1
2
การแบ่งปนั ข้อมลู ผ่านเครอื ขา่ ย
ระบบสือ่ สารขอ้ มูลสำหรับเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์
ความหมาย ระบบการโอนถ่ายข้อมูลหรอื การแลกเปลยี่ นข้อมูลระหวา่ งตน้ ทางหรือปลายทางโดยใช้อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม
องคป์ ระกอบระบบส่อื สารขอ้ มูลสำหรับเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์
- ข่าวสาร (Message) เปน็ ขอ้ มลู รูปแบบตา่ ง ๆ
- ผู้สง่ หรอื อปุ กรณส์ ง่ ขอ้ มูล (Sender)
- สื่อหรอื ตวั กลาง (Media) เป็นสอ่ื หรือชอ่ งทาง ที่ใช้ในการนำข้อมลู จากต้นทางไปยังปลายทาง
- กฎ ข้อตกลง ระเบยี บวธิ กี ารรบั ส่ง(protocol) สอ่ื หรอื ตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมลู สำหรบั คอมพิวเตอร์
- สอ่ื หรอื ตวั กลางประเภทมสี าย
- สือ่ หรือตวั กลางประเภทไร้สาย
ความหมายเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
ระบบการสอ่ื สารระหว่างคอมพิวเตอร์จำนวนต้งั แต่สองเครื่องขึน้ ไป และอปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ต่าง ๆ เพ่อื แลกเปลย่ี นขอ้ มูลและสารสนเทศ รวมถงึ ใช้อุปกรณ์
คอมพวิ เตอร์ร่วมกนั
ประโยชนข์ องเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์
- การใชท้ รัพยากรร่วมกนั (Resources Sharing) หมายถงึ การใช้อปุ กรณต์ า่ ง ๆ เช่น เครอื่ งพิมพร์ ว่ มกัน
- การแชรไ์ ฟล์ เมื่อคอมพิวเตอรถ์ กู ติดตงั้ เป็นระบบเน็ตเวิรก์ แลว้ การใช้ไฟล์ข้อมูลรว่ มกนั หรอื การแลกเปลีย่ นไฟล์ทำได้อยา่ งสะดวกรวดเร็ว
- สามารถบรหิ ารจัดการทำงานคอมพวิ เตอร์ทกุ เครือ่ งได้จากศนู ย์กลาง (Centralized Management)
- สามารถทำการส่อื สารกันในเครอื ขา่ ย (Communication) ได้หลายรปู แบบ
3
- มรี ะบบรักษาความปลอดภัยของขอ้ มูลบนเครือขา่ ย (Network Security)
ประเภทของระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์
- เครือขา่ ยทอ้ งถน่ิ (Local Area Network : LAN)
- เครอื ขา่ ยเมือง (Metropolises Area Network :MAN)
- เครอื ขา่ ยระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN)
- เครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ (Internet)
รปู แบบการเชอ่ื มตอ่ ของระบบเครอื ขา่ ย (network topology)
- การเชอื่ มตอ่ เครือข่ายแบบบสั (bus network) เป็นการเชือ่ มต่อคอมพวิ เตอร์ ทกุ เครื่องบนสายสญั ญาณหลกั เส้นเดยี วทปี่ ลายท้งั สองดา้ นปดิ ด้วยอุปกรณ์ทเ่ี รียกวา่
Terminator
- การเช่ือต่อเครอื ขา่ ยแบบวงแหวน (ring network) การเชอ่ื มต่อแบบวงแหวน เปน็ การเช่ือมตอ่ จากเครื่องหน่ึงไปยังอีกเครือ่ งหนง่ึ จนครบวงจร ในการส่งข้อมลู จะ
