1
2
บนั ทกึ ขอ้ ความ
ส่วนราชการ โรงเรียนบา้ นทา่ ขา้ ม อำเภอปะเหลยี น จงั หวัดตรัง
ที่ 281/2564 วนั ท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564
เรื่อง เสนอเพ่ือพจิ ารณาจัดทำแบบบนั ทึกข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA) ประจำปีงบประมาณ 2565
เรยี น ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นทา่ ข้าม
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ0206.3/ว.9 ลงวนั ที่ 20 พฤษภาคม 2564 (ว.9/2564)
ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป ได้กำหนดให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาจัดทำแบบ
บันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ในแต่ละปีงบประมาณนั้น เพื่อให้การ
ประเมินเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าว ข้าพเจ้านางวณิตา ขุนแก้ว ครูโรงเรียนบ้านท่าข้าม
ปฏิบัติหน้าที่สอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ได้จัดทำแบบบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance
Agreement : PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาวิทยฐานะชำนาญการประจำปีงบประมาณ
2565 ระหว่างนางวณิตา ขุนแก้ว ตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญการ และนางสาวกิตติมา มุ่งวัฒนา ตำแหน่ง
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบา้ นท่าข้าม
บัดนี้ข้าพเจ้าได้ดำเนินการจัดทำเอกสารแบบบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance
Agreement : PA) เรยี บร้อยแล้ว ตามรายละเอยี ดดงั แนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
ลงชื่อ...........................................................
(นางวณติ า ขุนแก้ว)
ครู โรงเรียนบ้านทา่ ข้าม
ความเหน็ ผู้อำนวยการสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอ่ื …………………………………………………..
(นางสาวกติ ตมิ า มงุ่ วฒั นา)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านท่าข้าม
3
คำนำ
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ฉบับนี้ จัดทำข้ึน
เพื่อนำเสนอข้อตกลงในการพัฒนางานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู วิทยฐานะ
ชำนาญการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2564 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.
2565 ที่ได้เสนอต่อผู้อำนวยการสถานศึกษาเพื่อแสดงเจตจำนงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาผลลัพธ์การ
เรียนรูข้ องผู้เรยี น เพ่ือให้มีความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะคุณลักษณะประจำวิชาและสมรรถนะที่สำคัญตาม
หลักสูตรให้สูงขึ้น โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของตำแหน่งและวิทยฐานะที่ดำรงอยู่
และสอดคล้องกับเป้าหมายและบริบทสถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดย
ผอู้ ำนวยการไดเ้ ห็นชอบใหเ้ ป็นข้อตกลงในการพฒั นางานประกอบด้วย 2 สว่ น ไดแ้ ก่
สว่ นที่ 1 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนง่
ส่วนท่ี 2 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นทา้ ทายในการพฒั นาผลลพั ธ์การเรียนรู้ของผ้เู รียน
ซงึ่ ข้อมลู ท่ไี ด้นำเสนอนี้ ข้าพเจา้ จะนำไปพัฒนาผลลัพธก์ ารเรยี นรขู้ องผู้เรียน โรงเรยี นบ้านท่าขา้ ม
สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 ให้เกิดประสทิ ธิภาพตอ่ ไป
นางวณิตา ขนุ แกว้
ตำแหน่ง ครูโรงเรียนบา้ นท่าขา้ ม
สารบญั 4
ผู้จดั ทำขอ้ ตกลง หน้า
ขอ้ มลู ทั่วไป
ประเภทห้องเรียนทจี่ ดั การเรียนรู้ 1
1
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนง่ 1
1. ภาระงาน 1
2. งานทจี่ ะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหนง่ ครู 1
ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ 2
ด้านการสง่ เสริมและสนบั สนุนการจดั การเรียนรู้ 2
ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชพี 6
8
สว่ นท่ี 2 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานท่เี ป็นประเด็นท้าทาย 10
ประเด็นท้าทาย 10
สภาพปญั หาของผูเ้ รยี นและการจัดการเรียนรู้ 10
วิธีการดำเนนิ การใหบ้ รรลผุ ล 10
ผลลพั ธ์การพฒั นาท่ีคาดหวัง 11
11
ความเหน็ ของผู้อำนวยการสถานศกึ ษา
๑ PA 1/ส
แบบขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA)
สำหรบั ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ระหวา่ งวนั ท่ี 1 เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวนั ท่ี 30 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2565
ผู้จดั ทำขอ้ ตกลง
ช่ือ นางวณติ า นามสกลุ ขนุ แก้ว ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะชำนาญการ
สถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นทา่ ขา้ ม สงั กัด สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
รับเงินเดอื นในอันดบั คศ.2 อัตราเงินเดือน 31,000 บาท
ประเภทห้องเรียนทจี่ ดั การเรยี นรู้ (สามารถระบไุ ด้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด
การเรยี นรจู้ รงิ )
ห้องเรยี นวิชาสามัญหรอื วชิ าพ้นื ฐาน
◻ ห้องเรียนปฐมวัย
◻ หอ้ งเรียนการศกึ ษาพิเศษ
◻ ห้องเรียนสายวชิ าชีพ
◻ หอ้ งเรียนการศกึ ษานอกระบบ / ตามอธั ยาศัย
ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญการ
ซ่งึ เป็นตำแหน่งและวิทยฐานะท่ดี ำรงอยู่ในปัจจบุ ันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดงั ต่อไปน้ี
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมภี าระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชวั่ โมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 23 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ดังน้ี
กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ รายวชิ า ภาษาไทย จำนวน 5 ชว่ั โมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา คณิตศาสตร์ จำนวน 5 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
กลมุ่ สาระการเรียนรู/้ รายวชิ า วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จำนวน 3 ชัว่ โมง/สัปดาห์
กล่มุ สาระการเรยี นรู้/รายวชิ า สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
จำนวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์
กลมุ่ สาระการเรียนรู้/รายวชิ า สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา จำนวน 1 ชัว่ โมง/สปั ดาห์
กลุ่มสาระการเรยี นรู/้ รายวิชา ศิลปะ จำนวน 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู/้ รายวิชา การงานอาชีพ จำนวน 1 ช่วั โมง/สัปดาห์
กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ รายวชิ า ปอ้ งกนั การทุจริต จำนวน 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์
๒
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
รายวชิ า แนะแนว ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์
รายวชิ า ลูกเสอื -เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์
รายวชิ า ชุมนมุ /สาธารณประโยชน์ ช้ันประถมศึกษาปที 1ี่ จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์
1.2 งานส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชว่ั โมง/สัปดาห์
1.2.1 การจัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2.2 การสร้างและพฒั นาส่ือการจดั การเรียนรู้ จำนวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์
1.2.3 การมสี ว่ นรว่ มในชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC) จำนวน 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 4 ชั่วโมง/สปั ดาห์
1.3.1 งานบริหารงานวชิ าการ จำนวน 2 ช่วั โมง/สัปดาห์
- หัวหนา้ กลุม่ สาระคณติ ศาสตร์
- หัวหนา้ กิจกรรมแนะแนว
- กจิ กรรมตามแผนปฏบิ ตั ิการ
