The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

e-book ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยากับการใช้ประโยชน์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by t312546nichada, 2021-09-23 14:19:25

e-book ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยากับการใช้ประโยชน์

e-book ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยากับการใช้ประโยชน์

คำนำ

หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์เล่มน้ีมีเน้ือหาเก่ียวกบั ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยากบั การ
ใชป้ ระโยชน์ ซ่ึงมีรายละเอียดประกอบดว้ ย ขอ้ มูลและสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยา การใช้
ประโยชนจ์ ากขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยา โดยรวบรวมขอ้ มูลมาเพ่อื ใหผ้ ทู้ ่ีสนใจได้
ศึกษาและเรียนรู้เพ่มิ เติม

โดยเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ (ว30104) ระดบั มธั ยมศกึ ษา
ปี ที่ 6 ซ่ึงหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ ผอู้ ่านจะไดร้ ับประโยชนไ์ ม่มากกน็ อ้ ย และขอบคุณทุกท่านท่ีสนใจ
หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์เล่มน้ี หากมีขอ้ มูลผดิ พลาดประการใด ขอนอ้ มรับไว้ ณ ท่ีนี่

คณะผจู้ ดั ทา

สำรบัญ หนา้

เน้ือหา ก

คานา 1
สารบญั 2
บทนา 2
ขอ้ มูลและสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยา 3
แผนที่อากาศผวิ พ้ืน 4
ตวั อยา่ งแผนท่ีอากาศผวิ พ้ืน 4
ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยาอ่ืนๆ 5
ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวทิ ยา 6
ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวทิ ยาช่วงคลื่นรังสีอินฟราเรด 7
ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวทิ ยาช่วงคลื่นแสง 8
ตวั อยา่ งภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวทิ ยาช่วงคลื่นแสง 9
ขอ้ มูลเรดาร์ตรวจอากาศ 10
ขอ้ มูลเรดาร์ตรวจอากาศ 10
การใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยา 11
สรุปเน้ือหาภายในบทเรียน 12
สรุปเน้ือหาภายในบทเรียน
บรรณานุกรม

บทท่ี 10 ข้อมูลสารสนเทศทางอตุ ุนิยมวทิ ยากบั การใช้ประโยชน์

บทนา

การพยากรณ์อากาศมีการใชข้ อ้ มูลองคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศที่เกิดข้ึนในอดีตจนถึงปัจจุบนั
เพื่อนาไปคาดการณ์สภาพลมฟ้าอากาศที่จะเกิดข้ึนในอนาคต ท้งั น้ี หากมีขอ้ มูลองคป์ ระกอบลมฟ้า
อากาศจานวนมากกจ็ ะช่วยใหก้ ารพยากรณ์อากาศมีความแม่นยามากข้ึน ขอ้ มูลจากองคก์ าร
อุตุนิยมวทิ ยาโลกแสดงใหเ้ ห็นวา่ ในปี พ.ศ. 2561 มีการรวบรวมขอ้ มูลองคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศจาก
แหล่งขอ้ มูลต่างๆ ทวั่ โลกเป็นจานวนมาก โดยเป็นสถานีตรวจอากาศพ้นื ผวิ ประมาณ 10,000 แห่ง
สถานีตรวจอากาศช้นั บนประมาณ 1,000 แห่ง สถานีตรวจอากาศบนเรือประมาณ 7,000 ลา ทุ่นลอย
ในมหาสมุทรประมาณ 1,100 แห่ง สถานีเรดาร์ตรวจอากาศหลายร้อยแห่ง อุปกรณ์ตรวจวดั บน
เครื่องบินกวา่ 3,000 ลา และดาวเทียม 66 ดวง

รูปที่ 1 การตรวจวดั องค์ประกอบลมฟ้าอากาศจากแหล่งต่างๆ

1

ข้อมูลและสารสนเทศทางอตุ ุนิยมวทิ ยา

นกั อุตุนิยมวทิ ยารวบรวมขอ้ มูลองคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศจากสถานีตรวจอากาศทวั่ โลกมา
แสดงผลในรูปแบบของสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยาเพ่อื ใหง้ ่ายต่อการนาไปใชใ้ นการพยากรณ์
อากาศ ในประเทศไทยมีการใชส้ ารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยาหลายประเภทเพื่อช่วยในการพยากรณ์
อากาศ เช่น แผนท่ีอากาศชนิดต่างๆ ขอ้ มูลเรดาร์ตรวจอากาศ ภาพดาวเทียม โดยสารสนเทศแต่ละ
ประเภทแสดงขอ้ มูลองคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศแตกต่างกนั ดงั น้ี