ส่งออกท่สี ายสญั ญาณวงแหวน โดยจะเป็นการสง่ ผ่านจากเคร่อื งหน่งึ ไปสูเ่ ครอื่ งหนึ่งจนกว่าจะถงึ เครอ่ื งปลายทาง
- การเชือ่ มตอ่ เครือขา่ ยแบบดาว (Star network) เป็นการเช่ือมต่อสายสอ่ื สารจากคอมพวิ เตอร์หลายๆเครอ่ื งไปยงั ฮับ (hub) หรอื สวติ ช์ (switch) ซึง่ เป็นอปุ กรณ์
สลบั สายกลางแบบจดุ ตอ่ จดุ เป็นศูนยก์ ลางของการเชอื่ มตอ่
- เครือขา่ ยแบบ Hybrid เปน็ การเชือ่ มตอ่ ทีผ่ สมผสานเครือขา่ ยย่อยๆ หลายสว่ นมารวมเข้าด้วยกัน เช่น นำเอาเครอื ขา่ ยระบบ Bus, ระบบ Ring และ ระบบ Star
มาเชือ่ มตอ่ เข้าด้วยกนั เหมาะสำหรบั บางหน่วยงานท่มี ีเครอื ข่ายเกา่ และใหม่ใหส้ ามารถทำงานร่วมกนั
อปุ กรณเ์ ครือขา่ ย
ตัวอยา่ งเชน่ ฮับ (hub) โมเด็ม (modem) การ์ด LAN (Network Interface Card – NIC) สวติ ช์ (Switching) เราท์เตอร์ (router)
4
โปรโตคอล (Protocol)
โปรโตคอล คอื ขอ้ กำหนดหรอื ขอ้ ตกลงท่ใี ชค้ วบคมุ การส่อื สารขอ้ มลู ในเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ หรืออุปกรณเ์ ครือข่ายทใ่ี ช้โปรโตคอลชนิดเดยี วกันซ่ึงสามารถ
ติดต่อสื่อสารระหว่างกนั ไดเ้ หมือนกบั มนุษยท์ ่ีใช้ภาษาเดยี วกนั ในการส่ือสาร เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจร่วมกนั นนั่ องคก์ รทีเ่ ก่ียวข้องไดก้ ำหนดโปรโตคอลที่เรียกว่ามาตรฐานการ
จัดการระบบการเชอื่ มตอ่ สอื่ สาร
ชนิดของโปรโตคอล
-ทซี พี ีหรือไอพี (TCP/IP) โปรโตคอล TCP/IP เปน็ ช่ือเรียกของชุดโปรโตคอลทีส่ ำคญั มีการใชง้ านกนั อยา่ งแพร่หลายตามการขยายตัวของอินเทอร์เนท/อนิ ทราเนท
-เอฟทีพี (FTP) ใช้สำหรับแลกเปลี่ยนและจดั การไฟลบ์ นเครือข่ายทีซพี ี/ไอพเี ช่นอนิ เทอร์เน็ต เอฟทีพถี ูกสรา้ งขนึ้ ดว้ ยสถาปตั ยกรรมแบบระบบรบั -ให้บริการ (client-
server) และใช้การเชอื่ มตอ่ สำหรับส่วนข้อมูลและส่วนควบคมุ แยกกันระหวา่ งเครือ่ งลูก ขา่ ยกับเคร่ืองแมข่ ่าย โปรแกรมประยกุ ต์เอฟทพี เี ร่ิมแรกโต้ตอบกนั ด้วยเครอื่ งมอื ราย
คำส่ัง สั่งการดว้ ยไวยากรณท์ ่ี เปน็ มาตรฐาน
-เอชทที พี ี (HTTP) คอื โพรโทคอลในระดับชนั้ โปรแกรมประยกุ ต์เพ่อื การแจกจา่ ยและการทำงานร่วมกันกับสารสนเทศของสอื่ ผสมใชส้ ำหรับการรับทรัพยากรท่ี
เชือ่ มโยงกบั ภายนอก ซึ่งนำไปส่กู ารจัดต้ังเวิลดไ์ วด์เว็บ
-เอสเอม็ ทีพี (SMTP) เปน็ โพรโทคอลสำหรบั สง่ อีเมลในเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต
SMTP เป็นโพรโทคอลแบบขอ้ ความท่ีเรียบงา่ ย ทำงานอยบู่ นโพรโทคอล TCP พอร์ต 25 ในการส่งอเี มลไปยังทีอ่ ยทู่ ก่ี ำหนด จำเปน็ ต้องใช้ค่า MX (Mail
eXchange) ของ DNS