1.3.2 หวั หน้าฝา่ ยบรหิ ารงานการเงนิ -บัญชี จำนวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เน้น จำนวน 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
1.4.1 กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ จำนวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
1.4.2 โครงการสง่ เสริมผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะ
ดำเนนิ การอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาท่ีใช้ในการดำเนินการด้วยกไ็ ด้)
ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ช้วี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทีจ่ ะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ทีจ่ ะเกิดขนึ้ กับผ้เู รยี น
ของงานตามข้อตกลง ท่ีแสดงใหเ้ หน็ ถึงการ
1. ดา้ นการจดั การเรียนรู้ ตามข้อตกลง ใน ทคี่ าดหวงั ใหเ้ กดิ ขน้ึ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่
ลักษณะงานท่เี สนอให้ 1 รอบการประเมิน กับผู้เรียน (โปรดระบ)ุ ดีขึ้นหรอื มีการพัฒนา
ครอบคลุมถึงการสร้างและหรือ มากข้ึนหรือผลสัมฤทธิ์
พฒั นาหลกั สตู รการออกแบบ ( โปรดระบุ ) 1.1 ผู้เรียนได้เรยี นรู้ สงู ขน้ึ (โปรดระบ)ุ
การจัดการเรยี นรู้การจดั ตรงตามหลกั สูตรต้องรู้ 1.1 ผู้เรียนร้อยละ 75
กจิ กรรมการเรยี นรู้การสร้าง 1.1 การจดั ทำหลักสตู รกลุ่ม และควรรู้ในรายวชิ า มคี วามรู้ตามตัวชีว้ ัดที่
และหรอื พฒั นาสอื่ นวตั กรรม สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ภาษาไทย กลุ่มสาระ ตอ้ งรู้และควรรู้ ใน
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 เรยี นรูภ้ าษาไทย ช้ัน รายวชิ าภาษาไทย กลมุ่
- วิเคราะห์ และประเมนิ การ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 สาระเรียนรูภ้ าษาไทย
ใชห้ ลักสตู รกลุ่มสาระการ ตรงตามหลกั สตู รและ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1
เรยี นรวู้ ิชาภาษาไทยชน้ั สมรรถนะท่ีกำหนด ตรงตามหลักสตู รและ
ประถมศกึ ษาปีที่ 1ตาม สมรรถนะท่ีกำหนด
๓
ลักษณะงานท่ีปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ช้วี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่จี ะดำเนนิ การพฒั นา (Outcomes) ของ ทีจ่ ะเกิดขึ้นกับผเู้ รียน
งานตามข้อตกลง ท่ี ทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการ
ตามข้อตกลง ใน คาดหวังใหเ้ กดิ ข้ึน กบั เปลย่ี นแปลงไปในทาง ที่
1 รอบการประเมิน ผู้เรียน (โปรดระบ)ุ ดขี ้ึนหรอื มีการพัฒนา
มากข้ึนหรือผลสมั ฤทธ์ิ
(โปรดระบ)ุ สูงขึ้น (โปรดระบ)ุ
เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ตวั ชี้วัดทต่ี อ้ งรู้และควรรู้ตาม
การวัดและประเมินผลการ หลักสตู รแกนกลาง
จัดการเรียนรู้ การศึกษา การศึกษาข้ันพื้นฐาน
วิเคราะห์ สงั เคราะห์ เพ่ือ พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั
แกป้ ญั หาหรือพัฒนาการเรียนรู้ ปรับปรงุ 2560) และ
การจดั บรรยากาศทส่ี ง่ เสริมและ หลกั สตู รสถานศกึ ษา
พฒั นาผู้เรียน และ การอบรม โรงเรยี นบา้ นท่าข้าม
และพัฒนาคุณลักษณะทด่ี ีของ พทุ ธศักราช 2561 (ฉบบั
ผ้เู รียน ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564)
1.2 ออกแบบหนว่ ยการ 1.2. ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ 1.2 ผู้เรยี นร้อยละ 75
มคี วามรู้ตามหลักสตู ร
เรียนรู้ ตามหนว่ ยการเรียนรู้ ทต่ี ้องรู้ตามตัวช้ีวดั และ
มีคณุ ลกั ษะอันพึง
- จัดทำแผนการจดั การ รายวชิ าภาษาไทย ชน้ั ประสงค์ตามทก่ี ำหนด
เรยี นรู้กล่มุ สาระเรียนรู้ ประถมศกึ ษาท่ี 1 ตรง
ภาษาไทยชั้นป.1ที่ ตามหลกั สูตรและ
สอดคล้องกับมาตรฐาน สมรรถนะที่กำหนด
ตัวช้ีวัดที่ตอ้ งร้แู ละควรร้ตู าม
หลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับ
ปรบั ปรุง 2560) และ
หลกั สูตรสถานศกึ ษา
โรงเรยี นบา้ นทา่ ข้าม
พุทธศกั ราช 2561 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2564)
