The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR โรงเรียนบ้านเชื้อเพลิง ปีการศึกษา ๒๕๖๔

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wachiraya Deeying, 2022-05-05 15:12:41

sar 2564

SAR โรงเรียนบ้านเชื้อเพลิง ปีการศึกษา ๒๕๖๔

๓๙

ผลลพั ธ์/ความสำเรจ็ แนวทางการพฒั นา

-นักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 จำนวน 153 คน ร้อยละ
80.00 เข้าร่วมMerry Christmas ang Happy
new year มีความสามารถด้านการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษโดยจัดเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ ฝึก
ทกั ษะการส่ือสารภาษาอังกฤษด้านต่างๆเชน่ แข่งขัน
Open Dictionary , Spelling Bee , Drawing
Picture

- นักเรียน ป.1 – ป..6 จำนวน 153 คนร้อยละ -จัดกิจกรรมเนน้ การสง่ เสริมดา้ น
83.00 ผ่านการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์ และ ความสามารถในการคิดและแกป้ ญั หา
เขียน ในระดับดี นักเรียน ป.1–ป.6 จำนวน 153 อยา่ งเข้ม และต่อเนอ่ื ง
คนร้อยละ 90.85 ผ่านการประเมินสมรรถนะสำคญั
ของผู้เรียนด้านความสามารถในการคิด ในระดับดี
เยย่ี ม

มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/ประเด็นการ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้เู รียน พิจารณา

3) มีความสามารถในการสร้าง 3. จำนวนนักเรียน ร้อยละ 74 มีผลงาน

นวัตกรรม จากการทำโครงงาน หรือประดษิ ฐช์ ้นิ งาน

จากกจิ กรรมโครงการต่างๆ หรอื กิจกรรม

การเรียนการสอน PBL ในแตล่ ะชน้ั เรยี น

๔๐

ผลลพั ธ์/ความสำเรจ็ แนวทางการพฒั นา

- นักเรียน ป.1 – ป.6 จำนวน 153 คนร้อยละ 91.50 ผ่าน
การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนด้านความสามารถใน
การแก้ปญั หา ในระดับดเี ยยี่ ม
-โดยนักเรียนได้รับการฝึกทกั ษะด้านการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมี
วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
ร่วมกันผ่านกระบวนการจัดการ กิจกรรมจิตศึกษา และ PBL
เพื่อเปน็ การศกึ ษาแห่งเรียนรทู้ ั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น

-นักเรียน ป.1 – ป.6 จำนวน 153 คนร้อยละ 88.24 มี -ควรสง่ เสรมิ พฒั นาอย่าง
ผลงานจากการประเมินทกั ษะชวี ิต จากกจิ กรรมการจัดการเรียน ต่อเนอ่ื ง
การสอน PBL การทำโครงงาน/งานประดิษฐ์ ชิ้นงาน ผลงาน
ด้านศลิ ปะ งานฝมี ือ การทำหนังสอื เล่มเล็ก การตูนชอ่ งการทำ
แผ่นพับ การทำ Mind mapping นำเสนอข่าวสารความรูต้ ่างๆ
การจัดบอร์ดนทิ รรศการวนั สำคญั ต่าง

มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/ประเด็นการ

พิจารณา

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น

4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4.1 จำนวนนกั เรยี น รอ้ ยละ 64 มี

สารสนเทศและการสื่อสาร ความสามารถในการสบื คน้ ข้อมูลจาก

อนิ เตอร์เนต็ และสรุปความรไู้ ดด้ ้วยตนเอ

4.2 จำนวนนักเรียน รอ้ ยละ 70 มี

ความสามารถอา้ งอิงแหล่งข้อมลู ทไ่ี ด้จาก

การสบื ค้นทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

4.3 จำนวนนักเรียน รอ้ ยละ 70 ผา่ น

การประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น

ด้านความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีใน

ระดบั พอใช้

๔๑

ผลลัพธ/์ ความสำเร็จ แนวทางการพฒั นา

-นกั เรียน ป.1 – ป.6 จำนวน 153 คน -ควรส่งเสริมพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่อื ง
รอ้ ยละ 91.50 มคี วามสามารถใน
อง การสืบคน้ ขอ้ มูลจากอนิ เตอรเ์ น็ตและสรปุ

องค์ความรไู้ ด้ ในระดบั ดเี ย่ียม
ก --นกั เรยี น ป.1 – ป.6 จำนวน 153 คน

ร้อยละ 91.50 มีความสามารถอา้ งองิ
แหลง่ ข้อมลู ท่ีได้จากการสืบคน้ ทาง
น เทคโนโลยสี ารสนเทศ
น -นกั เรยี น ป.1 – ป.6 จำนวน 153 คน

ร้อยละ 91.50 ผา่ นการประเมนิ
สมรรถนะสำคัญของนกั เรยี นดา้ น
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยใี น
ระดบั ดีเยยี่ ม

มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/ประเด็นการ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น พจิ ารณา

๔๒

ผลลพั ธ/์ ความสำเร็จ แนวทางการพฒั นา

5) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตาม 5. นักเรยี น ร้อยละ 74 มีผลสัมฤทธ์ิ
หลักสูตร สถานศึกษา ทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา

๔๓

-นกั เรียน ป.1 – ป.6 จำนวน 153 คน -ควรส่งเสรมิ พฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่องใน

ร้อยละ 92.28 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการ เรือ่ งการวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบ

เรียนทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ NT, O-NET เพอื่ นำผล

-ผลจากการจดั กระบวนการเรียนรู้ท่ียึด

ผเู้ รยี นเป็นสำคญั นักเรยี นใฝร่ ้ใู ฝเ่ รยี น

สามารถเรยี นร้ไู ด้ด้วยตนเองจากสอื่

เทคโนโลยี สง่ เสรมิ นักเรียนทมี่ ี

ความสามารถ ซอ่ มเสรมิ นกั เรยี นที่เรยี นชา้

โดยมรี ะบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ทำให้

ร้จู ักนักเรียนเปน็ รายบุคคล เพื่อใหก้ าร

สง่ เสริม และชว่ ยเหลอื นกั เรียนไดอ้ ยา่ งตรง

ประเดน็

-แก้ปัญหาดา้ นการเรยี นโดยการวเิ คราะห์

นักเรยี น วเิ คราะห์ผลการทดสอบรายวชิ า

แลว้ นำมาแนวทางพฒั นาทำให้ผลสมั ฤทธ์ิ

ทางการเรยี นเปน็ ไปตามเป้าหมายของ

โรงเรยี นกำหนดอย่างหลากหลาย

มาตรฐาน/ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/ประเด็นการ
พจิ ารณา

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รยี น

6) มคี วามรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติที่ดี 1. นักเรยี น ร้อยละ 74 มคี วามรทู้ ักษะ

ตอ่ งานอาชีพ พ้ืนฐานและเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ งานอาชพี

1.2 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรียน 1.นกั เรียน รอ้ ยละ 74 ผ่านการประเมนิ
1) การมีคุณลักษณะและคา่ นยิ มท่ดี ตี ามท่ี คุณลักษณะอันพึงประสงค์
สถานศึกษากำหนด

2.นกั เรยี น รอ้ ยละ 74 มีความรับผิดชอ
มีวนิ ยั มีความสามัคคี มีความประหยดั
ซ่ือสัตย์ มีภาวะผนู้ ำ และมจี ติ อาสา

๔๔

ผลลัพธ/์ ความสำเร็จ แนวทางการพัฒนา

ะ -นกั เรยี น จำนวน 153 คน -ควรจัดกิจกรรมแนะแนวด้านอาชพี

มีความรู้ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ีดี นำนกั เรียนรว่ มกจิ กรรมสง่ เสรมิ การ
ตอ่ งานอาชพี จากการจัดกจิ กรรมแนะ ฝกึ ทักษะด้านอาชีพแขนงตา่ งๆ หรือ
แนวการสำรวจตนเอง เจตคตดิ ้านการ ฝกึ ประสบการณด์ ้านอาชพี แก่
เรยี นตอ่ และประกอบอาชีพ นักเรยี น

น -นกั เรียน ป.1-ป.6 จำนวน 153 คน ผ่าน สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กิจกรรม โครงการ

การประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ทเ่ี น้นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

และผ่านระดับดแี ละดเี ยยี่ ม คา่ นยิ มท่ดี ีแก่นกั เรยี น

ร้อยละ 92.36

อบ -นกั เรยี นช้ัน ป.1-ป.6 จำนวน 153 คน
ร้อยละ 96.73 มคี วามประหยดั ซือ่ สัตย์
สามัคคี มีภาวะผู้นำและมีจิตอาสา ผา่ น
การประเมนิ กิจกรรมเพอื่ สังคมและ

สาธารณประโยชน์
-นักเรยี นทกุ คน มีการวางแผนการใช้จา่ ย
อยา่ งประหยดั โดยมีการฝากออมทรพั ย์
-นักเรียน ป.1-ป.6 รอ้ ยละ 96.73 มวี ินัย
ความรบั ผิดชอบ

มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/ประเดน็ การ
พิจารณา
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น
2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็น 2.1 จำนวนนกั เรียน รอ้ ยละ 74 ร่วม
ไทย กจิ กรรมตามวัฒนธรรมประเพณีสำคญั ใ
ทอ้ งถน่ิ และวนั สำคญั ต่างๆ
2.2 จำนวนนกั เรยี น รอ้ ยละ 74
แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของ
ชาติ และยดึ มั่นในการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ เ์ ปน็
ประมขุ

3) การยอมรับทจ่ี ะอยรู่ ่วมกนั บนความ 3.1 นกั เรยี น รอ้ ยละ 74 อยูร่ ว่ มกัน
แตกต่างและหลากหลาย อยา่ งมคี วามสุขบนตามแตกตา่ งทาง
วฒั นธรรม/ความคดิ เหน็ ท่ีแตกตา่ ง

๔๕

ผลลพั ธ์/ความสำเร็จ แนวทางการพัฒนา

-นกั เรยี นชั้น ป.1-ป.6 จำนวน 153คน -เปดิ โอกาสให้นกั เรียนไดเ้ ข้ารว่ ม

ใน รอ้ ยละ 92.36 รว่ มกิจกรรมวันสำคญั ตาม กิจกรรมทางวฒั นธรรม ประเพณที ี่

ประเพณี เช่น ถวายเทียนพรรษา ในวัน สำคัญของทอ้ งถน่ิ โดยครูเปน็ ผู้นำ

สำคัญทางศาสนา เพือ่ ใหเ้ กิดความรัก ความภาคภมู ใิ จ

ง กิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ แตง่ ผา้ ในความเปน็ ไทย

ไทยทกุ วันศกุ ร์

น -นกั เรยี นชน้ั ป.1-ป.6 จำนวน 153 คน

รอ้ ยละ 92.36 แสดงออกถงึ ความรกั ใน

สถาบันหลักของชาติ ร่วมกจิ กรรมวนั แม่

แห่งชาตวิ นั พ่อแหง่ ชาติ

-นกั เรยี นชน้ั ป.1-ป.6 จำนวน 153 คน -ควรสง่ เสรมิ พัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่อง
ร้อยละ 92.36 อยรู่ ว่ มกนั บนความ
แตกต่างระหว่างวยั ท้ังนักเรยี นปกตแิ ละ
นกั เรยี นพเิ ศษเรยี นรว่ ม ดูแลซงึ่ กันและ

มาตรฐาน/ประเดน็ การพจิ ารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/ประเด็นการ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รียน พจิ ารณา

3.2 นักเรยี น ร้อยละ 74 มีทศั นคตทิ ด่ี
ตอ่ บา้ นเมอื ง ยึดหลกั เสมอภาคเป็น
พลเมอื งที่ดขี องชาติ

4) สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม 4.1 นักเรียน ร้อยละ 74 มนี ้ำหนัก
ส่วนสูง และพัฒนาการทางรา่ งกาย
เจรญิ เติบโตตามเกณฑ์มาตรฐานของกรม
อนามยั
4.2 นกั เรยี น รอ้ ยละ 74 มสี มรรถนะ
ทางกายตามเกณฑ์มาตรฐานของกรม

พลศึกษา
4.3 นกั เรียนรอ้ ยละ 74 มีสขุ ภาพจติ ดี
อยรู่ ว่ มกันในสงั คมอย่างมคี วามสขุ
4.4 นักเรยี นรอ้ ยละ 74 หลกี เลี่ยงจาก
ส่งิ มอมเมา ปัญหาทางเพศ การทะเลา
วิวาท และอบายมขุ ทุกชนิด

๔๖

กัน พ่ดี แู ลน้อง คอยบริการใหค้ วาม
ช่วยเหลอื อำนวยความสะดวกดา้ นตา่ งๆ

ผลลพั ธ์/ความสำเร็จ แนวทางการพฒั นา

ดี นกั เรียนชน้ั ป.1-ป.6 จำนวน 153 คน -ควรส่งเสรมิ พัฒนาอยา่ งตอ่ เน่อื ง
ร้อยละ 100 มคี วามคิดทศั นคตทิ ่ดี ีต่อ
สังคมชมุ ชนและประเทศชาติ จากการจดั
และประเมินผลในรายวชิ าหน้าทพี่ ลเมือง
เพิม่ เตมิ

-นักเรียนช้นั ป.1-ป.6 จำนวน 153 คน
ร้อยละ 86.27 มีน้ำหนกั สว่ นสงู และ
ม พฒั นาการทางรา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตาม
เกณฑม์ าตรฐาน
-นักเรยี นช้นั ป.1-ป.6 จำนวน 153 คน
ร้อยละ 96.73 ดื่มนมและรบั ประทาน
อาหารกลางวันครบหา้ หมู่ ท่ีสะอาดถกู
สุขลักษณะ ปลอดภยั ท่ที างโรงเรยี น
จดั ทำตลอดปีการศกึ ษา 2564
-นกั เรยี นช้ัน ป.1-ป.6 จำนวน 153 คน
รอ้ ยละ 90 มสี มรรถภาพทางร่างกาย
ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมพลศึกษา

มาตรฐาน/ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/ประเด็นการ
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น พจิ ารณา

๔๗

ผลจากการเขา้ รว่ มกิจกรรมกฬี าสีภายใน
กีฬาระหว่างโรงเรยี น กจิ กรรมวนั เด็ก
แหง่ ชาติ

ผลลัพธ/์ ความสำเรจ็ แนวทางการพฒั นา

นกั เรยี นชน้ั ป.1-ป.6 จำนวน 153 คน
รอ้ ยละ 87.00 มีความพงึ พอในการรว่ ม
กิจกรรม/โครงการวันเด็กแหง่ ชาติ
-นักเรยี นช้ัน ป.1-ป.6 จำนวน 153คน
ร้อยละ 80 หลีกเลยี่ งจากสงิ่ เสพตดิ

และ อบายมุขทุกชนิด ผลจากการร่วม
กจิ กรรมกันต่อต้านยาเสพติด กจิ กรรม
กีฬาตา้ นยาเสพติด
-นกั เรียนไดร้ บั รางวัลจากการแข่งขันกฬี า
ประเภทต่าง ๆระดบั ศูนยพ์ ัฒนาวิชาการฯ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

2.1 มีเป้าหมายวสิ ยั ทัศนแ์ ละพนั ธกจิ 1. โรงเรียนกำหนดเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์

ที่สถานศกึ ษา กำหนดชัดเจน และพันธกจิ ที่ชัดเจน สอดคลอ้ งกับบรบิ

ของโรงเรียนและสอดคลอ้ งกบั นโยบาย

แผนดำเนินงานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

ท่คี รอบคลมุ เป้าหมายและปฏบิ ตั ไิ ด้จริง

2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพ ของ 1.โรงเรยี นมีระบบบริหารจัดการคุณภาพ

สถานศึกษา ของสถานศกึ ษาท่ี ชัดเจนและจัดทาํ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

2. โรงเรยี นมีการกํากบั ตดิ ตาม

ประเมินผลและปรับปรงุ การ ดําเนินการ

โดยใชก้ ระบวนการ มสี ว่ นรว่ มทุกภาค

ส่วนท่ีเก่ียวข้อง

3. โรงเรียนมกี ารพัฒนาการบริหาร

จัดการ โดยกระบวนการ P D C A

มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/ประเด็นการ

พิจารณา

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

2.3 ดาํ เนินงานพัฒนาวชิ าการทเี่ นน้ 1. โรงเรียนดำเนินงานพฒั นาวชิ าการ

คณุ ภาพผเู้ รยี น รอบด้านตามหลกั สูตร เน้นคุณภาพผเู้ รยี นตามหลักสตู ร

สถานศึกษาและทกุ กล่มุ เปา้ หมาย สถานศกึ ษา และตามกิจกรรมเสริม

๔๘

- มีเป้าหมายในการดำเนินงานที่ชัดเจน ปรับเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกจิ

บท - มแี ผนในการดำเนินงาน ตามข้อมูลย้อนกลบั ทเ่ี ปน็ ปญั หา

มี - การปฏิบตั งิ านตามแผนท่ีตัง้ ไวไ้ ด้จรงิ และยังไมส่ ำเรจ็

า - โรงเรยี นไดร้ บั ความไวว้ างใจ

จากผ้ปู กครอง

พ -โรงเรยี นมรี ะบบประกันคณุ ภาพ - พฒั นางานอย่างตอ่ เนอื่ ง

สถานศกึ ษาภายในอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

-โรงเรยี นไดร้ ับความรว่ มมือจาก

คณะกรรมการสถานศึกษา ผปู้ กครอง

ร หน่วยงานอน่ื ในการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพ

ของโรงเรียน

ผลลัพธ/์ ความสำเรจ็ แนวทางการพฒั นา
-นักเรยี น เกง่ ดี มีสขุ
- พัฒนางานอย่างต่อเนอ่ื ง
- สนับสนุนงบประมาณในการ

พัฒนา

2.4 พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ คี วาม หลักสูตรท่จี ําเป็นตอ่ การดาํ รงชีวิตของ
เชีย่ วชาญทางวิชาชีพ ผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21

