The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chalermpon Laothiang, 2021-02-19 21:40:52

03

03

1

กลุม สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๒

ตําแหนง ครู วทิ ยฐานะครูชาํ นาญการพิเศษ

โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาเทศบาลเมอื งปทมุ ธานี
เทศบาลเมืองปทมุ ธานี อําเภอเมืองปทมุ ธานี จังหวดั ปทุมธานี



รูปแบบการจัดการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามแนวคําสอนของพระพุทธเจา เพ่ือสงเสริมทักษะ
การเรยี นรแู บบ Active learning กลุม สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศกึ ษา
ปที่ ๒ เน้ือหาเลมนี้สอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑
กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพ่ือเสริมสรางความรูและความเขาใจประวัติ
ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ี
ถกู ตอ ง ยดึ ม่นั และปฏิบตั ิตามหลักธรรมเพ่ืออยรู วมกันอยางสนั ติสขุ

รูปแบบการจัดการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามแนวคําสอนของพระพุทธเจา เพ่ือสงเสริม
ทักษะการเรยี นรแู บบ Active learning กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ ๒ เลมที่ ๓ เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จัดทําเพื่อใหนักเรียนสามารถ
อธบิ ายความหมายพระรัตนตรยั (ธรรมคุณ ๖) อธบิ ายหลกั ธรรม ทุกข สมุทัย นโิ รธ มรรค ตระหนกั และ
เห็นคุณคาของหลักธรรม ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค นํามาประยุกตใชในการประกอบกรรมดีในการ
ดําเนนิ ชวี ติ ได

ขอขอบพระคณุ ผูเชย่ี วชาญทกุ ทานท่ีใหคําปรึกษา แนะนาํ ในการจัดทํารปู แบบการจดั การเรียนรู
พระพุทธศาสนา ตามแนวคาํ สอนของพระพุทธเจา เพ่อื สงเสรมิ ทกั ษะการเรียนรแู บบ Active learning
กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี ๒ ชุดน้จี นสําเรจ็ สามารถ
นําไปใชพัฒนาใหคงอยูตอไป

หวังเปนอยางย่งิ วารูปแบบการจัดการเรียนรูพระพทุ ธศาสนา ตามแนวคําสอนของพระพุทธเจา
เพ่ือสงเสริมทักษะการเรียนรูแบบ Active learning กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ ชุดนี้จะเปนประโยชนตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู
ชวยพัฒนานักเรียนและเยาวชนทุกคนใหเปนศาสนิกชนที่ดี และธาํ รงรักษาพระพุทธศาสนาหรือ
ศาสนาท่ีตนนับถือสืบไป

นางอมรรัตน ภูมิประหมัน

เรือ่ ง ข

คํานํา หนา
สารบัญ ก
คําช้แี จง ข
มาตรฐานและตวั ช้ีวัด ค
จุดประสงคการเรียนรู ง
แบบทดสอบกอ นเรยี น ๑
ใบความรูท่ี ๑ เร่อื ง พระรตั นตรยั (ธรรมคณุ ๖) ๒
ใบกิจกรรมที่ ๑ เรือ่ ง พระรตั นตรัย (ธรรมคุณ ๖) ๔
ใบความรูที่ ๒ เรอ่ื ง อริยสัจ ๔ ทุกข สมุทัย นโิ รธ มรรค ๗
ใบกิจกรรมท่ี ๒ เร่ือง อริยสจั ๔ ทุกข สมุทัย นโิ รธ มรรค ๙
ใบความรูท่ี ๓ เร่ือง การปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมพระพทุ ธศาสนา ๑๗
ในกระแสความเปล่ยี นแปลงของโลกและการอยรู ว มกนั อยางสันตสิ ขุ ๑๘
ใบกิจกรรมที่ ๓ เรอ่ื ง การปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรมพระพทุ ธศาสนา
ในกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกและการอยูรวมกนั อยางสนั ติสขุ ๒๒
แบบทดสอบหลังเรยี น
ภาคผนวก ๒๓
เฉลยแบบทดสอบกอ นเรียน ๒๕
เฉลยใบกจิ กรรมที่ ๑ เรอ่ื ง พระรัตนตรัย (ธรรมคุณ ๖) ๒๖
เฉลยใบกิจกรรมท่ี ๒ เร่ือง อริยสจั ๔ ทกุ ข สมุทัย นโิ รธ มรรค ๒๗
เฉลยใบกจิ กรรมที่ ๓ เรอื่ ง การปฏบิ ัตติ นตามหลักธรรมพระพทุ ธศาสนา ๒๙
ในกระแสความเปลีย่ นแปลงของโลกและการอยูรว มกันอยา งสนั ติสุข ๓๐
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
บรรณานกุ รม ๓๑
๓๒



รปู แบบการจดั การเรียนรพู ระพุทธศาสนา ตามแนวคาํ สอนของพระพุทธเจา เพื่อสง เสริมทักษะการ
เรียนรูแบบ Active learning กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษา
ปท่ี ๒ พัฒนาขึ้นมาเพ่ือเปนแหลงความรูของนักเรียนเขาใจการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศ
เพื่อนบา นและการนับถือพระพทุ ธ ศาสนาของประเทศเพอื่ นบา นในปจ จบุ นั

รูปแบบการจัดการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามแนวคําสอนของพระพุทธเจา เพื่อสงเสริมทักษะ
การเรียนรูแบบ Active learning กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยม
ศกึ ษาปที่ ๒ มที งั้ หมด ๗ เลม ดงั นี้

เลม ท่ี ๑ เร่ือง พระพุทธศาสนาในประเทศเพอ่ื นบาน
เลมท่ี ๒ เร่ือง พุทธประวตั ิ พุทธสาวก และชาดก
เลมที่ ๓ เรอ่ื ง หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา
เลม ที่ ๔ เรื่อง พระไตรปฎ กและพุทธศาสนสุภาษิต
เลม ที่ ๕ เรื่อง หนา ทช่ี าวพุทธและมารยาทชาวพทุ ธ
เลมท่ี ๖ เร่ือง วนั สาํ คัญทางพทุ ธศาสนาและศาสนพิธี
เลม ท่ี ๗ เรอ่ื ง การบรหิ ารจติ และการเจริญปญญา

เพื่อใหบรรลุจุดประสงคของรูปแบบการจัดการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามแนวคาํ สอนของ
พระพุทธเจา เพ่ือสง เสรมิ ทักษะการเรยี นรูแบบ Active learning กลุม สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๒ เลมท่ี ๓ เร่ือง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มีขอเสนอ
แนะใหน กั เรียนปฏิบัติตามขน้ั ตอน ดังนี้