๔
ลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ช้ีวดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทจี่ ะดำเนินการพฒั นา (Outcomes) ของ ท่จี ะเกิดขน้ึ กับผ้เู รียน
งานตามข้อตกลง ที่ ที่แสดงใหเ้ หน็ ถึงการ
ตามข้อตกลง ใน คาดหวังให้เกิดขน้ึ กับ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ท่ี
1 รอบการประเมิน ผเู้ รยี น (โปรดระบุ) ดีขน้ึ หรอื มีการพฒั นา
มากขึน้ หรือผลสมั ฤทธ์ิ
(โปรดระบ)ุ 1.3 ผู้เรยี นได้รับการ สูงขนึ้ (โปรดระบ)ุ
ส่งเสริมการเรยี นรู้และ 1.3 ผู้เรียนรอ้ ยละ 75
1.3 การจดั กิจกรรมการ พฒั นาตนเองตาม ไดร้ ับการสง่ เสริมการ
เรยี นรู้ ศักยภาพและ เรยี นรู้และพัฒนาตนเอง
- การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ สอดคลอ้ งกับความ ตามศกั ยภาพและ
ที่ช่วยอำนวยความสะดวก แตกต่างของผู้เรยี น สอดคลอ้ งกบั ความ
ในการเรียนรแู้ ละส่งเสริม แตกตา่ งของผู้เรียน
ผู้เรยี นไดพ้ ฒั นาตาม
ศักยภาพ และสอดคลอ้ งกบั
ความแตกตา่ งของผเู้ รียน
1.4 สร้างและหรอื พัฒนาส่อื 1.4 ผู้เรยี นได้รับการ 1.4 นกั เรียนร้อยละ 75
นวตั กรรม เทคโนโลยีและ พฒั นาในการเรียนการ เกิดทกั ษะการเรยี นรู้
แหล่งเรยี นรู้ สอนโดยใช้ชุดแบบฝึก ทักษะการคิด ทักษะการ
- ผลติ สอื่ การสอน ใน ทกั ษะพฒั นาการอา่ น ทำงาน ทกั ษะการ
รายวิชาภาษาไทย กลุ่ม เขียน ในรายวชิ า แกป้ ญั หา ทักษะการ
สาระเรียนรูภ้ าษาไทยชั้น ภาษาไทย กลุ่มสาระ เช่ือมโยง และทักษะการ
ประถมศึกษาปีที่ 1 การเรยี นรู้ภาษาไทย สื่อสาร ตามเกณฑ์ท่ี
- พัฒนาชดุ แบบฝกึ ทักษะ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 กำหนดไวส้ ่งผลให้
การอา่ นและการเขยี น ท่มี ีประสทิ ธิภาพ นักเรยี นมคี วามเขา้ ใจ
ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปี และมีสมรรถนะตาม
ท่ี 1 ตัวช้ีวัดตรงตามหลกั สตู ร
1.5วดั และประเมนิ ผลการ 1.5 ผู้เรยี นไดร้ บั การวัด 1.5 ผู้เรยี นรอ้ ยละ 75
เรยี นรู้ ประเมินผลโดยใช้ มีผลสมั ฤทธ์ผิ ่านเกณฑ์
- สร้างเครอ่ื งมือวดั และ เครื่องมอื และแบบ ตามท่ีสถานศึกษา
ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ประเมินตามตวั ชว้ี ัดท่ี กำหนด
รายวิชาภาษาไทย กลมุ่ ต้องรู้และควรรู้ตาม
สาระเรียนรู้ภาษาไทยชัน้ หลักสตู รแกนกลาง
ประถมศึกษาปีที่ 1 การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
๕
ลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตัวช้วี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่
ทจ่ี ะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ของ ทจ่ี ะเกิดขนึ้ กับผูเ้ รยี น
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบการ งานตามข้อตกลง ที่ ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถึงการ
ประเมนิ คาดหวังใหเ้ กดิ ขนึ้ กบั เปลี่ยนแปลงไปในทาง ท่ี
(โปรดระบุ) ผู้เรียน (โปรดระบ)ุ ดีข้นึ หรอื มีการพฒั นา
มากข้ึนหรือผลสมั ฤทธิ์
สงู ขน้ึ (โปรดระบ)ุ
ตามตวั ช้ีวัดทตี่ ้องร้แู ละควรรู้ พทุ ธศักราช 2551
ตามหลกั สูตรแกนกลาง (ฉบับปรับปรงุ 2560)
การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน และหลักสูตร
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับ สถานศึกษาโรงเรียน
ปรับปรงุ 2560) และ บา้ นทา่ ข้าม
หลกั สตู รสถานศึกษา พุทธศักราช 2561
โรงเรียนบา้ นท่าข้าม (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.
พทุ ธศักราช 2561 (ฉบบั 2564)ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ
ปรับปรงุ พ.ศ. 2564) ทม่ี ี และน่าเชือ่ ถอื มีการ
ประสทิ ธภิ าพและนา่ เชื่อถือ จดั เก็บข้อมลู เปน็ ระบบ
มีการจดั เก็บข้อมลู เปน็ ระ
ระบบ
1.6 ศกึ ษา วิเคราะห์ และ 1.6 ผู้เรียนไดร้ ับการ 1.6 ผู้เรยี นรอ้ ยละ 75
สังเคราะห์ เพือ่ แกป้ ญั หา แก้ปญั หาหรือ ไดร้ ับการแกป้ ญั หาหรือ