2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและ 1. โรงเรียนสง่ เสรมิ สนบั สนุน พฒั นาครู
สงั คมท่ีเอื้อ ตอ่ การจดั การเรยี นร้อู ย่างมี และบคุ ลากรเพอ่ื ให้มีความเชยี่ วชาญทา
คุณภาพ วชิ าชีพอย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ 1 ครั้งแล
นำมาใชพ้ ฒั นางานและการเรยี นรขู้ อง
นกั เรยี น

1. โรงเรียนมสี ภาพแวดลอ้ มทางกายภา
ภายในและภายนอก หอ้ งเรียนทเี่ อ้อื
ตอ่ การเรยี นรอู้ ยา่ ง มคี ณุ ภาพและ
ปลอดภยั ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
2. โรงเรยี นมแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรร
เก่ยี วกับการบรหิ าร จัดการขยะภายใน
โรงเรียน
3. โรงเรยี นมแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรร
เกีย่ วกบั ปรับปรุง พฒั นาห้องเรียน
คณุ ภาพ

๔๙

-ครูผ้สู อนมีความรู้ความสามารถในการ - พัฒนางานอย่างยัง่ ยืน
าง พัฒนางานและการเรยี นรขู้ องนักเรยี น - สนบั สนุนงบประมาณในการ
ละ
พฒั นา

าพ -โรงเรียนมสี ภาพแวดลอ้ มท้งั ภายนอกและ - พัฒนางานอยา่ งต่อเนอ่ื ง
ภายในหอ้ งเรียนสะอาด สวยงาม ปลอดภัย - สนับสนนุ งบประมาณในการ

เออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ โดยการระดมทรพั ยากร พัฒนา
ภายนอกใหม้ าสนับสนุนการจดั
สภาพแวดลอ้ ม
รม

รม

มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/ประเด็นการ

พิจารณา

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื 1.โรงเรยี นจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเท

สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการ เพื่อสนบั สนนุ การเรียนรูอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ

จดั การเรยี นรู้ ทกุ กลมุ่ เป้าหมาย

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั

3.1 จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ 1. ครูร้อยละ 74 มีรูปแบบ เทคนคิ

และปฏิบัติจรงิ และสามารถนำไป วิธกี ารจัดการเรยี นรู้ พฒั นา กระบวนกา

ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตได้ คิด ส่กู ารปฏบิ ัติ และนักเรยี นสามารถ

นำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้

2. ครรู ้อยละ 74 วเิ คราะหต์ วั ชวี้ ัดตาม

หลักสูตรสถานศกึ ษาสู่ จุดประสงคก์ าร

เรียนรู้ โดยการจดั การสอน แบบ Active

learning

๕๐

ผลลัพธ/์ ความสำเร็จ แนวทางการพฒั นา

ทศ -โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยียงั ไมท่ ั่วถงึ จึง - มแี ผนงาน/โครงการเพอ่ื พัฒนา
ไมส่ ามารถสนับสนนุ การจดั การเรยี นร้ไู ด้ ระบบเทคโนโลยี
ทั่วถึง
-โรงเรียนมีระบบสารสนเทศเพื่อ - สนบั สนุนงบประมาณโครงการ
พัฒนา
สนับสนุนการเรยี นรอู้ ย่างทว่ั ถงึ ทกุ
กลมุ่ เปา้ หมาย

- ครู ร้อยละ 83.33 มีรูปแบบเทคนิค- - ครูพฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
าร วธิ ีการจัดการเรียนรู้ พฒั นา กระบวนการ ที่หลากหลายสามารถใหน้ ักเรียนได้
ปฎิบตั ิจรงิ
คดิ สูก่ ารปฏิบัติ และนักเรยี นสามารถ
นำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ โดยจะเหน็
จากครูศึกษา เอกสารประกอบหลกั สูตร
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ตา่ งๆ วเิ คราะห์
e มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน/ประเดน็ การพจิ ารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/ประเดน็ การ

พจิ ารณา

- มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ

3. ครรู อ้ ยละ 74 จดั กจิ กรรมการเรยี นร

โดยใช้ศาสตรพ์ ระราชาและ หลกั ปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาบูรณาการ

จัดการเรียนรู้

๕๑

ผลลพั ธ์/ความสำเร็จ แนวทางการพฒั นา

รู้ - ครู รอ้ ยละ 83.33 มีการวเิ คราะห-์
า ตวั ชว้ี ดั ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาสู่

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ โดยการจดั การสอน
แบบ Active learning โดยมีกจิ กรรมเขยี น
แผนฝังความคิด วธิ กี ารสอนแบบ จติ ศึกษา
และ PBL กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบบรู ณา
การ การจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงาน
พัฒนาศกั ยภาพสคู่ วามเป็นเลศิ

โครงการพฒั นาหลกั สตู รและโครงการ-
ประกันคุณภาพ
- ครู ร้อยละ 83.33 จัดกิจกรรมการ
เรียนรูโ้ ดยนอ้ มนำศาสตรพ์ ระราชา และ
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มา
บรู ณาการจดั การเรยี นรู้ หลักศาสตร์
พระราชาและ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง แบบบูรณาการทกุ
กลมุ่ สาระการ

มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/ประเดน็ การ

พจิ ารณา

- มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั

3.2 ใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และ 1. ครรู ้อยละ 74 จัดการเรียนรโู้ ดยใชส้

แหล่งเรยี นรู้ ท่เี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ เทคโนโลยที ่ที ันสมยั และสามารถสร้าง

องคค์ วามรูใ้ ห้แกน่ กั เรยี น

2. ครรู อ้ ยละ 74 จดั การเรียนรู้ โดยใช้

ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ แหล่งเรยี นร้ทู ่ีเออ้ื ต่อ

การเรยี นรูม้ าใช้ในการจัดการเรียนรู้

๕๒

ผลลัพธ์/ความสำเรจ็ แนวทางการพฒั นา

สอื่ - ครู รอ้ ยละ 83.33 ของทกุ กลมุ่ สาระการ - ครูมสี ่อื ที่หลากหลายในการจัดการ
เรยี นรจู้ ัดการเรียนรูโ้ ดยใชส้ อื่ เทคโนโลยที ่ี เรยี นรู้
ทนั สมยั และสามารถสร้างองค์ความรใู้ หแ้ ก่ - ครูใชเ้ ทคโนโลยีสาระสนเทศและ

นกั เรยี น อกี ทงั้ ครูได้ใชบ้ ริการส่อื จากห้อง แหล่งเรยี นรู้ ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ที่เอือ้
มลั ตมิ ีเดียในการจัดการเรยี นการสอน ต่อการเรยี นรู้
ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นไดป้ ฏิบตั ิจริงจากการใช้
สือ่ ท่ที ันสมัย สามารถสรา้ งงานจากการ
เรยี นรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี
(คอมพิวเตอร)์ มผี ลใหผ้ เู้ รียนพอใจสนุกกบั

การเรยี นรู้
- ครู ร้อยละ 83.33
จัดการเรยี นรู้ โดยนำแหลง่ เรยี นรู้ ภมู ิ
ปญั ญาทอ้ งถนิ่ ทเี่ ออื้ ต่อการเรยี นรู้มาใช้ใน
การจัดการศึกษาใหก้ ับนกั เรยี น ท้ังจาก

แหลง่ เรยี นรู้ภายใน โรงเรยี น เช่น
หอ้ งสมดุ ห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ ง
วิทยาศาสตร์ ห้องพยาบาล

มาตรฐาน/ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/ประเดน็ การ
พจิ ารณา

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ

3.3 มกี ารบริหารจดั การช้นั เรียนเชิงบวก 1. ครูทกุ คนจัดระบบดูแลชว่ ยเหลอื
นกั เรียนใหม้ คี ณุ ภาพและดแู ล นกั เรียน
เป็นรายบคุ คล
2. ครทู กุ คนมีเทคนิค วธิ กี ารกำกบั
ตดิ ตาม และบรหิ าร จัดการชนั้ เรียนและ
นกั เรยี น เชงิ สร้างสรรค์

๕๓

ห้องเรียน(ปา้ ยนิเทศ) การปลกู มะนาวในวง แนวทางการพฒั นา
ซีเมนต์ การปลกู ผกั สวนครวั การจัด
สวนหยอ่ ม การปลกู และดูแลดอกไม้ ต้นไม้

ผลลัพธ/์ ความสำเรจ็

- ครู รอ้ ยละ 100 จดั ระบบดูแลช่วยเหลอื - ครูพฒั นาระบบการดแู ลและ
นักเรียนรายบคุ คลให้มคี ณุ ภาพ โดยการ ช่วยเหลอื นกั เรยี นทห่ี ลากหลายอย่าง
ตรวจสุขภาพอนามัย เยยี่ มบา้ นนกั เรยี น ตอ่ เนอื่ ง

กจิ กรรมโฮมรมู บริการอาหารเสริมนม การ
ะ รับประทานอาหารกลางวนั การช่งั น้ำหนัก-

วดั สว่ นสูง และคำนวณภาวะโภชนาการ
การออมทรพั ย์ สอนซอ่ มเสรมิ แนะแนว
นักเรียน
ครูประจำชั้น ครทู ่ีปรึกษารว่ มกนั พิจารณา

