The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mkm2, 2022-07-04 04:08:43

รายงานอบรม

รายงานอบรม

กติ ติกรรมประกาศ

โครงการพัฒนาทกั ษะดิจทิ ลั และการเรียนรู้ มีวัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหค้ รผู สู้ อนในสงั กดั สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต ๒ มีทักษะด้านดิจิทัลและการเรียนรู้ สามารออกแบบการจัดการ
เรียนร้โู ดยใช้ทกั ษะดิจทิ ัลได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ผ้เู รียนได้รับการพฒั นาทกั ษะด้านดจิ ิทลั และใชค้ วามสามารถ
ด้านดิจิทัลในการเรยี นรู้ด้วยตนเองไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ และสถานศึกษามีการบริหารจัดการที่ดี ด้านดิจิทลั
พฒั นาการเรียนรู้

ขอขอบคุณผู้อำนวยการและรองผูอ้ ำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม
เขต ๒ ท่านศึกษานิเทศก์ทุกท่าน และขอขอบคุณคณะกรรมการฝ่ายประเมินและสรุปผลทุกท่านที่เสียสละ
เวลา กำลังกาย และกำลังใจ จนทำให้การประเมินโครงการคร้ังนส้ี ำเรจ็ ลลุ ่วงดว้ ยดี

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผลการประเมินและข้อเสนอแนะที่ได้รวบรวมด้วยความอุตสาหะนี้ นำไป
พฒั นาโครงการให้ได้ดังวัตถปุ ระสงคท์ ต่ี ้ังไว้ในโอกาสตอ่ ไป

คณะผจู้ ดั ทำ

สารบญั หนา้

กิตติกรรมประกาศ 1
บทท่ี 1 บทนำ 1
1
ความเป็นมาและความสำคัญของการประเมนิ โครงการ 2
วตั ถุประสงค์ของการประเมนิ โครงการ 3
ขอบเขตของการประเมินโครงการ 14
ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ ับ 14
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วข้อง 14
บทที่ 3 วธิ กี ารประเมินโครงการ 14
รปู แบบการประเมินโครงการ 14
วิธีการประเมนิ โครงการ 15
ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 16
เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการประเมินโครงการ 24
สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 24
บทท่ี 4 ผลการประเมินโครงการ 24
บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 24
วัตถปุ ระสงค์ของการประเมนิ โครงการ 25
ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 25
รปู แบบการประเมนิ โครงการ 26
ผลสรุป
อภปิ รายผล 27
ข้อเสนอแนะ
28
บรรณานกุ รม

ภาคผนวก

1

บทท่ี 1
บทนำ

๑. เหตุผลและความสำคญั
การพัฒนาการเรียนรู้ มุ่งเน้นผู้เรียนให้มีทกั ษะการเรียนรู้และมีใจใฝ่เรียนรูต้ ลอดเวลา มีการ

ออกแบบ ระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปลี่ยนบทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา และ
การพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต การวางพื้นฐานระบบรองรับการเรียนรู้โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม และ
การสร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ อีกทั้งยังให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการ
พัฒนาคนไทยมีทักษะด้านเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาต่อยอด การสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์การพัฒนา
ประเทศ และเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแขง็ ของประเทศ

การเปลี่ยนโฉมบทบาท "ครู" ให้เป็นครูยุคใหม่ โดยปรับบทบาทจาก "ครูสอน" เป็น "โค้ช" หรือ"
ผู้อำนวยการการเรียนรู้" ทำหน้าที่กระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจ แนะนำวิธีเรียนรู้และวิธีจัดระเบียบการสร้า
ความรู้ ออกแบบกิจกรรมและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน และมีบทบาทเป็ นนักวิจัยพัฒนา
กระบวนการเรียนรเู้ พอ่ื ผลสัมฤทธิ์ของผ้เู รยี น รวมทงั้ ปรบั ระบบการผลติ และพฒั นาครตู ้ังแตก่ ารดึงดูด คดั สรรผู้
มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครูคุณภาพ มีระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอย่างต่อเนื่อง
ครอบคลุมทั้งเงินเดือน เส้นทางสายอาชีพ การสนับสนุนสื่อการสอน และสร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน รวมถึงการพัฒนาครูที่มีความเชี่ยวชาญด้านการสอนมาเป็นผู้สร้างครูรุ่นใหม่
อย่างเปน็ ระบบ และวัดผลงานจากการพัฒนาผู้เรยี นโดยตรง

เพอื่ ให้การจดั การพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา โดยเฉพาะการพฒั นาดจิ ิทัลและการเรียนรู้ ของ
สถานศกึ ษาเกดิ ประสทิ ธภิ าพ และเป็นไปตามวตั ถุประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการและสำนกั งาน
คณะกรรมการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 จัดให้มกี าร
พัฒนาทักษะดิจิทัลและการเรียนรู้ ของโรงเรยี นในสังกัด และกำหนดให้มีการนิเทศ กำกับ และติดตามการ
ดำเนนิ การ การพัฒนาทักษะดิจิทลั และการเรยี นีรู้ ของสถานศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง

๒. วัตถุประสงคข์ องการประเมินโครงการ
1. ครูผูส้ อน ในสงั กดั สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 สามารถใช้

ทกั ษะดิจทิ ลั ในการออกแบบและจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
2. ผูเ้ รยี นได้รับการพฒั นาทักษะด้านดจิ ิทลั และใชค้ วามสามารถด้านดิจิทลั ในการเรยี นรู้ด้วยตนเองได้

อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
3. สถานศกึ ษามีการบริหารจัดการทด่ี ี ด้านดิจิทลั พฒั นาการเรยี นรู้

3. ขอบเขตของการประเมิน
๑. โรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2
๒. คณะครู ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น ผบู้ ริหารการศกึ ษา และศกึ ษานเิ ทศก์ สงั กัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศกึ ษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 2

2

๔. ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ ับ
1. ครผู ู้สอน ในสังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 สามารถใช้

ทักษะดจิ ิทัลในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
2. ผเู้ รียนไดร้ ับการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล และใช้ความสามารถด้านดิจิทัลในการเรียนรู้ด้วยตนเองได้

อยา่ งมีประสิทธิภาพ
3. สถานศกึ ษามีการบรหิ ารจัดการทดี่ ี ด้านดจิ ิทัลพัฒนาการเรียนรู้

3

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง

1. ยทุ ธศาสตร์ชาติ (แผนระดับที่ 1)
1) ยุทธศาสตรช์ าติ ดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์
(1) เปา้ หมาย คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถีชวี ิตในศตวรรษท่ี 21
(2) ประเดน็ ยุทธศาสตร์ การปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรู้ทต่ี อบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใน

ศตวรรษที่ 21
(3) การบรรลุเปา้ หมายตามยุทธศาสตรช์ าติ สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

