The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chalermpon Laothiang, 2021-02-19 21:41:37

04

04

1

กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒

ตาํ แหนง ครู วิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ

โรงเรียนมธั ยมศึกษาเทศบาลเมอื งปทุมธานี
เทศบาลเมืองปทุมธานี อําเภอเมืองปทมุ ธานี จังหวดั ปทมุ ธานี



รปู แบบการจัดการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามแนวคําสอนของพระพุทธเจา เพื่อสงเสริมทักษะ
การเรยี นรแู บบ Active learning กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศึกษา
ปท่ี ๒ เน้ือหาเลมน้ีสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑
กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพ่ือเสริมสรางความรู และเขาใจประวัติ
ความสําคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาท่ีถูกตอง
ยดึ ม่นั และปฏิบัตติ ามหลกั ธรรมเพ่อื อยรู ว มกันอยา งสนั ติสุข

รูปแบบการจัดการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามแนวคาํ สอนของพระพุทธเจา เพื่อสงเสริม
ทักษะการเรียนรูแบบ Active learning กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ เลมที่ ๔ เร่ือง พระไตรปฎกและพุทธศาสนสุภาษิต จัดทําเพื่อใหนักเรียน
สามารถอธิบายความหมายของโครงสรางพระไตรปฎกและกฎแหงกรรมจากจูฬกัมมวิภังคสูตร
ในพระไตรปฎกได อธิบายความหมายพุทธศาสนสุภาษิตได เห็นคุณคาความสําคัญของพระไตรปฎก
เปนหลักฐานสําคัญใหเรียนรูหลักธรรมในการนํามาประยุกตใชในการดําเนินชีวิตได เห็นคุณคา
คติสอนใจกฎแหงกรรมจากจูฬกัมมวิภังคสูตรในพระไตรปฎกและและสามารถนํามาเปนแบบอยางใน
การดาํ เนนิ ชวี ติ ได สามารถนําขอคิดทีไ่ ดจากการศึกษาพทุ ธศาสนสุภาษิตประยกุ ตใชใ นชีวติ ได

ขอขอบพระคณุ ผูเชี่ยวชาญทุกทานที่ใหคําปรึกษา แนะนําในการจัดทํารปู แบบการจัดการเรียนรู
พระพุทธศาสนา ตามแนวคําสอนของพระพุทธเจา เพื่อสงเสริมทักษะการเรียนรูแบบ Active learning
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ชุดนี้จนสําเร็จสามารถ
นําไปใชพัฒนาใหคงอยูตอไป

หวังเปนอยางย่ิงวารูปแบบการจัดการเรียนรูพระพทุ ธศาสนา ตามแนวคาํ สอนของพระพุทธเจา
เพ่ือสงเสริมทักษะการเรียนรูแบบ Active learning กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ชุดนี้จะเปนประโยชนตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของ
ครู ชวยพัฒนานักเรียนและเยาวชนทุกคนใหเปนศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาท่ีตนนับถือสืบไป

นางอมรรัตน ภูมิประหมัน

เร่ือง ข

คํานาํ หนา
สารบญั
คําชแ้ี จง ก
มาตรฐานและตัวชวี้ ัด ข
จดุ ประสงคก ารเรียนรู ค
แบบทดสอบกอ นเรยี น ง
ใบความรทู ่ี ๑ เร่อื ง โครงสรา งพระไตรปฎ ก ๑
ใบกิจกรรมที่ ๑ เรือ่ ง พระไตรปฎก ๒
ใบความรูที่ ๒ เรอื่ ง เร่ืองนารูจ ากพระไตรปฎ ก : จูฬกมั มวภิ งั คสตู ร ๔
ใบกิจกรรมที่ ๒ เร่ือง จูฬกัมมวภิ งั คสูตร ๖
ใบความรู เร่อื ง พุทธศาสนสภุ าษิต ๗
ใบกิจกรรมท่ี ๓ เรือ่ ง พุทธศาสนสุภาษิต ๙
แบบทดสอบหลังเรยี น ๑๐
ภาคผนวก ๑๒
เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น ๑๓
เฉลยใบกจิ กรรมที่ ๑ เรอื่ ง พระไตรปฎ ก ๑๕
เฉลยใบกจิ กรรมที่ ๒ เรอื่ ง จูฬกมั มวิภังคสตู ร ๑๖
เฉลยใบกิจกรรมท่ี ๓ เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต ๑๗
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น ๑๘
บรรณานกุ รม ๑๙
๒๐
๒๑



รปู แบบการจดั การเรยี นรูพระพุทธศาสนา ตามแนวคําสอนของพระพุทธเจา เพ่ือสง เสริมทักษะการ
เรียนรูแบบ Active learning กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษา
ปท่ี ๒ พัฒนาขึ้นมาเพื่อเปนแหลงเรียนรูของนักเรียนเขาใจการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศ
เพื่อนบา นและการนับถอื พระพทุ ธ ศาสนาของประเทศเพื่อนบา นในปจ จุบัน

รูปแบบการจัดการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามแนวคําสอนของพระพุทธเจา เพื่อสงเสริมทักษะ
การเรียนรูแบบ Active learning กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยม
ศึกษาปท ี่ ๒ มที งั้ หมด ๗ เลม ดังนี้

เลมท่ี ๑ เร่ือง พระพทุ ธศาสนาในประเทศเพอ่ื นบา น
เลม ที่ ๒ เรื่อง พุทธประวัติ พทุ ธสาวก และชาดก
เลม ที่ ๓ เร่อื ง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา
เลม ที่ ๔ เร่ือง พระไตรปฎ กและพุทธศาสนสภุ าษติ
เลม ท่ี ๕ เร่ือง หนา ทช่ี าวพุทธและมารยาทชาวพุทธ
เลมท่ี ๖ เรื่อง วนั สําคญั ทางพุทธศาสนาและศาสนพิธี
เลมท่ี ๗ เรื่อง การบรหิ ารจิตและการเจริญปญ ญา

เพ่ือใหบรรลุจุดประสงคของรปู แบบการจัดการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามแนวคําสอนของ
พระพุทธเจา เพื่อสง เสริมทักษะการเรียนรแู บบ Active learning กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษา
ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ เลมที่ ๔ เรื่อง พระไตรปฎกและพุทธศาสนสุภาษิต มีขอ
เสนอแนะใหนักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอน ดงั นี้

๑. ศึกษาทาํ ความเขาใจจดุ ประสงคข องรปู แบบการจัดการเรยี นรู
๒. ทาํ แบบทดสอบกอนเรยี นจํานวน ๑๐ ขอ กอนศกึ ษาเนอื้ หาในเลม เพื่อตรวจความรูพ ื้นฐาน
๓. นักเรยี นศึกษาใบความรแู ละทําใบงานท่ีกําหนดให
๔. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน พรอมกับตรวจคําตอบจากเฉลยเพ่ือจะไดทราบ
วา ตนเองมกี ารพัฒนาดานความรเู พิ่มเตมิ เพยี งใด



สาระที่ ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู และเขาใจประวัติ ความสาํ คัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา

ท่ตี นนับถือและศาสนาอ่นื มศี รทั ธาท่ีถกู ตอง ยดึ มนั่ และปฏิบตั ิตามหลกั ธรรม
เพือ่ อยูรว มกันอยา งสนั ติสขุ
ตัวชวี้ ดั
ส ๑.๑ ม.๒/๗ อธิบายโครงสรางและสาระโดยสังเขปของพระไตปฎก หรือคัมภีรของ

ศาสนาทีต่ นนบั ถือ
ส ๑.๑ ม.๒/๑๑ วิเคราะหการปฏบิ ัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาทีต่ นนบั ถอื เพอ่ื การดํารง

ตนอยางเหมาะสมในกระแสความเปลย่ี นแปลงของโลกและการอยูรวมกนั
อยา งสนั ตสิ ุข

สาระสาํ คญั
ส่ิงท่พี ุทธศาสนิกชนยดึ ถอื และปฏิบัตนิ อกเหนอื จากหลกั ธรรมแลว พระไตรปฎ กและพุทธ

ศาสนสุภาษิต มีสวนในการหลอหลอมจิตใจ เปนแนวใหประพฤติปฏิบัติตนอยูในศีลธรรมที่ดีงาม
ในการดําเนินชีวติ ประจาํ วัน ก็จะสง ผลใหใ ชชีวิตอยูรว มกันอยางสงบสขุ



เมื่อศกึ ษารปู แบบการจดั การเรียนรพู ระพุทธศาสนา ตามแนวคําสอนของพระพทุ ธเจา
เพอ่ื สงเสริมทักษะการเรยี นรแู บบ Active learning กลุม สาระการเรยี นรสู งั คมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี ๒ เลม ท่ี ๔ เร่ือง พระไตรปฎ กและพุทธศาสนสภุ าษิต นกั เรียน
สามารถแสดงพฤตกิ รรมดงั ตอไปนี้

ดานความรู (K)
๑. นักเรยี นอธิบายความหมายของโครงสรา งพระไตรปฎ กและกฎแหงกรรม

จากจูฬกัมมวิภงั คสูตรในพระไตรปฎ กไดไ ด
๒. นกั เรียนอธบิ ายความหมายพุทธศาสนสุภาษิตได
๓. นกั เรยี นตระหนกั และเหน็ คณุ คา ความสาํ คัญของพระไตรปฎกเปน

หลักฐานสําคัญใหเรียนรหู ลกั ธรรมในการนาํ มาประยุกตใ ชในการดําเนนิ ชีวติ ได
๔. นกั เรยี นตระหนักและเห็นคุณคา คติสอนใจกฎแหง กรรมจากจูฬกัมมวิภงั ค

สตู รในพระไตรปฎ กและและสามารถนาํ มาเปนแบบอยา งในการดาํ เนนิ ชีวติ ได
๕ นกั เรยี นสามารถนาํ ขอ คิดท่ไี ดจากการศกึ ษาพทุ ธศาสนสภุ าษติ ประยกุ ต

ใชใ นชวี ติ

ดา นทักษะ (P)
๑. นักเรียนมีความสามารถในการแกป ญ หา
๒. นักเรียนมคี วามสามารถในการใหเหตผุ ล
๓. นกั เรียนมคี วามสามารถในการสือ่ สาร ส่ือความหมาย

ดา นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (A)
๑. นกั เรยี นมีความซ่อื สัตยสจุ ริต
๒. นกั เรียนมีการใฝเ รยี นรู
๓. นักเรียนมีความมงุ มนั่ ในการทํางาน



แบบทดสอบกอนเรียน
เลม ที่ ๔ เรอื่ ง พระไตรปฎ กและพทุ ธศาสนสุภาษติ
คําช้ีแจง ใหนกั เรยี นทําเคร่ืองหมาย  ลงบนหนาขอ ทีถ่ กู ตอ งมากทส่ี ดุ

๑. คัมภีรท ส่ี ําคญั ที่สุดของพระพุทธศาสนาคอื
ก. สามเวท
ข. อถรรพเวท
ค. พระไตรปฎก
ง. พระเวสสนั ดรปฎก

๒. ส่งิ ทเ่ี ปน ตวั แทนของพระพุทธเจา หลังจากพระองคปรินพิ พานแลวคือ
ก. พระธรรม
ข. พระพุทธรปู
ค. พระธรรมวินัย
ง. พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา

๓. คัมภีรทีร่ วบรวมคาํ สั่งสอนของพระพทุ ธเจาในสว นทเ่ี ปน พระธรรมเทศนาที่พระองคไ ด
ตรัสไวแ กบ ุคคลตา งๆ คอื คัมภรี ใ ด
ก. พระวินยั ปฎก
ข. พระธรรมวนิ ยั
ค. พระสุตตนั ตปฎ ก
ง. พระอภธิ รรมปฎ ก

๔. จูฬกมั มวิภงั คสตู ร มเี น้อื หาเก่ยี วกับเรอื่ งใด
ก. การบวช
ข. การพดู จา
ค. การจําแนกกรรม
ง. การแสดงความกตญั ู

๕. ถาตองการใหต นเองเกิดมามีสตปิ ญ ญามาก ควรปฏบิ ัตติ นอยา งไร
ก. อิจฉาริษยาผูอน่ื
ข. เขาหาผมู ีปญญา
ค. ไมฆ า สัตวต ัดชีวติ
ง. ไมม ีอารมณโ กรธ



๖. บุคคลใดทไี่ ดท ูลถามเรื่อง จฬู กัมมวิภังคสูตรกบั พระพุทธเจา
ก. พระเจา พมิ พสิ าร
ข. สภุ มาณพ โตเทยยบตุ ร
ค. ประชาชนชาวเมืองสาวัตถี
ง. พระสารบี ุตรและพระโมคคลั ลานะ

๗. ผลท่ีเกิดจากพุทธศาสนสภุ าษิตที่วา “การสง่ั สมบุญนําสขุ มาให” ขอใดตอไปน้ีมี
ความสัมพันธกัน
ก. ภาวะโลกรอ นเกดิ ข้ึนเพราะมนุษยตัดไมท าํ ลายปา
ข. โจรปลน ธนาคารถกู ตํารวจจบั ไดขณะหลบหนี
ค. รุนพม่ี หาลัยมีความเมตตาจึงทาํ ใหรุน นอ งยกมือไหว
ง. ผูป ฏิบัตธิ รรมเปน ประจาํ ทําใหจ ิตใจสงบหนาตาผองใส

๘. พทุ ธสภุ าษิตท่ีวา “กมฺมุนา วตฺตตี โลโก” มีความหมายตรงกบั ขอใดมากท่ีสดุ
ก. เห็นกงจักรเปนดอกบวั
ข. วาแตเ ขาอเิ หนาเปนเอง
ค. บวั ไมใหช าํ้ น้าํ ไมใหขนุ
ง. หวานพืชเชนไร ไดผ ลเชน น้นั