นักเรยี นเพือ่ รบั ทนุ การศึกษาจากโรงเรยี น
ชุมชนและหนว่ ยงานต่างๆ ผลติ สอ่ื /
นวตั กรรมเพือ่ พัฒนาผเู้ รียนทต่ี อ้ งไดร้ ับการ
ดูแลเปน็ พเิ ศษ จดั กิจกรรมบำเพญ็
ประโยชนเ์ พอ่ื สาธารณะ

มาตรฐาน/ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/ประเด็นการ
พจิ ารณา

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ

3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่าง 1. ครูทุกคนมวี ิธีการตรวจสอบและ
เปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น ประเมินนกั เรียน อยา่ งเป็นระบบ

2. ครูทกุ คนมีวิธกี ารวดั และประเมนิ ผล
นกั เรยี นดว้ ยวธิ กี ารท่ี หลากหลายตาม
สภาพจรงิ ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั นำผลมา
พัฒนานักเรียน
3. ครทู ุกคนมเี คร่ืองมอื วดั และวธิ ีการ
ประเมินผลอยา่ งหลากหลายที่เหมาะสม
กับเป้าหมายการเรียนรู้

๕๔

- ครู ร้อยละ 83.33 มเี ทคนิค วิธีการ แนวทางการพฒั นา
กำกับ ติดตาม การประเมินผเู้ รยี นตาม
สภาพจรงิ เปน็ รายบุคคลให้การเสรมิ แรงกบั
นกั เรียนทกุ คนใหเ้ ต็มความสามารถ ผู้เรยี น
พึงพอใจ

ผลลพั ธ์/ความสำเรจ็

- ครู ร้อยละ 83.33 มีวิธีตรวจสอบและ - ครปู ระเมนิ นักเรยี นตามแบบ Rubric
ประเมินนกั เรียนอยา่ งเปน็ ระบบเหน็ ได้ score ตอ่ เน่อื งหลากหลายและนำผลมา

จากครมู แี ผนการจัดการเรียนร้นู ำไปใช้ พัฒนาเรยี นนกั ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อการ
และบันทึกผล มกี ารวัดผลประเมนิ ตาม จดั การจดั การเรยี นร้ใู หย้ ง่ั ยืน
สภาพจริง การบันทึกการอา่ น/การเขยี น
ตามคำบอก บนั ทึกกจิ กรรมลดเวลาเรยี น
เพม่ิ เวลารู้ บนั ทึกผลการเรยี นรายวชิ า

ม (ปพ.5) รายงานผลการเรียนนกั เรยี นเป็น
รายบุคคล(ปพ.6) บันทึกการประเมนิ
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน แบบสรุปการ
อ่านออก - เขียนได้ ผลงาน/ช้นิ งาน
นักเรยี น

มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/ประเดน็ การ

พจิ ารณา

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ

3.5 มีการแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละใหข้ อ้ มลู 1. ครูทุกคนและผู้มสี ว่ นเก่ียวข้องมกี าร

สะท้อน กลบั เพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และใชข้ อ้ มลู สะทอ้ น

จัดการเรียนรู้ กลบั เพ่ือพฒั นาปรบั ปรุงและจดั การ

เรียนรู้

๕๕

- ครู รอ้ ยละ 83.33 มวี ิธีการวดั และ แนวทางการพัฒนา
ประเมินผลนกั เรยี นดว้ ยวธิ กี ารท่ี
หลากหลายตามสภาพจรงิ ใหข้ อ้ มลู
ย้อนกลับนำผลมาพัฒนานกั เรยี น ดังจะ
เห็นได้จากครูผู้สอนมกี ารวเิ คราะหผ์ ลการ
ทดสอบ RT ในชัน้ ป.1, วเิ คราะหผ์ ลการ
ทดสอบ NT ในชัน้ ป.3 และ วิเคราะห์
ผลการทดสอบ O-NET ในชน้ั

ผลลัพธ์/ความสำเรจ็

ป.6 ท้ัง 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่
ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
ภาษาองั กฤษ
- ครทู กุ คนมเี ครอ่ื งมอื วดั และวธิ ีการ
ประเมนิ ผลอย่างหลากหลายท่ีเหมาะสม
กับเปา้ หมายการเรยี นรู้

- ครทู กุ คนและผ้มู ีส่วนเก่ยี วขอ้ งมีการ - ครูผ้สู อนมกี ารพฒั นา/ปรับปรุงการ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ และใชข้ อ้ มูลสะท้อน จดั การเรียนการสอนของตนเองให้
กลบั เพือ่ พัฒนาปรบั ปรงุ และจัดการ ทันสมยั ทันเหตกุ ารณอ์ ยา่ งสม่ำเสมอ
เรียนรู้ จะเหน็ ไดจ้ ากเมือ่ มกี ารประชมุ
วชิ าการจะมีการนำเสนอผลการ

2. ครูทกุ คนนำผลสะท้อนการจดั การ
เรียนรสู้ ู่แผนพฒั นา คณุ ภาพนักเรยี นใน
รายวชิ าทีร่ ับผดิ ชอบ

มาตรฐาน/ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/ประเดน็ การ
พจิ ารณา

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั

๕๖

ดำเนนิ งานต่างๆ เชน่ นำเสนอวธิ กี ารจดั แนวทางการพฒั นา
กจิ กรรมการเรยี นรู้ การผลิตส่ือ การ
นำเสนอสาระจากการเขา้ รับการอบรม
สัมมนา สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ตามแผนงาน/โครงการตา่ งๆ การสรุปผล
การบรหิ ารจดั การในชัน้ เรียนโดยครู
ประจำช้นั และครทู ่ีปรกึ ษาไดช้ ว่ ยกันถอด
บทเรยี น แลกเปลยี่ นเรยี นร้ซู ง่ึ กันและกนั

ผลลัพธ์/ความสำเรจ็

- ครทู กุ คนนำผลสะทอ้ นการจดั การเรยี นรู้
สแู่ ผนพัฒนาคณุ ภาพ ในรายวิชาที่
รบั ผิดชอบ ซง่ึ หลงั จากบนั ทกึ ผลหลังแผน
ครูจะนำผลมาสะท้อนเพ่อื หาแนวทางใน
การปรับปรงุ พฒั นาในการจัดการเรียนรู้
ในคร้งั ต่อไป ดงั จะเหน็ ได้จากการบนั ทึก
หลงั สอนและผลลพั ธท์ ีไ่ ดค้ ือ ครไู ด้รับ
รางวลั เกียรตบิ ัตรดา้ นต่างๆ ซ่งึ หมายถึง
คุณภาพนกั เรียนเกิดจาก ครไู ด้นำผลมา
พัฒนาที่ถูกตอ้ งเหมาะสมจนประสบ
ผลสำเรจ็

1 ๕๗

3. จุดเดน่ จุดทคี่ วรพัฒนา และแนวทางพัฒนาเพ่ือให้มคี ุณภาพทสี่ ูงข้นึ
3.1 จุดเด่น
1. ดา้ นคณุ ภาพผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น นักเรียนกล้าแสดงออก ร่าเริงแจ่มใส

สุขภาพกายแข็งแรง และเป็นผมู้ ีคณุ ธรรมจริยธรรมตามทีส่ ถานศึกษากำหนด
1.2 ผู้เรียนอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง รวมทั้งสามารถเขียนเพื่อการสื่อสารได้ทุก

คน สามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนอยู่ในระดับดี มีผลการประเมินการอ่าน (RT) อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยด้านการอ่านออกเสียงสูง
กว่าค่าเฉลีย่ ระดับประเทศ มีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT)
มีคะแนนเฉล่ยี เกนิ กวา่ ร้อยละ 74 นอกจากนี้ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (O-NET) มคี ะแนน
เฉล่ยี สาระภาษาไทยสงู กว่าระดบั ชาติ

1.3 ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ำหนักส่วนสูงตาม
เกณฑ์ มีระเบียบวินัยจนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา เป็นที่ยอมรับของชุมชนโดยรอบในเรือ่ งความมี
วนิ ัย เคารพกฎกตกิ า ระเบยี บของสงั คม เป็นตน้

1.4 ผู้เรียนอ่านและเขียนได้เหมาะสมตามระดับชั้น สามารถสื่อสารภาษาไทยได้เข้าใจ
ชัดเจน กล้าแสดงออก มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ โดยมีการสืบค้นข้อมูล
หรือแสวงหาความรจู้ ากส่ือเทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง สามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะไดว้ า่ สิ่งไหนดี สำคัญ
จำเปน็ รวมท้ังรู้เท่าทนั สอ่ื และสังคมทเี่ ปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็

1.5 ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ในความเป็น ไทยและเห็นคุณค่าเกี่ยวกับภูมิ
ปญั ญาไทย และ แสดงออกได้อย่างเหมาะสม จนเป็นเอกลกั ษณ์ของ สถานศึกษาเปน็ ทยี่ อมรับของชุมชน

1.6 ผู้เรียนรู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของส่ิงเสพติด เลือกรับประทานอาหารท่ี
สะอาดและมี ประโยชน์ รกั การออกกำลงั กาย มสี ุขภาพร่างกาย แข็งแรง มสี มรรถภาพทางกายและนำ้ หนัก-
ส่วนสูง ตามเกณฑ์ นักกีฬาของโรงเรยี นได้รับเหรยี ญรางวลั หลายรางวัล และหลายประเภท จากการแข่งขนั
รายการต่าง ๆ ในระดับศูนยเ์ ครอื ข่ายโรงเรียนและระดับเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา

1.7 ผู้เรียนได้รบั รางวัลจากงาน วิชาการต่างๆของปีการศึกษา 2564 ระดับเครือข่าย
และระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา

2. ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ
2.1 ผบู้ รหิ ารมคี วามต้ังใจ มีความมงุ่ มั่น มีหลักการบริหาร และมีวิสยั ทัศน์ทดี่ ีในการ

บริหารงาน สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีในการทำงาน และคณะกรรมการสถานศึกษามีความตั้งใจ และมี
ความพร้อมในการปฏิบัติหนา้ ท่ตี ามบทบาท

2.2 โรงเรยี นมกี ารบริหารและการจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ แบ่งโครงสร้างการบรหิ ารงาน
เป็น 4 กลุ่มงาน ยดึ หลักการบริหารโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐาน (SMB)

2.3 โรงเรยี นใช้เทคนคิ การประชุมท่ีหลากหลายวิธี เช่น การประชมุ แบบมีสว่ นรว่ ม การ
ประชุมระดมสมอง การประชมุ กลมุ่ เพ่ือใหท้ ุกฝา่ ยมสี ว่ นรว่ มในการ กำหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เปา้ หมาย
ท่ีชัดเจน

๕๘

2.4 มีการปรบั แผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี ที่
สอดคลอ้ ง
กบั ผลการจัด การศึกษา สภาพปัญหา ความตอ้ งการพัฒนา และ นโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษา
๒.๕ มีแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏิบัติ การประจำปี ท่สี อดคลอ้ งกับ
การ
พัฒนาผู้เรียนทกุ กลมุ่ เป้าหมาย
๒.๖ มกี ารพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้มี ความรูค้ วามเชี่ยวชาญตาม
มาตรฐานตำแหนง่
๒.๗ มีข้อมลู สารสนเทศที่ถกู ตอ้ ง ครบถ้วน ทันสมยั สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ได้
๒.๘ โรงเรยี นจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คม ที่กระตนุ้ ผเู้ รียนใหใ้ ฝเ่ รียนรู้
๒.๙ ครูผูส้ อนสามารถจดั การเรียนร้ไู ดอ้ ย่างมีคุณภาพ มีการดำเนนิ การนิเทศ กำกบั
ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนนิ งาน และจัดทำรายงานผลการจดั การศึกษา
๒.๑๐ โรงเรียนได้ใช้กระบวนการวิจัยในการรวบรวม ข้อมูล เพื่อใช้เป็นฐานในการ
วางแผนพัฒนาคุณภาพ สถานศกึ ษา
๒.๑๑ มีการระดมทรัพยากร เพื่อการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาจากผู้ปกครองนักเรียน
สง่ ผลให้โรงเรียนมี สือ่ และแหล่งเรยี นรูท้ ่ีมคี ุณภาพ
๒.๑๒ โรงเรียนให้ความสำคัญกับการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
เน้นการสร้างความเข้าใจและให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากรทุกฝ่ายที่
เกี่ยวข้อง การดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เน้นการมีส่วนร่วมของทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ ซ่ึงเป็นตัวแทนจากทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โรงเรียนได้มีการ
พัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา
๓. ด้านกระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ
๓.๑ ครูพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มเวลา
และเต็มความสามารถ
๓.๒ ครูจัดกิจกรรมให้นกั เรยี นแสวงหาความร้จู ากสื่อเทคโนโลยดี ้วยตนเองอย่างตอ่ เน่ือง
๓.๓ ครูใหน้ ักเรียนมสี ่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้อื ตอ่ การเรียนรู้
๓.๔ ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรยี นรจู้ ากการคดิ ได้ปฏบิ ัตจิ รงิ ดว้ ยวธิ กี ารและแหล่งเรยี นรู้
ทีห่ ลากหลาย
๓.5 ครูทุกคนจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ โดยการดำเนินงาน/
โครงการ/กิจกรรมอยา่ ง หลากหลาย
๓.6 ครูทุกคนตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้แสวงหา
ความรูจ้ ากสื่อ เทคโนโลยดี ้วยตนเองอย่างตอ่ เน่ือง
๓.7 มกี ารนำภูมิปญั ญาท้องถ่ินเข้ามามีสว่ นรว่ มในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้
๓.8 ครูส่วนใหญท่ ำวจิ ัยในชน้ั เรยี น ปีการศกึ ษาละ ๑ เร่ือง
๓.9 ครูทุกคนได้รับการพัฒนาตามโครงการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา และแผนการ
จัดการเรยี นรู้ เพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการศึกษาของนักเรยี น

๕๙

๓.๑0 ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ของชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ วิชาไทยมีการ
พัฒนาข้ึนในทกุ ๆปี

3.2 จดุ ควรพฒั นา
๑. ด้านคุณภาพผูเ้ รียน
๑.๑ ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัด

การศกึ ษา เพ่ือพัฒนาผเู้ รยี นมากข้ึน
๑.๒ ควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของ

โรงเรียน ให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา และการขบั เคลื่อนคุณภาพการ
จดั การศกึ ษา

๑.๓ ผู้เรียนทุกระดับชั้นยังต้องเร่งพัฒนาความสามารถ ในการอ่าน การเขียน และการ
ส่ือสารภาษาอังกฤษ และการคิดคำนวณ

๑.๔ โรงเรียนควรพัฒนาระบบเครือข่ายไร้สายให้ รวดเร็ว และกว้างขวาง เพื่อบริการ
ผู้เรยี น ในการสืบคน้ ขอ้ มลู หรอื แสวงหาความร้จู ากสอ่ื เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง

๒. ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ
๒.๑ โรงเรียนควรจัดกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนได้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด

สงั เคราะห์ อยา่ งหลากหลาย และใช้แหล่งเรียนรูใ้ นการพัฒนาตนเอง
๒.๒ ครคู วรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในระดับชน้ั ป.๑ – ป.๖ ให้สามารถนำเสนอ

อภิปราย
และแลกเปลย่ี นเรยี นรอู้ ย่างสมเหตุสมผล และมีทักษะในการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม

๒.๓ ครูควรจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นในระดับช้นั ป.1 – ป.๖ ให้มีพฤติกรรมทัศนคติท่ีดี
ต่อความเป็นไทย ไม่หลงใหลกับค่านิยมต่างชาติ จนเกิดการลอกเลยี นแบบ ทำใหล้ มื วฒั นธรรมอนั ดงี ามของ
ไทย ๒.๔ โรงเรียนควรจัดการเรยี นการสอนด้วยวิธีการทีห่ ลากหลาย สอดคล้องกับมาตรฐาน
การเรยี นรู้ ตัวช้ีวดั ตามหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานและฝึกใหน้ ักเรยี นไดค้ ดิ วเิ คราะห์ หาความรู้จากแหล่ง
เรียนรู้สื่อเทคโนโลยีให้มากขึ้น และพัฒนาสื่อ แหล่งเรียนรู้ จัดเตรียมห้องปฏิบัติการให้อยู่ในสภาพดีและ
พรอ้ มใชง้ านเสมอ

๒.๕ ครูควรวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลายตามสภาพจริง
สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้และธรรมชาติวชิ า

๒.๖ ครูควรนำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้
เรียนรู้

๒.๗ ครคู วรให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลับแก่นกั เรยี นทันทีเพ่ือนกั เรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง
๒.๘ โรงเรียนควรสรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมอื ของผูม้ สี ่วน เกี่ยวขอ้ งในการจดั การศึกษา
ของโรงเรียนใหม้ ีความ เขม้ แข็ง และมีสว่ นร่วมรับผดิ ชอบต่อผลการจัด การศกึ ษา และการขับเคลือ่ น
คุณภาพการจดั การศกึ ษา
๒.๙ สถานศกึ ษาจดั ระบบให้ครปู ระเมนิ ตนเองรายบคุ คลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยัง
ขาดการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ครใู นการพัฒนาตนเองในการจัดกิจกรรมการเรยี นรูเ้ พื่อยกระดบั คุณภาพของ
นกั เรยี น

๖๐

๒.๑๐ นักเรยี นมกี ารประเมนิ ตนเองในการเรียนรู้ แตย่ ังขาดการตดิ ตาม ชว่ ยเหลอื ดา้ น
การเรียนรขู้ องนกั เรยี นเป็นรายคน

๓. ด้านกระบวนการเรยี นการสอนที่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั
๓.๑ ควรมจี ดั ทำหน่วย PBL ท่ีสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของโรงเรยี น
๓.๒ ควรมกี ารประเมนิ คุณภาพและประสิทธภิ าพของ สือ่ การสอนทใ่ี ช้
๓.๓ ควรมกี ารประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารผลิตส่ือเทคโนโลยี ใหก้ บั ครผู สู้ อนทุกคน

3.3 แนวทางการพัฒนาเพอื่ ใหม้ ีคณุ ภาพทีส่ ูงข้นึ
๑. การจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ เี่ นน้ การพฒั นาผูเ้ รยี นเปน็ รายบุคคลให้ชัดเจนขึ้น
๒. การส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

