PBL ฐาน
สมรรถนะ
- กิจกรรมบูรณาการ PBL ฐาน นกั เรยี น - มกี ารสรา้ งอาชีพที่
หลากหลาย
สมรรถนะ คณะกรรมการ - มีความรู้ สมรรถนะ 6
ด้าน
- กิจกรรมเรยี นรูค้ า่ ยฐานการ สถานศกึ ษา
- การส่อื สาร
เรยี นรสู้ ่ทู ักษะอาชีพในโรงเรยี น - การคิดขั้นสงู
- การแกไ้ ขปัญหา
- กิจกรรมศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ใน - การจัดการตนเอง
- ทักษะด้านดิจิทัล
ทอ้ งถ่นิ และการจัดการข้อมลู
- การทำงานเป็นทมี
- กิจกรรม Create For Food - มีความเปน็ พลเมืองท่ี
เขม้ แข็ง
ตามความสนใจในแตล่ ะระดับชน้ั - มีภาวะผู้นำ กล้า
แสดงออก
ด้วยนวัตกรรม PBL และ PLC มคี วามรู้ฐานราก ๓ มติ ิ (
Self ,Ef ,พัฒนาการ ๔
- กจิ กรรม Change For Food ดา้ น)
- มีการใช้ส่ือและ
Day เทคโนโลยีดิจิทัลทนั ต่อ
โลก
- กจิ กรรมภาษาไทยวรรณกรรมสู่
-เกิดชุมชน PLN
การคดิ ขน้ั สูง - เกิดการแลกเปลยี่ น
เรยี นรู้รว่ มกัน
- กิจกรรมการนำเสนองานด้วย

วิธีการทห่ี ลากหลายระดบั ชน้ั

เรยี น

- กิจกรรม Active learning PBL

ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ

- กจิ กรรมคณิตศาสตร์

Proactive

- ความรูฐ้ านราก ๓ มิติ ( Self

,Ef ,พฒั นาการ ๔ ดา้ น)

- โครงการพัฒนาทักษะด้าน EF

ของผู้เรียนจัดการเรยี นร้ดู ว้ ย

เคร่อื งมือ EF Guideline

- โครงการพฒั นาสมรรถนะครใู น

การจัดการเรยี นรดู้ ว้ ยส่ือและ

เทคโนโลยดี จิ ิทลั

- โครงการสรุปองค์ความรู้ (เปิด

บา้ น)

KRA5: - เปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรู้ -ผูบ้ รหิ าร

เครอื ข่าย - กิจกรรมครทู บ่ี ้าน ครู

- กิจกรรม Open House นักเรยี น

- กิจกรรม Open Heart

- กิจกรรมการประชมุ คณะกรรมการ - เกดิ เจตคติทด่ี ีตอ่

คณะกรรมการสถานศึกษา สถานศึกษา โรงเรยี น

- กิจกรรม PLC เครอื ข่าย - เกดิ การเปล่ยี นแปลง

- กจิ กรรมภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น เชงิ ระบบ

การเกษตร และวิถีพอเพียง

- PLN Online On-site รว่ มกบั

เครือข่าย

รวม (หนึง่ แสนบาทถว้ น) 100,000

ผลลัพธ์ ตวั ชวี้ ัด วธิ กี าร เคร่ืองมือ

โรงเรียน - โรงเรียนมีสภาพบริบททเี่ อื้อตอ่ - การสังเกต - แบบการสงั เกต

เปน็ เปลย่ี นเชงิ ระบบโดยใช้ การเรยี นรู้ - การสมั ภาษณ์ - แบบการสัมภาษณ์

นวตั กรรมจิตศึกษา PBL - โรงเรยี นมรี ะบบสนับสนนุ สำหรับ

และ PLC เป็นองค์กรแหง่ การบริหารจดั การ

การเรียนรู้

นกั เรยี น - มกี ารกำหนดเป้าหมายต่อผู้เรยี น - การสังเกตผู้เรยี น - แบบสังเกต

นักเรียนมพี ัฒนาการเรยี นรู้ - มหี ลกั สูตรสถานศกึ ษา - การสัมภาษณ์ผู้เรยี น - การสัมภาษณ์