หรือพฒั นาการเรยี นรู้ พฒั นาการเรยี นรู้ท่ี พัฒนาการเรยี นรู้ทสี่ ง่ ผล
- ศกึ ษาข้อมูล ประเมิน สง่ ผลต่อคณุ ภาพ ต่อคุณภาพผเู้ รียน
นกั เรียนเป็นรายบุคคลเพื่อ ผู้เรยี นรายบุคคล และ รายบุคคล
หาแนวทางแกป้ ัญหาดว้ ย มกี ารจดั เก็บข้อมมูล
การทำวจิ ัยในช้นั เรียน อย่างเป็นระบบ
1.7จัดบรรยากาศท่ีสง่ เสริม 1.7 ผู้เรียนมสี ่วนรว่ ม 1.7 ผู้เรยี นร้อยละ 75
และพัฒนาผูเ้ รยี น ในการจดั บรรยากาศใน มคี วามสนใจ และ
- จดั บรรยากาศ ชน้ั เรยี น มคี วามพึง กระตือรอื ร้นในการร่วม
ในเรียนการสอนที่สง่ เสรมิ พอใจ และมีความ ทำกิจกรรมสง่ ผลให้
และเอื้อต่อการเรียนรู้ของ พรอ้ มทีจ่ ะพัฒนา ผู้เรียนมคี วามสุขในการ
ผู้เรียนภายใตส้ ถานการณ์ ตนเอง เรียนรู้ส่งผลต่อการ
แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื
พฒั นาผลสมั ฤทธิ์
๖
ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตัวช้ีวดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทจ่ี ะเกิดข้นึ กบั ผูเ้ รียน
ที่จะดำเนนิ การพฒั นา (Outcomes) ของ ที่แสดงให้เหน็ ถึงการ
เปลีย่ นแปลงไปในทาง ท่ี
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบการ งานตามข้อตกลง ที่ ดขี น้ึ หรือมีการพัฒนา
มากขึ้นหรือผลสมั ฤทธิ์
ประเมิน คาดหวังใหเ้ กดิ ข้ึน กับ สงู ขน้ึ (โปรดระบุ)
ของผู้เรียนใหส้ ูงข้นึ
(โปรดระบ)ุ ผ้เู รียน (โปรดระบ)ุ
ไวรัสโคโรนา 2019 อย่าง
เหมาะสม
1.8 อบรมและพัฒนา 1.8. ผู้เรียนช้นั 1.8 ผู้เรยี นช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 1 ร้อย
คณุ ลกั ษณะที่ดีของผู้เรยี น ประถมศึกษาปที ี่ 1 ละ 100 ผ่านเกณฑ์
ประเมนิ คุณลักษณะอัน
- จดั กจิ กรรมแนะแนว เป็นผมู้ คี ุณลกั ษณะท่ดี ี พึงประสงค์ตามท่ี
สถานศกึ ษากำหนด
พฒั นาคุณลักษณะที่ดีของ ท้งั ต่อตนเอง ผ้อู ่ืน
2.1 ผู้เรียนร้อยละ 100
ผู้เรยี น ผา่ นไลน์กลมุ่ ชั้น โรงเรยี น และสงั คม มขี ้อมลู ในระบบ
สารสนเทศครบถ้วน ใน
ประถมศกึ ษาปีที่ 1 และ ทุกด้านเป็นระบบและ
เป็นรายบคุ คล
กิจกรรมครูประจำชัน้ พบ
2.2 ผู้เรียนรอ้ ยละ 100
นกั เรยี นในชัว่ โมงเชา้ ก่อน ได้รับการดูแลเอาใจใส่
ตรงตามความตอ้ งการ
เขา้ เรียนในสถานการณป์ กติ รายบคุ คลและมี
2. ด้านการส่งเสรมิ และ 2.1 จดั ทำข้อมลู สารสนเทศ 2.1 ผู้เรยี นมรี ะบบ
สนบั สนนุ การจัดการเรยี นรู้ ของผเู้ รียนและรายวิชา ข้อมูลสารสนเทศ
ลักษณะงานทเ่ี สนอให้ - จัดทำขอ้ มลู ในระบบ สะดวกต่อการใชง้ าน
ครอบคลุมถงึ การจัดทำข้อมลู สารสนเทศของผู้เรียนชั้น และมปี ระสทิ ธิภาพ
สารสนเทศของผ้เู รียนและ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 และใน และสามารถนำข้อมลู
รายวชิ าการดำเนินการตาม รายวชิ าท่ีทำการสอน มาใช้ได้ทันที
ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผ้เู รียน เอกสารงานประจำชน้ั แบบ
การปฏบิ ัตงิ านวชิ าการ และงาน ปพ.ตา่ ง ๆอยา่ งเป็นปัจจบุ ัน
อน่ื ๆ ของสถานศึกษาและการ เพื่อใชใ้ นการสง่ เสริม
ประสานความร่วมมือกับ สนับสนนุ และแก้ไขปัญหา
ผ้ปู กครองภาคเี ครือขา่ ย และ และพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน
หรือสถานประกอบการ 2.2 ดำเนนิ การตามระบบ 2.2 ผู้เรียนช้ัน
ดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ประถมศึกษาปีที่ 1
- มกี ารเย่ยี มบา้ นผู้เรียน ชน้ั มขี อ้ มลู พืน้ ฐานเปน็
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 อย่าง รายบคุ คล และไดร้ บั
๗
ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตวั ช้ีวัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทีจ่ ะดำเนนิ การพัฒนา (Outcomes) ของ ทจ่ี ะเกิดขน้ึ กับผู้เรียน
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบการ งานตามข้อตกลง ที่ ที่แสดงให้เหน็ ถึงการ
คาดหวงั ใหเ้ กิดขึน้ กบั เปลยี่ นแปลงไปในทาง ท่ี
ประเมิน ผเู้ รียน (โปรดระบ)ุ ดีขน้ึ หรือมีการพัฒนา
(โปรดระบ)ุ มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์