การจัดทำการวจิ ัยในช้ันเรยี นเพอ่ื พฒั นาผูเ้ รียนใหส้ ามารถเรยี นรู้ไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ
๓. การพัฒนาบุคลากรโดยส่งเข้ารับการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานที่ได้รับ

มอบหมาย ติดตามผลการนำไปใช้ และผลท่ีเกดิ กบั ผู้เรยี นอย่างตอ่ เน่อื ง
๔. ต้องการให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนเปลี่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศกึ ษา PBL

และ PLC
๕. โรงเรียนต้องการให้ครูเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คือ ลดภาระงานพิเศษให้น้อยลง

จัดหาแหล่งเรียนรู้ สื่อ อุปกรณ์ อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้แก่ครูโดยเฉพาะ มีการปรับเปลี่ยน
วัฒนธรรมการทำงาน เปิดรับ การเปลี่ยนแปลง และสิ่งใหม่ ๆ เปิดโอกาสด้านการแสดงออกทางความคิด
อย่างเสรมี ากขึน้ สร้างแรงจูงใจ ในการเรียนรรู้ ว่ มกันเปน็ ทีม มีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ให้เพิ่มมากข้ึน ส่งเสริม
กิจกรรมร่วมคดิ รว่ มทำ เพอ่ื เปา้ หมาย และวิสยั ทศั น์ร่วมกนั ของโรงเรียน โดยการจัดประชมุ เชงิ ปฏิบัติการ/
อบรม/สัมมนา และศกึ ษาดงู านอย่างต่อเนือ่ ง

๖. โรงเรียนมุ่งพัฒนาครูและบุคลากรภายในโรงเรียนให้เป็นครูมืออาชีพ เป็นครูที่สอนดี
ซึ่งคือครูที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับนักเรียนให้มากที่สุด นักเรียนได้เรียนรู้จากสถานการณ์จริงและ
สถานการณ์ จำลอง ทค่ี รเู ป็นผจู้ ัดทำข้นึ ครใู ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศตา่ ง ๆ มาประกอบเป็นสอื่ การเรยี นรู้ ใช้
กับนักเรียน ทำใหน้ ักเรยี นได้รบั การพัฒนาความรู้ความสามารถมากท่สี ุด

๗. โรงเรียนมุ่งพัฒนาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนเป็นสนามพลังบวกที่เอื้อต่อการจัดการ
เรียนการสอนของครูและนักเรียน เช่น เครื่องฉายภาพ เครื่องเสียง โทรทัศน์ เป็นต้น ทำให้ครูสามารถ
จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย นักเรียนได้รับความรู้อย่างเต็มที่ นอกจากนั้นโรงเรียนยังมีการพัฒนา แหล่ง
เรียนรู้ภายใน อาทิ ห้องภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ห้องอาเซยี น ห้องสมุด ซงึ่ จะมมี ุมหนังสือ มุมมลั ติมีเดยี มมุ สืบค้น
ข้อมลู (คอมพิวเตอร)์ ใหบ้ ริการกับนกั เรียน นักเรียนสามารถแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองได้

๘. โรงเรียนมีการประสานการระดมทรัพยากร โดยประสานทุกภาคส่วนเพื่อระดับ
ทรัพยากรต่าง ๆ ทั้ง ความคิด ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา การปรับปรุงคุณภาพด้านต่าง ๆ ของโรงเรียน
รวมถึงการระดมงบประมาณ เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน พัฒนาความรู้ความสามารถของ
บุคลากรภายในโรงเรยี นและนำมาใช้ ในการสรา้ งขวญั กำลงั ใจใหก้ บั ครแู ละบคุ ลากรภายในโรงเรียน

๙. พัฒนากระบวนการดำเนินงานและการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาของ สถานศึกษาให้เกิดสัมฤทธิ์ผลตามวสิ ัยทัศน์ ปรัชญา จุดเน้นและเป้าหมายที่กำหนดขึ้น เพ่ือ
ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน อย่างรอบด้าน โดยการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ครู บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชนและ

๖๑

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งผลสะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ของโรงเรียนคือ “โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม
รกั ษค์ วามเปน็ ไทย” จนเปน็ ทีย่ อมรบั ของชมุ ชนและท้องถน่ิ

๑๐. สง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามยั และความปลอดภัยของผู้เรียน ตามสขุ บัญญัติ ๑๐ ประการ
โดยความร่วมมือ ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักดูแลตนเองให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง รู้จัก
รักษาสุขภาพอนามยั ส่วนตน และมสี ขุ ภาพจติ ทดี่ ี

ความตอ้ งการและการช่วยเหลอื
๑. การพัฒนาครผู สู้ อนในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ที่สอดคลอ้ งกับการพัฒนาผู้เรยี นใน

ศตวรรษ ท่ี ๒๑
๒. การสร้างข้อสอบที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตามแนวทางของการประเมิน

O-NET เพื่อพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น และผลการทดสอบระดบั ชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-net) ให้มีค่าเฉล่ีย
สงู ขนึ้

๓. การจดั สรรครูผูส้ อนใหต้ รงตามวชิ าเอกทีโ่ รงเรียนมคี วามตอ้ งการและจำเป็น

๔. โรงเรยี นต้องการระดมทรพั ยากรตา่ ง ๆ เพ่ือใชใ้ นการพฒั นาดา้ นต่าง ๆ ของโรงเรียน
ปรบั ปรงุ ซ่อมแซมครภุ ณั ฑ์คอมพิวเตอรเ์ พอื่ พัฒนาการจดั การเรียนการสอนเทคโนโลยแี ละสง่ เสรมิ การใชส้ ื่อ
นวตั กรรม และเทคโนโลยใี นการจดั การเรียนการสอน

๕. โรงเรยี นตอ้ งการบคุ ลากรเพิม่ เติม เพอื่ ให้การบริหารจัดการดา้ นตา่ ง ๆ ของโรงเรียนมี
ความคล่องตวั มากย่ิงข้นึ

๖. ขอรับการสนับสนุนวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ความรู้คำปรึกษาในด้านเทคนิคการจัด

กิจกรรมการเรียน การสอน การวัดและประเมินผลผู้เรียนด้วยเทคนิคท่ีหลากหลาย เทคนิคการสอนทกั ษะ
การคดิ เชอ่ื มโยง เพอ่ื พัฒนาผ้เู รยี นได้เติมเต็มตามศักยภาพ

๗. ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ความร่วมมือสนับสนุนส่งเสริมกิจกรรม
ของโรงเรียนเพิ่มมากยิ่งขึ้น เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหา พัฒนา และส่งเสริมผู้เรียนร่วมกันระหว่างบ้าน
โรงเรยี น และชุมชนอย่างต่อเน่ือง เพ่ือพฒั นาใหผ้ ้เู รียนมีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและ
ประเทศชาติตอ่ ไป

ความโดดเด่นของสถานศึกษา(ถา้ ม)ี ได้รับการยอมรบั เป็นต้นแบบระดับ

ความโดดเด่นของสถานศกึ ษา นานาชาติ ชาติ ท้องถิ่น/
(C 3) (C 2) ภมู ิภาค
1.โรงเรยี นมกี ระบวนการจัดการศึกษาโดยใช้ PBL
2. โรงเรยี นแกนนำจติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2561 (C 1)
3.โรงเรยี นสนามพลังบวก(ปลอดขยะ)






๖๒

ภาคผนวก

- คำรับรองของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
- คำสง่ั แตง่ ต้งั คณะกรรมการพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน
ของสถานศึกษา ประจาํ ปกี ารศึกษา 2564
- เกียรติบตั ร/รางวัลต่างๆ



๖๓

คำสง่ั โรงเรยี นบ้านเชือ้ เพลงิ

ที่ ๑๒ / ๒๕๖๕
เร่ือง แตง่ ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา โรงเรียนบา้ นเชอื้ เพลิง

ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ระดับปฐมวัยและระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
…………………………………………..