-พโี อพีทรี (POP3) เป็นโปรโตคอล client/sever ทีร่ บั e-mail แลว้ จะเก็บไวใ้ นเครอ่ื งแม่ขา่ ย Internet เม่อื ผ้ใู ชต้ รวจสอบ mail-box บนเครอ่ื งแมข่ ่ายและ ดาวน์
โหลดขา่ วสาร POP3 ตดิ มากบั Net manager suite ของผลติ ภณั ฑอ์ ินเตอรเ์ นต็ และ e-mail ทีไ่ ด้รับความนยิ มคอื Eudora และตดิ ตง้ั อยู่ใน browser ของ Netscope และ
Microsoft Internet Explorer
5
การถ่ายโอนขอ้ มูล
- การถา่ ยโอนขอ้ มลู แบบขนาน (Parallel transmission)
- การถา่ ยโอนข้อมูลแบบอนกุ รม (Serial transmission)
บทบาทของการส่อื สารขอ้ มลู และเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์
การติดตอ่ ส่อื สารเป็นการพดู คยุ หรอื ส่งข่าวสารกันของมนษุ ย์ ซ่งึ อาจเป็นการแสดงออกดว้ ยทา่ ทาง การใชภ้ าษาพูดหรอื ผา่ นทางตัวอักษร โดยส่วนใหญ่เปน็ การสื่อสารใน
ระยะมาใกล้ ตอ่ มาเม่ือเทคโนโลยกี ้าวหนา้ ขึ้นมีการพัฒนาอปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ สส์ ำหรบั ใช้ในการส่อื สาร ทำใหส้ ามารถสอ่ื สารไดใ้ นระยะทางไกลและสะดวกรวดเรว็ มากขึ้น
เชน่ โทรเลข โทรศพั ท์ และโทรสาร
6
ประโยชนข์ องการส่อื สารข้อมูลและเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ มีดงั นี้
1) ความสะดวกในการแบ่งปันขอ้ มลู ปจั จบุ ันมขี ้อมูลจำนวนมากมายสามารถถูกส่งผา่ นเครือขา่ ยการส่ือสารไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพและรวดเรว็
2) ความถูกต้องของขอ้ มูล การรับส่งข้อมลู ระหวา่ งคอมพิวเตอร์ผา่ นเครือขา่ ยการสือ่ สารเปน็ การสง่ แบบดจิ ทิ ัล
3) ความเร็วของการรบั สง่ ข้อมูล การใช้คอมพิวเตอร์ในการสง่ ข้อมูลหรอื คน้ หาขอ้ มลู หรือค้นหาข้อมูลจากฐานขอ้ มลู ขนาดใหญท่ ำได้อย่างรวดเร็ว
4) การประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยในการสื่อสารข้อมลู การรับและส่งขอ้ มลู ผา่ นเครือข่ายการสอื่ สารสามารถไดใ้ นราคาถกู ว่าการสอ่ื สารแบบอ่ืน
5) ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร ในองคก์ รสามารถใชอ้ ปุ กรณส์ ารสนเทศรว่ มกนั ได้ โดยไมต่ ้องค่าใชจ้ ่ายติดต้งั อปุ กรณใ์ ห้กับทุกเครอื่ ง เชน่ เครอ่ื งพมิ พ์
6) ความสะดวกในการในการประสานงาน ในองค์กรทีม่ ีหน่วยงานยอ่ ยหลายแหง่ ท่อี ยู่หา่ งไกลกันสามารถทำงานประสานกันผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต
7) ขยายบรกิ ารขององคก์ ร เครือข่ายคอมพวิ เตอรก์ รสามารถกระจายที่ทำการไปตามจุดต่างๆ ท่ีต้องการให้บรกิ าร เชน่ ธนาคารมสี าขาทว่ั ประเทศ
8) การสร้างบรกิ ารรูปแบบใหม่บนเครือข่าย การให้บรกิ ารตา่ งๆ ผา่ นเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ทำใหผ้ ูใ้ ช้สามารถเขา้ ใช้สามารถเขา้ ใช้บริการไดท้ กุ ที่ทุกเวลา
