The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำ​ยืม​ที่​มาจาก​ภาษา​ต่างประเทศ​

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by film phatthii, 2020-02-21 04:10:07

คำ​ยืม​ที่​มาจาก​ภาษา​ต่างประเทศ

คำ​ยืม​ที่​มาจาก​ภาษา​ต่างประเทศ​

Keywords: คำ​ยืม​ที่​มาจาก​ภาษา​ต่างประเทศ,ภาษา​ต่างประเทศ

คํา ยื ม

ที ม า จ า ก ภ า ษ า ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ

สารบญั หน้า

เรอื ง ๑

ประเภทการยมื คํา ๑
อิทธพิ ลของการยมื ภาษา ๒
ประวตั ิศาสตรก์ ารยมื ของประเทศไทย ๓
สาเหตกุ ารยมื คําของภาษาไทย ๓
คํายมื จากภาษาเขมร ๔
ลักษณะภาษาเขมร ๔
ลักษณะคําเขมรในภาษาไทย ๕
คํายมื จากภาษาเขมร ๕
คํายมื จากภาษาจีน ๕
ลักษณะภาษาจีน ๖
คํายมื จากภาษาจนี ๖
คํายมื จากภาษาสนั สกฤต ๗
พยญั ชนะวรรคในภาษาบาลีสนั สกฤต ๗
การสรา้ งคําในภาษาสนั สกฤต ๘
การสงั เกตคําในภาษาสนั สกฤต ๙
คํายมื จากภาษาสนั สกฤต ๙
คํายมื จากภาษาอังกฤษ ๑๐
ลักษณะภาษาอังกฤษ ๑๐
การสรา้ งคําในภาษาอังกฤษ ๑๑
คํายมื จากภาษาอังกฤษ ๑๑
คําภาษาชวา-มลายู ๑๑
ลักษณะการยมื คําภาษาชวา-มลายูมาใช้ ๑๒
การสรา้ งคําภาษาชวา-มลายู ๑๓
คํายมื จากภาษาชวา-มลายู
ลักษณะของภาษาไทยทีเปลียนไปจากเดิม

๑.

ประเภทการยมื คํา

๑.ยมื เนอื งจากวฒั นธรรม กล่มุ ทีมวี ฒั นธรรมด้อยกวา่ จะรบั วฒั นธรรม
ของกล่มุ ทีมคี วามเจรญิ มากกวา่

๒.ยมื เนอื งจากความใกล้ชดิ มอี าณาเขตใกล้กันมคี วามสมั พนั ธก์ ันในชวี ติ

๓.ประจําวนั ทีทําใหเ้ กิดการยมื ภาษา
ยมื จากคนต่างกล่มุ เปนการยมื ของผ้ใู ชท้ ีอยูใ่ นสภาพทีต่างกัน

อิทธพิ ลของการยมื ภาษา

๑.การยมื ภาษาทําใหเ้ กิดการเปลียนแปลงมากมาย

๒.การยมื ทําใหจ้ ํานวนศัพท์ในภามจี ํานวนเพมิ ขนึ

๓.เกิดวาระการใชศ้ ัพท์ต่างๆกันเปนคําไวพจน์ คือ คําทีมคี วามหมายเดียวกัน
แต่เราต้องเลือกใชต้ ามความเหมาะสม ทังยงั มปี ระโยชน์ คือใชใ้ น
การแต่งบทรอ้ ยกรอง

ประวตั ิการยมื คําของประเทศไทย

การยมื คําของไทยนันมมี าเปนเวลานานแล้ว แมแ้ ต่ในหลัก
ศิลาจารกึ ของพอ่ ขุนรามคําแหงเมอื ป พ.ศ. ๑๘๒๖ ยงั ได้ปรากฏคํายมื
ทีมาจากบาลีสนั สกฤต เขมรเขา้ มาปะปนและประเทศไทยนันยงั ได้มกี าร
ติดต่อค้าขายกับประเทศต่างๆ ทําใหม้ ภี าษาของต่างประเทศปะปนอยูใ่ น
ภาษาไทยเปนจํานวนมาก

๒.

สาเหตกุ ารยมื คําของภาษาไทย

๑. ความสมั พนั ธท์ างถินฐาน หรอื สภาพภมู ศิ าสตร์ คือ การมี
อาณาเขตใกล้เคียงกันทําใหค้ นไทยทีอยูอ่ าศัยบรเิ วณชายแดน
เดินทางขา้ มแดนไปมาหาสกู่ ันและมคี วามเกียวขอ้ งสมั พนั ธก์ ัน
จึงมกี ารแลกเปลียนภาษากัน

๒.ความสมั พนั ธท์ างการค้า คือ มกี ารติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ
๓.ความสมั พนั ธท์ างศาสนาวฒั นธรรม คือ มกี ารเผยแพรศ่ ิลปะ
๔.วฒั นธรรมของต่างประเทศเขา้ สปู่ ระเทศไทย

ความสมั พนั ธท์ างการทตู คือ การเจรญิ สมั พนั ธร์ ะหวา่ งไทย
กับต่างประเทศ

๓.