มที กั ษะและสมรรถนะ - มีหนว่ ยการเรียนรู้ แผนการการ - การบันทึกพฒั นาการ - แบบบันทกึ

ศตวรรษที่ 21 มีคณุ ลักษณะ จดั การเรียนรู้ การวดั และ - การทดสอบ พฒั นาการผเู้ รยี น

อนั พึงประสงค์ ประเมนิ ผล ท่มี งุ่ ไปยังตวั ผเู้ รียน - แบบทดสอบผเู้ รียน

effect side -นักเรียนมสี มมรถนะผเู้ รยี น -การประเมนิ สมรรถนะ -แบบประเมิน

- ด้านสมรรถนะผเู้ รยี น -นักเรยี นมีทักษะอาชีพทห่ี ลากหลาย ผู้เรยี น พฤติกรรม

(อยากใหน้ ักเรยี นมี -การบนั ทึกการปฏิบตั ิ -แบบสงั เกต

สมรรถนะท่ีเกิดขึ้นได้ครบ -การทดสอบ -แบบสอบถาม

ทกุ ด้านและเกิดกบั ทุกคน) -แบบประเมินตาม

- ดา้ นทกั ษะชีวิต (นกั เรียนมี สภาพจริง

ความรู้มีทักษะเกีย่ วกบั เร่ือง

อาชีพ การค้าขายออนไลน์

เกษตรอินทรยี ์)

ผู้บริหาร - มกี ารกำหนดเป้าหมาย แผนพัฒนา - การสงั เกต - แบบสงั เกต

เป็นผบู้ ริหารท่ีสามารถสร้าง - มีการสนบั สนนุ การเรยี นทุกชั้นแบบ - การสมั ภาษณ์ - การสัมภาษณ์

การเปล่ียนแปลงใหเ้ กดิ ขึ้น Active Learning - การบันทกึ - แบบบันทึก

ภายในโรงเรียน - สนับสนนุ ใหม้ ีชมุ ชนเรยี นรู้เพอื่ พัฒนา

วชิ าชีพในโรงเรยี น PLC

- สนับสนนุ ให้มีเครือข่ายการเรียนรู้

เพือ่ พฒั นาการจดั การ

ครู - มีการออกแบบแผน การจดั การเรียน - การสงั เกต - แบบสังเกต

เป็นครทู ่สี ามารถสร้างการ การสอนแบบ Active learning - การสัมภาษณ์ - การสมั ภาษณ์

เปลย่ี นแปลงใหเ้ กิดขึน้ - มกี ารวัดและประเมินผลนักเรยี นใน - การบันทึก - แบบบันทกึ

ภายในชั้นเรยี น ระหวา่ งเรยี นและหลังเรยี น - การประเมนิ KSA ครู - แบบประเมนิ KSA ครู