๑. ศึกษาทาํ ความเขา ใจจดุ ประสงคของรปู แบบการจดั การเรยี นรู
๒. ทําแบบทดสอบกอ นเรียนจํานวน ๑๐ ขอ กอ นศกึ ษาเนื้อหาในเลม เพอ่ื ตรวจความรพู ้นื ฐาน
๓. นกั เรยี นศึกษาใบความรูและทาํ ใบงานที่กาํ หนดให
๔. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน พรอมกับตรวจคําตอบจากเฉลยเพื่อจะไดทราบ
วา ตนเองมีการพฒั นาดานความรูเ พมิ่ เตมิ เพียงใด



สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู และเขาใจประวตั ิ ความสําคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนา

ท่ีตนนบั ถอื และศาสนาอ่ืน มศี รัทธาทถ่ี ูกตอ ง ยึดมน่ั และปฏิบัตติ ามหลกั ธรรม
เพื่ออยูรว มกันอยางสันติสุข
ตัวชว้ี ดั
ส ๑.๑ ม.๒/๘ อธิบายธรรมคณุ และขอธรรมสาํ คัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลกั ธรรม

ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนดเห็นคุณคาและนําไปพัฒนาแกปญหา
ของชมุ ชนและสังคม
ส ๑.๑ ม.๒/๑๑ วิเคราะหการปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรมทางศาสนาทต่ี นนบั ถือ เพ่อื การดาํ รง
ตนอยางเหมาะสมในกระแสความเปลย่ี นแปลงของโลกและการอยูรวมกัน
อยางสนั ติสขุ

สาระสาํ คัญ
หลักธรรมเปรียบเสมือนแกน ของพระพทุ ธศาสนา ซง่ึ พระพทุ ธเจาเปน ผูทรงคน พบแลวนาํ

มาเผยแผแกมวลมนษุ ย เม่ือทุกคนเขา ใจและเห็นคุณคานําไปปฏบิ ัติยอมเกดิ ผลดตี อผปู ฏบิ ัตแิ ละ
สงั คมสว นรว ม



เมอ่ื ศกึ ษารูปแบบการจัดการเรียนรูพระพทุ ธศาสนา ตามแนวคําสอนของพระพุทธเจา
เพือ่ สงเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรแู บบ Active learning กลุมสาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๒ เลม ท่ี ๓ เรอื่ ง หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา นักเรียน
สามารถแสดงพฤติกรรมดังตอ ไปนี้

ดา นความรู (K)
๑. นักเรียนอธบิ ายความหมาย พระรัตนตรัย (ธรรมคุณ ๖) ได
๒. นกั เรียนอธบิ ายขอธรรมอรยิ สัจ ๔ ในหลักธรรม ทกุ ข สมทุ ัย นโิ รธ มรรค ได
๓. นกั เรยี นเหน็ คุณคา ของขอ ธรรมอริยสจั ๔ ในหลักธรรม ทุกข สมุทัย นิโรธ

มรรค ได
๔. นกั เรียนอธิบายการปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรมพระพทุ ธศาสนาในกระแสความ

เปลย่ี น แปลงของโลกและการอยูรว มกันอยา งสนั ติสขุ ได
๕. นกั เรียนเห็นคุณคาการปฏิบัติตนตามหลักธรรมพระพทุ ธศาสนาในกระแสความ

เปลี่ยนแปลงของโลกและการอยูรวมกนั อยางสันตสิ ขุ นํามาประยกุ ตใ ชใ นการดาํ เนนิ ชีวิตได

ดา นทกั ษะ (P)
๑. นกั เรียนมคี วามสามารถในการแกป ญหา
๒. นกั เรยี นมคี วามสามารถในการใหเหตผุ ล
๓. นกั เรียนมคี วามสามารถในการสื่อสาร สอ่ื ความหมาย

ดา นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค (A)
๑. นกั เรียนมีความซอ่ื สัตยสุจริต
๒. นกั เรียนมีการใฝเ รยี นรู
๓. นักเรียนมีความมงุ มั่นในการทํางาน



แบบทดสอบกอนเรียน
เลม ท่ี ๓ เรอ่ื ง หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา
คําช้ีแจง ใหนกั เรยี นทําเครื่องหมาย  ลงบนหนาขอทถี่ ูกตองมากทส่ี ุด

๑. บุคคลหวา นพชื เชน ไร ยอมไดร บั ผลเชนนั้น มีความสัมพนั ธก ับขอ ใดมากทส่ี ุด
ก. กงเกวยี น กําเกวียน
ข. ทาํ ดีไดดี ทาํ ชว่ั ไดชว่ั
ค. น้าํ ขุนอยูใน นํา้ ใสอยนู อก
ง. ความรูทวมหวั เอาตัวไมรอด

๒. การกระทําของบุคคลในขอใดสอดคลองกบั หลักกรรมดที ่ใี หผล “สมบัติ ๔”
ก. ทองดขี ยนั เรียนมากข้นึ เพราะไมอยากเรยี นซา้ํ ชน้ั อีก
ข. เฉลมิ พลไมชอบเรียนภาษาอังกฤษถูกแมบ งั คับใหท อ งศัพททกุ วนั
ค. ฤทธไ์ิ กรตอ งรบี กลบั บานมาชว ยพอ แมต ง้ั รานขายเสือ้ ผา ท่ีตลาดนัด
ง. ประกายดาวขยันทํางานทาํ ใหเล่ือนตาํ แหนง เปนหวั หนา งานฝายบุคคล

๓. องคป ระกอบของขันธ ๕ คอื
ก. รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
ข. กลนิ่ รปู รส สมั ผสั สญั ญา สังขาร
ค. เวทนา อารมณ สญั ญา สังขาร วิญญาณ
ง. รส เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ

๔. ขอ ใด คือ ความสุขทีเ่ กิดจากการมที รัพย
ก. อนวัชชสขุ
ข. โภคสขุ
ค. อนณสุข
ง. อตั ถสิ ขุ

๕. อาํ นาจขโมยโทรศัพทเครอ่ื งใหมข องเพอ่ื นเพราะความอยากได จากเหตุการณน ีต้ รงมี
ความสัมพนั ธต รงกับ อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ขอ ใด
ก. กายทจุ รติ วจที ุจรติ
ข. วจที จุ รติ มโนทจุ รติ
ค. กายทุจรติ มโนทจุ รติ
ง. กายทุจริต วจที ุจริต มโนทุจริต



๖. อนณสุข มคี วามสมั พนั ธก ับขอใดมากทีส่ ุด
ก. เดนชยั เปน คหบดใี นจังหวัดที่ผคู นนับถือ
ข. สนิ เปน กรรมกรรบั จา งแตไ มเ คยเปนหนี้ใคร
ค. กนกพร กินอาหารภัตตาคารเปน ประจําเมือ่ ถึงวนั หยดุ
ง. จินดามณีชอบเดินทางทอ งเท่ยี วในประเทศไทยมากที่สุด

๗. วภิ านกั ศึกษาแพทยจบใหม หลักธรรมใดหากวิภานําไปปฏิบตั ติ ามแลวจะเปนหนทางไปสู
ความเจริญกาวหนา ของชีวติ ในอนาคต
ก. สขุ ๒
ข. ดรุณธรรม ๖
ค. กุศลกรรมบถ ๑๐
ง. กุลจริ ัฏฐิตธิ รรม ๔