คํายมื จากภาษาเขมร

เขมรเปนชาติทีมคี วามสมั พนั ธม์ านานทังทางการค้า การสงคราม การเมอื ง
และวฒั นธรรมเขมรมอี ิทธพิ ล เหนอื ดินแดนสวุ รรณภมู กิ ่อนกรุงสโุ ขทัยหลาย
รอ้ ยป จากการมอี าณาเขตติดต่อกันทําใหเ้ ขมรภาษาเขมรเขา้ มาปะปนกับ
ภาษาไทยตังแต่สมยั โบราณ ภาษาถินเขมรก็คล้ายคลึงกับภาษาพูดของชาว
อีสานใต้ของไทย ตลอดจนชาวภาคตะวนั ออกตามชายแดนไทย – กัมพูชา
ด้วย

ลักษณะภาษาเขมร

๑.ภาษาเขมรเปนภาษาคําโดด คําสว่ นใหญ่มเี พยี ง
1 - 2 พยางค์ ใชอ้ ักษรขอมหวดั มพี ยญั ชนะ 33 ตัว
เหมอื นภาษาบาลี คือ
วรรคกะ ก ข ค ฆ ง, วรรคจะ จ ฉ ช ฌ ญ
วรรคฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ,วรรคตะ ต ถ ท น ธ

๒.วรรคปะ ป ผ พ ภ ม ,เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อ
ภาษาเขมรไมม่ วี รรณยุกต์แต่อิทธพิ ลคํายมื บางคําใหเ้ ขมรมี

๓. รูปวรรณยุกต์ (+)ใช้
ภาษาเขมรมสี ระจม ๑๘ รูป สระลอย ๑๘ รูป แบง่ เปนสระ
เดียวยาว ๑๐ เสยี ง สระผสม ๒ เสยี ง ยาว ๑๐เสยี ง สระเดียว

๔.สนั ๙ เสยี ง สระประสม ๒ เสยี ง สนั ๓ เสยี ง
ภาษาเขมรมพี ยญั ชนะควบกลํามากมาย มพี ยญั ชนะ
ควบกลํา ๒ เสยี ง ถึง ๘๕ หน่วย และพยญั ชนะควบกลํา ๓ เสยี ง
๓ หน่วย

๔.

ลักษณะคําเขมรในภาษาไทย

๑. คําทีมาจากภาษาเขมรสว่ นมากมาจากสะกดด้วย จ ญ ร ล
เชน่ เผด็จ,บาํ เพญ็ ,กําธร,ถกล,ตรสั

๒.ต้องแปลความหมายจงึ จะเขา้ ใจ ใชม้ ากในบทรอ้ ยกรอง
๓.เมอื มาใชใ้ นภาษาไทย ข แผลงกระ เชน่ ขจาย-กระจาย,
๔.ขโดง–กระโดง

นยิ มใชอ้ ักษรนาํ แบบออกเสยี งตัวนาํ โดยพยางค์ต้นออก
เสยี ง อะ กึงเสยี ง พยางค์หลังออกเสยี งตามสระทีผสมอยู่

๕.เชน่ สนกุ ,สนาน,เสด็จ,ถนน,เฉลียว
คําเขมรสว่ นมากใชเ้ ปนราชาศัพท์ เชน่ เสวย,บรรทม,เสด็จ
,โปรด

คํายมื จากภาษาเขมร

๕.

คํายมื จากภาษาจีน

ไทยและจีนเปนมติ รประเทศทีติดต่อเจรญิ สมั พนั ธไมตรี อีกทังยงั มกี ารค้าขาย
แลกเปลียนสนิ ค้าและวฒั นธรรมอันดีงามกันมาชา้ นานรวมทังศิลปะ
สถาปตยกรรมต่างๆ ด้วย

นอกจากนียงั มชี าวจีนทีเขา้ มาค้าขายตลอดจนตังถินฐานอยูใ่ นประเทศไทย
เปนจํานวนมาก นอกจากนีภาษาจีนและภาษาไทยยงั มลี ักษณะทีคล้ายคลึงกัน
จึงทําใหค้ ําภาษาจีนเขา้ มาปะปนอยูใ่ นภาษาไทยจนแทบแยกกันไมอ่ อก