การประสานความ สูงขนึ้ (โปรดระบุ)
น้อยภาคเรยี นละ 1 ครั้ง ท้งั รว่ มมือจากผู้ท่ี ความสมั พันธ์อนั ดี
แบบเยย่ี มตามสภาพจรงิ เกีย่ วข้องเพ่ือให้ ระหว่างครูและนกั เรียน
และ Online ช่วยเหลอื ในเรอื่ งต่างๆ
- มีการประเมนิ คดั กรอง ตามสภาพและความ
ผู้เรยี นรายบคุ คลและ เหมาะสม
ประสานความรว่ มมือกับผมู้ ี
สว่ นเกี่ยวข้องเพอ่ื พฒั นา
และแก้ไขปัญหาของผู้เรียน
2.3 ปฏบิ ตั งิ านวิชาการ และ 2.3 ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรู้ 2.3 ผู้เรียนรอ้ ยละ 100
งานอนื่ ๆของสถานศึกษา ในกิจกรรมท่ี ไดร้ บั การพฒั นา และมี
- รว่ มปฏบิ ัตงิ านทางวิชาการ หลากหลายตาม ส่วนรว่ มในกจิ กรรมท่ี
ตามนโยบายสถานศึกษา โครงการและกิจกรรม โรงเรยี นจดั ขึน้
เพอื่ ยกระดับคณุ ภาพการจัด ทีท่ างโรงเรียนได้
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา กำหนดขึ้นตลอดปี
- ปฏิบตั ิงานในโครงการ การศึกษา
ต่างๆท่ีได้รบั มอบหมายและ
ตามคำสง่ั แตง่ ตง้ั ให้
รับผิดชอบ
2.4 ประสานความรว่ มมือ 2.4 ผู้เรยี นไดร้ ับความ 2.4 ผู้เรยี นรอ้ ยละ 100
กับผ้ปู กครอง ภาคีเครอื ข่าย ช่วยเหลอื จาก ในกลุม่ เปราะบาง ไดร้ บั
และหรือสถานประกอบการ ผูป้ กครอง หน่วยงานที่ การดูแล ประสานจดั สรร
- ประชุมผู้ปกครองผู้เรียน เก่ียวข้องและมีข้อมูล หาทนุ การศึกษาทำให้
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ในระบบสารสนเทศ ผู้เรยี นมคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ี
- ประสานผมู้ สี ่วนเก่ียวขอ้ ง ของโรงเรยี น ขึ้น และการเรียนของ
เพอื่ พฒั นาและแก้ไขปัญหา ผู้เรียนมผี ลสัมฤทธิท์ ี่
ผู้เรียน สงู ข้นึ
๘
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ชีว้ ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ของ ท่ีจะเกิดข้นึ กับผู้เรยี น
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบการ งานตามข้อตกลง ที่ ท่ีแสดงให้เหน็ ถึงการ
3. ดา้ นการพฒั นาตนเองและ คาดหวงั ใหเ้ กิดขึ้น กบั เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่
วชิ าชพี ประเมิน ผ้เู รียน (โปรดระบ)ุ ดขี ึน้ หรอื มีการพัฒนา
ลักษณะงานท่เี สนอให้ (โปรดระบ)ุ มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธิ์
ครอบคลุมถงึ การพฒั นาตนเอง 3.1ผู้เรียนได้รับการจดั สูงข้ึน (โปรดระบุ)
อย่างเปน็ ระบบ และต่อเน่ือง 3.1พัฒนาตนเองอย่างเปน็ กิจกรรมการเรียนการ 3.1ผู้เรยี นร้อยละ 100
การมีส่วนร่วม ในการ ระบบและต่อเนื่อง สอนที่เนน้ ผูเ้ รยี นเป็น ได้รบั การจัดกจิ กรรมการ
แลกเปลยี่ นเรยี นรทู้ างวิชาชีพ - พัฒนาตนเองโดยการเข้า สำคัญ มีกจิ กรรมที่ เรยี นการสอนด้วยวธิ กี าร
เพอ่ื พฒั นาการจัดการเรียนรู้ อบรม/ประชมุ /สัมมนา หลากหลายเหมาะสม ทห่ี ลากหลายและ
และการนำความรู้ ตลอดปงี บประมาณ 2565 ตามความแตกตา่ ง เหมาะสมกับเนอ้ื หา
ความสามารถ ทักษะที่ไดจ้ าก ในสาขาและวิชาเหมาะสม ระหวา่ งบุคคล ทำให้น สง่ ผลใหม้ ผี ลสัมฤทธ์ิ
การพัฒนาตนเอง และวิชาชพี กบั ระดบั ของตนเองเพ่ือ ผู้เรียนมีผลสมั ฤทธทิ์ ่ี ทางการเรียนสงู ขึ้น
มาใช้ในการพฒั นา การจดั การ นำมาพัฒนาสื่อและการจัด สงู ขึน้
เรยี นรู้ การพฒั นาคุณภาพ กิจกรรมการด้านการเรียน 3.2 ผู้เรยี นร้อยละ 80
ผูเ้ รียน และการพฒั นา การสอนทั้งรปู แบบการ 3.2 ผู้เรยี นชัน้ ได้รบั การแกไ้ ขเม่ือเกิด
นวตั กรรม การจัดการเรียนรู้ อบรมแบบปกติ และ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปญั หาทางการเรียนรู้
Online ได้รบั การแก้ไขปญั หา และปัญหาอน่ื ๆ ท่ีพบ
ในการเรยี น ได้ เห็นอย่างต่อเนอ่ื ง เป็น
3.2 มสี ว่ นรว่ มในการ เหมาะสม ตามระดบั ระบบ มผี ลสัมฤทธทิ์ ่ี
แลกเปลยี่ นเรียนรทู้ าง ความแตกต่างระหวา่ ง สงู ขนึ้ และไดร้ ับการ
วชิ าชพี บุคคลสง่ ผลให้นักเรยี น พัฒนา แกป้ ัญหาในการ
- เขา้ ร่วมกิจกรรมกลุม่ เพอื่ มีผลการเรียนที่ดีขึน้ เรยี นอย่างต่อเนื่อง