เครอื ข่าย - โรงเรยี นมเี ครอื ข่ายความร่วมมอื - การสงั เกต - แบบสังเกต

เกดิ เครือขา่ ยการเรยี นร้แู ละ กับผปู้ กครอง - การสัมภาษณ์ - การสมั ภาษณ์

การพัฒนาการจัดการ - โรงเรยี นมเี ครือข่าย PLN - การบันทกึ - แบบบนั ทึก

กับโรงเรียนพนื้ ท่ีใกลเ้ คียง

ผ้เู ก่ียวข้องบทบาทหน้าที่

ท่ี ชื่อ – สกลุ บทบาทหนา้ ท่ี
ผอู้ ำนวยการโรงเรียน
1. นายสธุ ี ศรีเครอื ดำ ครูผู้สอนระดบั ชั้นอนุบาล2 ขอบขา่ ยการเรยี นรู้ จิตศกึ ษา PBL
ครผู ู้สอนระดบั ชนั้ อนบุ าล2 ขอบขา่ ยการเรียนรู้ จิตศกึ ษา PBL
2. นางสาวกติ ิยา ผิวจนั ทร์ ครผู สู้ อนระดับชัน้ อนุบาล3 ขอบข่ายการเรยี นรู้ จติ ศึกษา PBL
ครูผสู้ อนระดบั ช้นั ป.1 ขอบข่ายการเรียนรู้ จติ ศึกษา PBL
3 นางสาวจำลอง ศรกล้า ครผู สู้ อนระดบั ชั้น ป.1 ขอบข่ายการเรียนรู้ จติ ศึกษา PBL
ครผู ้สู อนระดบั ชน้ั ป.2 ขอบข่ายการเรียนรู้ จิตศกึ ษา PBL
4 นางฐิติมา บญุ สุยา ครูผสู้ อนระดับชั้น ป.3 ขอบข่ายการเรียนรู้ จิตศกึ ษา PBL
ครผู สู้ อนระดบั ชัน้ ป.3 ขอบข่ายการเรียนรู้ จิตศึกษา PBL
5 นางประภา ใจเสงย่ี ม ครูผู้สอนระดับชน้ั ป.4 ขอบข่ายการเรียนรู้ จติ ศึกษา PBL
ครูผสู้ อนระดบั ช้ัน ป.4 ขอบข่ายการเรยี นรู้ จิตศกึ ษา PBL
6 นายพชิ ญสทุ ธ์ ดมุ กลาง ครูผสู้ อนระดับชน้ั ป.5 ขอบข่ายการเรียนรู้ จติ ศึกษา PBL
ครูผสู้ อนระดบั ชั้น ป.5 ขอบข่ายการเรียนรู้ จิตศกึ ษา PBL
7 นางสุนันทา ถือคณุ ครูผสู้ อนระดับชั้น ป.6 ขอบข่ายการเรยี นรู้ จติ ศึกษา PBL
ครผู ู้สอนระดบั ชน้ั ป.6 ขอบข่ายการเรยี นรู้ จิตศึกษา PBL
8 นางพรทิพย์ สริ ปิ ฐมโรจน์ ครูยา้ ยมาใหม่
ครูย้ายมาใหม่
9 นางสาวชลธชิ า ยวงทอง

10 นางสาววิลาวลั ย์ ดวงเวา

11 นางสาวมัชฌิมาภคั คงคาชนะ

12 นายสรุ พงษ์ ชนะเลศิ

13 นางสาววชิรญา ดีย่งิ

14 นายสิทธิชัย ดุมกลาง

15 นางอไุ ร หมายจนั ทร์

16 นางสาวศรแี พรว

17 นางสาวรงุ่ ศิริ อบอนุ่

ลงชอ่ื
( นายสธุ ี ศรีเครอื ดำ)
ผเู้ สนอโครงการ

รายละเอียดของงบประมาณ การประมาณการ งบประมาณ แจกแจงรายละเอียดที่ใชใ้ นส่วนตา่ งๆอิงเกณฑ์
ด้านงบประมาณ ของทาง กสศ.และลำปลายมาศ

หมวดค่าใชจ้ า่ ย อตั ราเบกิ จ่าย
KRA1 : โรงเรียน 19,000
สนามพลงั บวก ปรับปรงุ บรบิ ทหอ้ งครวั
-วัสดุ อุปกรณ์ ปรบั ปรุงหอ้ งครัวโรงเรยี น ซื้อหน้าต่าง (อลมู ิเนียม ติดตัง้ 12,000 บาท
เหล็กดดั ฯลฯ) 5,000 บาท
- จัดทำปา้ ยนิเทศ, บอร์ด 2,000 บาท
- ซ้อื ไม้กวาด, น้ำยาขดั หอ้ งน้ำ,น้ำยาทำความสะอาดต่างๆ
KRA2 : ผบู้ ริหาร 19,500
อบรม ประชุม ผ้บู ริหาร ครู ผู้ปกครอง จำนวน 150 คน
-ค่าอาหารหลัก 80 บาท/คน/ม้อื 12,000 บาท
-อาหารวา่ ง 50 บาท/คน/ม้ือ 7,500 บาท