๙. สพุ รไปบริจาคโลหติ ทุกปใหกับสภากาชาดไทย การปฏบิ ตั แิ บบน้ีตรงกบั พุทธศาสน
สุภาษติ ใดมากทสี่ ดุ
ก. กมมฺ ุนา วตตฺ ตี โลโก
ข. สุโข ปุญฺ สฺส อุจจฺ โย
ค. ปูชโก ลภเต ปูชํ วนทฺ โก ปฏวิ นฺทนํ
ง. กลยฺ าณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปกํ

๑๐. “สัตวโลกยอมเปน ไปตามกรรม” สัมพันธกบั ขอใด
ก. ความชัว่ ไมทาํ เสียเลยดกี วา
ข. กรรมใหผลเฉพาะในชาติหนา
ค. กรรมท่ีทาํ แลว จะดีหรอื ชัว่ ขนึ้ อยทู ่ีผลของกรรม
ง. เรามกี รรมเปนของตน เปนผรู บั ผลของกรรม



ใบความรทู ี่ ๑ เรือ่ ง โครงสรางพระไตรปฎก

ความหมาย
พระไตรปฎก แปลตามศัพท วา กระจาดหรอื ตะกรา เปน คัมภรี ข องพระพุทธศาสนาทรี่ วบรวม
พระธรรมคาํ สอนของพระพทุ ธเจา

ภาพ : พระไตรปฎ กเปนคมั ภรี หลกั ของพระพุทธศาสนา
ที่มา : http://www.buddhiststudies-nrru.net/?page_id=1854

ความสําคญั

พระไตปฎ ก เปน คมั ภีรส งู สดุ ของพระพุทธศาสนา ประมวลหลกั คาํ สอนตา งๆ ทพ่ี ระพทุ ธเจา
ทรงแสดงไวตลอด ๔๕ ป เปน บอเกิดแหง วิทยาการ วัฒนธรรม จารตี ประเพณี และแนวปฏบิ ตั ิเพอ่ื
แกปญหา พัฒนาตน พัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม

โครงสรา งพระไตรปฎ ก

พระไตรปฎก มี ๔๕ เลม แบง ออกเปน หมวด คอื เลม ท่ี ๑-๘ วา ดวยพระวนิ ยั เลมที่ ๙-๑๓ วา

ดว ยพระสตู ร เลมท่ี ๓๔-๓๕ วา ดว ยพระอภิธรรม ซ่งึ อาจจาํ แนกรายละเอียดได ดงั นี้

๑. พระวินัยปฎก เปนคัมภีรที่วาดวย

ระเบียบวินัยขอบังคับของภิกษุและภิกษุณี รวมถึง

ขนบธรรมเนียมประเพณีและขอปฏิบัติท่ีดีงาม

สําหรับการอยูรวมกันของหมูคณะ แบงออกเปน

๘ หมวด

๑.๑ มหาวิภงั ค ภาค ๑ วา ดวยศลี ของ

ภกิ ษุที่มโี ทษหนกั ภาพ : พระวนิ ยั ปฎ ก เปน คัมภีรทว่ี า ดว ยระเบียบวนิ ัย
๑.๒ มหาวภิ งั ค ภาค ๒ วา ดวยศีลของ ขอ บังคับของภิกษแุ ละภกิ ษุณี

ภิกษุทีม่ ีโทษเบา มรรยาทอนั ดงี าม และการระงบั ท่ีมา : https://th.wikipedia.org/

คดีความ



๑.๓ ภิกขุนีวภิ ังค ภาค ๑ วา ดวยศลี ๓๑๑ ขอของภกิ ษณุ ี

๑.๔ มหาวรรค ภาค ๑ วาดว ยการอุปสมบท อุโบสถ จําพรรษา และปวารณา

๑.๕ มหาวรรค ภาค ๒ วา ดวยเรือ่ งเครือ่ งหนงั ยารกั ษาโรค กฐิน จวี ร การลงโทษ

และ การระงับคดคี วาม

๑.๖ จูฬวรรค ภาค ๑ วา ดว ยการลงโทษ กรณภี ิกษุชาวเมอื งจําปา ระเบยี บวธิ ปี ฏบิ ตั ิ

สาํ หรบั การเปลอื้ งตนจากอาบตั ิ และการระงับคดีความ

๑.๗ จูฬวรรค ภาค ๒ วาดวยขอปฏิบัติเรื่องเสนาสนะ การทําลายสงฆใหแตกกัน

(สังฆเภท) ระเบียบตา งๆ การงดสวดปาติโมกข เร่อื งภกิ ษุณี เรอ่ื งการทําสงั คายนาครัง้ ที่ ๑

และการสังคายนาครั้งที่ ๒

๑.๘ ปรวิ ารวรรค วาดวยคําถามและคําตอบเร่ืองพระวนิ ยั
๒. พระสตุ ตันตปฎก สวนท่เี ปน พระธรรมคาํ สอนที่ทรง

แสดงแกพระสาวก บุคคลท้งั หลายในโอกาสและสถานท่ีตา งๆ

กนั มีทงั้ เปนรอยแกว รอ ยกรอง ในรูปของคําบรรยาย นทิ าน

เรือ่ งเลา แบง ออก เปน ๕ หมวด

๒.๑ ทีฆนิกาย เปนหมวดพระสูตรขนาดยาว

๓๕ สูตร ท้ังหมด ๓ เลม

๒.๒ มชั ฌมิ นิกาย เปนหมวดพระสูตรขนาดกลาง

ทง้ั หมด ๓ เลม

๒.๓ สังยตุ ตนกิ าย เปนหมวดพระสตู รทจ่ี ดั กลุม

ตามเรอ่ื งทเ่ี กีย่ วของกัน ท้งั หมด ๕ เลม

๒.๔ องั คตุ ตรนิกาย เปน หมวดพระสูตรท่ีจัดกลุม

ตามจํานวนขอธรรม ทง้ั หมด ๕ เลม ภาพ : หนังสือพระสตุ ตนั ตปฎ ก ฉบบั ปรบั ปรุง
๒.๕ ขุททกนิกาย เปนหมวดพระสตู ร ภาษิต ทม่ี า : https://www.facebook.com/

คาํ อธบิ ายและเร่อื งราวเบ็ดเตล็ดท้งั หมด ๙ เลม

๓. พระอภธิ รรมปฎก สวนท่ีเปน หลักธรรมและคําอธิบายที่เปน หลกั วิชาการลวนๆ ไมเ ก่ยี วกบั

บุคคล เหตุการณ สถานท่ี และกาลเวลา แบงออกเปน ๗ หมวด

๓.๑ ธัมมสงั คณี คอื ขอ ธรรมที่รวมไวเปน

หมวดหมู แลว อธิบายทีละประเภท

๓.๒ วิภงั ค คอื ยกหมวดธรรมสําคัญๆ ขึน้ ตงั้ เปน

หวั เรื่อง แลว แยกแยะออกอธิบายโดยละเอยี ด

๓.๓ ธาตุกถา คือ สงเคราะหขอธรรมตางๆ เขา

ในขันธ อายตนะ และธาตุ ๔

๓.๔ บคุ คลบญั ญตั ิ คอื บัญญตั ิความหมายของ

บคุ คลประเภทตา งๆ ตามคุณธรรมท่มี ี อยใู นบุคคลน้ันๆ

ภาพ : หนงั สือพระอภิธรรม
ทม่ี า : http://online.pubhtml5.com/yvtf/cguv/



ใบกจิ กรรมท่ี ๑ เรื่อง พระไตรปฎ ก

คําชแ้ี จง : ใหน ักเรยี นอธบิ ายองคป ระกอบของโครงสรา งพระไตรปฎ ก

พระวินยั ปฎก ....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....