พัฒนางานด้านวชิ าชพี รวมถงึ ได้รับการพัฒนา
(PLC) นำความร้ทู ี่ไดม้ า จากสือ่ นวตั กรรมการ
สร้างส่อื และนวัตกรรมเพ่ือ เรยี นการสอนที่ครไู ด้
แกป้ ญั หานักเรยี นชั้น พฒั นาขน้ึ และนำมาใช้
ประถมศึกษาปีท่ี 1 จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
รายวชิ าภาษาไทย
๙
ลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชีว้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ท่จี ะดำเนนิ การพฒั นา (Outcomes) ของ ทจี่ ะเกิดข้นึ กับผู้เรียน
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบการ งานตามข้อตกลง ที่ ทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถึงการ
ประเมิน คาดหวงั ให้เกดิ ขน้ึ กับ เปลยี่ นแปลงไปในทาง ที่
(โปรดระบุ) ผเู้ รียน (โปรดระบ)ุ ดขี ึ้นหรอื มีการพัฒนา
มากข้นึ หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น (โปรดระบุ)
3.3 นำความรู้ความสามารถ 3.3 ผู้เรียนชัน้ 3.3 ผู้เรียนร้อยละ 75
ทกั ษะท่ีได้จากการพัฒนา ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ไดร้ ับการพฒั นาจากสื่อ
ตนเองและวชิ าชพี มาใช้ ไดร้ ับการพฒั นาสอ่ื การ การเรียนการสอนทีค่ รูได้
- ดำเนินการจดั การเรยี นรู้ เรียนการสอนที่ครูได้ พฒั นาขึ้นและนำมาใช้
วิชาภาษาไทยชนั้ พัฒนาและนำมาใชจ้ ดั จัดกจิ กรรมการเรียนรู้
ประถมศกึ ษาปีที่ 1 กิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย ช้ัน
ตามความรู้ ความสามารถ ท่ี ภาษาไทยช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1
ไดร้ บั จากการพัฒนาตนเอง ประถมศึกษาปีที่ 1
และวชิ าชพี มาใชใ้ นการ
พัฒนาการจดั การเรียนรู้
หมายเหตุ
1. รปู แบบการจัดทำข้อตกลงในการพฒั นา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการ
เรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครู
ผจู้ ดั ทำข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ที่
ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวชิ าหลกั ที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม
ของรายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหน่ึ งได้
โดยจะต้องแสดงให้เห็นถงึ การปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน
ตามขอ้ ตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน
(Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการ
พัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพ
การจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพั ฒนางาน
ตามข้อตกลงเปน็ สำคัญ โดยไมเ่ นน้ การประเมินจากเอกสาร
๑๐
ส่วนท่ี 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรง
ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของวิทยฐานะครูชำนาญ
การ คือ การแก้ไขปัญหา การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น ( ทั้งน้ี ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการ
ปฏิบตั ทิ ีค่ าดหวงั ในวทิ ยฐานะทสี่ งู กว่าได้ )
ประเด็นท้าทาย เร่ือง การพัฒนาทกั ษะการอ่าน และการเขยี น กลุม่ สาระภาษาไทย โดยใช้ชุดแบบ
ฝึกทักษะการอ่าน และการเขียน สำหรบั นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนบ้านท่าข้าม
1. สภาพปญั หาการจัดการเรียนรู้และคณุ ภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
จากการทดสอบการอ่านและเขียน ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านท่าข้ามที่ผ่านมา
พบว่า ร้อยละ 55.56 อ่านพยัญชนะและสระในภาษาไทยได้ไม่ครบทุกตัว ทำให้อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ และ
จากปัญหาด้านการอ่านและเขียนดังกล่าว ส่งผลให้เกิดปัญหาการเรียนรู้ได้ช้าในรายวิชาอื่นๆ ทำให้การ