แผนทอ่ี ากาศผวิ พืน้

แผนท่ีอากาศผวิ พ้ืนเป็นแผนที่อากาศ
ชนิดหน่ึงซ่ึงแสดงขอ้ มูลองคป์ ระกอบลมฟ้า
อากาศท่ีไดจ้ ากการตรวจวดั อากาศจากสถานี
ตรวจอากาศผวิ พ้ืนหรือจากแบบจาลองพยากรณ์
อากาศเชิงตวั เลขขอ้ มูลองคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศ
ณ ตาแหน่งต่างๆบนพ้นื ผวิ โลกจะแสดงดว้ ย
สญั ลกั ษณ์ดงั รูป

จากรูปสญั ลกั ษณ์แสดงขอ้ มูลองคป์ ระกอบ รูปท่ี 2 ตวั อย่างสัยลกั ษณ์แสดงข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ
ลมฟ้าอากาศเช่นอุณหภูมิอากาศอุณหภูมิจุด จากสถานตี รวจอากาศพืน้ ผวิ
น้าคา้ งทิศทางและอตั ราเร็วลม สดั ส่วนเมฆใน
ทอ้ งฟ้า ความกดอากาศจะปรากฏ ณ ตาแหน่ง
เดิมเสมอ ยกเวน้ สัญลกั ษณ์แสดงทิศทางลมที่จะ

เปลี่ยนตาแหน่งตามทิศทางลมในขณะตรวจวดั ในสัญลกั ษณ์แสดงขอ้ มูลองคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศ
อาจแสดงขอ้ มูลไม่ครบถว้ นท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั สภาพลมฟ้าอากาศท่ีตรวจวดั ได้

2

ตวั อยา่ งแผนที่อากาศในช่วงฤดูร้อนของประเทศไทยมกั ปรากฏสญั ลกั ษณ์หยอ่ มความกดอากาศต่า
บริเวณประเทศไทยและบริเวณโดยรอบซ่ึงบ่งช้ีวา่ ในขณะน้นั อากาศที่ปกคลุมประเทศไทยและ
ประเทศใกลเ้ คียงเป็นนอากาศร้อน ในขณะเดียวกนั เสน้ ความกดอากาศเท่ารอบบริเวณความกด
อากาศสูงที่อยทู่ างตะวนั ออกของประเทศจีนมีลกั ษณะคลา้ ยลิ่มมาทางประเทศไทย ดงั รูป

รูปที่ 3 แผนทอ่ี ากาศพืน้ ผวิ แสดงการเคล่ือนทขี่ องอากาศเยน็ จากประเทศจนี มายงั หย่อมความกดอากาศตา่ ทป่ี กคลมุ ประเทศไทย

ข้อมูลสารสนเทศทางอตุ ุนิยมวทิ ยาอ่ืนๆ

3

ในการติดตามสภาพลมฟ้าอากาศ นอกจากขอ้ มูลจากแผนท่ีอากาศแลว้ ยงั มีสารสนเทศทาง
อุตุนิยมวทิ ยาอื่นๆ เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม ขอ้ มูลเรดาร์ตรวจอากาศที่ถูกนามาใชใ้ นการคาดการณ์
สภาพลมฟ้าอากาศใหม้ ีความถูกตอ้ งและแม่นยามากยงิ่ ข้ึน โดยสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยาที่
นามาใชม้ ีขอ้ มูลและรายละเอียดที่แตกต่างกนั ดงั น้ี

ก. ภาพถ่ายดาวเทยี มอตุ ุนิยมวทิ ยา ดาวเทียม
อุตุนิยมวทิ ยาเป็นอีกเครื่องมือสาคญั ที่ให้
ขอ้ มูลทางอุตุนิยมวทิ ยา เช่น ชนิดและ
ปริมาณของเมฆท่ีปกคลุมทอ้ งฟ้า ความ
รุนแรง และความเร็วสูงสุดใกลศ้ ูนยก์ ลาง
ของพายหุ มุนเขตร้อน ขอ้ มูลอุตุนิยมวิทยา
เหล่าน้ีไดจ้ ากการตรวจวดั คล่ืน
แม่เหลก็ ไฟฟ้า