7
ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอรพ์ นื้ ฐาน (Network Basic)
ความหมายของระบบเครือข่าย
ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (ComputerNetwork) คอื ระบบทม่ี ีการเช่อื มต่อคอมพวิ เตอรต์ ัง้ แต่ 2 เครือ่ งข้นึ ไป ผ่านช่องทางการสอื่ สารอย่างใดอยา่ งหน่ึง และ
ระบบเครอื ข่ายใดๆ สามารถมีระบบเครอื ข่ายย่อยมากกว่า 1 เครือขา่ ยอยภู่ ายใน
ความสำคัญของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
1. ทำใหเ้ กดิ การทำงานในลักษณะกลมุ่ ในระหวา่ งเครื่อง และอปุ กรณ์ประกอบคอมพิวเตอร์
2. เกดิ การใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั ข้ึน โดยผูใ้ ชค้ อมพวิ เตอรท์ กุ เครื่องท่อี ย่ใู นเครอื ข่าย สามารถใช้ แฟม้ ขอ้ มูล ชดุ คำสง่ั ขา่ วสารสารสนเทศต่างๆ ตลอดใช้อปุ กรณ์
ประกอบคอมพิวเตอรท์ ี่มรี าคาแพงรว่ มกันได้ เช่น เครอื่ งพิมพ์ ฮาร์ดดิสก์ สแกนเนอร์ ซดี ีรอม โมเด็ม ฯลฯ
3. ช่วยลดความซำ้ ซอ้ นและสามารถกำหนดมาตรฐานการรกั ษาความปลอดภัยใหก้ บั แฟม้ ขอ้ มูลต่างๆได้สะดวก
4. สามารถขยายอาณาเขตในการสือ่ สารขอ้ มูลได้ครอบคลุมกวา้ งไกลย่งิ ข้ึนจากเครือข่ายขนาดเล็กทีเ่ ชื่อมตอ่ กนั ด้วยคอมพวิ เตอรเ์ พยี งสองสามเคร่ืองภายใน
หนว่ ยงานหรอื บรษิ ทั เลก็ ๆไปจนถงึ เครอื ข่ายทเ่ี ชอื่ มตอ่ คอมพวิ เตอรน์ ับล้านๆ เคร่อื งท่ัวโลกครอบคลุมไปเกือบทกุ ประเทศทีร่ ู้จกั กันดคี ือเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ ซ่ึงเป็นเครอื ขา่ ย
ที่ใหญท่ ่ีสุดในโลก
องค์ประกอบระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Elements)
องค์ประกอบของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรม์ ี 7 องคป์ ระกอบด้วยกันประกอบด้วย
8
1. จุดเชือ่ มต่อ (Node) อย่างนอ้ ย 2 จดุ ข้นึ ไป ซึ่งอาจจะเปน็ Personal Computer , Host Computer,
Workstation และ Printer
2.การ์ดแลน(Network Interface Card : NIC)เป็นอปุ กรณท์ ีท่ ำหน้าท่แี ปลงสัญญาณและควบคมุ การรบั ส่งข้อมูลระหว่างเครือ่ งคอมพิวเตอรแ์ ต่ละเครื่องทเ่ี ชอ่ื มตอ่
กับระบบเครือขา่ ย รปู การ์ดแลน10/100และการ์ดแลน10/10
3. สือ่ กลางในการส่งข้อมลู (Media)ได้แกส่ ายเคเบลิ คลืน่ วิทยุ คล่ืนอนิ ฟราเรด เปน็ ตน้
4. แพกเกจของข้อมูล (Data Packets) เปน็ สัญญาณที่วงิ่ ระหวา่ ง Node ภายในระบบ เครอื ขา่ ย
5. ท่อี ยู่ (Address) เปรยี บเสมอื นบา้ นเลขทขี่ องแต่ละ Node ในระบบเครือขา่ ยซึ่งจะไม่ ซ้ำกนั
6. ซอฟตแ์ วรใ์ นการสื่อสารขอ้ มลู (CommunicationSoftware)เป็นโปรแกรมทีต่ ดิ ตง้ั ในเครือ่ งคอมพวิ เตอร์แม่ข่าย (Server) เพอื่ ควบคุมการทำงานของเครื่อง
