The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จุดเริ่มต้นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fendwtf555, 2021-03-22 05:23:41

จุดเริ่มต้นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

จุดเริ่มต้นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

คำนำ

รายงานนเี่ ป็นส่วนหนง่ึ ของรายวิขาการงาน
อาชีพหากมีข้อมลู ผดิ พลาดประการใดผมขอ

อภยั มณทน่ี ี้ดว้ ย



จุดเร่ิมต้นแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลจากการใชแ้ นวทางการพฒั นาประเทศไปสูค่ วามทันสมัย ไดก้ อ่ ให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงแก่สงั คมไทยอย่างมากในทกุ ด้าน ไม่ว่าจะเปน็ ดา้ นเศรษฐกิจ
การเมอื ง วฒั นธรรม สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม อีกท้งั กระบวนการของความ
เปลี่ยนแปลงมคี วามสลบั ซบั ซอ้ นจนยากทจ่ี ะอธิบายใน เชงิ สาเหตแุ ละผลลัพธ์
ได้ เพราะการเปลย่ี นแปลงทั้งหมดต่างเป็นปจั จัยเชอ่ื มโยงซงึ่ กนั และกัน

สำหรับผลของการพฒั นาในดา้ นบวกน้ัน ไดแ้ ก่ การเพมิ่ ขึน้ ของอัตราการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ ความเจรญิ ทางวตั ถุ และสาธารณูปโภคตา่ งๆ
ระบบส่ือสารท่ที นั สมัย หรอื การขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอย่างท่วั ถงึ
มากขน้ึ แต่ผลดา้ นบวกเหลา่ น้ีสว่ นใหญก่ ระจายไปถึงคนในชนบท หรือ
ผดู้ อ้ ยโอกาสในสงั คมนอ้ ย แตว่ ่า กระบวนการเปล่ยี นแปลงของสงั คมได้
เกิดผลลบติดตามมาดว้ ย เชน่ การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้สง่ ผลให้
ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายดา้ น ทง้ั การต้องพง่ึ พงิ ตลาดและพ่อค้าคน
กลางในการสัง่ สนิ คา้ ทนุ ความเสอ่ื มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติ ระบบ
ความสัมพันธ์แบบเครอื ญาติ และการรวมกล่มุ กันตามประเพณเี พื่อการจดั การ
ทรพั ยากรทเี่ คยมีอยแู่ ต่เดมิ แตก สลายลง ภมู คิ วามรู้ที่เคยใช้แก้ปญั หาและสั่ง
สมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและเริ่ม สญู หายไป

สิ่งสำคญั ก็คือ ความพอเพยี งในการดำรงชวี ติ ซงึ่ เป็นเงือ่ นไขพนื้ ฐานทที่ ำให้
คนไทยสามารถพึง่ ตนเอง และดำเนินชวี ติ ไปไดอ้ ย่างมีศักด์ิศรภี ายใต้อำนาจ
และความมอี ิสระในการกำหนด ชะตาชวี ติ ของตนเอง ความสามารถในการ

ควบคมุ และจัดการเพื่อให้ตนเองไดร้ ับการสนองตอบต่อความตอ้ ง การตา่ งๆ
รวมทง้ั ความสามารถในการจดั การปัญหาตา่ งๆ ไดด้ ้วยตนเอง ซ่ึงทั้งหมดน้ีถือ
วา่ เป็นศกั ยภาพพนื้ ฐานท่ีคนไทยและสังคมไทยเคยมอี ยแู่ ต่ เดิม ต้องถกู
กระทบกระเทือน ซงึ่ วกิ ฤตเศรษฐกจิ จากปญั หาฟองสบแู่ ละปัญหาความ
อ่อนแอของชนบท รวมทง้ั ปัญหาอน่ื ๆ ท่เี กิดขนึ้ ล้วนแต่เป็นข้อพสิ จู น์และ
ยนื ยนั ปรากฎการณ์นี้ไดเ้ ป็นอย่างดี

เศรษฐกิจพอเพยี ง

“เศรษฐกิจพอเพยี ง” เปน็ ปรชั ญาทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั
พระราชทานพระราชดำรชิ ้แี นะแนวทาง การดำเนนิ ชวี ติ แก่พสก
นกิ รชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตัง้ แต่กอ่ นเกิด
วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมือ่ ภายหลังไดท้ รงเนน้ ยำ้ แนว
ทางการแก้ไขเพ่ือให้รอดพน้ และสามารถดำรงอยู่ได้อยา่ งมัน่ คง
และยงั่ ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ัตนแ์ ละความ เปลยี่ นแปลงต่างๆ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ถี ึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัตติ นของ
ประชาชนในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครวั ระดับชมุ ชน จนถึงระดบั
รัฐ ทงั้ ในการพัฒนาและบริหารประเทศใหด้ ำเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพ่ือให้กา้ วทนั ตอ่ โลกยุคโลกาภวิ ตั น์
ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถึง
ความจำเป็นทีจ่ ะตอ้ งมรี ะบบภูมคิ ุ้มกันในตัวท่ีดพี อสมควร ต่อการ
กระทบใดๆ อนั เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทงั้ ภายในภายนอก ท้ังน้ี
จะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยง่ิ
ในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนนิ การ ทุก
ขนั้ ตอน และขณะเดยี วกนั จะต้องเสรมิ สร้างพืน้ ฐานจติ ใจของคนใน
ชาติ โดยเฉพาะเจา้ หน้าทีข่ องรัฐ นกั ทฤษฎี และนกั ธุรกิจในทกุ ระดับ
ใหม้ ีสำนึกในคณุ ธรรม ความซอื่ สัตย์สจุ ริต และให้มคี วามรอบรทู้ ่ี
เหมาะสม ดำเนนิ ชวี ิตด้วยความอดทน ความเพียร มสี ติ ปญั ญา และ
ความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพรอ้ มต่อการรองรบั การเปลี่ยนแปลง
อยา่ งรวดเร็วและกว้างขวาง ทง้ั ด้านวตั ถุ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม และ
วฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอยา่ งดี


Click to View FlipBook Version