ลักษณะภาษาจีน

ภาษาจีนมลี ักษณะคล้ายคลึงกับภาษาไทยมาก คือ เปนภาษาคําโดดและมเี สยี ง
วรรณยุกต์ใชเ้ ชน่ เดียวกัน เมอื นําคําภาษาจีนมาใชใ้ นภาษาไทยซงึ มวี รรณยุกต์
และสระประสมใชจ้ ึงทําใหส้ ามารถออกเสยี งวรรณยุกต์และสระตามภาษาจีนได้
อยา่ งง่ายดาย คําภาษาจีนยงั มคี ําทีบอกเพศในตัวเชน่ เดียวกับภาษาไทยอีกด้วย
เชน่ เฮีย(พชี าย), ซอ้ (พสี ะใภ้), เจ๊(พสี าว)
นอกจากนีการสะกดคําภาษาจีนในภาษาไทยยงั ใชต้ ัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด

ทัง 8คมําายตรมื าแจลาะมกกี าภรใาชษท้ ัณาฑจฆีนาตหรอื ตัวการนั ต์ด้วย

๖.

คํายมื จากภาษาสนั สกฤต

ภาษาสนั สกฤตเกิดจากภาษาพระเวท มกี ฎเกณฑ์รดั กมุ มาก
เปลียนแปลงไมไ่ ด้ เปนภาษาทีผ้มู กี ารศึกษาสงู ใช้ และเปนภาษาทางวรรณคดี
ใชเ้ ขยี นคัมภีรพ์ ระเวท เปนภาษาศักดิสทิ ธมิ ผี ้ศู ึกษาน้อยจนเปนภาษาทีตายไปใน
ทีสดุ การทีไทยเรารบั เอาลัทธบิ างอยา่ งมาจากศาสนาพราหมณ์ ทําใหภ้ าษา
สนั สกฤตได้เขา้ มามบี ทบาทในภาษาไทยด้วย ภาษาสนั สกฤตเปนภาษาทีไพเราะ
และสภุ าพมากจึงมกั ใชใ้ นบทรอ้ ยกรองและวรรณคดี

พยญั ชนะวรรคในภาษาบาลี-สนั สกฤต

๗.

การสรา้ งคําในภาษาสนั สกฤต

๑.การสมาส (ดูภาษาบาลี) เชน่

ศิลปะ + ศาสตร์ = ศิลปะศาสตร์
มานษุ ย + วทิ ยา = มานษุ ยวทิ ยา

๒.การสนธิ (ดูภาษาบาลี) เชน่

คณ + อาจารย์ = คณาจารย์
ภูมิ + อนิ ทร์ = ภูมินทร์

๓.การใชอ้ ุปสรรค คือ การเติมพยางค์ประกอบหน้าศัพท์

เปนสว่ นขยายศัพท์ ทําใหค้ วามหมายเปลียนแปลงไป

เชน่ วิ - วเิ ทศ,สุ - สุภาษิต, อป - อปั ลักษณ์,อา - อารกั ษ์

การสงั เกตคําในภาษาสนั สกฤต

๑.ภาษาสนั สกฤตจะใชส้ ระประสม ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา ค



๒.ประสมสระไอเมือเปนคําไทยใชส้ ระแอ

(ไวทย - แพทย)์

๓.ภาษาสนั สกฤตจะใชพ้ ยญั ชนะ ศ ษ ฑ (บาลีใช้ ส, ฬ)

เชน่ กรฑี า, ศิลป, ษมา
ภาษาสนั สกฤตมีพยญั ชนะประสมและใช้ รร

เชน่ ปรากฏ, กษัตรยิ ์ ; ครรภ์, จักรวรรดิ

๘.

คํายมื จากภาษาสนั สกฤต

๙.

คํายมื จากภาษาองั กฤษ

ภาษาองั กฤษเปนภาษาสากลทีแพรห่ ลาย สามารถใชส้ อื สารได้ทัวโลก

การทีไทยติดต่อค้าขายกับองั กฤษมาชา้ นานจนสมัยรชั กาลที๓ ไทยเรมิ
มีการยมื คําจากภาษาองั กฤษมาใชใ้ นลักษณะการออกเสยี งแบบไทยๆ
ตลอดจนเจ้านายและขา้ ราชการทีได้ศึกษาภาษาองั กฤษและมิชชนั นารี
ก็เขา้ มาเผยแพรศ่ าสนาครสิ ต์ ทําใหภ้ าษาองั กฤษเขา้ มามีบทบาทใน
ภาษาไทยมากขนึ รชั กาลที๔ ทรงเหน็ ประโยชน์ของการศึกษา
ภาษาองั กฤษมากด้วย