คอมพิวเตอรล์ ูกขา่ ย ได้แก่ Netware, Window NT/ Windows 2000 Server, Linux และ Unix เป็นตน้
-Netware เปน็ ระบบปฏบิ ัติการท่ีมผี ู้นยิ มใช้งานในระบบเครือข่ายมากสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ในยคุ แรกๆ พฒั นาโดยบรษิ ัท Novell จัดเป็นระบบปฏิบตั ิการ
เครือขา่ ยท่ที ำงานภายใต้ MS-DOS
- Window NT, Windows 2000 Server เปน็ ระบบปฏบิ ัติการทพี่ ัฒนาโดยบรษิ ัท ไมโครซอฟต์ จำกดั สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้งานไดห้ ลากหลายรูปแบบ เรมิ่ ต้น
ไมโครซอฟตต์ อ้ งการพฒั นาเปน็ แอปปลิเคชัน่ เซอรฟ์ เวอร์ แตป่ จั จุบนั สามารถประยกุ ตไ์ ดเ้ ป็นดาต้าเบส เซอรฟเ์ วอร์ และอนิ เทอรเ์ น็ตเซอร์ฟเวอร์
-Unixเป็นระบบปฏิบัตกิ ารทก่ี ำเนดิ มาบนเคร่อื งคอมพวิ เตอรข์ นาดใหญ(่ Mainframe)ทรี่ องรับผใู้ ชจ้ ำนวนมากสำหรับระบบเครอื ขา่ ยในหนว่ ยงานใหญ่ๆ เปน็ โปรแกรมจัดการ
ระบบงาน (Operating system) ในเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ระบบหนง่ึ ได้รบั การออกแบบโดยห้องปฏิบัติการเบลล์ของบริษัท AT&T ในปี ค.ศ. 1969 ถงึ แมว้ ่าระบบUnixจะ
คิดค้นมานานแลว้ แตย่ งั เปน็ ท่นี ยิ มใช้กันมากมาจนถงึ ปจั จบุ ันโดยเฉพาะระบบพนื้ ฐานของ
อินเตอร์เนต เนอื่ งจากมีความคล่องตวั สงู ตลอดจนสามารถใช้ได้กับเครอ่ื งคอมพิวเตอร์หลายชนิด นอกจากนนั้ Unixยงั เปน็ ระบบ ใชใ้ นลกั ษณะผใู้ ช้ร่วมกนั หลายคน
(Multiuse) และงานหลายงานในขณะเดยี วกัน (Multitasking) ผูใ้ ชส้ ามารถดัดแปลง หรือเพิม่ คำสงั่ ใน Unix ดว้ ยตนเองเพ่ือความสะดวกได้
9
- Linux เปน็ ระบบปฏบิ ัตกิ ารสำหรบั ระบบเครอื ข่าย ที่อยใู่ นกลมุ่ ของ Free Ware ท่ีมี คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพสูงLinux พัฒนาขึ้นโดยนายไลนัส ทอร์วลั ด์ (Linus
Torvalds) ขณะท่ยี งั เปน็ นกั ศึกษาของมหาวิทยาลัยเฮซงิ กิ ประเทศฟนิ แลนด์ เขาได้สง่ ซอร์สโคด้ (Source Code) ให้นักพัฒนาทั่วโลกร่วมกนั พฒั นา โดยข้อดีของ Linux
สามารถทำงานไดพ้ รอ้ มกนั (Multitasking) และใช้งานได้พรอ้ มกันหลายคน(Multiuse)ทำใหเ้ ป็นทน่ี ิยมแพร่หลาย บางคนกลา่ วว่า"Linuxกค็ อื นอ้ งของUnix"แต่จริงๆแลว้
Linuxมขี อ้ ดกี วา่ ยูนกิ ซ์(Unix)คอื สามารถทำงานได้
บนเครื่องคอมพวิ เตอรส์ ่วนบุคคล (PC) ทีใ่ ชง้ านอยทู่ ั่วๆ ไป เพราะว่า Linux เป็นระบบปฏิบตั ิ
7. รปู แบบในการเชอ่ื มต่อเครือข่าย (Topology) ซง่ึ เป็นแผนผงั ทางกายภาพทีจ่ ะบอกวา่ สญั ญาณขอ้ มูลจะวิ่งจาก Nodeหน่ึงไปยังอกี Node หนง่ึ ในลักษณะอย่างไร
ซึง่ มี 3 รูปแบบ คอื Bus Topology0, Ring Topology และ Star Topology