มหาสารคาม เขต ๒ เปน็ หนว่ ยงานทางการศกึ ษา จัดต้งั ขนึ้ เพอ่ื สง่ เสริม สนับสนุน การบริการจัดการและ
พฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษาและกล่มุ นิเทศติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษามภี ารกิจหลกั คือการนเิ ทศ
การศึกษาวเิ คราะห์วจิ ยั ติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล การพฒั นาระบบการบริหารและการจัดการศึกษา
ของโรงเรียนในสงั กัดเพ่ือพฒั นาให้สถานศึกษามีความเข้มแขง็ ในการบริหารและการจัดการเรยี นการสอนได้
อยา่ งมีคณุ ภาพได้มาตรฐานเท่าเทียมกัน

ในประเทศท่ีพัฒนาแล้ว นักเรยี นบางคนสามารถสรา้ งนวตั กรรมไปสู่การใชง้ าน หรอื
จำหน่ายจรงิ ได้ซึง่ ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์เทคโนโลยี และนวัตกรรม เป็นทกั ษะทีส่ ำคัญมากสำหรบั การเรียนรู้
ทเ่ี สริมสร้างทักษะท่ีจำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 สูก่ ารพัฒนาประเทศไทยไปสูย่ คุ ของประเทศไทย ๔.0 ทนี่ ักเรยี น
จะต้องพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ ผ่านการเรยี นรูห้ ลากหลายรูปแบบ สร้างผลงานเชนิ วตั กรรมจากจินตนาการ
สกู่ ารปฏิบตั ิ เพ่ือสร้างเป็นตน้ แบบหรอื แบบจำลอง หรอื ชน้ิ งานจรงิ โดยแนวคดิ การสร้างสงิ่ ตา่ ง ๆ อาจมาจาก
เร่ืองพื้นฐานไปสเู่ ร่ืองท่ตี ้องเน้นทกั ษะอาชพี สามารถคิดเพิ่มมูลคา่ ของผลงานทีไ่ ด้ ผ่านการขับเคล่ือนด้วย
ทกั ษะดจิ ิทัลและการเรยี นรู้ ซ่ึงการจดั การเรียนรู้ทที่ ำให้นักเรียนเกิดสมรรถนะสำคัญดังกลา่ ว จำเปน็ ตอ้ ง
พัฒนานกั เรยี นให้มีทักษะด้านดจิ ทิ ัล และมโี อกาสฝึกฝนและใชง้ านส่ือ และอุปกรณ์จรงิ รวมท้ังมโี อกาสข้าร่วม
นำเสนอ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ เพ่ือจะได้มปี ระสบการณ์และแนวคดิ ใหมๆ่ ในการพฒั นาทักษะดิจิทัล เพือ่ การ
พฒั นานวัตกรรม โดยมีครผู สู้ อนเป็นผใู้ หค้ ำปรึกษาและอำนวยความสะดวกในการใช้สอื่ อปุ กรณ์ และสง่ิ
อำนวยความสะดวกอื่น ๆ

2. แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับท่ี 2)
1) แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การพัฒนาการเรียนรู้
(1) เป้าหมายระดับประเด็นของแผนแม่บทฯ

เป้าหมาย คนไทยไดร้ ับการศึกษาท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐาน มที กั ษะการเรียนรู้ และทักษะท่ีจำเปน็ ของโลก
ศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการรูเ้ รียนอยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวิต

“การจดั การศึกษาเปน็ เรื่องสำคัญในการพัฒนาประเทศ เพื่อสรา้ งประชาชนให้มีความรู้
ความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ ค่านิยมและคุณธรรมของบคุ คล เพ่ือใหเ้ ป็นพลเมืองท่ีดีและมีคุณภาพ...”
ดังนนั้ คุณภาพการศึกษาจงึ สะท้อนถึงคุณภาพของคนที่เป็นผลิตผลของการจัดการศึกษา การจัดการศึกษาจึง
ตอ้ งพัฒนาอยา่ งไม่หยุดย้ัง การพฒั นาทักษะดิจิทลั และการเรียนรู้ ในหน่วยงานและบคุ ลากร เป็นตัวชีว้ ัดหนึ่ง
ทสี่ ามารถยกระดับคุณภาพการศึกษา และพัฒนาใหเ้ ปน็ คนเกง่ คนดี มีความสมบรู ณ์ ทั้งกายใจ และจติ
วญิ ญาณ สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 2 จึงต้องมีการเตรียมความพรอ้ ม
และพฒั นาทักษะดจิ ิทัลและการเรยี นรู้ ให้กบั โรงเรยี นในสังกัด เพ่ือให้เกิดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นท่สี ูงข้ึน

4

แนวทางการพฒั นา สพป.มหาสารคาม เขต 2 ดำเนินการดงั นี้

1) จดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการการวางแผนคณะทำงาน จัดทำค่มู ือการฝกึ อบรม และการ
นิเทศ กำกบั ติดตาม การพฒั นาดิจทิ ลั และการเรียนรู้

2) นเิ ทศ กำกับตดิ ตาม การพฒั นาดิจทิ ัลและการเรียนรู้ อยา่ งต่อเน่อื ง
* เป้าหมายของแผนยอ่ ย

คนไทยได้รับการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน มที กั ษะดิจทิ ัลและการเรียนรู้ ทักษะทีจ่ ำเปน็ ของ
โลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถงึ การรูเ้ รยี นอย่างต่อเนื่องตลอดชวี ติ
* การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ

สพป.มหาสารคาม เขต 2 ขา้ ราชการครแู ละบุคลากร ในโรงเรียนในสงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ี
การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ไดร้ ับการพฒั นาทกั ษะดจิ ทิ ลั และการเรียนรู้

3. แผนการปฏริ ปู ประเทศ (แผนระดบั ท่ี 2)

1) เร่อื ง/ประเดน็ การปฏิรูป ด้านการศึกษา
2) ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน สพป.มหาสารคาม เขต 2 ดำเนินงานตามขัน้ ตอน ดงั นี้

2.1 จดั ประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ารการวางแผนคณะทำงาน จัดทำค่มู ือการฝึกอบรม และการ
นิเทศ กำกับตดิ ตาม การพัฒนาดิจทิ ัลและการเรยี นรู้

2.2 นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม การพฒั นาดจิ ทิ ัลและการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง
3) เปา้ หมายกจิ กรรม
ครูผู้สอนในสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2

4. จุดเนน้ กระทรวงศกึ ษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
จุดเนน้ ท่ี 2 การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ
- พฒั นาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบคุ ลากรกระทรวงศึกษาธกิ ารให้มคี วามพร้อมใน

การปฏบิ ัติงานรองรับความเป็นรฐั บาลดิจทิ ัลอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจัดให้มศี นู ย์พัฒนาสมรรถนะบุคลากร
ระดบั จงั หวดั ทวั่ ประเทศ

จดุ เนน้ ท่ี 6 การปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ
- พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการและพฒั นากำลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ ใหส้ อดคล้องกับการ
ปฏิรูปองคก์ าร

5. นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
นโยบายที่ 3 ดา้ นคุณภาพ
3.1 สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาให้ผู้เรยี นมคี วามรูแ้ ละทักษะในตวรรษที่ 21 อยา่ งครบถว้ น มี

ความรกั ในสถาบันหลักของชาติ ยดื มั่นในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข มี
ทัศนคติทดี่ ตี อ่ บา้ นเมือง มีพืน้ ฐานชีวิตที่ดี มคี ณุ ธรม จริยธรรม เป็นพลเมืองดขี องชาตแิ ละเป็นพลโลก

3.2 พฒั นาความสามารถของผเู้ รียนใหม้ สี มรรถนะด้านการอา่ นและคณติ ศาสตร์ ทกั ษะการคดิ
ข้ันสูงและนวตั กรม วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยดี ิจิทลั ภาษาตา่ งประเทศ เพื่อการแข่งขันและเพื่อเป็น ช่องทาง
ในการเลอื กศึกษาต่อเพอ่ื การมงี านทำ เปน็ พื้นฐานประกอบอาชพี ตามความต้องการและความถนัดของผ้เู รียน

3.3 พัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรยี นการสอน โดยใช้ส่อื และเทคโนโลยีดิจทิ ัล ทมี่ ี

5
ความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับหลักสูตรและความจำเป็นของสถานศึกษาและผูเ้ รียน เน้นการจดั การเรยี นรู้
แบบ Active earning ใหก้ ับผเู้ รยี นในทกุ ระดับช้ัน รวมท้งั ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ทส่ี ร้างสมดุลทุกดา้ น เพื่อ
รองรบั การจัดการศึกษาแบบพหุปญั ญา มีการวัดและประเมินผล เพอื่ สะท้อนสมรรถนะของผเู้ รยี นทุกระดับ
ตามบรบิ ทของสถานศึกษา เพื่อตอบสนองทักษะทจี่ ำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑

3.4 พฒั นาครใู หเ้ ปน็ ครยู ุคใหม่ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ไดด้ มี ีความรู้ความสามารถ ในการ
ใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล สามารถจดั การเรียนการสอนให้ทนั ต่อสถานการณ์ทเี่ ปล่ียนแปลง มีการพฒั นาตนเอง ทาง
วิชาชพี อย่างตอ่ เนอ่ื ง รวมทั้งมจี ิตวิญญาณความเปน็ ครู

แผนงาน พ้นื ฐานด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์
6. การสร้างห้องเรียน on facebook
1. เขา้ ไปทเี่ ฟซบุ๊กแลว้ คลกิ ท่ีปมุ่ สรา้ ง ดา้ นบนมุมขวา

2. มใี หเ้ ลือกสรา้ งเพจกับกลุ่ม ในทีน่ ้ีแนะนำใหส้ รา้ ง กลุ่ม กดทหี่ มายเลข 2 กลมุ่

3. ต้งั ช่ือกลมุ่
4.เลือกความเปน็ สว่ นตัวในท่ีนี้แนะนำให้เปน็ สว่ นตัวนะคะ หรอื จะตง้ั เปน็ สาธารณะ

6

5.ช่ือกลมุ่ จะปรากฎขึ้นที่มุมบนด้านซ้าย สามารถเปล่ยี นช่อื กลุ่มและต้ังคา่ รปู ภาพตา่ งๆได้
6.เปลยี่ นรูปหัวโปรไฟล์
7. ปมุ่ เพิ่มเติมในการตัง้ ค่าตา่ งๆ สามารถเชญิ สมาชกิ แกไ้ ขสง่ิ ตา่ งๆ

7
7. การสรา้ ง/ตดั ต่อวดิ ีโออย่างง่าย

โปรแกรม Kinemaster เปน็ แอฟพิเคช่นั บนมือถือ ใชง้ านได้ทัง้ IOS, Android
1. ดาวน์โหลดและติดต้งั โปรแกรมกนั ก่อนเลยครับ พิมพ์ช่ือโปรแกรมเขาเลย Kinemaster ใน App Store

2. มาเรม่ิ สรา้ งวดี ีโอกนั เเลย จากนัน้ เปิดโปรแกรม ขน้ึ มาจะเหน็ หน้าตาแบบนี้

▪ ให้เราเลือก สรา้ งโปรเจคงาน ปุ่มเครอ่ื งหมายบวก ตามกรอบสีแดง
▪ จะเขา้ มาหน้าทใี่ หเ้ ราเลือก ขนาดของวดี ีโอตามสดั ส่วนท่ีเราต้องการหรือทเ่ี ราถา่ ยมา แนวตั้งและ

แนวนอน
▪ จากนั้นให้เราเลอื กขนาดวีดโี ที่เราเตรยี มมา (ตัวอยา่ งผมเปน็ แบบ 16:9)

8

3. เลือกวดี ีโอจากมือถือเพ่ือตัดต่อ
▪ เลือกเคร่ืองมือ “มีเดยี ” เพอ่ื จะนำไฟล์วีดโี อมาตดั ตอ่

▪ เลือกไฟล์เมนู “วดี โี อ”
▪ เลือกไฟล์วีดโี อทตี่ ้องการ เราสามารถเลอื กไดห้ ลายๆไฟล์พร้อมกนั
▪ จากนั้นให้กด “เคร่ืองหมายกถกู ”
* แนะนำในส่วนเนื้อหาตรงน้ี สำหรบั ใครทมี่ ไี ฟลว์ ดี โี อจากท่ีอืน่ หรอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ระบบ iOs ไมส่ ามารถท่จี ะนำเขา้ ไฟล์
โดยการเสยี บ USB แบบตรงๆได้

9

4. การใส่ตวั หนังสือ และเสยี งเพลง
▪ เลือกที่ “เลเยอร”์
▪ กดปุ่มตัว T เพอ่ื พิมพ์ตวั อักษร

▪ พิมพต์ ัวอักษร หวั ขอ้ เร่ืองของวดี โี อนั้นไดเ้ ลย

10
*ใส่เสียงเพลงกันครบั ในโปรแกรม Kinemaster จะมไี ฟลเ์ สียงเพลง ฟรมี าให้ในโปรแกรมใหเ้ ราเลอื กเข้ากับ
สไตล์วีดโี อไดเ้ ลย

▪ กดท่ีไอคอน “เสยี ง” เพื่อเลือกเพลง
▪ เลือกทปี่ ุ่ม “คลงั เพลง”
▪ เลอื กเสียงเพลงท่ตี ้องการ เราสามารถกดท่ชี อ่ื เพลงแล้วจะมีเสียง Preview เพอ่ื ฟงั ก่อน
▪ จากนนั้ กด “เครื่องหมายบวก” เพอื่ แทรกเพลงลงบนวดี ีโอ

* เม่อื เราเพลงเสร็จแล้วจะได้ตามรปู ท่เี หน็ Layer ของเพลงเรายังสามารถทจี่ ะลดหรือเพ่ิมเสยี งเพลงได้ โดยท่ี
ไมร่ บกวนเสยี งในวีดีโอ