KRA3: ครู 18,800

- ประชมุ อบรม สัมมนา (จำนวนครู 13 คน ค่าลงทะเบียน, คา่ เดินทาง) 15,000 บาท

- การจดั การเรยี นแบบ จิตศึกษา PBL (สีไม,้ สีเมจิก, กระดาษเทาขาว, 2,800 บาท

กระดาษแข็ง ฯลฯ) 1,000 บาท

-PLC (ซ้ือกระดาษ ปากกาไม้บรรทดั ยางลบ กาว แฟ้ม สี แลคซนี ฯลฯ)

KRA4: ผู้เรยี น 36,000

-ซื้อหนงั สอื นทิ าน (มที ั้งหมด 15 ปก) ปกละ 95 บาท ๆ จำนวน 40 เลม่ 3,800 บาท

หนังสอื เมืองแหง่ หมอก 175 บาท จำนวน 8 เลม่ 1,400 บาท

หนังสืออธิษฐานสิจะ๊ กับนางฟ้าสเี ขียว 110 บาท จำนวน 8 เล่ม 880 บาท

หนงั สือ ณ รมิ ธารแห่งกาลภพ 110 บาท จำนวน 8 เลม่ 880 บาท

รักในเอเดน 120 บาท จำนวน 7 เล่ม 840 บาท

จากเช้าวันหนง่ึ ถงึ ก่อนโลกาวินาศ 150 บาท จำนวน 8 เลม่ 1,200 บาท

-จติ ศกึ ษา PBL ซ้ือวัสดุอปุ กรณ์ ชั้นเรยี น 2,500 บาท จำนวน 8 ช้ันเรียน 20,000 บาท

(ซอ้ื กระดาษแข็ง, กระดาษสสี องดา้ น, กระดาษสีดา้ นเดียว, กาว, กรรไกร, สีไม,้

สีเมจิก, ปากกา, ดินสอ, ยางลบ)

-คา่ ตอบแทนท่เี ชญิ วทิ ยากรและผชู้ ่วยวทิ ยากรให้ความรู้ Change for food 1,800 (วทิ ยากร 1,200 บาท,

Day ผูช้ ว่ ยวิทยากร 600บาท)

-สร้างอาชพี (เลย้ี งไก่ไข่ ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงหมปู ่า ทำนาขา้ ว 5,200 บาท

KRA5:เครือขา่ ย 6,700

อบรม/ให้ความรูว้ ิถีชวี ิตเกษตร (จำนวนผู้เขา้ อบรม 40 คน)

- คา่ ตอบแทนวิทยากร 1,200 บาท
-คา่ อาหารหลกั 80บาท/มื้อ/คน) 3,200 บาท
- ค่าอาหารว่าง 50บาท/มื้อ/คน 2,000 บาท
- วสั ดปุ ระกอบการอบรม (สมุด , ปากกา, แฟ้ม) 300 บาท
รวม (หนึ่งแสนบาทถ้วน) 100,000 บาท

การพฒั นาทกั ษะสมอง EF ในสภาวะการแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โควดิ 19 ด้วยการเรยี นรตู้ ามรปู แบบอนบุ าลจติ
ศกึ ษา Child based learning

หลกั การและเหตผุ ล
Executive functions (EF) คอื ความสามารถของสมองสว่ นหนา้ (Prefrontal cortex : PFC) ในการบริหาร

จดั การ เปน็ ทกั ษะท่จี ำเปน็ ในการทำกิจกรรมท่ีมีเปา้ หมายในชีวิตประจำวัน หรอื เรียกได้ว่าเปน็ ทกั ษะการบรหิ าร
จัดการตนเองขนั้ สงู ในการกำกับความคิด อารมณ์ การกระทำเพื่อให้บรรลเุ ป้าหมายที่ตั้งไว้ ซง่ึ จะส่งผลตอ่ การ
เรยี นรู้การทำงานต่าง ๆ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ รวมไปถึงการมสี ุขภาวะที่ดีซง่ึ วัยอนบุ าล (3-6 ป)ี จะเป็น
ช่วงเวลาทองของชวี ติ ในการพัฒนาทกั ษะ EF ใหก้ ับเด็ก โดยต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมท่ีดีร่วมกบั กิจกรรมทีเ่ สริมสรา้ ง
พฒั นาการด้านตา่ งๆ ไดแ้ ก่ การเล่นทหี่ ลากหลาย การสำรวจ งานบา้ น งานสวน งานครวั การไดล้ งมือกระทำด้วย
ตนเอง ผ่านการใชผ้ ัสสะทงั้ 5 ประกอบด้วย ตาผสั สะ หผู สั สะ ปากผัสสะจมูกผสั สะและผวิ กายผัสสะ กระบวนการ
เหลา่ น้ีจะทำให้เด็กฝึกการกำกับตนเอง การวางแผน การทำงานอย่างมี เป้าหมาย และการแกป้ ญั หา
วัตถปุ ระสงค์