๘. การคิดใหแ ยบคาย ฟง สง่ิ ใดแลวพิจารณาไตรต รอง แยกแยะให ละเอยี ดถถ่ี ว น แสวงหา
คาํ ตอบ หาเหตุผลใหถูกตอ ง จากขอความดังกลา วมคี วามสมั พันธก ับขอใดมากที่สดุ
ก. ความมกี ลั ยาณมติ ร
ข. ความถึงพรอ มดว ยฉันทะ
ค. โยนโิ สมนสกิ าร
ง. อริยสัจ ๔

๙. หลกั ปฏบิ ตั ใิ นการทําใหครอบครวั มคี วามสุข สอดคลอ งกับกุลจฏิ ฐิตธิ รรม ๔ ขอใดมากท่สี ุด
ก. แมข องนกนอยทาํ บัญชคี รัวเรือนประมาณการใชจายในครอบครวั
ข. พอของมนูเปน คนรักครอบครัวและรกั ลกู มากชอบชว ยแมทาํ งานบา น
ค. แมข องวนิดาเกบ็ เสอ้ื ผาเกา ของตัวเองมาแกเ ยบ็ ใหมใ หทันสมัยใสไปทํางาน
ง. พอและแมข องพลอยใสไปเดินหา งทกุ วนั อาทิตยช วยกนั เตรียมของกินของใชไว
ไมใ หขาด

๑๐. องอาจเก็บโทรศัพทไ ดจากสนามฟตุ บอลจงึ นําไปคืนครปู ระจําชัน้ จากขอความดงั กลา ว
มคี วามสัมพนั ธก ับขอ ใดมากทสี่ ุด
ก. กายสุจริต มโนสจุ ริต
ข. วจสี ุจริต กายสุจรติ
ค. มโนสจุ รติ วจีสุจรติ
ง. กายสจุ ริต สจุ รติ วจสี จุ ริต



ใบความรูท ี่ ๑ เรื่อง พระรัตนตรยั (ธรรมคุณ ๖)

พระรัตนตรัย
พระรตั นตรัย ไดแก พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ ทง้ั ๓ รตั นะ ถือเปน ส่ิงทคี่ วรเคารพสงู สดุ

ของชาวพทุ ธ ท้งั น้ีเพราะพระรัตนตรยั มีคณุ งามความดอี ันยิ่งใหญตอ ชาวพทุ ธ คือ
พระพุทธเจา เปนผูกอต้ังพระพุทธศาสนาและคนพบหลักธรรมแลวนํามาส่ังสอนชาวโลกให

ปฏิบตั ิ ทรงเพียบพรอมดว ยพระปญญาคุณ พระวสิ ทุ ธิคณุ และพระมหากรุณาธคิ ณุ
พระธรรม เปน สภาพความจรงิ ทพ่ี ระพทุ ธเจาทรงคน พบแลว นํามาเผยแผ สามารถใหผลแก

ผู ปฏิบัติตามสมควรแกก ารปฏบิ ัติ
พระสงฆ เปนสาวกผูปฏิบตั ดิ ปี ฏบิ ตั ิชอบตามคาํ สอนของพระพุทธเจา และนํามาเผยแผแ ก

ชาวพุทธใหไดรบั ประโยชนตามสมควร

ภาพ : พระรตั นตรยั
ทม่ี า : http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31437-044035

ดวยเหตุนี้ ชาวพุทธจึงควรระลึกถงึ คุณของพระรตั นตรัย การระลึกถึง
คุณของพระรตั นตรัย จะชว ยใหเ กิดความซาบซง้ึ ในพระรัตนตรัย และพรอ มท่ี
จะปฏิบัตติ ามหลักธรรมคาํ สอน อนั จะเปน ผลสง ใหไดรบั ผล ของการปฏบิ ัติ
ตามสมควร



ธรรมคณุ ๖

ธรรมคุณ หมายถึง คณุ ความดีงามของพระธรรม

ซึ่งพระพุทธเจาไดทรงแสดงไว มี ๖ ประการ ตามที่

ปรากฏอยูในบทสวดสรรเสริญธรรมคุณวา

สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม สันทิฏฐโิ ก อะกา

กิโล เอหิปส สโิ ก โอปะนะยิโก ปจ จตั ตัง เมทิตพั โพ วญิ ู

หีติ

พระธรรมอันพระผูม พี ระภาคเจาทรงแสดงไวด ี

แลว ผูปฏบิ ัตจิ ะพึงเห็นไดเ องไมข ึ้นอยูกับกาลเวลา ควร

เรียกใหม าดไู ด ควรนอ มนําประพฤตปิ ฏบิ ตั ิเปน ธรรมที่ ภาพ : พระธรรมคอื คาํ สัง่ สอนทพี่ ระพทุ ธเจา แสดงไวด ีแลว
ท่มี า : https://www.rungprinting.com/category/
วิญชู นจะพงึ รไู ดเฉพาะตน

๑. พระธรรมอันพระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงไวดีแลว

หลักคาํ สอนในพระพทุ ธศาสนานนั้ เปน ผลมาจากการตรสั รขู องพระพุทธเจา เชน พระองคท รง
แสดงวา อะไรเปนความทกุ ขจรงิ ทรงแสดงวา อะไรเปน เหตุใหเ กดิ ความทกุ ขกเ็ ปน เหตุใหเกดิ ความทกุ ข
จริง ทรงแสดงวา อะไรเปนความดับทุกข สง่ิ น้ันกเ็ ปน ความดบั ทกุ ขอํานวยความสุขจรงิ ทรงแสดงวา

อะไรเปน ขอ ปฏิบัตทิ ี่ ชวยกําจัดความดบั ทกุ ข ขอ ปฏิบตั นิ นั้ ก็สามารถกําจดั ความทกุ ขไ ดจ ริง เปน ตน

๒. พระธรรมเปนสิ่งที่ผูปฏิบัติจะเห็นไดดวยตนเอง

หลักคาํ สอนทพ่ี ระพุทธเจาทรงแสดงไวนัน้ เชน ทรงแสดงวา การดื่มสรุ าเปน อบายมขุ เปน ทาง
แหงความเสอ่ื ม ใครก็ตามหากด่มื สุราแลว จะรไู ดดวยตนเองวา ความเส่ือมทง้ั หลายเกิดข้ึนเพราะตน
ดืม่ สรุ าน่นั เอง เชน ทําใหเ สียเงินเสียทอง เสียสุขภาพ เปนบอ เกดิ ของโรคตา งๆ เปน ตน หรือทรงสอน
วาถา คนเราหลกี เลยี่ งไม เขา ไปขอ งแวะกับการด่ืมสรุ าและของมึนเมา ชวี ติ กจ็ ะมีความสขุ จะไดรับผล
เหลานน้ั เปน ทีป่ ระจักษดวยตนเอง