▪ เลือกไอคอนรปู เสยี ง “มิกเซอร”์
▪ ปรบั ระดับเสียงไดต้ ามต้องการ

11

5. การตดั /แยกส่วนวดี โี อ
▪ เลอื ก Layer วีดีโอ ถา้ การทำงานอยู่บน Layer น้ัน สังเกตุง่ายๆจะมเี สน้ สีเหลืองท่ขี อบ

ในส่วนนเี้ ราสามารถเลอื กรูปแบบการตัดแยกได้

“ตดั ไปทางซ้ายของหัวอา่ น” หมายความวา่ เอาฝั่งซ้ายระหว่างเสน้ หวั อ่านทมี่ ตี ัวเลขเวลา ออกไป จะ
ไม่เอาฝั่งซ้าย

12
▪ “ตัดไปทางขวาของหัวอา่ น ” เหมอื นกนั ครบั ฉนั จะไมเ่ อาฝ่ังขวานะ
▪ “แยกที่หวั อ่าน” หมายความวา่ แยกทั้งสองฝั่งออกจากกัน
▪ “แยกและแทรกเฟรมภาพนิ่ง” หมายความว่า แยกทง้ั สองออกแลว้ ก็แทรกภาพนิ่งท่ไี ด้จากการ

ScreenShot ของโปรแกรม แทนเข้าไป 5 วนิ าที
ในสว่ นของ Layer เพลงและตวั อักษร ก็ใชห้ ลกั การเดยี วกันนะคับ

6. แทรกรปู ภาพ อีก Layer ในวีดโี อ
▪ เลอื กที่ไอคอน “เลเยอร์”
▪ เลือกที่ มีเดยี รูปไอคอน รปู ภาพ/วีดโี อ

▪ เลือกมเมนรู ูปภาพ หรือวดี ีโอก็ได้
▪ เลือกไฟล์รปู ที่ต้องการแทรก
▪ กดเคร่ืองหมายถกู

13

7. การส่งออกวีดีโอ หรอื การนำไปใช้ Export Video
▪ กดทป่ี ่มุ ลูกศร สง่ ออกมมุ ขวาบน

14

บทที่ 3
วิธีการประเมินโครงการ

รูปแบบการประเมนิ โครงการ
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดกรศึกษาดำเนินการประเมินโครงการพัฒนาทักษะดิจิทัล

และการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานงานเขตพท้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 โดยใช้รูปแบบ
ออนไลน์ ผ่านระบบ Google Meet ให้สามารออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะดิจิทัลได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

วธิ กี ารประเมินโครงการ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากร ได้แก่ ผู้ครูผู้สอนในสังกดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2
จำนวน 221 โรงเรยี น ผ้บู รหิ ารโรงเรียน ผบู้ ริหารการศกึ ษา และศึกษานเิ ทศก์ สังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 2

เครือ่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมินโครงการ
แบบนิเทศตดิ ตาม การดำเนนิ งานของโครงการพัฒนาทักษะดิจทิ ลั และการเรียนรู้ สังกดั สำนกั งานเขต

พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 โดยรูปแบบออนไลน์ ผ่านระบบ Google meet โดยแบ่งเปน็
4 ดา้ น คือ

1. ดา้ นเนื้อหาการอบรม
1.1 เนอ้ื หาการอบรมสอดคล้องกับความต้องการ
1.2 เนอื้ หาการอบรมมีรายละเอียดชัดเจน
1.3 เนือ้ หามีลำดบั ทตี่ อ่ เนอ่ื ง เช่อื มโยงกนั

2. ดา้ นกระบวนการฝกึ อบรม
2.1 คณุ ภาพการนำเสนอเนอ้ื หาของวทิ ยากรในการฝึกอบรม
2.2 การมีสว่ นร่วมของผูเ้ ข้ารับการอบรม
2.3 กระบวนการฝกึ อบรมมีความเหมาะสม
2.4 กจิ กรรมทใี่ ชใ้ นการฝึกอบรมมีความเหมาะสม
2.5 การใชเ้ ทคโนโลยเี ข้ามาช่วยในการอบรมและส่งงาน

3. ด้านประโยชน์ที่ได้รบั
3.1 สามารถนำไปเปน็ แนวทางการสอนในชั้นเรยี น
3.2 สามารถนำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปประยุกตใ์ ช้ในการปฏบิ ัตงิ านอื่นๆ
3.3 สามารถนำความรู้จากการอบรมไปขยายผล

4. การให้ความร่วมมอื ความประทับใจและข้อสนอแนะ
4.1 มคี วามเอาใจใส่ ดูแลผูเ้ ข้ารบั การอบรม
4.2 เปิดโอกาสให้ผู้เขา้ รบั การอบรมฝึกปฏิบตั ิ
4.3 เปดิ โอกาสให้ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมซักถาม
4.4 วิทยากรตอบคำถามไดช้ ดั เจน เป็นทีเ่ ขา้ ใจ

15

สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู
ผู้ประเมินได้นำข้อมูลจากนิเทศ ตดิ ตามการดำเนินงานของโครงการพฒั นาทักษะดิจิทัลและการเรียนรู้

สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 2 โดยรูปแบบออนไลน์ ผา่ นระบบ

Google meet ใช้คา่ เฉล่ีย ( x ) และร้อยละ โดย
กำหนดค่าคะแนนจากแบบนิเทศ ตดิ ตามการดำเนนิ งาน เป็น 5 ระดบั คือ
๕ หมายถงึ พึงพอใจมากที่สดุ คา่ เฉลี่ย 4.51-5.00

๔ หมายถึง พงึ พอใจมาก ค่าเฉลย่ี 3.51-4.50

๓ หมายถงึ พึงพอใจปานกลาง ค่าเฉลี่ย 2.51-3.50

๒ หมายถงึ พึงพอใจนอ้ ย ค่าเฉลย่ี 1.51-2.50

๑ หมายถงึ พึงพอใจนอ้ ยที่สดุ คา่ เฉล่ีย 0.00-1.50

16

บทท่ี 4
ผลการประเมินโครงการ

การนำเสนอผลการประเมินโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการได้นำเสนอผลการประเมนิ โครงการ ดังน้ี
ผลการประเมนิ และวิเคราะห์ผลโครงการพัฒนาทักษะดจิ ทิ ัลและการเรียนรู้ สังกดั สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา

ประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 2 โดยรปู แบบออนไลน์ ผ่านระบบ Google meet ดงั นี้
1. ดา้ นเนื้อหาการอบรม
1.1 เนื้อหาการอบรมสอดคล้องกบั ความต้องการ
1.2 เนื้อหาการอบรมมรี ายละเอยี ดชัดเจน
1.3 เนื้อหามีลำดบั ท่ตี อ่ เนื่อง เช่อื มโยงกนั
2. ดา้ นกระบวนการฝกึ อบรม
2.1 คุณภาพการนำเสนอเน้ือหาของวิทยากรในการฝกึ อบรม
2.2 การมสี ว่ นร่วมของผูเ้ ขา้ รับการอบรม
2.3 กระบวนการฝกึ อบรมมีความเหมาะสม
2.4 กิจกรรมทีใ่ ชใ้ นการฝึกอบรมมคี วามเหมาะสม
2.5 การใช้เทคโนโลยเี ขา้ มาช่วยในการอบรมและส่งงาน
3. ดา้ นประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ
3.1 สามารถนำไปเป็นแนวทางการสอนในช้นั เรยี น
3.2 สามารถนำความรู้ทีไ่ ดไ้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานอ่ืนๆ
3.3 สามารถนำความร้จู ากการอบรมไปขยายผล
4. การใหค้ วามร่วมมอื ความประทบั ใจและข้อสนอแนะ
4.1 มีความเอาใจใส่ ดแู ลผู้เข้ารับการอบรม
4.2 เปิดโอกาสให้ผู้เขา้ รับการอบรมฝกึ ปฏบิ ตั ิ
4.3 เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ข้ารบั การอบรมซักถาม
4.4 วทิ ยากรตอบคำถามได้ชัดเจน เป็นทีเ่ ขา้ ใจ

17

การใช้งาน Google Workspace

1. ดา้ นเน้อื หาการอบรม

ตารางที่ 1

ระดับความพงึ พอใจ

รายละเอยี ด 543 2 1N ̅ รอ้ ยละ แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย

ท่สี ุด กลาง ท่สี ดุ

1.1 เนอ้ื หาการอบรม 102 40 0 0 0 142 4.71 94.36 มาก

สอดคล้องกับความ ที่สดุ

ต้องการ

1.2 เนอ้ื หาการอบรมมี 120 22 0 0 0 142 4.84 96.90 มาก
ทส่ี ดุ
รายละเอยี ดชดั เจน
0 142 4.72 94.50 มาก
1.3 เนอื้ หามลี ำดับท่ี 103 39 0 0 ทส่ี ดุ

ตอ่ เนอ่ื ง เช่อื มโยงกัน

จากตารางท่ี ๑ พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 142 คน มคี วามพึงพอใจดา้ นเน้ือหาการอบรม
อยู่ในระดับความพึงพอใจมากทส่ี ุด ในเรื่องเนื้อหาการอบรมสอดคลอ้ งกบั ความต้องการ เนื้อหาการอบรมมี
รายละเอยี ดชดั เจน และเนอ้ื หามีลำดับทตี่ ่อเน่อื ง เชือ่ มโยงกัน

2. ด้านกระบวนการฝึกอบรม

ตารางท่ี ๒

ระดับความพงึ พอใจ

รายละเอียด 5 4 3 2 1 N ̅ ร้อยละ แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ท่ีสุด กลาง ทส่ี ุด

2.1 คณุ ภาพการ 100 42 0 0 0 142 4.67 92.95 มากทส่ี ดุ

นำเสนอเน้ือหาของ

วิทยากรในการ

ฝึกอบรม

2.2 การมีสว่ นรว่ ม 92 48 2 0 0 142 4.59 91.83 มากทส่ี ดุ

ของผ้เู ข้ารับการอบรม

2.3 กระบวนการ 101 40 1 0 0 142 4.68 93.66 มากที่สดุ

ฝึกอบรมมคี วาม

เหมาะสม

2.4 กิจกรรมที่ใช้ใน 99 40 3 0 0 142 4.61 92.25 มากทีส่ ดุ

การฝกึ อบรมมคี วาม

เหมาะสม

2.5 การใชเ้ ทคโนโลยี 120 22 0 0 0 142 4.84 96.90 มากที่สุด

เข้ามาช่วยในการ

อบรมและส่งงาน

18

จากตารางที่ ๒ พบว่า ผู้เขา้ รับการอบรมจำนวน 142 คน มคี วามพึงพอใจด้านกระบวนการ
ฝกึ อบรม อยู่ในระดบั ความพึงพอใจมากที่สุด ในเร่ือง คุณภาพการนำเสนอเน้ือหาของวิทยากรในการฝึกอบรม
การมสี ว่ นรว่ มของผู้เขา้ รบั การอบรม กระบวนการฝึกอบรมมคี วามเหมาะสม กิจกรรมท่ีใช้ในการฝึกอบรมมี
ความเหมาะสม และการใช้เทคโนโลยเี ข้ามาช่วยในการอบรมและส่งงาน

3. ด้านประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั

ตารางท่ี 3

ระดับความพงึ พอใจ

รายละเอียด 543 2 1 N ̅ ร้อยละ แปลผล

มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย

ที่สุด กลาง ทส่ี ุด

3.1 สามารถนำไป 100 42 0 0 0 142 4.64 92.95 มาก
ที่สุด
เปน็ แนวทางการสอน

ในช้ันเรียน

3.2 สามารถนำ 130 12 0 0 0 142 4.91 98.30 มาก
ความรู้ท่ไี ด้ไป ท่สี ุด

ประยุกต์ใชใ้ นการ

ปฏบิ ัตงิ านอ่ืนๆ

3.3 สามารถนำ 100 20 22 0 0 142 4.08 81.69 มาก

ความรจู้ ากการอบรม

ไปขยายผล

จากตารางที่ ๓ พบว่า ผู้เขา้ รับการอบรมจำนวน 142 คน มีความพึงพอใจด้านประโยชนท์ ่ีได้รับ อยู่
ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด ในเรือ่ ง สามารถนำไปเปน็ แนวทางการสอนในช้นั เรยี น สามารถนำความรู้ทีไ่ ด้
ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ัติงานอ่ืน ๆ และมีความพงึ พอใจระดบั มาก ในเรื่องสามารถนำความรู้จากการอบรม
ไปขยายผล

19

4. การใหค้ วามร่วมมือ ความประทบั ใจและข้อสนอแนะ

ตารางที่ 4

ระดับความพงึ พอใจ

รายละเอียด 5 4 3 2 N1 ̅ รอ้ ยละ แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย

ทส่ี ุด กลาง ท่สี ุด

4.1 มีความเอาใจใส่ 115 27 0 0 0 142 4.80 96.19 มาก
ท่ีสดุ
ดูแลผเู้ ขา้ รับการอบรม

4.2 เปดิ โอกาสให้ผู้ 120 22 0 0 0 142 4.84 96.90 มาก
ทสี่ ดุ
เขา้ รบั การอบรมฝึก

ปฏิบตั ิ

4.3 เปิดโอกาสใหผ้ ู้ 130 12 0 0 0 142 4.91 98.30 มาก
ทส่ี ดุ
เขา้ รับการอบรม

ซกั ถาม

4.4 วิทยากรตอบ 140 2 0 0 0 142 4.98 99.71 มาก
ท่ีสดุ
คำถามได้ชัดเจน เปน็

ที่เข้าใจ

จากตารางท่ี 4 พบวา่ ผู้เขา้ รบั การอบรมจำนวน 142 คน มีความพึงพอใจดา้ นการให้ความรว่ มมอื