เพื่อพฒั นาทกั ษะสมอง EF ทั้ง 9 ดา้ น ในสภาวะการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ด้วยการเรยี นรตู้ าม
รูปแบบอนุบาลจติ ศกึ ษา Child based learning จากกิจวัตรประจำวนั ท่บี า้ น (งานบ้าน งานสวน งานครัว การ
สำรวจ และการเล่นที่หลากหลาย)
วธิ ีการหรอื กระบวนการ
1. พัฒนา รปู แบบ Child based learning สำหรบั นกั เรียนชั้นอนบุ าล พฒั นาแผนการจัดการเรียนรู้ให้กบั

ผปู้ กครอง และ พฒั นาแผนการจัดการเรียนรสู้ ำหรับนกั เรียนขณะท่ีเรยี นรู้ที่บา้ นในชว่ งการระบาดของโควิด
2. ครูและผู้ปกครอง ประเมิน EF ของนกั เรยี น Pre-test โดยใช้แบบสังเกตทักษะทางสมอง EF ระดบั อนบุ าลฯ
3. จัดกิจกรรมเรยี นรูใ้ หก้ บั ผู้ปกครองท้งั เพ่อื ความเขา้ ใจรว่ มกันเก่ยี วกับความสำคญั และการส่งเสรมิ ทักษะ

สมอง EF เพ่อื ใหผ้ ปู้ กครองเข้าใจแผนการจดั การเรียนรู้ใหก้ บั ลูกทบ่ี ้านตลอดช่วงการระบาดของโควิด การ
ตดิ ตาม ประเมนิ ความก้าวหนา้ และ Feedback โดยจัดสปั ดาห์ละ 1 ครัง้ แบบ On-site หรอื Online
4. ผู้ปกครองออกแบบ Time Line การเรยี นรู้ใหล้ กู 3 ช่วงเวลาตอ่ วนั โดยเน้นทงี่ านบา้ น งานสวน งานครัว
การสำรวจ และการเลน่ ทหี่ ลากหลาย
5. ผปู้ กครองรว่ มทำกจิ กรรมกบั ลกู ๆ ท่ีบ้านตามที่ออกแบบ พรอ้ มประเมนิ ความก้าวหนา้
6. ครแู ละผปู้ กครอง ประเมิน EF ของนักเรยี น Post-test โดยใชแ้ บบสังเกตทักษะทางสมอง EF ระดับอนุบาลฯ
เครือ่ งมือ
1. รปู แบบ Child based learning สำหรับนักเรยี นชน้ั อนุบาล
2. แผนการจดั การเรียนร้ใู ห้กับผปู้ กครอง
3. แผนการจัดการเรยี นรสู้ ำหรับนักเรยี นขณะทเ่ี รียนรู้ที่บ้านในช่วงการระบาดของของเชอื้ ไวรัสโควดิ 19
4.Time Line การเรยี นรู้ 3 ช่วงเวลา
5. แบบสงั เกตพฤติกรรมทักษะสมอง EF ของเด็กปฐมวยั (วัย 36 ปี) โดย สถาบันอารแ์ อลจี (รักลกู เลิรน์ น่ิง
กรุ๊ป)