๓. พระธรรมไมข้ึนอยูกับกาลเวลา

หลักธรรมคําสอนท้ังหมดเปน หลักความจริงทไ่ี มเปล่ียนแปลงเปน อยางอน่ื ไปตามกาลเวลา เชน
ทรงแสดงวา ความเกียจครา นไมด ี แมจ ะเรยี นหนังสือก็จะไมป ระสบผลสําเร็จ ใครในสว นใดของโลกใน
เวลาใดก็ ตามหากเกียจครานจะไมป ระสบความสาํ เร็จ ขอนี้เปน ความจริงเสมอตลอดมา

๔. พระธรรมควรเรียกใหมาดู

หลักธรรมคําสอนทีไ่ ดส่ังสอนไวนน้ั พรอมที่จะใหใครมาศกึ ษาพิจารณาตรวจสอบทดลองและ
ปฏบิ ัติดูไดเสมอ ไมไ ดก าํ หนดไวว าตองเปนชาวพุทธเทา น้ัน


๕. พระธรรมควรนอ มนํามาประพฤติปฏิบัติ
หลกั ธรรมคําสอนท่ไี ดท รงแสดงไวน ้ันไมใชแ สดงไวเ พ่อื ใหศึกษาเรยี นรแู ตเพียงอยางเดยี ว แต
ควร นํามาประพฤติปฏบิ ตั ดิ ว ยจงึ จะเกดิ ผลตามสมควรแกการปฏิบตั ิ การเรยี นรอู ยางเดียวก็เหมอื น
กับทัพพีท่ไี มรจู กั รสแกง ซ่ึงไมเ กดิ ผลอะไรเลย
๖. พระธรรมอันวิญูชนจะพึงไดเฉพาะตน
การจะรวู าหลักธรรมคาํ สอนเปน ความจรงิ ตามทีแ่ สดงไวหรือไมน นั้ จะตอ งศึกษานํามาปฏิบตั ิ
เมื่อปฏิบัตแิ ลว ก็จะรผู ลของการปฏิบตั เิ ชน นนั้ ดวยตนเอง เหมือนคนกนิ อาหารจะรรู สอาหารนัน้ ๆ วา
เปร้ียว หวาน มนั เคม็ ดว นตนเอง จะใหคนอื่นมารูรสอาหารแทนไมได

ภาพ : พระธรรม ซึ่งพระพุทธเจา ไดทรงแสดงไว
ทีม่ า : https://thaihell.wordpress.com

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เปน หลกั ธรรมที่แสดงเหตแุ สดงผลให
สามารถเห็นประจกั ษไดดวยตนเองวา สง่ิ ใดเปน ความดีควรกระทา ส่ิงใดเปน
ความช่วั พงึ ละเวน พุทธศาสนกิ ชนพึงยึดถือสาสัง่ สอนของพระพุทธองคเปน
หลกั ในการดาเนินชีวติ



ใบกจิ กรรมที่ ๑ เรอ่ื ง พระรัตนตรยั (ธรรมคณุ ๖)

คําช้แี จง : ใหนกั เรียนพิจารณาภาพ แลวเตมิ ขอความลงในชองวา งใหถ กู ตอ ง

พระรัตนตรยั

ความหมาย ความหมาย ความหมาย
................................................... ................................................... ...................................................
................................................... ................................................... ...................................................
................................................... ................................................... ...................................................
คณุ คา คณุ คา คณุ คา
................................................... ................................................... ...................................................
................................................... ................................................... ...................................................
................................................... ................................................... ...................................................
................................................... ................................................... ...................................................
................................................... ................................................... ...................................................
................................................... ................................................... ...................................................
................................................... ................................................... ...................................................
................................................... ................................................... ...................................................
................................................... ................................................... ...................................................
................................................... ................................................... ...................................................
................................................... ................................................... ...................................................



คาํ ช้ีแจง : ใหนักเรยี นเขียนผงั ความคิด เรอื่ ง ธรรมคณุ ๖

...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................

............................................................ ธรรมคุณ ๖ ............................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................

............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................

...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................



ใบความรทู ี่ ๒ เรื่อง อรยิ สัจ ๔ ทุกข สมุทัย นโิ รธ มรรค

อริยสัจ ๔ แปลวา ความจริงอันประเสรฐิ มีอยูสป่ี ระการ คือ
ทุกข สมุทยั นิโรธ มรรค

ทกุ ข (ธรรมท่ีควรรู) : ขนั ธ ๕
องคป ระกอบของชวี ติ มี ๕ ประการ คือ รปู เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ

๑. รปู หมายถงึ สว นท่ีเปน รา งกาย เปน การผสมกันของธาตทุ ง้ั ๔ ไดแ ก
- ธาตนุ ้ํา (อาโปธาตุ) คือสิ่งท่ีมีสถานะเปน ของเหลวในรา งกาย เชน โลหติ น้าํ

ปส สาวะ เหงือ่ เลอื ด นํา้ ลาย เปน ๑๒ อยาง
- ธาตดุ นิ (ปฐวธี าตุ) คอื สิ่งท่มี ีสถานะเปน ของแข็งในรา งกาย เชน ผิวหนงั ผม เนื้อ

เอน็ เยอื่ ในกระดกู มา ม หัวใจ พงั ผดื ไต ลําไสใ หญ ลาํ ไสเ ล็ก ตา จมูก ปาก ลําไส ตบั
กระดกู ขน เลบ็ ฟน ปอด ฯลฯ เปน ๒๐ อยา ง

- ธาตุไฟ (เตโชธาตุ) คอื อุณหภมู ขิ องรางกาย พลงั งานในการเผาผลาญอาหาร ใหเ รา
รอนในกายทาํ ใหเกดิ ความกระวนกระวายและใหค วามอบอุนแกรา งกาย

- ธาตุลม (วาโยธาตุ) คือสิ่งทมี่ ีสถานะเปนแกสหรือกาซในรา งกาย เชน ลมหายใจ
เขาออก แกส ในกระเพาะอาหาร

๒. เวทนา หมายถงึ ความรูสกึ ทีเ่ กดิ ขึน้ ตอส่งิ ท่รี บั รู เวทนา มีอยู ๓ อยาง ไดแก
- สุขเวทนา คอื ความรสู กึ สบายใจ
- ทกุ ขเวทนา คือ ความรูสึกไมส บายใจ
- อเุ บกขาเวทนา คอื ความรูสึกเฉย ๆ เปนกลาง

๓. สัญญา หมายถึง การกาํ หนดหมายรสู งิ่ ใดสง่ิ หน่งึ สัญญาแบงออกได ๖ ทางแหงการรบั รู
คอื รูป รส กลน่ิ เสยี ง สัมผสั ทางอารมณห รอื ใจ (ธรรมารมณ)