ลักษณะภาษาองั กฤษ

๑.ภาษาองั กฤษมีการเปลียนแปลงรูปคําหรอื เติมท้าย ศัพท์ในลักษณะ

ต่างๆ กันเพอื แสดงลักษณะไวยากรณ์ เชน่ การบอกเพศ พจน์ กาล
(go-went-gone) หรอื ทําใหค้ ําเปลียนความหมายไปคําในภาษา
องั กฤษมีการลงนําหนัก ศัพท์คําเดียวกันถ้า

๒.ลงนําหนักต่างพยางค์กันก็ยอ่ มเปลียนความหมายและหน้าที

ของคํา เชน่ record - record ภาษาองั กฤษมีตัวอกั ษร ๒๖ ตัว สระ
เดียว(สระแท้) ๕ ตัว สระประสมมากมาย

๓.ภาษาองั กฤษมีพยญั ชนะควบกลํามากมาย ทังควบกลํา

๒ เสยี ง ๓ เสยี ง ๔ เสยี ง ปรากฏได้ทังต้นและท้ายคํา เชน่
spring, grease, strange พยญั ชนะต้นควบ
desk, past, text พยญั ชนะท้ายควบ

๑๐.

การสรา้ งคําในภาษาอังกฤษ

๑.การใชห้ น่วยคําเติมทังหน้าศัพท์ (prefix) และหลังศัพท์ (suffix)

โดยศัพท์นันเมือเติมอุปสรรค, ปจจัยจะทําใหเ้ กิดศัพท์ความหมายใหม่
หรอื ความหมายเกียวกันก็ได้ การปจจัย (suffix) เชน่
draw (วาด) - drawer (ลินชกั ),write (เขยี น) - writer (ผูเ้ ขยี น)
การเติมอุปสรรค (prefix) เชน่ -polite (สุภาพ) - impolite (ไม่
สุภาพ),
action (การกระทํา) - reaction (การตอบสนอง)

๒. การประสมคําโดยการนําคําศัพท์ ๒ คําขนึ ไปมาเรยี งติดต่อกัน

ทําใหเ้ กิดคําใหม่ ความหมายกวา้ งขนึ อาจใช้ นาม + นาม, นาม + กรยิ า,
นาม + คุณศัพท์ ก็ได้ โดยคําขยายจะอยูห่ น้าคําศัพท์ คําประสมอาจ
เขยี นติดหรอื แยกกันก็ได้

คํายมื จากภาษาอังกฤษ

๑๑.

คําภาษาชวา-มลายู

ภาษาชวาทีไทยยมื มาใชส้ ว่ นมากเปนภาษาเขยี น ซงึ รบั
มาจากวรรณคดีเรอื ง ดาหลังและอเิ หนาเปนสว่ นใหญ่
ถ้อยคําภาษาเหล่านีใชส้ อื สารในวรรณคดี และในบทรอ้ ย
กรองมากกวา่ คําทีนํามาใชส้ อื สารในชวี ติ ประจําวนั

ลักษณะการยมื คําภาษาชวามลายู
มาใชใ้ นภาษาไทย

๑.เปนภาษาคําติดต่อ เปนการนําคําต่อใหค้ วามหมาย

เปลียนไปจากเดิม

๒.มีการเติมคํานําหน้าและเติมหลังเท่านัน
๓.คําพยางค์เดียวหรอื หลายพยางค์อาจรบั มาจากภาษาอนื

เนืองจากการติดต่อค้าขาย

การสรา้ งคําในภาษาชวา-มลายู

๑.แบบเติมหน่วยคํา

๑.)เติมหน้า เชน่ Gall = ขุด
Pen +Gali = gengall = เครอื งขุด
๒.)เติมหลัง เชน่ Tertawa = หวั เราะ
Tertawa + Kan = หวั เราะเยาะ
๓.)เติมหลังและเติมหน้า เชน่ Mula = เรมิ ต้น
Pe +Mula + An = การเรมิ ต้น

๒.การสรา้ งแบบคําประสม

การใชค้ ําทีมีความหมายเด่นไวต้ ้น ความหมายรองตาม
Kapala santa = หวั กะทิ
Anak kunchi = ลูกกุญแจ

๑๒.

คํายมื จากภาษาชวามลายู

๑๓.