8. อตั ราการสง่ ข้อมลู (Data Transmission Rate) เปน็ ความเรว็ ท่แี พกเกตจำนวนหนึ่งสามารถเดินทางจาก Nodeหน่ึง ไปยงั อกี Node หน่งึ ในระบบเครือข่าย เชน่
ความเรว็ 1 Mbps (Megabits per second) , 1Gbps (Gigabits per second)
ประเภทของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (Type of Network)
ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์สามารถแบง่ แยกได้หลายรูปแบบ เชน่ แบ่งแยกตามขนาดและ
แบ่งแยกตามการให้และรบั บรกิ าร
1. การแบ่งระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ตามขนาด
การแบง่ รูปแบบนจี้ ะดูขนาดการครอบคลุมพน้ื ทเี่ ป็นสำคญั ซึ่งสามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ลกั ษณะดงั น้ี
-LAN (Local Area Network)
เป็นกลุ่มของคอมพิวเตอรท์ ่ีเชอ่ื มต่อกันในพนื้ ทจี่ ำกัดเชน่ ภายในตึกสำนกั งานหรือภายในโรงงานสว่ นมากจะใชส้ ายเคเบล้ิ ในการตดิ ตอ่ สอ่ื สารกัน
10
เครือขา่ ย LAN
- MAN (Metropolitan Area Network)
เปน็ การนำเครอื ขา่ ยLANหลายๆเครือข่ายทอ่ี ยูใ่ นพ้นื ทใี่ กลเ้ คยี งกันมาเชอื่ มตอ่ กันให้มีขนาดใหญข่ ้ึนเชน่ เช่ือมตอ่ กนั ในเมอื ง หรอื จังหวดั เปน็ ตน้
11
เครอื ข่าย MAN
- WAN (Wide Area Network)
เปน็ กล่มุ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีเชอื่ มต่อกนั แบบกว้างขวางอาจจะเป็นภายในประเทศระหว่างประเทศ ซึ่งภายในเครือข่าย WAN จะมีเครอื ขา่ ย LAN หรอื MAN
เชอ่ื มตอ่ กนั อยู่ภายใน เช่น สำนักงานใหญ่
ที่เมืองซานดิเอโกป้ ระเทศสหรฐั อเมรกิ าติดตอ่ กับสำนักงานสาขาในกรงุ มะนิลาประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ซึ่งการตดิ ตอ่ สอื่ สารกันอาจจะใช้ต้งั แตร่ ะบบโครงขา่ ยโทรศพั ท์
จนกระท่ังถึงดาวเทยี ม2การแบง่ ระบบเครือข่ายตามลกั ษณะการให้และรับบรกิ ารเป็นการแบง่ ตามลกั ษณะหนา้ ท่ีของคอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะเคร่ืองในระบบเครอื ข่ายเปน็ สำคัญ
อาจแบง่ ได้เป็น 2 ประเภท
- เพียรท์ เู พยี ร์ (Peer to Peer)
เครอื ข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บบ Peer - To – Peer
12
เป็นลกั ษณะของกลุม่ คอมพวิ เตอรท์ ค่ี อมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองมีสทิ ธเิ ทา่ เทียมกันหมด (Peer)ไมม่ ีเคร่อื งไหนท่ีทำหน้าท่เี ป็นศูนย์กลางของเครือขา่ ยเคร่ืองทุกเครอื่ ง
สามารถเปน็ ได้ท้ังผู้รบั บริการ(Client) และผใู้ ห้บรกิ าร (Server) ไมม่ เี คร่อื งใดมีหน้าทด่ี แู ลจัดการระบบทัง้ หมดผใู้ ช้งานแต่ละเครือ่ งจะเป็นผดู้ ูแลขอ้ มูลและทรัพยากรของ
ตัวเอง
- ไคลเอ็นต์ - เซิร์ฟเวอร์ (Client-Server)