พระไตรปฎ ก พระสุตตนั ตปฎก ....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....

....................................................................................
พระอภธิ รรม ....................................................................................

....................................................................................
....

คําช้แี จง : ใหนักเรยี นตอบคาํ ถามเกีย่ วกับพระไตรปฎกตอ ไปน้ี

พระไตรปฎ กมีความสาํ คัญตอพระพุทธศาสนาอยางไร
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................



ใบความรทู ี่ ๒ เรื่อง พระไตรปฎ ก : จูฬกัมมวิภังคสตู ร

จูฬกัมมวิภงั คสตู ร เปน พระสตู รหน่งึ ในจาํ นวน
สบิ สตู รของวิภังควรรค ในมชั ฌิมนิกาย พระสุตตันตปฎก
พระสตู รนวี้ าดว ยคนทํากรรมแลว ไดรับผลตาง ๆ

ทม่ี าของพระสูตร พระสตู รน้ีพระพทุ ธเจา ทรงแสดงแก
สุภมาณพ โตเทยยบตุ ร ขณะประทบั อยู ณ พระเชตตะวนั อาราม
ของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี เพื่อทรงตอบปญหาของ
สุภมาณพ เรื่องเหตุท่ีทาํ ใหสัตวมีอายุส้ัน มีอายุยืน มีโรคมาก
มีโรคนอย เปนตน

รูปแบบของพระสตู ร รปู แบบของจูฬกัมมวิภังคสตู รเปน การสนทนาแบบถาม-ตอบ มีอปุ มา
อุปไมย ประกอบใจความสาํ คัญของพระสูตร สุภมาณพ โตเทยยบุตร ทูลถามถึงเหตุที่ทําใหสัตวมี
อายุสน้ั มีอายุยนื มโี รคนอ ย เปนตนและกําเนิด มีกรรมเปนเผาพนั ธุ มีกรรมเปนที่พึง่ อาศัย กรรมจงึ
จาํ แนกสตั วใ ห เลวและดตี า งกันเม่อื มาณพกราบทลู ใหอธบิ ายจึงตรสั อธบิ ายเปน ๗ คู คือ

๑. เหตุทที่ ําใหอ ายุสัน้ เพราะฆา สตั ว เหตุทท่ี ําใหอ ายุยนื เพราะไมฆ าสตั ว

๒. เหตทุ ี่ทําใหมีโรคมาก เพราะเบียดเบียนสตั ว เหตุท่ีทําใหมโี รคนอย เพราะไมเบียดเบยี นสตั ว

๓. เหตทุ ี่ทําใหมผี ิวพรรณทราม เพราะเปนผมู กั โกรธ เหตทุ ี่ทําใหผ ิวพรรณผอ งใส เพราะเปน
ผูไมโกรธ

๔. เหตุทท่ี ําใหม อี ํานาจนอ ย เพราะมใี จรษิ ยา เหตุที่ทําใหมอี ํานาจมาก เพราะมีใจไมร ิษยา

๕. เหตุท่ีทําใหมที รัพยสินเงินทองนอย เพราะไมชอบใหท าน คนมเี งินทองมาก เพราะชอบ
ใหทาน

๖. เหตุท่ีทําใหในตระกลู ตํา่ เพราะมักถอื ตัวหยง่ิ ยโส คนเกิดในตระกลู สงู เพราะเปนคนออนนอ ม

๗. เหตทุ ท่ี ําใหมปี ญญาต่าํ เพราะไมช อบเขาไปหาครอู าจารย คนมปี ญ ญาดเี พราะชอบเขา ไป
หาครอู าจารย นักปราชญราชบณั ฑิต



พระสูตรนสี้ อนเรอ่ื งกรรม มสี าระสาํ คัญมุงแสดงใหเ ห็นวาการท่คี นแตละคนมีสภาพที่เปน อยู
ในปจ จุบันเพราะการกระทําในอดตี ชาติ หรือกรรมเกา ในชาติกอ น ซึง่ แนวคดิ นี้คนในสงั คมปจ จุบนั ที่
เจริญดว ยวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี อาจเปนการลําบากท่จี ะเช่ือเรอ่ื งน้ไี ดอยา งสนทิ ใจ แตอ ยางไรก็
ตามการสอนเร่อื งกรรมเกาในชาติกอ น อยา งนอ ยทสี่ ุดกช็ ว ยใหม นษุ ยไดหยุดฉุกคดิ กอ นจะทําความ
ชว่ั อะไรลงไป และเปนการปลกู ฝง คุณธรรมและคานยิ มทด่ี ีงามใหสังคมมนษุ ย เพื่อการอยรู วมกนั
อยา งสงบสขุ สนั ติในสังคม

นอกจากนนั้ แลว คาํ วา ชาตกิ อ น เราอาจอธิบายได
ในสองลกั ษณะ คือ ชาติกอนที่เปนอดีตชาติลวงมาแลว
จรงิ ๆ หรืออธิบายไดวาชาติกอ นหมายถงึ ชว งระยะเวลาที่
ผา นมาแตละชว งในชาตินี้

กลาวคอื วนั กอ น สัปดาหกอ น ปก อ น สบิ ปกอ น
ยส่ี บิ ปกอน หลายๆ ปก อ น การกระทําของบคุ คลท่ีผานมา
ในวนั กอ นๆ มผี ลตอสภาพขณะปจจบุ ัน หรือสง ผลใหบคุ คล
น้นั ไดร ับผลสอดคลอ งสัมพนั ธก นั กับการกระทําทผ่ี านมา
สามารถสรปุ เหตุการณต า งๆ ในจฬู กมั มวภิ งั คสตู รไดต าม
ตวั อยา ง ดงั น้ี

กรณที ี่ ๑ คนเจาอารมณ มกั โกรธเปนฟน เปนไฟแมเ รอ่ื งเลก็ นอ ย สง ผลใหใบหนาไมผอ งใส
ผลคอื ใบหนาไมผอ งใส แสดงใหเหน็ วาคนมกั โกรธยอ มมผี วิ พรรณไมสดใส ไมส วยงาม เพราะ
สุขภาพจิตไมดี

กรณที ี่ ๒ บุคคลท่ีมีอารมณ มีความยบั ยั้งชงั่ ใจ ไมมกั โกรธ
ผลคอื ใบหนาผองใส มีผวิ พรรณงดงามเพราะสุขภาพจติ ดี