๔. สงั ขาร หมายถงึ ความนกึ คิดทเ่ี กดิ ทางใจ หรือสงิ่ ทปี่ รุงแตง จิตใหคิดดี คิดชั่ว เปน สิ่งที่
กระตนุ ผลกั ดนั ใหมนุษยก ระทาํ การ อยางใดอยางหนึ่ง เปน ผลรวมของการรบั รูท ีผ่ านมา เชน

๑. ตารับรูวตั ถสุ ่งิ หนง่ึ (วญิ ญาณ)
๒. รูส ึกวาสวยดี (เวทนา)
๓. จาํ ไดวา มันเปนวตั ถเุ หลี่ยมๆ ใสๆ (สัญญา)
๔. ทาํ ใหเกดิ สภาพปรงุ แตงจติ ใหคิดดี ชว่ั หรือเกิดแรงจูงใจผลักดันใหเอ้ือมมือ ไป
หยิบมาเพราะความอยากได ขนั้ ตอนนเ้ี รยี กวา สงั ขาร ซงึ่ เปน ขัน้ ตอนทก่ี อ ใหเกิดพฤติกรรม
ทง้ั ดี และชวั่ ได

๑๐

๕. วิญญาณ หมายถึง การรับรู ผา นประสาทสัมผสั ทั้ง ๕ และทางใจไดแ ก การเหน็ การไดยิน
การไดก ล่นิ การรูรส การสัมผสั ทางกายและ รูอารมณท างใจ ไดแก

๑. โสตวญิ ญาณ คือ การรับรทู างหู
๒. ฆานวญิ ญาณ คอื การรับรทู างจมกู
๓. จกั ขวุ ิญญาณ คือ การรับรทู างตา
๔. กายวญิ ญาณ คอื การรับรูส ัมผสั ทางกายและรอู ารมณท างใจ

๕. ชวิ หาวิญญาณ คือ การรับรูทางล้นิ

ทุกข (ธรรมทคี่ วรรู) : อายตนะ

อายตนะ คอื จดุ เชื่อมตอ ระหวา งขันธ ๕ กบั สง่ิ ที่อยภู ายนอกตวั เรา อายตนะจดั องคประกอบ
ของวญิ ญาณ คอื การรบั รู กลา วคือ ในการรบั รจู ะตองมีผรู แู ละสง่ิ ที่ถูกรู ขันธ ๕ คอื ผรู ู ซงึ่ รบั รผู า น
อายตนะภายใน ไดแ ก ตา หู จมกู ล้นิ กาย และใจ สวนสิง่ ทีถ่ กู รู คอื รปู เสียง กลิน่ รส การสมั ผสั
และการนึกคดิ (ธรรมารมณ) เรยี กวา อายตนะภายนอก

อายตนะภายใน อายตนะภายนอก

ตา (จกั ขุวญิ ญาณ) รูป - สงิ่ ท่ีเห็นดว ยตา
หู (โสตวญิ ญาณ) เสยี ง - ส่งิ ท่ีไดยนิ ดวยหู
จมูก (ฆานวิญญาณ) กลิน่ - สงิ่ ที่สดู ดมไดด ว ยจมกู
ล้นิ (ชวิ หาวิญญาณ) รส - สิ่งท่ีลิ้มรสไดดวยล้นิ
กาย (กายวิญญาณ) สัมผสั (โผฏฐัพพะ) - สิง่ ทีถ่ ูกตอ งกาย
ใจ (มโนวิญญาณ) อารมณ( ธรรมารมณ) - เรื่องทีค่ ิดขึ้นดว ยใจ

ความสาํ คัญของ ขนั ธ ๕ อายตนะ

ขันธ ๕ คอื องคป ระกอบของชวี ิต มี ๕ ประกอบคือ รปู เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ
การศึกษาหลกั ธรรมขันธ ๕ จะทําใหเราเขา ใจกระบวนการเกดิ ความรูสึกทุกขอนั เกิดจาก รูป เวทนา
สญั ญา สงั ขาร และวิญญาณ ซ่งึ เมื่อเราเขาใจเชนน้นั กจ็ ะทาํ ใหสามารถลด ละ เลิกการยึดมัน่ ถือมั่น
เพราะเปนของไมจ รี ังย่งั ยนื พระพุทธเจา ทรงใหเราทุกคนรเู ทา ทนั ตามสภาพความเปนจรงิ และเตรียม
ตวั รบั ความจรงิ

หลกั ธรรมอายตนะ ทําใหเขาการรบั รขู องสงิ่ ท่ีอยูภายในกับสิง่ ทอี่ ยูภ ายนอกสามารถกาํ หนด
และมีความสาํ รวมในอายตนะ จงึ ละจากความรสู ึกทุกขได

ดงั น้นั พทุ ธศาสนิกชนทัง้ หลายควรรูใหทนั วา ส่งิ ทีเ่ รารับรทู างตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ นน้ั ถา
เรายดึ ม่ันถอื มน่ั วาเปน ของเราก็จะเกิดทกุ ขต ามมา เราจงึ ควรมีสติกาํ กับอายตนะ เพือ่ ใหรูเทาทนั ส่งิ ที่
รับรทู างอายตนะนนั้ ๆ ได

๑๑

สมุทยั (ธรรมที่ควรละ) : หลักกรรม สมบตั ิ ๔ วิบตั ิ ๔

สมทุ ยั คือ เหตุแหง ทกุ ข เกดิ จากกิเลสที่ เรียกวา ตณั หา ๓ ไดแ ก ความอยากได (กามตณั หา)
ความอยากมีหรืออยากเปน (ภวตัณหา) และความไมอ ยากมีหรอื ไมอ ยากเปน (วิภวตัณหา) เชน
อยากเปน ผมู ีช่อื เสยี งและอํานาจ และความไมอยากมีหรอื ไมอ ยากเปน (วิภวตัณหา) เชน ไมอยาก
เปนคนท่ีมีรูปรางอวน ธรรมอันควรละเวนเพ่ือมใิ หเกิดเปนความทุกข มีดังน้ี

หลกั กรรม
กรรม แปลวา การกระทํา ซ่ึงประกอบขึ้นดว ยเจตนา คอื ต้ังใจกระทาํ แบงได ๓ ประเภท คอื
๑. การกระทําท่แี สดงออกทางกาย เรยี กวา กายกรรม
๒. การกระทําทแี่ สดงออกทางวาจา เรยี กวา วจีกรรม
๓. การกระทําทแี่ สดงออกทางใจ เรยี กวา มโนกรรม
หลักกรรม เปน เร่ืองของกฎแหงกรรม ใครกระทําส่ิงใดไว ยอ มไดรบั ผลของการกระทาํ

สมบตั ิ ๔ คือเหตปุ จจัยทดี่ ที ส่ี นับสนนุ ใหผลของกรรมดีบงั เกดิ ขึน้ และขัดขวางไมใ หผ ลของ
กรรมช่ัว บงั เกดิ ขึ้นมี ๔ ประการ คอื