ระยะเวลาดำเนินการ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธนั วาคม
กระบวนการ
-กำหนดปญั หาวจิ ยั หรือหวั ข้อวิจยั
- กำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจยั
- กำหนดขอบเขตการวจิ ัย และ/หรอื สมมตฐิ าน
-ออกแบบการวิจยั กลุ่มตัวอย่าง/กลุ่มเป้าหมาย
- ออกแบบเคร่ืองมือวจิ ัย
-ออกแบบการวเิ คราะห์ข้อมูล
เกบ็ รวบรวมข้อมลู
วิเคราะหข์ ้อมลู และการแปลผล
เขยี นรายงาน

ตัวแปรต้น การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ผ่านวถิ ีการเรยี นรกู้ ิจวัตรประจำวัน จิตศึกษา บูรณาการ PBL (Play-based
Learning) (งานบา้ น งานสวน งานครัว การสำรวจ และการเล่นทีห่ ลากหลาย)
ตวั แปรตาม ความสามารถช่วยเหลอื ตนเอง กำกบั ตนเอง มีสมาธจิ ดจ่อทำงานต่อเน่ืองจนสำเรจ็ คิดเป็นระบบมเี หตุ
มผี ล

ประวัติโดยสังเขป

ช่อื - สกลุ นายสุธี ศรเี ครือดำ
เกดิ วนั องั คารท่ี ๑๐ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 251๖ อายุ 4๘ ปี

ประวัติการศกึ ษา

ระดับการศกึ ษา ประวตั กิ ารศึกษา ปีทีจ่ บ.
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 วิชาเอก/ สถาบัน 25๒๖
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 2533
ปริญญาตรี(คบ.) โรงเรยี นปราสาทศึกษาคาร 2537
ปรญิ ญาโท(ศษ.ม) โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร 2553
ป.บัณฑติ พลศึกษา สถาบันวิทยาลัยครูสุรนิ ทร์ ๒๕๕๐
หลักสตู รและการสอน / มหาวิทยาลยั รามคำแหง
บรหิ ารการศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภฎั สุรนิ ทร์

ประวัตกิ ารรับราชการ
- เริ่มรับราชการครัง้ แรกเม่ือวันท่ี ๒๓ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2537 ตำแหนง่ อาจารย์ 1
ระดับ 3 ขนั้ 5,560 บาท ท่ี โรงเรียนบา้ นไทยเดมิ อำเภอบวั เชด จังหวดั สุรนิ ทร์
- ๑ เม.ย.๒๕๔๘ อาจารย์ ๒ โรงเรยี นบา้ นเจ้าคุณ อ.ปราสาท จ.สุรนิ ทร์
- ๑ ก.พ.๒๕๔๙ ครชู ำนาญการ โรงเรียนบา้ นเจ้าคุณ อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
- ๑๒ เม.ย.๒๕๔๙ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตะเคยี น อ.กาบเชงิ จ.สรุ นิ ทร์
- ๑๔ ธ.ค. ๒๕๕๐ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรยี นปราสาทศึกษาคาร อ.ปราสาท จ.สรุ ินทร์
- ๒๓ พ.ค.๒๕๕๖ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นเนินดินแดง อ.โปง่ น้ำร้อน จ.จนั ทบุรี
- ๑๕ ธ.ค.๒๕๕๗ ผ้อู ำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนไพลศกึ ษาคาร อ.ปราสาท จ.สรุ ินทร์
- ๑๑ พ.ย.๒๕๕๙ – ปัจจุบนั ดำรงตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบา้ นเชอ้ื เพลงิ อ.ปราสาท
จ.สรุ ินทร์ สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รบั เงินเดือน อนั ดบั คศ. 3 ข้ัน ๕๒,๗๑๐ จนถึงปจั จบุ ัน
- รวมอายุรบั ราชการ ๒๗ ปี

ผลงานด้านบรหิ ารจัดการสถานศึกษาโดยสังเขป

๑. ปี ๒๕๕๕ ได้รบั รางวัล หนึง่ แสนครดู ี จากสำนักงานกระทรวงศึกษาธิการ

๒. ปี ๒๕๖๐ ไดร้ ับคัดเลือก จากสำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๓ เปน็

โรงเรยี นประถมศึกษาขนาดกลาง เข้ารว่ มโครงการโรงเรียนเปลีย่ นแปลงเชิงระบบด้วยนวตั กรรมจิตศึกษา PBL