ความประทับใจและขอ้ สนอแนะ อยู่ในระดับความพงึ พอใจมากท่สี ดุ ในเรื่อง มีความเอาใจใส่ ดแู ลผเู้ ขา้ รบั การ
อบรม เปิดโอกาสให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมฝึกปฏบิ ตั ิ เปดิ โอกาสให้ผูเ้ ข้ารบั การอบรมซักถาม และวิทยากรตอบ

คำถามได้ชดั เจน เปน็ ที่เข้าใจ

การสร้างหอ้ งเรียน on facebook

1. ดา้ นเนอ้ื หาการอบรม

ตารางที่ 5

ระดบั ความพงึ พอใจ

รายละเอยี ด 543 2 N1 ̅ ร้อยละ แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ที่สุด
ท่สี ดุ กลาง 0 97 4.84 96.90 มาก

1.1 เนอ้ื หาการอบรม 82 15 0 0 ที่สดุ

สอดคลอ้ งกบั ความ 0 97 4.90 98.14 มาก
ทส่ี ดุ
ตอ้ งการ
0 97 4.82 96.49 มาก
1.2 เน้ือหาการอบรมมี 88 9 0 0 ทส่ี ุด

รายละเอียดชดั เจน

1.3 เนอ้ื หามลี ำดับที่ 80 17 0 0

ตอ่ เนือ่ ง เชอ่ื มโยงกัน

20

จากตารางท่ี 5 พบวา่ ผู้เข้ารบั การอบรมจำนวน 97 คน มคี วามพงึ พอใจดา้ นดา้ นเน้ือหาการอบรม
อยู่ในระดบั ความพึงพอใจมากท่ีสุด ในเร่อื ง เนื้อหาการอบรมสอดคล้องกบั ความต้องการ เน้อื หาการอบรมมี
รายละเอียดชดั เจน และเน้ือหามลี ำดับทีต่ ่อเน่อื ง เช่อื มโยงกัน

2. ด้านกระบวนการฝึกอบรม

ตารางที่ 6

ระดบั ความพงึ พอใจ

รายละเอียด 5 4 3 2 N1 ̅ รอ้ ยละ แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย

ทสี่ ุด กลาง ทีส่ ดุ

2.1 คณุ ภาพการนำเสนอ 90 7 0 0 0 97 4.92 98.55 มาก

เนอื้ หาของวิทยากรใน ที่สุด

การฝึกอบรม

2.2 การมสี ่วนรว่ มของผู้ 80 17 0 0 0 97 4.82 96.49 มาก

เข้ารบั การอบรม ท่ีสดุ

2.3 กระบวนการ 92 5 0 0 0 97 4.94 98.96 มาก

ฝึกอบรมมีความ ท่ีสุด

เหมาะสม

2.4 กจิ กรรมทีใ่ ช้ในการ 87 10 0 0 0 97 4.89 97.93 มาก

ฝึกอบรมมีความ ทสี่ ุด

เหมาะสม

2.5 การใชเ้ ทคโนโลยเี ขา้ 81 16 0 0 0 97 4.83 96.70 มาก

มาช่วยในการอบรมและ ท่ีสุด

สง่ งาน

จากตารางท่ี 6 พบว่า ผู้เขา้ รับการอบรมจำนวน 97 คน มคี วามพึงพอใจด้านกระบวนการฝกึ อบรม

อยู่ในระดบั ความพึงพอใจมากท่ีสุด ในเรอ่ื งคณุ ภาพการนำเสนอเนื้อหาของวิทยากรในการฝกึ อบรม การมสี ว่ น

รว่ มของผเู้ ข้ารับการอบรม กระบวนการฝกึ อบรมมีความเหมาะสม กจิ กรรมที่ใชใ้ นการฝึกอบรมมีความ

เหมาะสมและการใช้เทคโนโลยเี ข้ามาช่วยในการอบรมและสง่ งาน

21

3. ด้านประโยชน์ทไ่ี ด้รบั
ตารางท่ี 7

ระดับความพึงพอใจ

รายละเอยี ด 5 43 2 N1 ̅ ร้อยละ แปลผล
มาก
3.1 สามารถนำไปเปน็ ทสี่ ดุ มาก ปาน น้อย นอ้ ย
แนวทางการสอนในช้นั 90 ทีส่ ุด
เรียน กลาง 0 97 4.92 98.55 มาก
3.2 สามารถนำความรู้ 88
ท่ีได้ไปประยุกต์ใชใ้ น 70 0 ทีส่ ดุ
การปฏิบัตงิ านอื่นๆ 80
3.3 สามารถนำความรู้ 90 0 0 97 4.90 98.14 มาก
จากการอบรมไปขยาย ท่ีสุด
ผล 17 0 0
0 97 4.82 96.49 มาก
ที่สุด

จากตารางที่ 7 พบวา่ ผู้เขา้ รับการอบรมจำนวน 97 คน มีความพงึ พอใจด้านประโยชน์ที่ได้รบั
อยู่ในระดับความพงึ พอใจมากท่ีสุด ในเร่อื งสามารถนำไปเป็นแนวทางการสอนในชัน้ เรยี น สามารถนำความรูท้ ี่

ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานอนื่ ๆ และสามารถนำความรูจ้ ากการอบรมไปขยายผล

การสร้าง/ตัดตอ่ วิดโี อ อยา่ งงา่ ย เป็นอยา่ ง

1. ดา้ นเนอ้ื หาการอบรม

ตารางที่ 8

ระดับความพึงพอใจ

รายละเอยี ด 543 2 N1 ̅ รอ้ ยละ แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ทสี่ ดุ
ทส่ี ุด กลาง 0 80 4.97 99.50 มาก

1.1 เนื้อหาการอบรม 78 2 0 0 ท่สี ุด

สอดคล้องกับความ 0 80 4.87 97.50 มาก
ทส่ี ดุ
ต้องการ
0 80 4.88 97.75 มาก
1.2 เนื้อหาการอบรมมี 70 10 0 0 ที่สดุ

รายละเอียดชดั เจน

1.3 เนอื้ หามลี ำดับท่ี 71 9 0 0

ตอ่ เน่ือง เชือ่ มโยงกัน

จากตารางท่ี 8 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 80 คน มีความพงึ พอใจด้านเน้ือหาการอบรม อยู่ใน

ระดบั ความพงึ พอใจมากทสี่ ุด ในเรื่องเนื้อหาการอบรมสอดคลอ้ งกับความต้องการ เนื้อหาการอบรมมี
รายละเอียดชดั เจน และเนือ้ หามีลำดับท่ีต่อเนือ่ ง เช่ือมโยงกัน

22

2. ดา้ นกระบวนการฝึกอบรม

ตารางที่ 9

ระดบั ความพึงพอใจ

รายละเอียด 5 4 3 2 N1 ̅ ร้อยละ แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ท่สี ุด กลาง ท่ีสุด