รูปที่ 4 ภาพถ่ายดาวเทยี มอตุ ุนิยมวทิ ยา

ในช่วงความยาวคลื่นที่แตกต่างกนั และประมวลผลออกมาเป็นภาพ สาหรับภาพถ่าย
ดาวเทียมท่ีศกึ ษาในบทเรียนน้ี ประกอบดว้ ย ภาพถ่ายดาวเทียมในช่วง 2 คล่ืนสาคญั ที่
เผยแพร่ในส่ือต่างๆ อยา่ งแพร่หลาย คือ ภาพถ่ายดาวเทียมช่วงคลื่นอินฟาเรด (infrared
satellite image) และภาพถ่ายดาวเทียมช่วงคลื่นแสง (visible satellite image) ลกั ษณะภาพท่ี
ไดแ้ ละการแปลความหมายของภาพถ่าย ดาวเทียมแต่ละช่วงความยาวคล่ืนมีความแตกต่าง
กนั ดงั น้ี

4

1) ภาพถ่ายดาวเทยี มอตุ ุนิยมวทิ ยาช่วงคลื่นรังสีอนิ ฟราเรด เป็นภาพท่ีไดจ้ ากการ
ตรวจวดั ปริมาณของรังสีอินฟราเรดท่ีแผอ่ อกมาจากวตั ถุสามารถตรวจวดั ไดท้ ุก
ช่วงเวลา ภาพที่ไดจ้ ะเป็นภาพท่ีมีเฉดสีเทาไล่ระดบั สีแตกต่างกนั ตามอุณหภูมิ
ของพ้นื ผวิ วตั ถุ ถา้ ภาพมีเฉดสีขาวถึงเทาอ่อนแสดงวา่ วตั ถุน้นั มีอุณหภูมิต่า ถา้
ภาพมีเฉดสีเทาเขม้ ถึงดาแสดงวา่ วตั ถุน้นั มีอุณหภูมิสูง ดงั น้นั ภาพถ่ายดาวเทียม
ช่วงคล่ืนอินฟราเรดของเมฆจึงมีสีแตกต่างกนั ตามอุณหภูมิของเมฆชนิดต่างๆ
ดงั รูป

รูป 5 การแผ่รังสีอนิ ฟราเรดของเมฆช้ันตา่ และเมฆช้ันสูงในบริเวณทต่ี ่างกนั

เมฆท่ีอยสู่ ูงหรือมียอดเมฆสูงมีอุณหภูมิต่า เช่น เมฆช้นั สูง เมฆฝนฟ้าคะนอง ภาพจะปรากฏ
เป็นสีขาวหรือสีขาวสวา่ ง ส่วนเมฆท่ีอยใู่ นระดบั ต่าลงมาใกลพ้ ้ืนผวิ โลก มีอุณหภูมิสูงข้ึนตามระดบั
ความสูงที่ลดลง จะปรากฏเฉดสีเป็นสีเทามากข้ึน ส่วนพ้ืนดินและพ้ืนน้าซ่ึงมีอุณหภูมิสูงกวา่ เมฆจะ
ปรากฏเป็นสีเทาเขม้ ถึงดา

การแปลความหมายภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวทิ ยาช่วงคลื่นอินฟราเรดยงั มีขอ้ จากดั คือ ถา้
วตั ถุมีอุณหภูมิใกลเ้ คียงกนั มาก สีของภาพจากการตรวจวดั จะมีความแตกต่างกนั นอ้ ย ทาใหแ้ ปล
ความหมายของภาพไดย้ าก ดงั น้นั จึงตอ้ งใชก้ ารปรับสีของภาพในแต่ละช่วงอุณหภูมิใหม้ ีความ
ละเอียดมากข้ึน

5

รูป 6 ภาพถ่ายดาวเทยี มอุตนุ ยิ มวทิ ยาช่วงคล่ืนอนิ ฟราเรดจากดาวเทยี ม

นอกจากภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงคลื่นอินฟราเรดแลว้ นกั อุตุนิยมวิทยายงั มีการใช้
ขอ้ มูลจากภาพถ่าย ดาวเทียมจากช่วงคล่ืนแสงร่วมดว้ ย เพอื่ ใหก้ ารแปลความหมายจาก
ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวทิ ยามีความสมบูรณ์มากข้ึน

2) ภาพถ่ายดาวเทยี มอตุ ุนิยมวทิ ยาช่วงคลื่นแสง

เป็นภาพที่ไดจ้ ากการสะทอ้ นรังสีของวตั ถุ

ดงั น้นั การใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มูลของ

ภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงคลื่นน้ีจึงใชเ้ ฉพาะ

ภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงที่มีแสงซ่ึงภาพท่ีได้ รูป 5 ภาพถ่ายดาวเทยี ม
จะเป็นภาพที่มีเฉดสีเทาไล่ระดบั สีตาม อตุ นุ ยิ มวทิ ยาช่วงคลื่นแสง
อตั ราส่วนรังสีสะทอ้ นของวตั ถุ สาหรับ