ลักษณะของภาษาไทย
ทีเปลียนไปจากเดิม

ภาษาต่างประเทศทีเขา้ มาปะปนในภาษาไทยด้วยสาเหตุต่าง ๆ

มีอทิ ธพิ ลต่อภาษาไทย คือ ทําใหล้ ักษณะของภาษาไทยเปลียนไปจาก

เดิม ดังนี

๑.คํามีพยางค์มากขนึ ภาษาไทยเปนภาษาตระกูลคําโดด คํา

สว่ นใหญเ่ ปนคําพยางค์เดียว เชน่ พอ่ แม่ พี น้อง เปนต้น เมือ

ยมื คําภาษาอนื มาใช้ ทําใหค้ ํามีมากพยางค์ขนึ เชน่
– คําสองพยางค์ เชน่ บิดา มารดา เชษฐา กนิษฐา ยาตรา ธานี
เปนต้น
– คําสามพยางค์ เชน่ โทรเลข โทรศัพท์ พาหนะ เปนต้น
– คํามากกวา่ สามพยางค์ เชน่ กัลปาวสาน ประกาศนียบัตร

๒.มีคําควบกลําใชม้ ากขนึ โดยธรรมชาติของภาษาไทยจะไม่มี

คําควบกลํา เมือรบั ภาษาอนื เขา้ มาใชเ้ ปนเหตุใหม้ ีคําควบกลํา

มากขนึ เชน่ บาตร ศาสตร์ ปราชญ์ เปนต้น

๓.มีคําไวพจน์ใชม้ ากขนึ (คําไวพจน์ คือคําทีมีความหมายเหมือนกัน) ซงึ สะดวก

และสามารถเลือกใชค้ ําได้เหมาะสมตามความต้องการและวตั ถุประสงค์ เชน่

- นก บุหรง ปกษา ปกษิน สกุณา วหิ ค

- ม้า พาชี อาชา สนิ ธพ หยั อศั วะ

- ดอกไม้ กรรณิกา บุปผชาติ บุหงา ผกา สุมาลี

๔.มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา คําไทยแท้สว่ นใหญม่ ีตัวสะกดตรงตามมาตรา

เมือได้รบั อทิ ธพิ ลจากภาษาต่างประเทศ คําใหม่จึงมีตัวสะกด

ไม่ตรงตามมาตราจํานวนมาก เชน่ พพิ าท โลหติ

สงั เขป มิจฉาชพี นิเทศ ประมาณ ผจญ กัปตัน ปลาสเตอร์

ครสิ ต์ เคเบิล ดีเซล โฟกัส เปนต้น

๑๔.

ลักษณะของภาษาไทย

ทีเปลียนไปจากเดิม

๕.ทําใหโ้ ครงสรา้ งของภาษาเปลียนไป เชน่

– ใชค้ ําสํานวน หรอื ประโยคภาษาต่างประเทศ
โดยเฉพาะภาษาองั กฤษ เชน่
ตัวอยา่ งที ๑.
สํานวนภาษาต่างประเทศ : เขาพบตัวเองอยูใ่ นหอ้ ง
สํานวนภาษาไทย : เขาอยูใ่ นหอ้ ง
ตัวอยา่ งที ๒.
สํานวนภาษาต่างประเทศ : นวนิยายเรอื งนี

เขยี นโดยทมยนั ตี
สํานวนภาษาไทย : ทมยนั ตีเขยี น

นวนิยายเรอื งนี
– ใชค้ ําภาษาต่างประเทศปนกับภาษาไทย ทัง ๆ ทีบางคํามีคํา
ภาษาไทยใช้ เชน่ เธอไม่แคร์ ฉันไม่มายด์ เขาไม่เคลียร์

สมาชกิ

๑.นางสาวกชสวรรณ์ ตรยี มณีรตั น์ เลขที ๕
๒.นางสาวกัญญาพชั ร์ ทรวงโพธิ เลขที ๖
๓.นางสาวปภาวรนิ ท์ สุขทัว เลขที ๑๘
๔.นางสาวประสติ า คล่องแคล่ว เลขที ๑๙
๕.นางสาวปลายฟา เจรญิ ชยั เลขที ๒๐
๖.นางสาวปนรตั น์ โมท้ง เลขที ๒๑
๗.นางสาวเพช็ รชมพู โชคค้า เลขที ๒๓
๘.นางสาวภัทธริ า ชนิ บดี เลขที ๒๔
๙.นางสาววรารตั น์ จงกล เลขที ๒๗
๑๐.นางสาววริ มณ เตชะพญิ ชยะ เลขที ๒๘
๑๑.นางสาวสริ นาถ เพชรทอง เลขที ๓๑
๑๒.นางสาวอารยี า โคตรสมบตั ิ เลขที ๓๔

ชนั มธั ยมศกึ ษาปที4/4
โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาน้อมเกล้า นครราชสมี า


Click to View FlipBook Version