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๖ ว่าด้วยมาตรฐานและการประกัน
คณุ ภาพการศึกษามาตรา ๔๗ ให้มรี ะบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐาน

การศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วยระบบประกันภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก ระบบ

หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๘ ให้
หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา จัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการ

ประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
และตามกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑแ์ ละวิธีการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๓ หมวด

๒ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่กำหนดให้มีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษา เป็นกลไกหลกั ในการขับเคล่อื นการพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษาให้ไดม้ าตรฐานอย่างเป็นระบบ

มีประสิทธิภาพ อันส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยมีการจัดทำรายงานประจำปี เสนอต่อ
หน่วยงานต้นสังกัด หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและ

มาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรับการประกันคุณภาพภายนอก โรงเรียนบา้ นเชื้อเพลงิ จึงแต่งตั้งบุคคล

ในท้ายคำสั่งนี้เป็นคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อทำการประเมินมาตรฐาน

การศึกษาปฐมวยั และมาตรฐานการศึกษาข้นั พื้นฐานใหแ้ ลว้ เสร็จ ดังต่อไปน้ี

๑. คณะกรรมการอำนวยการ ประกอบดว้ ย

๑.๑ นายสธุ ี ศรีเครอื ดำ ผู้อำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

๑.๒ นายสนับ ดำเนินงาม ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ กรรมการ

๑.๓ นางประภา ใจเสงี่ยม ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑.๔ นายสิทธิชัย ดุมกลาง ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ

๑.๕ นางสนุ ันทา ถือคณุ ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑.๖ นางอุไร หมายจนั ทร์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ
๑.๗ นางสาววิลาวลั ย์ ดวงเวา ครู กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

มหี นา้ ที่ ให้คำแนะนำ ปรึกษา อำนวยความสะดวก แก้ไขปญั หาในการดำเนินการประเมิน
คณุ ภาพภายในสถานศึกษาแก่คณะกรรมการดำเนนิ งาน เพอ่ื ให้การดำเนนิ งานเป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย
และมีประสิทธภิ าพ

๒. คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับปฐมวยั ประกอบดว้ ย

๒.๑ นายสธุ ี ศรเี ครอื ดำ ผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ

๒.๒ นางฐติ มิ า บญุ สยุ า ครู กรรมการ

๒.3 นางสาวกติ ิยา ผวิ จนั ทร์ ครชู ำนาญการ กรรมการ

๒.๔ นางอไุ ร หมายจนั ทร์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ

๖๔

๒.๕ นางสาววชริ ญา ดีย่งิ เจ้าหนา้ ทธี่ รุ การ กรรมการและเลขานกุ าร

๓. คณะกรรมการตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

ประกอบดว้ ย

๓.๑ นายสธุ ี ศรเี ครอื ดำ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

๓.๒ นางประภา ใจเสงยี่ ม ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๓.๓ นางสนุ นั ทา ถอื คุณ ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

3.๔ นายสุรพงษ์ ชนะเลศิ ครชู ำนาญการพิเศษ กรรมการ

3.๕ นายสทิ ธชิ ัย ดุมกลาง ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๓.๖ นางสาวร่งุ ศริ ิ อบอุ่น ครผู ชู้ ว่ ย กรรมการ

๓.๗ นางสาวจำลอง ศรกลา้ พนกั งานราชการ กรรมการ

3.๘ นายพิชญสทุ ธ์ ดุมกลาง ครอู ตั ราจา้ ง กรรมการ

3.๙ นางสาวมชั ฌมิ าภัค คงคาชนะ ครอู ตั ราจา้ ง กรรมการ

๓.๑๐ นางสาวชลธชิ า ยวงทอง ครูอัตราจา้ ง กรรมการ

3.1๑ นางอุไร หมายจันทร์ ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร

3.1๒ นางสาววลิ าวลั ย์ ดวงเวา ครู กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

คณะกรรมการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา มหี นา้ ทีด่ ังน้ี

๑. วางแผนกำหนดแนวทางและวิธกี ารดำเนินการประกันคณุ ภาพภายในโรงเรียน

๒. กำกับ ตดิ ตาม และใหข้ ้อเสนอแนะเก่ยี วกบั การดำเนินการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

ภายในสถานศึกษา

๓. เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพฯจากตัวแทนในคณะกรรมการประกันคุณภาพ

การศึกษาภายในโรงเรียน และทำหน้าทีต่ รวจสอบ ทบทวน รายงานคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา

๔. ให้โรงเรียนจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งของการ

บรหิ ารการศกึ ษาทปี่ ระกอบดว้ ย ๘ ประการ คอื

๑) การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

๒) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพมาตรฐานการศึกษา

ของสถานศกึ ษา

๓) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ

๔) การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

๕) จัดให้การติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา

๖) จดั ใหม้ ีการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

๗) จัดทำรายงานประจำปที เ่ี ปน็ รายงานการประเมินคุณภาพภายใน

๘) จดั ให้มกี ารพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาอย่างต่อเน่อื ง

๕. กำกับ ติดตาม ตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินการประกันคุณภาพ

การศกึ ษาภายในของสถานศกึ ษา

๔. คณะกรรมการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
ประกอบดว้ ย

๖๕

๔.๑ นายสุธี ศรีเครอื ดำ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ

๔.๒ นางอไุ ร หมายจันทร์ ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๔.๓ นางสุนนั ทา ถอื คุณ ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๔.๔ นางประภา ใจเสงยี่ ม ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๔.๕ นายสทิ ธชิ ยั ดมุ กลาง ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๔.๖ นายสรุ พงษ์ ชนะเลิศ ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๔.๗ นางสาวกิตยิ า ผวิ จันทร์ ครชู ำนาญการ กรรมการ

๔.๘ นางฐติ มิ า บญุ สุยา ครู กรรมการ

๔.๙ นางสาวรงุ่ ศิริ อบอุน่ ครผู ชู้ ว่ ย กรรมการ

๔.๑๐ นางสาวจำลอง ศรกลา้ พนกั งานราชการ กรรมการ

๔.๑๑ นางสาวชลธชิ า ยวงทอง ครู อัตราจ้าง กรรมการ

๔.๑๒ นางสาวมชั ฌิมาภคั คงคาชนะ ครู อตั ราจ้าง กรรมการ

๔.๑๓ นายพชิ ญสทุ ธ์ ดมุ กลาง ครู อตั ราจ้าง กรรมการ

๔.๑๔ นางสาววิลาวลั ย์ ดวงเวา ครู กรรมการและเลขานกุ าร

4.๑๕ นางสาววชริ ญา ดยี งิ่ เจา้ หน้าทธี่ ุรการโรงเรยี น กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

มีหน้าที่ ดำเนินการรวบรวมข้อมูล จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)

ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และเสนอต่อหน่วยงานต้น
สังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ดำเนินการประเมิน ตรวจสอบตาม
รูปแบบ การประเมิน ให้ได้ข้อมูลครบถ้วน ถูกต้องตามสภาพความเป็นจริงที่สุด จัดส่งหน่วยงานต้น
สังกัด จำนวน ๑ เล่ม ภายในวันท่ี ๑๐ เมษายน ๒๕๖๕ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความเรียบร้อย อันจะยัง
ส่งผลให้เปน็ ไปตามทศิ ทางและวัตถปุ ระสงค์การพัฒนาการศกึ ษาสู่มาตรฐานการศึกษาตอ่ ไป

ทัง้ นี้ ตง้ั แต่บัดนีเ้ ป็นต้นไป
สั่ง ณ วนั ท่ี 30 เดอื นมนี าคม พ.ศ.๒๕๖๕

(ลงชอ่ื )

(นายสธุ ี ศรเี ครอื ดำ)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นเชอื้ เพลิง

๖๖

คำส่งั โรงเรยี นบ้านเชือ้ เพลงิ
ที่ ๑๐ / 256๕

เรอ่ื ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา สำหรบั จดั ทำรายงานประจำปี 256๔
(Self Assessment Report : SAR) และรองรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก

ตามพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 กำหนดให้สถานศกึ ษาต้องมีการประเมินภายใน

และจัดทำรายงานเป็นประจำทุกปี และเปิดเผยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชนได้รับทราบ ดังน้ัน

โรงเรียนจึงต้องจัดทำรายงานประจำปี (Self Assessment Report : SAR) ซึ่งเป็นการสื่อสารให้ผู้เรียน

ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบถึงความก้าวหน้าและผลการดำเนินงานจัดการศึกษาตาม

มาตรฐานคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ โดยยึดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ สพฐ.กำหนด

ประกอบดว้ ยมาตรฐาน 4 ด้าน ไดแ้ ก่ คณุ ภาพของผเู้ รยี น กระบวนการบริหารและการจดั การของผูบ้ รหิ าร

สถานศกึ ษา กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในท่ี

มีประสิทธิผล เพื่อให้การประเมินคุณภาพภายการศึกษา สำหรับจัดทำรายงานประจำปี (Self Assessment

Report : SAR) และรองรบั การประเมินภายนอก เป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย โรงเรยี นจงึ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ

ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา ดงั น้ี

๑. นายสุธี ศรีเครอื ดำ ผู้อํานวยการโรงเรียนบา้ นเชือ้ เพลงิ ประธานกรรมการ

๒. นายสทิ ธิชยั ดุมกลาง ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๓. นางประภา ใจเสง่ียม ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๔. นายสรุ พงษ์ ชนะเลิศ ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๕. นางสนุ ันทา ถอื คุณ ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๖. นางสาวกติ ิยา ผวิ จนั ทร์ ครูชำนาญการ กรรมการ

๗. นางฐติ ิมา บุญสยุ า ครู กรรมการ

๘. นางสาววิลาวัลย์ ดวงเวา ครู กรรมการ

๙. นางสาวรงุ่ ศริ ิ อบอุ่น ครูผชู้ ว่ ย กรรมการ

๑๐. นางสาวจำลอง ศรกลา้ พนักงานราชการ กรรมการ

๑๑. นางสาวชลธิชา ยวงทอง ครูอัตราจา้ ง กรรมการ

๑๒. นายพชิ ยสทุ ธ์ ดมุ กลาง ครอู ตั ราจา้ ง กรรมการ

๑๓. นางสาวมัชฌมิ าภคั คงคาชนะครอู ตั ราจา้ ง กรรมการ

1๔. นางอไุ ร หมายจนั ทร์ ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร

1๕. นางสาววชิรญา ดียิ่ง ธุรการโรงเรยี น กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