กรณีที่ ๓ คนที่ชอบอิจฉาริษยาคนอื่น เห็นใครดีมักทนอยูไมได แสดงความริษยาออก
นอกหนา

ผลคอื เปน คนไมมีอาํ นาจเพราะขาดคนเกรงใจ ไมม ีใครใหเกยี รติอยา งจรงิ ใจ

กรณีที่ ๔ คนท่ีไมอจิ ฉาริษยาคนอื่น ยนิ ดกี ับความสําเรจ็ ความกา วหนาของคนอ่นื ดวยความ
จรงิ ใจ

ผลคอื มคี นเกรงใจ ใหเ กียรติ นับวาเปนคนมีอํานาจในตวั เอง



ใบกิจกรรมที่ ๒ เรือ่ ง จูฬกัมมวภิ ังคสตู ร

คาํ ชี้แจง : ใหน ักเรยี นวเิ คราะหจากขาววา มีความสัมพนั ธก ฎแหง กรรม จฬู กมั มวภิ งั คสตู ร ไดอยางไร

ติดรปู ภาพหรือขาว

จากเน้อื หาของขาวมีความสัมพนั ธกฎแหง กรรม จฬู กมั มวิภงั คสตู ร ไดอยา งไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

มีวิธีอยางไรใหบ คุ คลในขา วพน จากกรรมช่วั
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

๑๐

ใบความรูท่ี ๓ เรอ่ื ง พทุ ธศาสนสุภาษติ

พุทธศาสนสุภาษติ เปนภาษติ หรือถอ ยคําท่ี
พระพทุ ธเจาตรัสไว เปนคติธรรมทม่ี คี วามหมายลึกซงึ้
สามารถนําไปเปน ขอ เตือนใจเพอื่ เปน แนวทางในการ
ดําเนนิ ชีวติ

กมฺมนา วตฺตตี โลโก สตั วโลกยอ มเปนไปตามกรรม

สัตวโ ลก คอื ผทู ีเ่ กิดมาในโลก หรอื ในภพภมู ติ างๆ

กรรม คอื การกระทํา หมายถึง การกระทาํ ท่ีประกอบดวยเจตนา และลงมือปฏิบัติอาจจะเปน

ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ท่ีเรียกวา กายกรรม วจกี รรม และมโนกรรม ตามลาํ ดบั

กอ นทพี่ ระพุทธเจา จะเสด็จอุบัตขิ ึน้ ในโลก มนุษยมคี วามเชอื่ ถือกันวา วิถีชีวิตของคนเราจะเปน

ไปอยา งไรน้ันเทพเจา เทา น้ันจะเปน ผูบ ันดาล แตเ มอ่ื พระพทุ ธเจาเสดจ็ อุบัติขึ้น พระองคท รงคน พบวา

ชีวิตของคนจะเปนอยา งไรนนั้ คือ ดี เลว ประณตี ยากจน รา่ํ รวย หรืออบั เฉา ท้ังหมดขน้ึ อยูกบั ผลของ

กรรมท่ตี นเองกระทําไวค นอนื่ จะทําความดี ความชว่ั และรบั ผลของกรรมดีกรรมช่วั แทนกันไมไดทาง

พระพุทธศาสนาถือวากรรมเปนผตู กแตง วา จะใหใ คร

เปนอยางไร คือจะใหดีหรือ เลว มิใชพระเจาหรือ

เทพเจาเปนผแู ตง ที่วา สัตวโลกยอ มเปน ไปตามกรรม

น้นั หมายความวา เราเปนอยางไรแรงกรรมเทา นั้น

เปนผพู าไป มใิ ชใ ครบนั ดาลใหฉะนัน้ พุทธศาสนิกชน

ควรทาํ กรรมดี คือ กศุ ลกรรม หลกี เล่ยี งกรรมดี คือ

อกุศลธรรม ประพฤติปฏิบัติดี สง ผลใหผูประพฤติ

ปฏิบัติไดรบั ผลแหง กรรมดีนนั้ ดงั พุทธศาสนาสภุ าษติ ภาพ : สตั วโ ลกยอ มเปน ไปตามกรรม

วา กมมฺ นา วตตฺ ตี โลโก สตั วโ ลกยอมเปน ไปตามกรรม ท่ีมา : https://ressources.learn2speakthai.net/

กลฺยาณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปกํ ทําดีไดดี ทําช่ัวไดช่วั

เปน การกลาวถึง “กฎแหง กรรม” ผลของการกระทําวา ผูท่ปี ระพฤติปฏบิ ตั ติ นเชนใดยอมได

ผลเชน นน้ั คอื ถาประพฤตปิ ฏิบัติดี ยอ มไดร ับผลดีตอบแทน แตถ า ประพฤตปิ ฏิบัติชัว่ ยอมไดร บั ผล

ชัว่ ตอบแทน เชน เดยี วกบั พุทธศาสนสุภาษติ แรกทีว่ า

สตั วโ ลกยอ มเปน ไปตามกรรม เชน ผทู ่มี คี วามขยนั

หมัน่ เพยี ร ตั้งใจศึกษาคน ควา หาความรู ยอมไดร บั

ความรูและประสบผลสาํ เร็จในการเรยี น ตา งจากผู

ท่ีมคี วามเกียจครา น ไมต้ังใจศกึ ษา ยอ มจะทําใหเ ปน

ผูท่ีมสี ติปญ ญานอย ผลการเรยี นตกตา่ํ เปนตน

ดังนน้ั เราจึงควรประกอบกรรมดี ละเวน กรรมช่ัว ภาพ : ผทู ี่ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเชนใดยอ มไดผลเชนนัน้
เพราะกระทาํ เชน ใดยอ มไดร บั ผลเชนนัน้ ที่มา : https://ressources.learn2speakthai.net/

๑๑

สโุ ข ปุฺญสฺส อุจจฺ โย การสั่งสมบุญนําสขุ มาให

บุญ หมายถงึ เครอื่ งชาํ ระจิตใจ ความดี กุศล ความสุข ความประพฤติชอบทางกาย วาจา

และใจ เปนกุศลกรรม การสง่ั สมบุญ จงึ เปน การทําใหใจเกิดความสขุ ทาํ ใจใหเปนกุศล ส่งิ ท่ีเปนท่ตี ั้ง

แหง การสง่ั สมบญุ หรือการทําบุญมี ๓ ทาง หรือทเ่ี รียกวา บญุ กิริยาวัตถุ ๓ ไดแ ก

๑. การสง่ั สมบญุ ดว ยการบริจาคทาน เรียกวา ทานมัย

๒. การสง่ั สมบญุ ดว ยการรักษาศีลและประพฤตดิ ี เรียกวา ศีลมัย

๓. การสงั่ สมบุญดว ยการเจรญิ

ภาวนา เรยี กวา ภาวนามัย

การสง่ั สมบุญแมเ พียงทีละเล็กทลี ะนอ ย

ยอมนําความสขุ ความเจรญิ มาสูผปู ระพฤติปฏบิ ัติ

ประดุจนาํ้ ฝนทีต่ กลงมาทลี ะหยาดๆ ตกนานๆ เขา

ก็ยอมเต็มภาชนะ บุญกุศลแหง การทําความดกี ็

เฉกเชน เดยี วกนั ผูท่หี ม่ันทําความดีสรางกุศลทีละ

เล็กทีละนอย บุญกศุ ลก็เพ่ิมพูนขนึ้ เปนลําดบั และ ภาพ : การส่ังสมบญุ ดว ยการบรจิ าคทาน
นําความสขุ ความอ่ิมเอิบใจมาใหแ กผูปฏบิ ตั ิ ท่มี า : https://th.pngtree.com/