ในกรณีท่ีองคก์ รมเี ครือ่ งคอมพิวเตอรจ์ ำนวนมากเครอื ข่ายแบบ Peer- To- Peer อาจจะไมส่ ามารถรองรบั ได้เครือข่าย Client Server จะเปน็ ทางเลือกทเ่ี หมาะสมกวา่
เนอ่ื งจาก Client Server มีความสามารถในการดแู ลควบคมุ ใชง้ านของระบบเครอื ท่ีมีข่ายผู้ใชจ้ ำนวนมากไดด้ ีกว่ามีเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ทที่ ำหนา้ ทดี่ แู ลระบบจดั เกบ็ ข้อมูล
ให้บริการทงั้ Hardware , Software และ Data รวมทงั้ เรือ่ งของการรกั ษาความปลอดภัย
ให้กับคอมพวิ เตอรท์ ั้งระบบ เราเรียกคอมพิวเตอรท์ ท่ี ำหน้าที่เหล่าน้ีวา่ เครือ่ งใหบ้ ริการหรือเครอ่ื งแมข่ า่ ย (Server) ส่วนเครื่องคอมพวิ เตอร์ที่เหลอื ในระบบทไี่ มไ่ ดท้ ำหนา้ ท่นี ้ี
จะเรียกว่า เคร่ืองรับบริการหรอื เครอ่ื งลกู ขา่ ย (Client) หรอื เวริ ์กสเตชัน (Workstation) ซ่งึ จะเปน็ กลุ่มคอมพิวเตอร์ในระบบท่ีทำหนา้ ที่รับการบริการจากเครื่อง Server ซงึ่
จะทำหน้าที่ ควบคุมการใช้งานทกุ อย่างของระบบเครอื ขา่ ย เชน่ การใชง้ านเครอื่ งพมิ พ์จะถูกดแู ลโดย Print Server หรอื อุปกรณแ์ ละทรัพยากรอนื่ ๆ จะถกู ดูแลโดย Server
เช่น File Server , Program Server ส่วนเครอ่ื ง Client ทกุ เครอ่ื งจะใช้งานทรัพยากรต่างๆ โดยผ่านทาง Server การใช้งานระบบเครือข่าย (Network Capability)
การประยกุ ต์ใช้งานระบบเครอื ขา่ ยมีมากมายหลายประเภทขน้ึ อยกู่ บั วัตถปุ ระสงค์ขององคก์ รท่ีนำระบบเครือขา่ ยมาใช้ ซ่งึ พอจะสรปุ ได้ดงั นี้
- การบริการไฟล์ และการพมิ พ์ (File and Print Service)
- การบริการแฟกส์ (Fax Service)
- การบริการโมเด็ม (Modem Service)
- การบรกิ ารการเขา้ สูโ่ ฮสต์ (Host Service)
- การบริการ Client/Server Software
- การบรกิ าร Information Network เช่น Internet
13
อนิ เทอรเ์ นต็ (Internet)
เครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ คำวา่ Internet เปน็ คำผสมระหว่าง Interconnection กับ Network เป็นการเชอื่ มต่อระหวา่ งเครือขา่ ยเพอ่ื สามารถมองเหน็ กนั ไดท้ กุ
เครือข่าย เปน็ ระบบเครอื ข่ายสากล ทีม่ ีเครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ ชอ่ื มต่อกนั มากท่ีสุดในโลก โดยที่เป็นผลจากการวิจัยและพฒั นาการทางทหาร ของกระทรวงกลาโหมสหรฐั ฯ ในปี
ค.ศ.1969 เรมิ่ จากการ เช่ือมโยงข้อมลู ใน 4 มหาวทิ ยาลยั ดว้ ยการใชโ้ ปรโตคอล (Protocol เปรียบเหมอื นกับภาษาทีค่ อมพิวเตอร์ใช้ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจความหมายของข้อมูลที่ใช้
รบั และส่งไปในเครือข่าย) แบบ TCP/IP ลักษณะสำคญั คอื กำหนดใหเ้ ครอ่ื งทุกเครื่อง ทอ่ี ยใู่ นระบบมหี มายเลขประจำตวั ท่เี รยี กว่า IP address การสง่ ขอ้ มลู ระหว่างกนั กจ็ ะ