ทั้งนี้ขอให้บุคลากรทีได้รับแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าที่อย่างเคร่งครัด เพื่อให้เกิดความเรียบร้อยตาม
วตั ถปุ ระสงค์ และเกดิ ผลดีตอ่ ทางราชการตอ่ ไป

สงั่ ณ วนั ท่ี ๓1 มนี าคม พ.ศ.256๕
ลงช่อื
(นายสธุ ี ศรีเครอื ดำ)

ผอู้ ำนวยการโรงเร่ยี นบา้ นเชอ้ื เพลิง

๖๗

บันทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรียนบา้ นเชอื้ เพลงิ อำเภอปราสาท จังหวดั สรุ ินทร์

ท่ี 11 / 2565 วนั ท่ี 18 เมษายน พ.ศ. 2565

เรือ่ ง ประกาศมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

เรยี น ประธานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานโรงเรียนบ้านเชอ้ื เพลงิ

การประชุมคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครั้งที่ 5 / 2564 เวลา 09.00 น. ณ ห้อง
ประชุม 60 ปี โรงเรียนบ้านเชื้อเพลิง วันที่ 18 เมษายน 2565 ได้พิจารณามาตรฐานการศึกษาระดับ
ปฐมวัย และระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ปีการศึกษา 2564 ซ่ึงประกอบดว้ ยมาตรฐานการศึกษาดงั น้ี

1) มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่
2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ รวม
ท้งั หมด 3 มาตรฐาน

2) มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพ ผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสำคัญ รวมทง้ั หมด 3 มาตรฐาน

เพื่อให้ประกาศมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้าน
เชื้อเพลิงได้เป็นแนวทางการในพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ซึ่ง
ส่งผลสู่การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการศึกษา และรายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัด รวมถึงการเผยแพร่ต่อ
สาธารณะชนต่อไป

จงึ เรยี นมาเพอ่ื ขอลงนามให้ความเห็นชอบประกาศมาตรฐานการศึกษาโรงเรียนบ้านเชอ้ื เพลิง

(นายสุธี ศรีเครอื ดำ)
ผู้อาํ นวยการโรงเรยี นบา้ นเชอ้ื เพลิง

๖๘

ความคิดเหน็ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาพน้ื ฐาน

...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

(นายสนับ ดำเนนิ งาม)
ประธานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

โรงเรยี นบ้านเชอ้ื เพลงิ

๖๙

ประกาศโรงเรียนบา้ นเชอื้ เพลงิ
เรื่อง การกำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดบั ปฐมวัยและระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

..................................................................................................
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และมาตรา 47
วรรคสองแห่ง พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ให้เปน็ ไปตามที่กำหนดในกฏกระทรวงการ
ประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2564 ลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 และประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง ให้ใช้ มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย ระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน และระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานศนู ย์การศึกษา พเิ ศษและโรงเรียนบา้ นเชื้อเพลิงประกาศใช้มาตรฐาน การศึกษาของ
สถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั และระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานจากการมีส่วนรว่ มของผู้เกี่ยวขอ้ ง ทง้ั บคุ ลากรทุก
คนในโรงเรยี น ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชนใหเ้ หมาะสมสอดคลอ้ งกนั เพ่อื นําไปสกู่ ารพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาตามมาตรฐานระดบั ปฐมวัยและระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
เพื่อให้การพัฒนาตรวจสอบและประเมินคุณภาพของสถานศึกษามีคุณภาพและได้มาตรฐาน
โรงเรยี นบ้านเช้อื เพลงิ จงึ กําหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตาม
เอกสารแนบทา้ ยประกาศน้ี

ประกาศ ณ วนั ที่ 1 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564

(นายสุธี ศรีเครอื ดำ)
ผู้อํานวยการโรงเรยี นบ้านเชอื้ เพลงิ

๗๐

บนั ทกึ การพจิ ารณาให้ความเห็นชอบเอกสาร
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ของโรงเรยี นบา้ นเชื้อเพลิง
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

..........................................
มติที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบา้ นเชื้อเพลิง เมื่อวันที่ 28 เมษายน
2565 ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564
ดว้ ยมติเป็นเอกฉนั ท์ใชร้ ายงานตอ่ หนว่ ยงานต้นสงั กัดและสาธารณชนได้

ลงชอ่ื
(นายสนบั ดำเนินงาม)

ประธานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
โรงเรียนบ้านเชอ้ื เพลิง

ลงชอ่ื
(นายสธุ ี ศรเี ครือดำ)

ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นเช้ือเพลงิ

๗๑

ปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นไดร้ ับเกยี รตบิ ัตร

1. โรงเรยี นบา้ นเชื้อเพลงิ ไดร้ บั รางวลั ระดบั เหรยี ญเงนิ ประเภทร้องเพลงเปน็ ทมี ระดบั ชั้น
ประถมศกึ ษาปที ่ี 3-6 โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาความสารถดา้ นภาษาไทยการอ่านจับใจความ
สูงสมรรถนะการอา่ นขั้นสงู ดว้ ยเทคนคิ เพลนิ เพลงวรรณกรรมภาษาศิลป์ทีบ่ รู ณาการการเรียนรู้
จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 มีนักเรียนที่ได้รับเกียรติ จำนวน 4
คน มรี ายชือ่ ดังน้ี
1.1 เด็กหญงิ ณฐั ธดิ า มีเรอื ง
1.2 เด็กหญิงพัทธนันท์ บญุ รอด
1.3 เด็กหญงิ ธฤดี โชติช่วง
1.4 เดก็ หญิงวสี ุดา ดบิ ประโคน

2. โรงเรียนบา้ นเชื้อเพลิงได้รองชนะอันดับ ๑ เหรียญทอง ผลงานนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคคิดเชื่อไวรักโคโรนา 2019 ระดับปฐมวัย ประเภท On-
Demand จากสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

3. โรงเรียนบา้ นเชอ้ื เพลิงได้ เหรยี ญเงนิ ผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคคิดเชือ่ ไวรักโคโรนา 2019 ระดับ ป.4-6 ประเภท On-Hand จากสำนักงาน
เขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 3 โดย นางสาววลิ าวัลย์ ดวงเวา

4. โรงเรียนบา้ นเช้อื เพลงิ ได้รบั เกียรตบิ ตั รผลิตสื่อการสอนประเภท VDO เพอื่ สง่ เสริมการจดั การ
เรียนรอู้ อนไลนใ์ นช่วงการแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั โควิด 19 โดย นางสาววลิ าวัลย์ ดวงเวา

5. โรงเรียนบ้านเชื้อเพลิง ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง ประเภทร้องเพลงเดี่ยวครูและบุคลากร
ทางการศึกษา โครงการส่งเสริมและพัฒนาความสารถด้านภาษาไทยการอ่านจับใจความสู่
สมรรถนะการอ่านขั้นสูงด้วยเทคนิคเพลินเพลงวรรณกรรมภาษาศิลป์ที่บูรณาการการเรียนรู้ โดย
นางสาวกิตติยา ผวิ จนั ทร์

6. โรงเรียนบ้านเชื้อเพลิง ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน ประเภทร้องเพลงเดี่ยวครูและบุคลากร
ทางการศึกษา โครงการส่งเสริมและพัฒนาความสารถด้านภาษาไทยการอ่านจับใจความสู่
สมรรถนะการอ่านขั้นสูงด้วยเทคนิคเพลินเพลงวรรณกรรมภาษาศิลป์ที่บูรณาการการเรียนรู้ โดย
นายสธุ ี ศรีเครอื ดำ

7. โรงเรียนบ้านเชื้อเพลิง ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน ประเภทร้องเพลงเดี่ยวครูและบุคลากร
ทางการศึกษา โครงการส่งเสริมและพัฒนาความสารถด้านภาษาไทยการอ่านจับใจความสู่
สมรรถนะการอ่านขั้นสูงด้วยเทคนิคเพลินเพลงวรรณกรรมภาษาศิลป์ที่บูรณาการการเรยี นรู้ โดย
นางสาววิลาวัลย์ ดวงเวา

8. โรงเรียนบ้านเช้ือเพลิง ได้รับรางวัลครผู ู้ฝกึ สอนนักเรยี นได้รับรางวลั ระดับเหรียญเงนิ ประเภทร้อง
เพลงเป็นทีมระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3-6 โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาความสารถด้านภาษาไทย
การอ่านจับใจความสูส่ มรรถนะการอา่ นขั้นสูงดว้ ยเทคนิคเพลินเพลงวรรณกรรมภาษาศลิ ปท์ ่บี ูรณา
การการเรยี นรู้ โดย นางสาววิลาวลั ย์ ดวงเวา

9. โรงเรียนบ้านเชื้อเพลิง ได้รับรางวัลนวัตกรรม Best Practice ผู้บริหารสถานศึกษาระดับ ดีมาก
โครงการคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมมาภิบาลในสถานศกึ ษา (โครงการโรงเรียนสจุ ริต) โดย
นายสุธี ศรีเครอื ดำ ผบู้ รหิ ารโรงเรียนบา้ นเช้อื เพลงิ


Click to View FlipBook Version