๓. ปี ๒๕๖๑ ไดเ้ กยี รติบตั รจากผวู้ า่ ราชการจังหวัดสรุ ินทร์ การทำนา “ขา้ วนาถุง” การสร้างความ

มน่ั คงทางอาหาร โดยใช้วธิ ีการแบบเกษตรอินทรีย์

๔. ปี ๒๕๖๓ ได้รบั เกยี รตบิ ัตรจากสำนกั งานคณะกรรมการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

การประกวด Obec Award ดา้ นการบรหิ ารจดั การโรงเรียนประถมศกึ ษาขนาดใหญ่

๕. ปี ๒๕๖๓ ไดร้ ับเกียรตบิ ตั รจากสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๓ ด้าน

นวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ “ จติ ศึกษา PBL”

๖. ปี ๒๕๖๒ ไดร้ บั คดั เลอื กจากสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๓ เป็นโรงเรยี น

คุณภาพประจำตำบล

๗. ไดร้ ับคดั เลือกจากสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๓ เป็นโรงเรียนแกนนำ
ด้านเปลยี่ นแปลงเชงิ ระบบ “ด้านนวตั กรรมการจิตศึกษา PBL” พฒั นาปัญญาภายใน งอกงามสคู่ วามไม่มี

๘. ปี ๒๕๖๓ ได้รับรางวลั เกียรติบัตรจากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน “การจัดการ
ขยะในสถานศึกษา”

๙. ปี ๒๕๖๓ ได้รับโล่ประกาศเกียรตคิ ณุ จากกระทรวงศึกษาธิการ “ศิษย์เก่าดเี ด่น โรงเรียนประสาท
วทิ ยาคาร” ในโอกาสครบรอบ ๕๐ ปี การก่อต้งั โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร โดยนายประเสริฐ บุญเรือง
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

๑๐. ปี ๒๕๖๔ ได้รบั เกียรติบตั ร รองชนะเลิศอนั ดับ ๑ เหรียญทอง จากสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๓ ผลงานนวัตกรรมการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือโรค
ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ด้วยรูปแบบ On-Demand ระดบั ช้ันปฐมวัย

๑๑.ปี ๒๕๖๔ ไดร้ ับเกยี รติบตั ร เหรยี ญเงนิ จากสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต
๓ ผลงานนวตั กรรมการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ดว้ ย
รปู แบบ On – Hand ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔-๖

๑๒. ปี ๒๕๖๔ ไดร้ ับเกียรตบิ ตั รจากสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดสุรนิ ทร์ ด้านการบรหิ ารจดั การ
Innovation Education (IFTE) นวตั กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศกึ ษา

๑๓. ปี ๒๕๖๔ - ปัจจบุ นั ดำเนินการตอ่ เนื่องโครงการพฒั นาครแู ละโรงเรียนเพื่อยกระดบั คุณภาพ
การศกึ ษาอยา่ งต่อเนือ่ ง มูลนธิ ิ ลำปลายมาศพัฒนา โครงการสนบั สนุนกองทนุ เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
กสศ

ในสถานการณ์ช่วงการแพรเ่ ช้อื ของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ทางโรงเรียนบา้ นเชือ้ เพลงิ ไดด้ ำเนินการจัดการ
เรียนการสอนใน ๕ รูปแบบที่กระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด โดยทางคณะครูและผบู้ รกิ ารมกี าร ประชุม PLC ทาง
ระบบ On Line (Google Meet) เพื่อสอบถามถึงปญั หาด้านตา่ งๆในการเรยี นการสอนช่วงนี้ และนำปญั หาทพ่ี บ
ในการจัดการเรยี นการสอนมาปรับปรุง แกไ้ ขปญั หาในลำดับต่อไป โดยคำนงึ เพื่อใหเ้ กดิ ผลประโยชน์สูงสดุ แก่ทาง
ลูกนักเรยี นและสถานศึกษาต่อไป

*********************************************

สำเนาบัตรประชาชนผู้บริหาร
หนา้ สมุดธนาคาร


Click to View FlipBook Version