ปชู โก ลภเต ปชู ํ วนทฺ โก ปฏิวนทฺ นํ ผบู ูชา ยอ มไดรับการบชู าตอบ

ผูบูชาเขา ยอ มไดร บั การบชู าตอบ ผไู หวเขา ยอมไดร ับการไหวต อบ

บูชา หมายถงึ การใหดว ยความนับถือ การแสดงความเคารพเทดิ ทนู มี ๒ ลกั ษณะ ไดแก

อามิสบูชา คอื การบูชาดวยสง่ิ ของ และปฏบิ ัติบูชา คอื การบูชาดว ยการประพฤตปิ ฏบิ ัติ

ตามคาํ สอนหรือส่ิงดีงาม

ไหว หมายถงึ การทําความเคารพโดยการยกมอื ขึน้ ประนม

การบชู าและการไหว เปนการแสดงถึง

ความเคารพ ความออนนอมถอ มตน และความ

มี สมั มาคารวะท่ีเรามีตอผูอ่ืน พุทธศาสนสุภาษติ

บทน้ีเปน หลกั แหง “เหต”ุ และ “ผล” ทาํ เชน ใด

ยอ มไดผ ลเชนนั้น ผูท ่ที าํ ความเคารพ กราบไหว

บูชาผูอืน่ ยอมไดร บั การแสดงความเคารพและ

กราบไหวบูชาตอบเชนเดียวกนั เมอ่ื ตองการสิ่งใด

ตอ งรจู ักกระทาํ ส่ิงน้ันใหแ กผ อู ่นื กอ น เชน ตอ งการ

เปนทรี่ ักของผอู ่ืน ตองรจู ักมอบความรกั ใหเ ขากอน ภาพ : การไหว เปนการแสดงความเคารพ ความออ นนอ ม
ตอ งการไดรบั การยกยอ ง ตอ งรจู กั ยกยอ งใหเกยี รติ
ทม่ี า : http://oknation.nationtv.tv/

เขากอ น blog/print.php?id=676088

๑๒

ใบกจิ กรรมที่ ๓ เร่อื ง พทุ ธศาสนสภุ าษิต

คาํ ชี้แจง : ใหนกั เรยี นวเิ คราะหกรณตี วั อยา งตอไปนี้ใหสมั พนั ธก ับพทุ ธศาสนสุภษิตทีก่ าํ หนดให
กมฺมนุ า วตตฺ ตี โลโก , กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ , สโุ ข ปุฺญสสฺ อุจฺจโย ,
ปูชโก ลภเต ปชู ํ วนฺทโก ปฏิวนทฺ นํ

กรณีตัวอยา งที่ ๑ ทุกปสมใจจะตอ งไปเย่ยี มคุณครูสมบตั ิ เธอรําลึกเสมอวาท่มี วี ันน้ีไดเ พราะการ
อบรมสั่งสอน การเอาใจใสข องครทู ีใ่ หค วามรู แนะนําช้ีแนะการดําเนินชีวิต
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

กรณตี วั อยางท่ี ๒ สมหญิงเปนเด็กที่มคี วามขยันหม่ันเพยี รศึกษาหาความรู ใฝเรยี น ใฝร ู เอาใจใสตอ
การเรียน มีความรับผดิ ชอบในหนา ทขี่ องตนเอง ใครเห็นใครไดยนิ กย็ กยองชื่นชมวา เปน นักเรยี นดี
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

กรณตี ัวอยางที่ ๓ ถงึ วนั เขา พรรษาและวนั สงกรานตส มชยั จะพาครอบครัวไปทาํ บุญดวยการปลอ ย
นกปลอ ยปลาเปนการปลอ ยชีวติ ของสรรพสัตว
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

กรณตี วั อยา งท่ี ๔ สมหมายไดข ดุ หลมุ ดักจับสัตวป า หายาก เพอ่ื ไปขายท่ีตลาดมืดคา ของปา แต
สมหมายเผลอเดินไปเหยียบกับดกั จึงตกลงไปเสยี ชวี ิต
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

กรณตี วั อยา งท่ี ๕ นายประกิจรวมกับเพอื่ นๆ ในชมรมพุทธศาสตรไ ปแจกสิ่งของและขนมใหก บั เด็กๆ
ในสถานสงเคราะหอยเู สมอ ทําใหเด็กในสถานสงเคราะหมีความผกู พันกบั นายประกิจและเพ่อื นๆ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

๑๓

แบบทดสอบหลังเรียน
เลมท่ี ๔ เร่อื ง พระไตรปฎกและพุทธศาสนสภุ าษิต
คําชแ้ี จง ใหน กั เรียนทําเครือ่ งหมาย  ลงบนหนาขอ ที่ถกู ตองมากทส่ี ดุ

๑. คมั ภรี ท ร่ี วบรวมคําส่ังสอนของพระพุทธเจาในสวนที่เปน พระธรรมเทศนาท่ีพระองคได
ตรสั ไวแ กบคุ คลตา งๆ คอื คัมภีรใ ด
ก. พระวินัยปฎก
ข. พระธรรมวินัย
ค. พระสุตตนั ตปฎก
ง. พระอภธิ รรมปฎก

๒. จูฬกมั มวภิ ังคสตู ร มเี นือ้ หาเกย่ี วกบั เร่ืองใด
ก. การบวช
ข. การพดู จา
ค. การจําแนกกรรม
ง. การแสดงความกตัญู

๓. ถา ตองการใหต นเองเกิดมามสี ติปญ ญามาก ควรปฏบิ ตั ติ นอยา งไร
ก. อจิ ฉาริษยาผูอนื่
ข. เขา หาผูมปี ญญา
ค. ไมฆาสัตวตัดชวี ิต
ง. ไมม ีอารมณโ กรธ

๔. คมั ภรี ท สี่ าํ คัญที่สุดของพระพุทธศาสนาคอื
ก. สามเวท
ข. อถรรพเวท
ค. พระไตรปฎ ก
ง. พระเวสสนั ดรปฎก

๕. ส่งิ ท่เี ปนตวั แทนของพระพุทธเจา หลังจากพระองคปรินิพพานแลว คอื
ก. พระธรรม
ข. พระพุทธรปู
ค. พระธรรมวนิ ัย
ง. พทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา

๑๔

๖. สุพรไปบริจาคโลหิตทกุ ปใหก ับสภากาชาดไทย การปฏบิ ตั แิ บบนตี้ รงกบั พทุ ธศาสน
สุภาษติ ใดมากท่ีสดุ
ก. กมมฺ นุ า วตตฺ ตี โลโก
ข. สุโข ปุญฺ สฺส อุจฺจโย
ค. ปชู โก ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนทฺ นํ
ง. กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ

๗. “สัตวโ ลกยอ มเปนไปตามกรรม” สัมพันธก บั ขอ ใด
ก. ความชวั่ ไมท ําเสยี เลยดีกวา
ข. กรรมใหผลเฉพาะในชาติหนา
ค. กรรมทีท่ ําแลวจะดหี รือชวั่ ขึ้นอยูท่ผี ลของกรรม
ง. เรามกี รรมเปนของตน เปนผูรบั ผลของกรรม

๘. บคุ คลใดท่ไี ดทลู ถามเรื่อง จฬู กัมมวภิ งั คสตู รกบั พระพทุ ธเจา
ก. พระเจา พิมพสิ าร
ข. สภุ มาณพ โตเทยยบุตร
ค. ประชาชนชาวเมืองสาวตั ถี
ง. พระสารบี ุตรและพระโมคคลั ลานะ

๙. ผลทเ่ี กิดจากพุทธศาสนสภุ าษติ ท่วี า “การสัง่ สมบุญนาํ สุขมาให” ขอใดตอไปนม้ี ี
ความสัมพนั ธก นั
ก. ภาวะโลกรอนเกดิ ขึ้นเพราะมนุษยตดั ไมท าํ ลายปา
ข. โจรปลน ธนาคารถกู ตํารวจจบั ไดข ณะหลบหนี
ค. รุน พี่มหาลัยมคี วามเมตตาจึงทาํ ใหรุน นอ งยกมือไหว
ง. ผปู ฏบิ ตั ิธรรมเปนประจําทาํ ใหจติ ใจสงบหนาตาผองใส

๑๐. พุทธสุภาษิตทว่ี า “กมมฺ ุนา วตฺตตี โลโก” มคี วามหมายตรงกับขอใดมากทสี่ ดุ
ก. เหน็ กงจกั รเปน ดอกบัว
ข. วาแตเ ขาอเิ หนาเปน เอง
ค. บัวไมใหช ํ้า นาํ้ ไมใ หข นุ
ง. หวานพืชเชน ไร ไดผลเชน น้นั

๑๕

ภาคผนวก

๑๖

เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น
ขอ เฉลย
๑ค
๒ก
๓ง
๔ค
๕ข
๖ข
๗ง
๘ง
๙ข
๑๐ ค

๑๗

เฉลยใบกิจกรรมที่ ๑ เรื่อง พระไตรปฎก

คาํ ช้แี จง : ใหน กั เรยี นอธบิ ายองคป ระกอบของโครงสรางพระไตรปฎก

พระวินัยปฎก ..เ.ป...น...ค..ั.ม..ภ...ีร....ร..ะ..เ.บ...ีย...บ..ว..ิ.น..ัย...ข..อ...ง..ภ..ิก...ษ...ุ .ภ...ิก...ษ..ุณ....ี .ร...ว..ม..ถ...ึง...
..ข...น..บ...ธ...ร..ร..ม...เ.น...ีย..ม...ป...ร..ะ...เ.พ...ณ...ีแ...ล...ะ..ข...อ..ป...ฏ...ิบ..ั.ต..ิท...่ีด...ีง..า..ม......
..ส...ํา..ห..ร..ั.บ..ก...า..ร..อ...ย..ู.ร..ว..ม...ก..ัน...ข...อ..ง..ห...ม...ูค..ณ....ะ..........................
....

พระไตรปฎ ก พระสุตตันตปฎ ก ..เ.ป...น..พ...ร..ะ..ธ..ร..ร..ม...ค..าํ ..ส..อ...น..ท...ท่ี ...ร..ง.แ...ส..ด...ง.แ...ก..พ...ร..ะ..ส..า..ว..ก....บ...ุค..ค...ล.
..ท..ง้ั..ห...ล..า..ย..ใ..น...โ.อ..ก...า..ส..แ..ล...ะ..ส..ถ...า..น..ท...่ีต..า..ง..ๆ.....ก..นั...ม...ที ..ัง้..เ.ป...น...ร.อ...ย.
..แ..ก..ว....ร..อ..ย...ก..ร..อ..ง...ใ..น...ร..ูป..ข..อ...ง..ค..ํา..บ...ร..ร..ย..า..ย....น..ิท...า..น................
....

..เ.ป...น ..ห...ล..ัก...ธ..ร..ร..ม..แ...ล..ะ..ค...ํา..อ..ธ..บิ...า..ย..ท...ีเ่ .ป..น...ห...ล..ัก..ว..ิช...า..ก..า..ร..ล..ว...น..ๆ.
พระอภิธรรม ..ไ.ม...เ.ก...ี่ย..ว..ก..บั...บ...ุค..ค..ล....เ.ห...ต..กุ...า..ร..ณ....ส...ถ..า..น...ท..่ี..แ..ล..ะ..ก...า..ล..เ.ว...ล..า....

....................................................................................
....

คาํ ชีแ้ จง : ใหนักเรยี นตอบคําถามเก่ียวกับพระไตรปฎ กตอไปน้ี

พระไตรปฎกมคี วามสําคญั ตอพระพทุ ธศาสนาอยางไร
..............พ...ร..ะ..ไ..ต..ร..ป...ฎ..ก...เ.ป...น..ค...มั ..ภ...ีร..ท..ีบ่...ัน...ท..กึ...ค..าํ..ส..อ...น..ข...อ..ง..พ...ร..ะ..พ...ทุ ..ธ..เ..จ..า ...จ..ึง..เ.ป...น...ต..วั..แ..ท...น...ข..อ..ง..พ...ร..ะ..พ...ุท...ธ..เ.จ..า.........
..ถ..งึ..แ..ม...น..ว...า .พ...ร..ะ..อ...ง..ค..จ..ะ..เ..ส..ด...็จ..ด..บั...ข..ัน...ธ..ป ..ร..ิน...พิ...พ...า.น...ไ..ป..แ...ล..ว...แ...ต..พ...ทุ ..ธ...ศ..า..ส..น...กิ ..ช...น..ก...็ส..า..ม..า..ร..ถ...เ.ข..า..ถ..งึ..พ...ร..ะ..พ...ทุ...ธ..เ.จ..า..
..ไ.ด...ด ..ว..ย...ก..า..ร..ศ..ึก...ษ..า..แ...ล..ะ..ป...ฏ...ิบ..ตั...ติ ..า..ม..ห...ล..กั...ธ..ร..ร..ม..ค...าํ ..ส..อ..น...ต..า..ง..ๆ....น...อ..ก..จ...า.ก...น..้ี..พ...ร..ะ..ไ.ต...ร..ป..ฎ...ก..ย...งั .บ...นั...ท..ึก...พ..ร..ะ...ว..นิ ..ัย.....
..ข..อ...ง.ภ...ิก..ษ...ุแ...ล..ะ..ภ...ิก..ษ...ุณ...ี.ซ...ง่ึ ..เ.ป..น...ผ..ูส...บื ..ท...อ..ด...พ...ร..ะ..พ...ทุ ..ธ..ศ...า..ส..น...า.ใ..ห...ไ .ด... .น...ํา.ไ..ป...ฝ..ก..ฝ...น..พ...ัฒ...น...า..ก..า..ย....ว..า..จ..า...ใ..จ...แ...ล..ะ.......
..ป...ญ...ญ...า..ใ.ห...พ...ร..อ ..ม...ต..อ..ก...า..ร..ศ..ึก..ษ...า...ป...ฏ...บิ ..ัต...ิ .แ..ล...ะ..เ.ผ...ย..แ..ผ...พ..ร..ะ...พ..ุท...ธ..ศ..า..ส...น..า..ต...อ ..ไ..ป.................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