๑. คติสมบัติ คอื ถนิ่ ดี ในชวงยาว หมายถึง มถี ่ินทเ่ี กดิ ท่อี ยดู ี เกิดในท่ีเจรญิ ในชวงสั้น
๒. อุปธิสมบัติ คือ รางกาย ในชว งยาว หมายถึง มีรปู รา งหนา ตาทส่ี งา สวยงาม บคุ ลกิ ภาพดี
ในชว งสน้ั หมายถึง การมีสขุ ภาพรา งกายสมบรู ณแขง็ แรง
๓. กาลสมบตั ิ คอื กาลดี ในชวงยาว หมายถงึ เกดิ มาในสมยั ทีบ่ านเมืองสงบสขุ และมีความ
เจรญิ รุงเรือง ผูคนอยใู นศีลธรรม ในชว งสน้ั
๔. ปโยคสมบตั ิ คือ องคป ระกอบดี ในชวงยาว หมายถึง ทําในสง่ิ ท่ีถูกทค่ี วร ทําสงิ่ ทตี่ นถนัด
ฝก ใฝในทางที่ถกู ในชวงส้นั

วบิ ตั ิ ๔ คอื เหตุปจจยั ท่ีไมดี ที่ขดั ขวางไมใหก รรมดีบังเกดิ ขึ้น แตส นับสนนุ ใหผลของกรรมชั่ว
บงั เกิดขึ้นแทน มี ๔ ประการ

๑. คตวิ ิบตั ิ คอื ถนิ่ ไมดี ในชว งยาว หมายถงึ มีถ่นิ กาํ เนิด หรือเกิดในถิ่นที่ไมดี ไมมีความเจริญ
ไมเหมาะสมแกการทาํ ความดี แตเหมาะสาํ หรับการทาํ ความชวั่ ในชว งสน้ั หมายถงึ การทาํ ความดไี ม
ถกู ที่ หรือ ในถิ่นท่ี

๒. อุปธิวิบัติ คือ รางกายเสยี ในชว งยาว หมายถึง การมรี า งกายไมส มประกอบ มีบุคลิกไมดี
ในชว งสน้ั หมายถงึ การมีสขุ ภาพรางกายออนแอเจ็บปว ยบอย

๓. กาลวิบตั ิ คือ กาลเสยี ในชวงยาว หมายถงึ เกดิ มาในสมยั ทบี่ านเมอื งมภี ัยพบิ ตั ิ ไมสงบสุข
ผคู นขาดศลี ธรรม ในชว งส้นั หมายถึง การกระทําส่ิงตางๆ ไมถกู เวลา

๔. ปโยควบิ ตั ิ คอื องคป ระกอบเสีย ในชว งยาว หมายถึง ทาํ ในสิ่งทไ่ี มถูกไมค วร ทําสิ่งทต่ี นไม
ถนัด ฝกใฝใ นทางทผี่ ดิ ในชวงสน้ั หมายถึง การทาํ ไมเ ตม็ ที

๑๒

อกศุ ลกรรมบถ ๑๐

อกุศลกรรมบถ หมายถึง ทางแหงอกุศล ทางแหง ความชั่ว หรือทางทําความช่ัว อันเปนทางนําไปสู
ความเส่อื ม ความทุกข มี ๑๐ ประการ แบง เปน ๓ หมวด ดังน้ี

กายทจุ รติ ๓ คอื การกระทาํ ความช่วั ทางกาย ไดแ ก
๑. การฆาสตั วต ดั ชวี ิต ทํารายผอู น่ื (ปาณาติบาต)
๒. การลกั ทรัพย หรือถือเอาของท่ผี อู ืน่ มไิ ดใหม าเปนของตน (อทินนาทาน)
๓. การประพฤตผิ ิดในกาม (กาเมสุมจิ ฉาจาร)

วจีทจุ ริต ๔ คอื การกระทําความชว่ั ทางวาจา ไดแ ก
๑. การพูดโกหก (มุสาวาท)
๒. การพดู สอ เสียด ยุยงใหแตกแยก (ปสุณาวาจา)
๓. การพูดคาํ หยาบ (ผรุสวาจา)
๔. การพูดเพอเจอ ไมมสี าระ (สัมผปั ปลาปะ)

มโนทจุ รติ ๓ คือ การกระทาํ ความช่ัวทางใจ ไดแก
๑. คิดอยากไดข องผอู น่ื
๒. คดิ ปองรา ย แคน เคอื งผูอนื่ (พยาบาท)
๓. เหน็ ผดิ จากทํานองคลองธรรม เห็นผดิ เปน ชอบ (มิจฉาทิฏฐ)ิ

อบายมุข ๖
อบายมุข หมายถึง ชอ งทางแหงความเส่อื ม ทางแหงความพนิ าศ หรือเหตุใหเกิดความยอ ยยบั

แหง โภคทรัพย เปน สงิ่ ที่ควรละเวน มี ๖ ประการ

๑. ตดิ สรุ าและของมึนเมา มีโทษ ๖ ประการ
คือ ทาํ ใหเสียทรัพย กอการทะเลาะวิวาท ทาํ ลาย
สุขภาพ เสื่อมเสียเกียรติยศชื่อเสียง สติเส่ือมลง

๒. ชอบเท่ียงกลางคนื มีโทษ ๖ ประการ คือ
เปนการไมรกั ษาตวั ไมรกั ษาครอบครวั ไมรกั ษาทรพั ย
สมบตั ิ เปน ท่ีระแวงสงสัย เปน เปาใหเขาใสค วาม และ
เปนบอเกดิ ของเรือ่ งเดอื ดรอ นเปนอนั มาก

๓. ชอบเท่ียวดูการละเลน ทาํ ใหเกดิ โทษ เสีย ภาพ : ตดิ สุราและของมึนเมา
เวลา เสยี สมาธิ เสยี งาน เนอ่ื งจากจติ ใจกังวลแตจ ะดู ทีม่ า : http://magicdogma.blogspot.com
การละเลน นัน้ ๆ ๖ ประการ คอื รําท่ี ไหนไปทน่ี ัน่
ขับรองท่ไี หนไปที่นั่น ดนตรที ่ไี หนไปท่นี ัน่ เสภาทไ่ี หน
ไปทีน่ นั่ เพลงท่ีไหนไปท่นี ่นั และเถิดเทงิ ท่ไี หนไปทน่ี ่ัน

๑๓

นโิ รธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) : สุข ๒ (สามิส นริ ามิส)

นิโรธ คือ ความดับทุกข หมายถึง สภาวะทที่ ุกขดับไป เมอื่ ดับสาเหตขุ องความทุกขได ความ
ทกุ ขก็จะสนิ้ ไป อนั เกิดจากการปฏิบัตธิ รรม ธรรมท่ีควรบรรลุ คอื

สามิสสุข
สามสิ สขุ คอื ความสุขทางวตั ถหุ รือความสุขทางเอหนัง บางทีเรียกวา “กามสุข” เปนความสขุ