2.1 คณุ ภาพการนำเสนอ 77 3 0 0 0 80 4.96 99.25 มาก

เนือ้ หาของวิทยากรในการ ที่สดุ

ฝึกอบรม

2.2 การมสี ว่ นร่วมของผู้ 70 10 0 0 0 80 4.87 97.50 มาก

เขา้ รับการอบรม ที่สุด

2.3 กระบวนการ 75 5 0 0 0 80 4.93 38.75 มาก

ฝกึ อบรมมคี วามเหมาะสม ทีส่ ดุ

2.4 กจิ กรรมที่ใช้ในการ 71 9 0 0 0 80 4.88 97.75 มาก

ฝึกอบรมมคี วามเหมาะสม ทส่ี ดุ

2.5 การใช้เทคโนโลยีเข้า 78 2 0 0 0 80 4.97 99.50 มาก

มาช่วยในการอบรมและ ที่สดุ

ส่งงาน

จากตารางที่ 9 ผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 80 คน มคี วามพึงพอใจด้านกระบวนการฝกึ อบรม อยู่ใน

ระดบั ความพึงพอใจมากท่ีสุด ในเรอื่ งคุณภาพการนำเสนอเนือ้ หาของวทิ ยากรในการฝึกอบรม การมีสว่ นร่วม

ของผ้เู ข้ารับการอบรม กระบวนการฝึกอบรมมีความเหมาะสม กจิ กรรมท่ใี ช้ในการฝกึ อบรมมคี วามเหมาะสม

และการใชเ้ ทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการอบรมและส่งงาน

3. ดา้ นประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ
ตารางท่ี 10

ระดับความพงึ พอใจ

รายละเอียด 5 43 2 1N
มาก น้อย ̅ ร้อยละ แปลผล
3.1 สามารถนำไปเปน็ ทส่ี ุด มาก ปาน นอ้ ย ท่สี ุด
แนวทางการสอนในชนั้ 75 0 80 4.93 98.75 มาก
เรยี น กลาง
3.2 สามารถนำความร้ทู ่ี 72 ที่สดุ
ได้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการ 50 0
ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ 70 0 80 4.90 98.00 มาก
3.3 สามารถนำความรู้ 80 0 ทส่ี ดุ
จากการอบรมไปขยายผล
10 0 0 0 80 4.87 97.75 มาก
ทีส่ ุด

จากตารางที่ 10 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 80 คน มคี วามพึงพอใจด้านประโยชน์ที่ไดร้ ับ อยู่
ในระดบั ความพึงพอใจมากท่ีสุด ในเรือ่ งสามารถนำไปเปน็ แนวทางการสอนในชนั้ เรยี น สามารถนำความรู้ท่ีได้
ไปประยุกตใ์ ช้ในการปฏบิ ัตงิ านอืน่ ๆ และสามารถนำความรู้จากการอบรมไปขยายผล

23

4. การให้ความรว่ มมือ ความประทับใจและขอ้ สนอแนะ

ตารางท่ี 11

ระดบั ความพงึ พอใจ

รายละเอยี ด 543 2 1 N ̅ ร้อยละ แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ที่สุด กลาง ทส่ี ดุ

4.1 มีความเอาใจใส่ 78 2 0 0 0 80 4.97 99.50 มาก
80 4.87 97.50 ที่สุด
ดแู ลผู้เข้ารบั การอบรม
มาก
4.2 เปิดโอกาสใหผ้ ู้ 70 10 0 0 0 ที่สดุ

เข้ารับการอบรมฝึก

ปฏิบัติ

4.3 เปิดโอกาสให้ผู้ 68 12 0 0 0 80 4.85 97.00 มาก
ที่สุด
เข้ารับการอบรม

ซกั ถาม

4.4 วทิ ยากรตอบ 70 10 0 0 0 80 4.87 97.50 มาก
ที่สุด
คำถามไดช้ ดั เจน เป็น

ที่เข้าใจ

จากตารางที่ 11 พบวา่ ผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 80 คน มีความพึงพอใจด้านการให้ความร่วมมอื
ความประทับใจและข้อสนอแนะ อยู่ในระดับความพงึ พอใจมากทส่ี ุด ในเร่ืองมีความเอาใจใส่ ดูแลผู้เข้ารับการ
อบรม เปิดโอกาสใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมฝกึ ปฏบิ ตั ิ เปิดโอกาสให้ผู้เขา้ รับการอบรมซักถาม และวิทยากรตอบ
คำถามได้ชดั เจน เปน็ ท่ีเขา้ ใจ

24

บทท่ี 5

สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

วัตถปุ ระสงคข์ องการประเมินโครงการ
1) ครผู สู้ อน ในสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 สามารถใช้

ทักษะดจิ ิทัลในการออกแบบและจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
2) ผเู้ รยี นได้รบั การพัฒนาทักษะดา้ นดิจิทลั และใชค้ วามสามารถดา้ นดิจทิ ลั ในการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองได้

อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
3) สถานศกึ ษามีการบรหิ ารจัดการท่ีดี ดา้ นดจิ ิทลั พฒั นาการเรียนรู้

ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
ประชากร ได้แก่ ผู้ครผู สู้ อนในสงั กัดสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2

จำนวน 221 โรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียน ผู้บรหิ ารการศกึ ษา และศึกษานเิ ทศก์ สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 2

รูปแบบการประเมนิ โครงการ
กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาดำเนนิ การประเมนิ โครงการการพัฒนาทักษะ

ดิจิทลั และการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 2 ในรูปแบบของการ
โดยรูปแบบออนไลน์ ผ่านระบบ Google meet โดยแบ่งเปน็ 4 ดา้ น คอื

1. ด้านเนอื้ หาการอบรม
1.1 เนื้อหาการอบรมสอดคล้องกบั ความต้องการ
1.2 เนื้อหาการอบรมมีรายละเอยี ดชัดเจน
1.3 เนื้อหามลี ำดบั ทีต่ ่อเนือ่ ง เชือ่ มโยงกัน

2. ด้านกระบวนการฝึกอบรม
2.1 คุณภาพการนำเสนอเนื้อหาของวทิ ยากรในการฝกึ อบรม
2.2 การมสี ว่ นร่วมของผเู้ ขา้ รับการอบรม
2.3 กระบวนการฝกึ อบรมมคี วามเหมาะสม
2.4 กจิ กรรมที่ใชใ้ นการฝึกอบรมมคี วามเหมาะสม
2.5 การใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการอบรมและสง่ งาน

3. ด้านประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั
3.1 สามารถนำไปเปน็ แนวทางการสอนในชั้นเรยี น
3.2 สามารถนำความรู้ทีไ่ ด้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการปฏิบัตงิ านอ่ืนๆ
3.3 สามารถนำความรจู้ ากการอบรมไปขยายผล