๑๘

เฉลยใบกิจกรรมที่ ๒ เรอื่ ง จูฬกัมมวิภงั คสูตร

คําช้ีแจง : ใหนกั เรยี นวิเคราะหจากขาววา มีความสมั พนั ธก ฎแหง กรรม จฬู กมั มวภิ งั คสตู ร ไดอยา งไร

ติดรปู ภาพหรอื ขาว

จากเนื้อหาของขาวมีความสัมพนั ธกฎแหง กรรม จฬู กัมมวภิ ังคสตู ร ไดอยางไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..................................................................................................................อ......ย....ใู..น......ด....ุล......พ......นิ ....จิ....ข......อ....ง....ค....ร....ูผ......สู ....อ....น............................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

มวี ิธีอยางไรใหบ คุ คลในขา วพน จากกรรมชวั่
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................อ....ย......ใู ..น......ด....ุล......พ....นิ......ิจ....ข....อ......ง....ค....ร....ผู....ูส......อ....น................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

๑๙

เฉลยใบกจิ กรรมที่ ๓ เรอ่ื ง พทุ ธศาสนสภุ าษติ

คาํ ช้ีแจง : ใหน ักเรยี นวเิ คราะหกรณตี วั อยางตอไปน้ีตรงใหส มั พันธก บั พุทธศาสนสุภษิตท่ีกําหนดให
กมมฺ นุ า วตตฺ ตี โลโก , กลยฺ าณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปกํ , สุโข ปุ ญฺ สสฺ อุจจฺ โย ,
ปูชโก ลภเต ปชู ํ วนฺทโก ปฏิวนทฺ นํ

กรณตี วั อยางที่ ๑ ทกุ ปสมใจจะตอ งไปเยย่ี มคุณครูสมบตั ิ เธอรําลึกเสมอวาที่มวี ันน้ไี ดเ พราะการ
อบรมส่ังสอน การเอาใจใสข องครทู ี่ใหความรู แนะนําช้แี นะการดาํ เนินชีวติ
.......ป...ูช..โ..ก...ล...ภ..เ..ต...ป...ชู ..ํ..ว..น..ทฺ...โ.ก....ป...ฏ..ิว...น..ฺท...น..ํ...ผ..บู...ชู ..า....ย..อ..ม...ไ.ด...ร..ับ..บ...ชู ..า...............................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

กรณีตัวอยางท่ี ๒ สมหญิงเปนเด็กที่มีความขยนั หมั่นเพียรศกึ ษาหาความรู ใฝเ รยี น ใฝรู เอาใจใสตอ
การเรียน มีความรบั ผดิ ชอบในหนา ท่ีของตนเอง ใครเห็นใครไดยินก็ยกยอ งชนื่ ชมวา เปน นักเรียนดี
.......ก...ล..ฺย..า..ณ....ก..า..ร..ี.ก...ล..ฺย..า..ณ....ํ .ป...า..ป..ก...า..ร..ี .จ....ป..า..ป...ก..ํ...ท...าํ .ด...ีไ.ด...ด..ี..ท..ํา..ช..ัว่...ไ.ด..ช...ว่ั ........................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

กรณตี วั อยา งที่ ๓ ถงึ วนั เขา พรรษาและวนั สงกรานตส มชยั จะพาครอบครัวไปทําบุญดว ยการปลอ ย
นกปลอยปลาเปน การปลอ ยชีวติ ของสรรพสตั ว
.........ส..โุ..ข...ป...ุ ...ฺญ...ส...ฺส...อ...ุจ..จฺ..โ..ย...ก...า..ร..ส..่ัง..ส..ม...บ..ญุ...น...ํา..ส..ขุ...ม..า..ใ..ห..............................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

กรณตี ัวอยา งท่ี ๔ สมหมายไดข ดุ หลุมดกั จบั สตั วปาหายาก เพอื่ ไปขายทต่ี ลาดมดื คา ของปา แต
สมหมายเผลอเดินไปเหยียบกับดักจงึ ตกลงไปเสียชีวิต
........ก..ม...มฺ ..น...า...ว..ต..ฺต...ต..ี..โ.ล..โ..ก....ส..ตั ..ว..โ..ล..ก...ย..อ..ม...เ.ป...น..ไ..ป..ต...า..ม..ก...ร..ร.ม..........................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

กรณตี วั อยา งที่ ๕ นายประกจิ รวมกับเพอื่ นๆ ในชมรมพุทธศาสตรไ ปแจกสง่ิ ของและขนมใหกบั เด็กๆ
ในสถานสงเคราะหอ ยูเ สมอ ทาํ ใหเ ดก็ ในสถานสงเคราะหม ีความผูกพันกับนายประกิจและเพอ่ื นๆ
..........ส...โุ .ข....ป..ุ...ฺญ....ส..ฺส....อ..จุ..จฺ...โ.ย....ก..า..ร..ส..ง่ั..ส..ม...บ...ญุ ...น..ํา..ส...ขุ ..ม..า..ใ..ห... ..........................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

๒๐

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
ขอ เฉลย
๑ง
๒ค
๓ข
๔ค
๕ก
๖ข
๗ค
๘ข
๙ง
๑๐ ง

๒๑

บรรณานกุ รม

กระทรวงศึกษาธกิ าร. สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (๒๕๔๗). เรยี นรูจากกระแสพระราชดํารสั พระบาท
สมเดจ็ พระเจาอยูหัวพระราชทานเม่อื วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๖ ที่เกย่ี วของกบั การศึกษา. กรุงเทพฯ :
สาํ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา.

_______________. (๒๕๕๒). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพช มุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย.

_______________. (๒๕๕๑). หนงั สอื เรียน รายวิชาพนื้ ฐาน กลุมสาระการเรยี นรูส ังคมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ พระพุทธศาสนา ม.๒.

กรุงเทพฯ : โรงพมิ พคุรุสภาลาดพราว.
ณัทธนัท เลี่ยวไพโรจน. (๒๕๕๘). หนงั สือเรยี น รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปที่ ๒

กลุมสาระการเรียนรสู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.) จํากัด.
สถาบนั พฒั นาวิชาการ. (๒๕๕๘). คมู ือครหู นงั สือเรียนสาระการเรียนรูพืน้ ฐาน สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั พัฒนา
คณุ ภาพวชิ าการ(พว.) จํากดั .
อรทิรา รัตนพงษโ สภติ . (๒๕๕๒). New สรุปเขม สังคมศกึ ษา ม.๒. กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พิมพว ัฒนาพานชิ .

๒๒


Click to View FlipBook Version