ประเมินผลไม่เป็นไปตามมาตรฐานตัวชี้วัดที่หลักสูตรกำหนด ซึ่งในหลักสูตรแกนกลางกลุ่มสาระภาษาไทยช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 1 ได้กำหนดตัวชี้วัดที่ต้องรู้ในด้านการอ่านและเขียน คือ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง
ข้อความส้นั ๆ และเขียนส่ือสารดว้ ยคำและประโยคงา่ ยๆได้ ทงั้ น้ี ภายใตส้ ถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนในรปู แบบเปิดเรียนปกติ ( On site ) ได้ ครูผู้สอนจึง
จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ทั้งนี้จะต้องอำนวย
ความสะดวกในการเรียนการสอนของผู้เรียนและผู้ปกครอง ครูผู้สอนจึงพัฒนาชุดแบบฝึกทักษะการอ่าน และ
การเขียน สำหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ร่วมกับการใช้คลิปวิดีโอฝึกอ่านสะกดคำ และสื่อบัตรคำ เพื่อ
แก้ปัญหาด้านการอ่านและพัฒนาทักษะการเขียนประโยคง่ายๆ ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และเพื่อ
แก้ปัญหาการอ่าน และการเขียน รายวิชาภาษาไทย
2. วธิ กี ารดำเนนิ การให้บรรลผุ ล
2.1 วิเคราะห์หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง 2560)
และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านท่าข้าม พุทธศักราช 2561 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564) เพื่อออกแบบ
หนว่ ยการเรยี นรู้ตามตวั ชว้ี ดั ท่ตี ้องรู้และควรรู้กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1
2.2 ศกึ ษาการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้การส่ือชดุ แบบฝกึ ทักษะการอา่ นและเขียน รว่ มกบั การใชค้ ลปิ
วิดีโอฝกึ อา่ นสะกดคำ และสอื่ บัตรคำ สำหรับผู้เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1
2.3 ใช้กระบวนการรวมกลมุ่ ทางวชิ าชีพ (PLC) เพื่อช่วยในการแก้ไขปัญหา พฒั นาสื่อการสอน
และนวตั กรรมที่มปี ระสิทธภิ าพ
2.4 ออกแบบ และพฒั นาชดุ แบบฝกึ ทกั ษะการอ่าน และการเขยี น คลิปวิดโี อฝกึ อ่านสะกด และ
สอื่ บัตรคำ
2.5 จัดทำสื่อการเรียนรู้ พัฒนาทักษะการอ่าน และการเขียน ด้วยชุดสื่อการสอน ตามที่ได้
ออกแบบไว้
๑๑
2.6 นำชดุ ส่ือการสอนไปทดลองใช้ ประเมนิ ผล และนำผลที่ได้มาปรับปรุง พฒั นาชดุ ส่ือการสอน
ใหม้ คี วามน่าสนใจ เข้าใจง่าย และผู้เรียนสามารถเรียนรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง
2.7 นำชุดสอ่ื การสอน ไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอน และประเมินผล โดยการนำสารสนเทศ
ที่ไดม้ าพัฒนาผลการเรียนร้ใู ห้ผู้เรยี นบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ตี ้ังไว้
3. ผลลพั ธ์การพัฒนาที่คาดหวงั
3.1 เชิงปริมาณ
ผู้เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนบ้านท่าข้าม รอ้ ยละ 75 ที่เรยี นใน รายวิชาภาษาไทย
สามารถอ่าน และเขยี นประโยคงา่ ยๆ ตามตัวชวี้ ัดทต่ี ้องรู้กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทยได้
3.2 เชิงคุณภาพ
ผู้เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนบ้านท่าข้าม สามารถอ่าน และเขียนประโยคงา่ ยได้
ตามสมรรถนะของผเู้ รยี นในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ 2560)
ลงชอ่ื ...................................................................
(นางวณิตา ขุนแกว้ )
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ
ผจู้ ัดทำข้อตกลงในการพฒั นางาน
1 / ตลุ าคม / 2564
ความเหน็ ของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เหน็ ชอบให้เปน็ ข้อตกลงในการพฒั นางาน
( ) ไมเ่ ห็นชอบใหเ้ ปน็ ข้อตกลงในการพฒั นางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพ่ือนำไปแก้ไข และเสนอ
เพื่อพจิ ารณาอกี คร้ัง ดงั น้ี
.......................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงช่ือ...................................................................
(นางสาวกิตติมา ม่งุ วัฒนา)
ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นท่าขา้ ม
.............../.............../...................