4. การให้ความร่วมมอื ความประทบั ใจและข้อสนอแนะ
4.1 มีความเอาใจใส่ ดูแลผเู้ ข้ารับการอบรม
4.2 เปิดโอกาสให้ผเู้ ขา้ รับการอบรมฝกึ ปฏิบตั ิ

25

4.3 เปิดโอกาสใหผ้ เู้ ข้ารับการอบรมซักถาม
4.4 วิทยากรตอบคำถามไดช้ ดั เจน เปน็ ทีเ่ ขา้ ใจ

สรุปผลการประเมินโครงการ
ผลประเมนิ โครงการพฒั นาทักษะโครงการพัฒนาทักษะดิจิทัลและการเรยี นรู้ สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนที่

การศึกษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 2 มีการดำเนินการในรูปแบบของการโดยรูปแบบออนไลน์ ผา่ น
ระบบ Google meet พบว่า ผู้ครูผสู้ อนในสงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต
2 จำนวน 221 โรงเรียน ผ้บู ริหารโรงเรียน ผู้บริหารการศกึ ษา และศึกษานิเทศก์ สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต ๒ ให้ความสนใจในการใชง้ าน Google Workspace การสร้าง
ห้องเรยี น on facebook และการสร้าง/ตัดต่อวดิ โี อ อยา่ งงา่ ย เปน็ อยา่ งมาก มีระดบั ความพงึ พอใจทงั้ 4 ด้าน
อยูใ่ นระดบั มากท่ีสดุ

อภิปรายผล
การประเมนิ โครงการพัฒนาทักษะโครงการพฒั นาทักษะดจิ ิทัลและการเรยี นรู้ สังกัดสำนักงานเขต

พนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 2 มีการดำเนนิ การในรูปแบบของการโดยรปู แบบออนไลน์ ผา่ น
ระบบ Google meet ดำเนนิ ตามรปู แบบการประเมินทกุ ข้ันตอนอย่างเป็นระบบ ผลการประเมินมีความ
เชื่อม่นั เป็นไปวัตถุประสงค์ที่กำหนด โดยมีการประเมินความพงึ พอใจจากผู้เข้ารบั การอบรม โดยแบ่งเป็น 4
ดา้ น คอื

1. ด้านเนื้อหาการอบรม
1.1 เน้ือหาการอบรมสอดคล้องกับความต้องการ
1.2 เนอ้ื หาการอบรมมรี ายละเอียดชดั เจน
1.3 เน้ือหามีลำดับที่ตอ่ เนื่อง เชอ่ื มโยงกัน

2. ดา้ นกระบวนการฝึกอบรม
2.1 คุณภาพการนำเสนอเนอื้ หาของวิทยากรในการฝกึ อบรม
2.2 การมีสว่ นรว่ มของผูเ้ ข้ารับการอบรม
2.3 กระบวนการฝึกอบรมมคี วามเหมาะสม
2.4 กจิ กรรมทใ่ี ชใ้ นการฝึกอบรมมีความเหมาะสม
2.5 การใช้เทคโนโลยีเข้ามาชว่ ยในการอบรมและส่งงาน

3. ดา้ นประโยชน์ทีไ่ ด้รับ
3.1 สามารถนำไปเป็นแนวทางการสอนในชั้นเรยี น
3.2 สามารถนำความร้ทู ี่ไดไ้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นการปฏบิ ัติงานอ่ืนๆ
3.3 สามารถนำความร้จู ากการอบรมไปขยายผล

4. การใหค้ วามร่วมมือ ความประทับใจและข้อสนอแนะ
4.1 มีความเอาใจใส่ ดูแลผเู้ ข้ารับการอบรม
4.2 เปดิ โอกาสให้ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมฝกึ ปฏบิ ัติ

26

ข้อเสนอแนะ
1. ผ้เู ข้าอบรมควรมีทักษะพ้ืนฐานการใช้งาน facebook เบ้ืองตน้
๒. ผู้เข้าอบรมมเี นื้อหาที่จะใช้ตัดตอ่ วดิ โี ออยา่ งง่าย เชน่ ภาพ เสียง พ้ืนหลัง เปน็ ตน้
3. คร้ังหนา้ การจัดอบรมควรเป็นรปู แบบ onsite จะเป็นกิจกรรมทน่ี า่ สนใจ และผ้เู ข้าอบรมทำตาม

ได้ หรอื สอบถามได้ทนั ที

จดุ เด่น
1. เป็นกิจกรรมทีส่ ามารถนำไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนได้จรงิ
2. เปน็ กิจกรรมที่พฒั นารูปแบบการจดั การเรยี นการสอนท่ีตอบโจทย์กบั ยุคปจั จุบนั
3. วทิ ยากรสามารถบรรยายไดอ้ ยา่ งชดั เจน และตอบคำถามผเู้ ข้าอบรมได้ชดั เจน
4. ความรู้ทไี่ ดส้ ามารถนำไปต่อยอดการทำนวัตกรรม หรือ ผลงาน เพอ่ื ใชจ้ ัดการเรียนการสอนได้

27

บรรณานุกรม

https://bu.rmutk.ac.th/wp-content/uploads/documen.pdf สืบคน้ เม่อื วันที่ 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2565.
https://nakhonphanom.cdd.go.th/wp-content/.pdf. สบื คน้ เมอื่ วนั ท่ี 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2565.

28
ภาคผนวก

ภาพประกอบโครงการการพัฒนาทกั ษะดจิ ิทลั และการเรียนรู้
วันท่ี 20-22 เดือนเมษายน พ.ศ. 2565

ภาพประกอบโครงการการพัฒนาทกั ษะดจิ ิทลั และการเรียนรู้
วันท่ี 20-22 เดือนเมษายน พ.ศ. 2565

ภาพประกอบโครงการการพัฒนาทกั ษะดจิ ิทลั และการเรียนรู้
วันท่ี 20-22 เดือนเมษายน พ.ศ. 2565

ภาพประกอบโครงการการพัฒนาทกั ษะดจิ ิทลั และการเรียนรู้
วันท่ี 20-22 เดือนเมษายน พ.ศ. 2565

ภาพประกอบโครงการการพัฒนาทกั ษะดจิ ิทลั และการเรียนรู้
วันท่ี 20-22 เดือนเมษายน พ.ศ. 2565

ภาพประกอบโครงการการพัฒนาทกั ษะดจิ ิทลั และการเรียนรู้
วันท่ี 20-22 เดือนเมษายน พ.ศ. 2565

ภาพประกอบโครงการการพัฒนาทกั ษะดจิ ิทลั และการเรียนรู้
วันท่ี 20-22 เดือนเมษายน พ.ศ. 2565

ภาพประกอบโครงการการพัฒนาทกั ษะดจิ ิทลั และการเรียนรู้
วันท่ี 20-22 เดือนเมษายน พ.ศ. 2565

ภาพประกอบโครงการการพัฒนาทกั ษะดจิ ิทลั และการเรียนรู้
วันท่ี 20-22 เดือนเมษายน พ.ศ. 2565


Click to View FlipBook Version