อตั ราส่วนรังสีสะทอ้ นของเมฆจะสมั พนั ธ์ รูปที่ 7 ภาพถ่ายดาวเทยี มอตุ นุ ยิ มวทิ ยาช่วง
กบั ความหนาของเมฆ ถา้ เมฆที่มีความหนา คล่ืนแสง

มาก จะมีอตั ราส่วนรังสีสะทอ้ นสูงกวา่ เมฆท่ีมีความหนานอ้ ย ภาพถ่ายดาวเทียม

จึงแสดงเฉดสีของเมฆท่ีแตกต่างกนั โดยไล่ระดบั เฉดสีจากสีขาวไปจนถึงสีเทา

อ่อนตามความหนาของเมฆท่ีลดลง สาหรับเมฆท่ีมีความหนานอ้ ยมากจะมีสีเทา

เขม้ ถึงสีค่อนขา้ งดาจนเกือบกลมกลืนกบั สีของพ้นื ผวิ โลก

6

นอกจากการสังเกตสีแลว้ ภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงคลื่นแสงยงั แสดงรูปทรง และ
ลกั ษณะพ้นื ผวิ ของเมฆทาใหส้ ามารถระบุไดว้ า่ เมฆดงั กล่าวเป็นเมฆกอ้ นหรือเมฆแผน่ ถา้
เป็นเมฆกอ้ นภาพถ่ายดาวเทียมส่วนใหญ่จะแสดงรูปทรงที่มีลกั ษณะเป็นกอ้ น พ้ืนผวิ ไม่เรียบ
ส่วนเมฆแผน่ มกั มีพ้นื ผวิ เรียบ หรือมีรูปทรงไม่ชดั เจน

รูปที่ 8 ภาพถ่ายจากดาวเทยี มฮิมาวาริในช่วงคล่ืนแสงบริเวณประเทศไทย

จากที่นกั เรียนไดศ้ ึกษาเป็นการใชข้ อ้ มูลดาวเทียมอุตุนิยมวทิ ยาในรูปของภาพถ่ายดาวเทียม
ซ่ึงภาพถ่ายดาวเทียมแต่ละช่วงคลื่นน้นั มีขอ้ ดีและขอ้ จากดั ท่ีแตกต่างกนั ดงั น้นั การใชป้ ระโยชน์
จากขอ้ มูลในภาพถ่ายดาวเทียมตอ้ งนาขอ้ มูลจากภาพถ่ายดาวเทียมในหลายช่วงคลื่นมาประมวลผล
ร่วมกนั เพ่ือใหส้ ามารถแปลผลขอ้ มูลไดแ้ ม่นยา และสามารถนามาคาดการณ์สภาพลมฟ้าอากาศ
เบ้ืองตน้ ได้ แต่สาหรับการพยากรณ์อากาศน้นั ตอ้ งใชข้ อ้ มูลจากดาวเทียมเพื่อนาไปวเิ คราะหด์ ว้ ย
ระบบที่ซบั ซอ้ น เพ่ือใชเ้ ป็นขอ้ มูลสาหรับแบบพยากรณ์อากาศเชิงตวั เลขท่ีใหข้ อ้ มูลลมฟ้าอากาศเพ่มิ
มากข้ึนและมีความถูกตอ้ งที่สุด

7

อยา่ งไรกต็ ามภาพถ่ายดาวเทียมน้นั ใหข้ อ้ มูลชนิดและปริมาณของเมฆท่ีปกคลุมทอ้ งฟ้า ถา้
หากตอ้ งการคาดการณ์ปริมาณฝนฟ้าคะนอง ตอ้ งใชเ้ คร่ืองมือที่สาคญั อีกอยา่ งหน่ึง คือ เรดาร์ตรวจ
อากาศ (weather radar) ซ่ึงสามารถบอกขอ้ มูลของหยาดน้าฟ้า ทาใหค้ าดการณ์ความแรงของฝน ทิศ
ทางการเคลื่อนตวั ของกลุ่มฝน และปริมาณน้าฝนในแต่ละพ้ืนท่ีได้