ท่ีประสาทสัมผัสทั้ง ๕ (ตา หู จมกู ลิ้น กาย) ไดเ สพเสวยสิง่ ท่ีทําใหเกิดความพอใจ เชน ไดกินอาหาร
อรอยๆ เหน็ ภาพสวยๆ ไดอ ยใู นท่ีไมรอนไมห นาวเกินไป ไดฟ งเสยี งออ นนมุ ไพเราะ

การเสพสามิสสุขเปนของธรรมดาสําหรบั คนท่วั ไป พระพุทธศาสนาสอนเร่ือง “คิหิสุข” คือ
ความสุขของชาวบาน อันไดแ ก

๑. ความสขุ ทเี่ กิดจากการมที รัพย เรยี กวา อัตถสิ ขุ
๒. ความสขุ ที่เกดิ จากการใชจ ายทรพั ย เรียกวา โภคสขุ
๓. ความสขุ ที่เกิดจากการไมม ีหนส้ี นิ เรยี กวา อนณสุข
๔. ความสขุ ที่เกดิ จากการประพฤติในสงิ่ ที่สจุ รติ เรยี กวา อนวัชชสขุ
สามิสสุขหรือความสุขทางกายข้ึนอยกู ับวัตถุภายนอก ผูหมกมุน มัวเมาก็จะกลายเปนทาสของ
วตั ถคุ รนุ คดิ และกระวนกระวายในเร่ืองกามคุณ ๕ ตลอดเวลา การเสพความสุขประเภทน้ีควรจะมีสติ
คือตองรบั วาเปนความสุขทไี่ มแนนอน ความทกุ ขอาจเกิดไดเ สมอ เพราะเปนความสุขทขี่ ึ้นอยกู ับวัตถุ
ภายนอกโดยสนิ้ เชิง

นริ ามิสสุข ภาพ : ความสุขทางใจทไ่ี มอ ิงวตั ถภุ ายนอก
นิรามิสสุข คือ ความสุขที่ไมอิงวัตถุ ทมี่ า : https://sites.google.com/site/thrrmthan1/

ภายนอก อาจเรยี กไดงายๆ วา เปน ความสุขทางใจ
(เจตสกิ สุข) ความสุขประเภทน้ีมตี ง้ั แตขนั้ ตํ่าสดุ ไป
จนถงึ ขน้ั สูงสดุ คือ นพิ พาน ในระดบั ตนๆ คือ เปน
ความสุขทางใจในระดบั ชาวบา น ความสขุ แบบนี้
เชน การไดรับความอบอุนจากพอแม ไมมีศัตรู
ไมม ผี เู กลียดชัง มีแตผใู หความรกั ใครน บั ถอื ยึดยก
ยอ งสรรเสรญิ ขัน้ สงู ข้นึ ก็เชน การที่มจี ติ ใจสงบ ไม
คิดรายตอ ใคร ไมคดิ ฟุงซา น ทส่ี งู ขึ้นอกี ก็เชน เกิด
ความอม่ิ ใจท่ีไดเ สยี สละ ทาํ ประโยชนต อ สว นรวม
โดยไมหวงั อะไรตอบแทน จติ ใจสงบผอ งแผว ทีไ่ ด
ยกโทษใหแกผูคิดรา ยตอเรา

๑๔

มรรค (ธรรมที่ควรเจรญิ )

มรรค คือ ขอปฏิบัติ วิธหี รือหนทางทน่ี าํ ไปสูความดับทุกข เปนทางสายกลาง (มชั ฌมิ าปฏปิ ทา)
เรียกอีกอยา งหนงึ่ วา อริยมรรคมีองค ๘ ไดแก เห็นชอบ คิดชอบ เจรจาชอบ การนงานชอบ เล้ียงชพี ชอบ
เพียรชอบ ระลึก ชอบ ตั้งจิตม่นั ชอบ หลกั ธรรมท่พี งึ ปฏิบัติเพ่ือนาํ ไปสคู วามดับทุกข ไดแ ก

บพุ นมิ ติ ของมัชฌมิ าปฏิปทา
บพุ นมิ ติ ของมชั ฌมิ าปฏิปทา คือ ธรรมท่ีเปนเครื่องหมายบง บอกลว งหนาวา มรรคมีองค ๘
ประการจะเกิดข้นึ แกผูนั้น ๗ ประการ คือ
๑. ความมกี ัลยาณมติ ร (กลั ยาณมติ ตตา) หมายถึง การมีเพือ่ นดี คบหาผูท่ีมีปญญาและเปน
แบบอยางทีด่ ี
๒. ความถงึ พรอ มดว ยศีล (สลี สมั ปทา) หมายถงึ การปฏบิ ัติตนอยใู นศลี มคี วามประพฤตดิ ีงาม
๓. ความถึงพรอมดว ยฉันทะ (ฉนั ทสมั ปทา) หมายถึง มีความพอใจในการทาํ สิ่งท่ีดงี ามใฝรู
ใฝสรา งสรรค สิ่งตา งๆ อยางจริงจัง
๔. ความถงึ พรอ มทจี่ ะฝก ฝนตนเอง (อัตตสมั ปทา) หมายถงึ การฝกฝนตนเองใหม ีความพรอ ม
สมบูรณท ง้ั ทางกาย ศลี จติ และปญ ญา
๕. ความถงึ พรอมดวยทฐิ ิ (ทิฏฐิสมั ปทา) หมายถงึ ยึดมน่ั ในส่งิ ท่ถี ูกตอ งดีงามและมีเหตุผล
มองสง่ิ ทง้ั หลายตามความเปน จรงิ
๖. ความถึงพรอมดว ยความไมประมาท (อัปปมาทสมั ปทา) หมายถึง มีความกระตือรือรน ตั้งมั่น
อยใู นความไมประมาท
๗. ความถึงพรอ มดว ยโยนโิ สมนสิการ (โยนิโสมนสิการ) หมายถงึ การคิดพิจารณาโดยแยบคาย
รูจักคดิ พจิ ารณาสิง่ ท้งั หลายใหเ หน็ ความจริงและไดป ระโยชนมาพฒั นาตนเอง

ดรุณธรรม ๖
ดรุณธรรม หมายถงึ ธรรมนําไปสูความเจรญิ กา วหนา หรอื หนทางแหงความสาํ เรจ็ มี ๖
ประการ คือ
๑. อาโรคยะ คอื การรกั ษาสขุ ภาพดีทง้ั ทางรางกายและจิตใจ
๒. ศีล คือ การมีระเบียบวินัย ไมกอ ความเดอื ดรอนใหแกสงั คม
๓. พุทธานุมัติ คือ ไดคนดเี ปนแบบอยางประพฤติตามแบบอยางของคนดี
๔. สุตะ คอื ตง้ั ใจเรยี นใหร ูจรงิ คนควา ใหร ใู หเชีย่ วชาญ ตดิ ตามขาวสารใหรเู ทาทัน
๕. ธรรมานุวัติ คอื ทําแตสงิ่ ทีถ่ กู ตอ งดีงาม ดํารงมน่ั อยใู นสุจริต ท้ังในชวี ติ และการงาน
๖. อลนี ตา คอื ความขยันหมั่นเพยี ร มกี าํ ลังใจแข็งกลา ไมย อ หยอน ทอถอยเฉือ่ ยชา เพียร
พยายามหาความกาวหนาเร่อื ยไป