ใช้หมายเลขน้เี หมอื นกับระบบไปรษณีย์ ซง่ึ ข้อกำหนดนเ้ี ปน็ ท่เี ปดิ เผย เขา้ ใจงา่ ย และใช้ไดผ้ ลดี ทำใหร้ ะบบนข้ี ยายไปทว่ั โลกบรกิ ารต่างๆ บนอนิ เทอรเ์ น็ต
- การรบั ส่งไปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-mail) เปน็ ระบบส่ือสารทางคอมพวิ เตอรห์ รอื เรยี กวา่
จดหมายออนไลน์ ลักษณะของแอดเดรสผู้ใช้ เชน่ [email protected]
- การโอนย้ายแฟ้มข้อมลู ระหวา่ งกัน (FTP หรอื Download) ทำให้ผ้ใู ชส้ ามารถรับสง่ แฟม้ ข้อมูลระหวา่ งกนั หรือมสี ถานีให้บริการเกบ็ แฟม้ ขอ้ มลู ท่ีอยู่ในทตี่ ่าง ๆ และ
ใหบ้ ริการ ผูใ้ ชส้ ามารถเข้าไปคดั เลอื กแฟ้มขอ้ มูลมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้
- การใชเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ในทหี่ ่างไกล(Telnet)การเช่ือมโยงคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ กบั เครือขา่ ยทำให้เราสามารถเรยี กเข้าหาเครอื่ งคอมพิวเตอร์ท่ีเปน็ สถานบี รกิ ารในท่ี
ห่างไกลได้ผใู้ ช้สามารถนำขอ้ มลู ไปประมวลผลยังเคร่อื งคอมพิวเตอรท์ อ่ี ยูใ่ นเครือขา่ ยโดยไมต่ ้องเดนิ ทางไปเอง
- การเรียกค้นหาขอ้ มลู ข่าวสาร (Search) ปจั จบุ ันมฐี านขอ้ มลู ข่าวสารท่เี กบ็ ไวใ้ หใ้ ชง้ านจำนวนมาก ฐานข้อมูลบางแหง่ เกบ็ ข้อมูลในรูปสง่ิ พมิ พอ์ เิ ล็กทรอนิกสท์ ี่ผูใ้ ช้
สามารถเรยี กอา่ น หรือนำมาพิมพ์ มลี กั ษณะเหมอื นหอ้ งสมุดขนาดใหญอ่ ยภู่ ายในเครอื ข่ายท่ีสามารถค้นหาข้อมูลใดๆ กไ็ ด้ เรยี กว่า เครือขา่ ยใยแมงมุมครอบคลมุ ทวั่ โลก
(World Wide Web : www) ซง่ึ เป็นฐานขอ้ มลู ทีเ่ ชือ่ มโยงกันทวั่ โลก
- การอา่ นจากกลุ่มข่าว หรือกระดานขา่ ว (Web board) จะมีกล่มุ ข่าวเปน็ กลมุ่ ๆ แยกตามความสนใจ แต่ละกลมุ่ ข่าวอนุญาตใหผ้ ้ใู ชอ้ ินเทอร์เน็ตสง่ ข้อความโต้ตอบ
ได้ กลุ่มขา่ วนี้จงึ แพรห่ ลายกระจายขา่ วได้รวดเร็ว
-การสนทนาบนเครอื ขา่ ย(Chatหรอื IRC)ในยคุ แรกใช้วธิ กี ารสนทนากนั ด้วยตวั หนงั สอื เพ่ือโต้ตอบกันแบบทนั ทที นั ใดบนจอภาพ ตอ่ มามผี ู้พฒั นาใหใ้ ชเ้ สยี งได้จนถงึ
ปจั จุบนั ถา้ ระบบสอ่ื สารขอ้ มลู มคี วามเรว็ พอกส็ ามารถสนทนาโดยเหน็ หน้ากนั และกันบนจอภาพได้
14
อนิ ทราเนต็ (Intranet)
เปน็ เครือข่ายภายในองคก์ รท่เี ปล่ยี นโปรโตคอลในการสื่อสารบนระบบเครอื ข่ายแบบแลนเดมิ ๆไปเปน็ โปรโตคอลTCP/IPเชน่ เดียวกับอนิ เทอรเ์ นต็ และสามารถใช้
โปรแกรมต่างๆท่พี ฒั นาเพ่อื ใช้กับอนิ เทอรเ์ น็ตได้ทำให้มีคา่ ใช้จ่ายถกู ลงมาก ตา่ งกนั ตรงท่ี อนิ ทราเนต็ จะเป็นเครือข่ายปดิ ใชเ้ ฉพาะในองคก์ รเทา่ น้นั