ข. ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ เรดาร์ตรวจอากาศเป็นเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการติดตามขอ้ มูลจาก
หยาดน้าฟ้าท่ีเกิดข้ึนแลว้ ในบรรยากาศขณะทาการตรวจวดั ซ่ึงยงั ไม่ใช่ปริมาณฝนหรือหยาด
น้าฟ้าท่ีตกถึงพ้ืนดิน โดยมีรัศมีการตรวจวดั หลายร้อยกิโลเมตร และตรวจวดั ค่าความเขม้
ของคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าที่สะทอ้ นกลบั มายงั เรดาร์ตรวจอากาศ

เรดาร์ตรวจอากาศจะตรวจวดั หยาดน้าฟ้าโดยการปล่อยคลื่นไมโครเวฟออกไปกระทบกบั
เมฆฝนฟ้าคะนองเพอื่ ใหค้ ลื่นสะทอ้ นกลบั มาสู่ตวั รับสัญญาณ โดยความเขม้ ของคลื่นที่สะทอ้ นกลบั
จะแตกต่างกนั ตามบริเวณของเมฆท่ีคลื่นไปกระทบ เช่น บริเวณยอดเมฆ บริเวณตอนกลางของเมฆ
บริเวณใตฐ้ านเมฆ

รูปที่ 9 การทางานของเรดาร์อากาศ

8

ซ่ึงความเขม้ ของคล่ืนท่ีสะทอ้ นกลบั มีหน่วยเดซิ รูป 10 ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ
เบลหรือ dBZ ในการตรวจวดั ดว้ ยเรดาร์ตรวจอากาศของ
กรมอุตุนิยมวทิ ยาจะตรวจวดั ค่าการสะทอ้ นกลบั ของคล่ืน
โดยกาหนดค่ามุมเงยเพียงค่าเดียวในระดบั ท่ีใกลพ้ ้นื โลก
มากที่สุดท่ีคลื่นสามารถขา้ มสิ่งกีดขวางต่าง ๆ ได้ เช่น
อาคารสูง เพื่อใหเ้ รดาร์กวาดทามุมได้ 360 องศา รอบ
ตาแหน่งท่ีต้งั ของเรดาร์ ภาพจากเรดาร์ตรวจอากาศเป็น
ภาพท่ีมีมุมมองเช่นเดียวกบั การมองจากดา้ นบน (top
view) เรียกวา่ ภาพแบบ PPI (the plan position indicator)
ตามท่ีไดเ้ ห็นในรายการโทรทศั นห์ รือในเวบ็ ไซตก์ รม
อุตุนิยมวทิ ยา ดงั รูป

ความเขม้ ของคล่ืนที่ตรวจวดั ไดจ้ ะแสดงดว้ ยสีท่ีแตกต่างกนั ตามความแรงและชนิดของ
หยาดน้าฟ้า โดยฝนที่มีกาลงั อ่อนที่สุดจะตรวจวดั ค่าความเขม้ ของคล่ืนท่ีสะทอ้ นได้ 20 เดซิเบล
ดงั น้นั เม่ือวเิ คราะห์สีท่ีปรากฏในพ้นื ท่ีต่าง ๆ จึงสามารถบอกขอ้ มูลไดว้ า่ บริเวณใดมีฝน ซ่ึงจะ
ปรากฏเป็นสีที่แสดงค่าความเขม้ ของคล่ืนท่ีสะทอ้ นกลบั มากกวา่ 20 เดซิเบลข้ึนไป นอกจากเรดาร์
ตรวจอากาศจะบอกพ้นื ท่ีที่พบความแรงของกลุ่มฝนแลว้ ยงั สามารถนาขอ้ มูลตรวจวดั ในเวลา
ใกลเ้ คียงกนั มาคาดคะเนการเคล่ือนตวั ของกลุ่มฝนได้ แต่ไม่สามารถนามาพยากรณ์ฝนที่จะเกิดข้ึน
ได้ ดงั ท่ีไดศ้ ึกษาการแปลความหมายขอ้ มูลเรดาร์ตรวจอากาศในกิจกรรม 10.2 แต่อยา่ งไรกต็ ามการ
แปลความหมายขอ้ มูลเรดาร์อาจตอ้ งระวงั เรื่องขอ้ มูลที่ไม่ไดแ้ สดงถึงค่าความแรงของฝนที่แทจ้ ริง
โดยมกั พบขอ้ มูลดงั กล่าวมีลกั ษณะเป็นแถบยาวออกจากสถานีไปตามรัศมีตรวจวดั หรือบริเวณขอบ
ของรัศมีเรดาร์และขอ้ มูลน้ีจะมีค่าความเขม้ ของคล่ืนที่สะทอ้ นกลบั สูงกวา่ ปกติ ดงั น้นั จึงควร
ตรวจสอบขอ้ มูลร่วมกบั ภาพถ่ายดาวเทียม

9

การใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศทางอตุ ุนิยมวทิ ยา

1. วางแผนการประกอบอาชีพ
2. การท่องเท่ียว
3. วางแผนเตรียมความพร้อมกบั ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ
4. วางแผนการบริหารจดั การน้า
5. วางแผนการคมนาคม
6. วางแผนการปฏิบตั ิการนอกชายฝ่ัง
7. วางแผนการทากิจกรรมประจาวนั

สรุปเนื้อหาภายในบทเรียน

1. แผนท่ีอากาศผวิ พ้นื เป็นสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยาท่ีแสดงสภาพลมฟ้าอากาศในรูปแบบ
ของสัญลกั ษณ์ต่างๆ ไดแ้ ก่ เส้นความกดอากาศเท่า บริเวณความกดอากาศสูง หยอ่ มความกด
อากาศต่า พายหุ มุนเขตร้อน แนวปะทะอากาศ และร่องความกดอากาศต่า

2. การแปลความหมายขอ้ มูลสญั ลกั ษณ์ท่ีปรากฏบนแผนที่อากาศผวิ พ้นื ทาใหท้ ราบสภาพลม
ฟ้าอากาศเป็นบริเวณกวา้ งซ่ึงสามารถนามาคาดการณ์สภาพลมฟ้าอากาศและวางแผนการ
ดาเนินชีวติ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพลมฟ้าอากาศ

3. ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวทิ ยา เป็นขอ้ มูลที่แปลงจากค่าการตรวจวดั คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าใน
หลายช่วงความยาวคล่ืนของดาวเทียมอุตุนิยมวทิ ยา โดยขอ้ มูลที่ไดจ้ ากภาพถ่ายดาวเทียมใน
แต่ละช่วงความยาวคลื่น ทาใหท้ ราบตาแหน่งที่พบเมฆ ชนิด และอุณหภูมิของเมฆ รวมท้งั
ตาแหน่งของพายหุ มุนเขตร้อน และการใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มูลในภาพถ่ายดาวเทียม ตอ้ งนา
ขอ้ มูลจากภาพถ่ายดาวเทียมในหลายช่วงความยาวคลื่นมาประมวลผลร่วมกนั เพื่อให้
สามารถแปลผลขอ้ มูลไดถ้ ูกตอ้ งมากข้ึน

10

4. เรดาร์ตรวจอากาศเป็นเครื่องมือท่ีใชใ้ นการติดตามขอ้ มูลหยาดน้าฟ้าที่เกิดข้ึนแลว้ ใน
บรรยากาศในขณะทาการตรวจวดั โดยตรวจวดั ค่าความเขม้ ของคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าท่ี
สะทอ้ นกลบั มายงั เรดาร์ตรวจอากาศ ทาใหท้ ราบพ้ืนท่ีที่ตรวจพบกลุ่มฝน ความแรง และทิศ
ทางการเคลื่อนตวั ของกลุ่มฝน และควรตรวจสอบขอ้ มูลร่วมกบั ภาพถ่ายดาวเทียมเพอื่ ให้
สามารถแปลผลขอ้ มูลไดถ้ ูกตอ้ งมากข้ึน

5. ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยา มีประโยชนต์ ่อการดาเนินชีวติ และวางแผนประกอบ
อาชีพต่างๆ ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพลมฟ้าอากาศ รวมท้งั ลดผลกระทบที่อาจเกิดข้ึน

11

บรรณานุกรม

 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). หนงั สือ
เรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยวี ทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศมธั ยมศึกษาปี
ที่ 6. (พิมพค์ ร้ังท่ี1). สกสค.ลาดพร้าว: ศกึ ษาภณั ฑพ์ านิชย.์

12

รายช่ือสมาชิก
นางสาวเกตุสุดา บุดทะสุ เลขท่ี 11 ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 6/11
นางสาวขนิษฐา สุวรรณโค เลขท่ี 12 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 6/11
นางสาวธันยนิษฐ์ ทาระกะจดั เลขที่ 14 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 6/11
นางสาวนิฌาฎาร์ ผวิ ผ่อง เลขที่ 15 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 6/11

เสนอ
คุณครูนพรัตน์ นามเนาว์


Click to View FlipBook Version