๑๕

กลุ จริ ฏั ฐิตธิ รรม ๔
กุลจริ ัฏฐติ ธิ รรม หมายถึง ธรรมสําหรับดาํ รงความมงั่ คง่ั ของตระกูลใหย ่งั ยนื มี ๔ ประการ คือ
๑. ทรพั ยส ินหรอื สง่ิ ของใดที่หมดหรอื หายไป ควรรจู กั หามาแทนไว (นฏั ฐคเวสนา)
๒. รูจกั ซอ มแซมบูรณะของเกาหรือของที่ชํารุดใหใ ชการได (ชณิ ณปฏสิ ังขรณา)
๓. รูจกั กิน รจู กั ใชเ ทาท่ีจําเปน ใหเ หมาะสมแกฐานะของตน (ปริมิตปานโภชนา)
๔. ตง้ั ผมู ีศีลใหเปนพอบานแมบ าน เพอื่ ความเปน สุขของครอบครวั (อธปิ จ จสลี วันตสถาปนา )

กศุ ลกรรมบถ ๑๐
กุศลกรรมบถ หมายถงึ ทางแหงกศุ ล ทางแหง ความดี หรอื ทางแหง ความดีอันเปนทางนาํ ไปสู
ความสุข ความเจริญ แบง เปน ๓ หมวด ดงั นี้
๑. กายสุจริต ๓ คือ การกระทําความดีทางกาย ไดแก

- การละเวนจากการฆาสัตวต ัดชวี ติ ทาํ รายผอู ื่น (ปาณาติปาตา เวรมณี)
- การละเวนการลักทรพั ย เอาของทผ่ี ูอ่ืนมาเปนของตน (อทนิ นาทานา เวรมณี)
- การละเวนจากการประพฤตผิ ดิ ในกาม (กาเมสมุ จิ ฉาจารา เวรมณี)
๒. วจีสจุ ริต ๔ คือ การกระทําความดีทางวาจา ไดแ ก
- การละเวน จากการพดู โกหก (มสุ าวาทา เวรมณี)
- การละเวน จากการพดู สอ เสยี ด ยยุ งใหแตกแยก (ปส ณุ าย วาจาย เวรมณี)
- การละเวนจากการพูดคําหยาบ (ผรสุ าย วาจาเย เวรมณี)
- การละเวนจากการพูดเพอเจอ ไรส าระ (สมั ผัปปลาปา เวรมณี)
๓. มโนสุจรติ ๓ คือ การกระทําความดีทางใจ ไดแก
- ไมค ิดอยากไดของผอู น่ื (อนภิชฌา)
- ไมค ดิ ปองราย ไมแคนเคอื งผูอนื่ (อพยาบาท)
- ไมเ หน็ ผิดจากทาํ นองคลองธรรม ไมเ หน็ ผดิ เปนชอบ (สัมมาทิฏฐ)ิ

สติปฏ ฐาน ๔
สติปฏ ฐาน หมายถึง ทตี่ ง้ั ของสติ การตั้งสตกิ าํ หนดพิจารราสิ่งทง้ั หลายใหเห็นตามความเปน
จรงิ มี ๔ ฐาน คอื
๑. การกาํ หนดสติพิจารณากาย (กายานปุ ส สนา) คือ พจิ ารณากายวา เปนเพียงกายไมใชตัวตน
ของเขาหรอื ของเรา
๒. การกาํ หนดสตพิ ิจารณาเวทนา (เวทนานปุ ส สนา) คือ พจิ ารณาความสุข ความทุกข
ความรสู ึกเฉยๆ
๓. การกําหนดสติพิจารณาจติ (จติ ตานปุ ส สนา) คอื พิจารณาจิตทม่ี ีสง่ิ มาปรุงแตง ท้งั จติ ฝา ย
กุศลและฝา นอกศุ ล
๔. การกําหนดสตพิ จิ ารณาธรรม (ธมั มานุปส สนา) คือ พจิ ารณาธรรมใหเหน็ ตามความเปน
จริง ผทู ส่ี ามารถกาํ หนดสติใหรูเทาทันธรรมทัง้ ๔ ประการนี้ เปนผทู ี่ดาํ รงตนอยูในความไมประมาท
เพราะมสี ตอิ ยูตลอดเวลา ดงั นน้ั หลกั ธรรมดังกลาวจึงเปนธรรมทค่ี วรเจรญิ เพ่ือความสําเร็จในชีวติ

๑๖

มงคล ๓๘

มงคล คอื ส่ิงทที่ ําใหมโี ชคดี ในทางพระพทุ ธศาสนา หมายถงึ ธรรมท่ีนํามาซึ่งความสุข ความ

เจรญิ มี ๓๘ ประการ หลักธรรมที่เปน มงคล ๓ ประการ มีดังนี้

๑. ประพฤตธิ รรม คอื การดาํ รงอยใู นศีล ประพฤติปฏบิ ตั ติ นถูกตองดีงาม ตามหลักของกศุ ล

กรรมบถ ๑๐ เพอื่ ใหไ ดรบั ผลอันเปนมงคลแกชวี ติ นน่ั คือ ความสขุ ความเจรญิ (ขอ ๑๖) ธมมฺ จรยิ า

๒. เวนจากความชวั่ คือ การละเวนจากการ

ประพฤติปฏบิ ตั ิชั่ว ตามหลักของอกศุ ลกรรมบถ ๑๐

เพือ่ ใหม คี วามบริสุทธท์ิ ั้งกาย วาจา และใจ เปน มงคล

แกชีวติ (ขอ ๑๙) อารตี วิรตี ปาปา

๓. เวน จากการดม่ื น้าํ เมา การดืม่ น้ําเมาเปน

อบายมขุ ประการหนึ่งทีจ่ ะนาํ ไปสคู วามเสื่อม รวมท้งั

การเสพส่ิงเสพตดิ ทงั้ หลายดวยเชนกัน เปนหนทางท่ี

จาํ นาํ ความเดือดรอนมาใหท้ังตอตนเองและผูอื่น

การละเวน จากสง่ิ เหลานไ้ี ดถ ือเปน มงคลอันประเสรฐิ

ที่ควรปฏบิ ัติ (ขอ ๒๐) มชชฺ ปานา จ สญฺ โม

มงคลท่ี ๓ ประการนี้สามารถปฏบิ ัตไิ ปพรอ มๆ

ไดใ นคราวเดยี วกนั ผทู ยี่ ดึ ถือปฏิบัตไิ ดย อมเกิดเปน มงคล

แกชวี ติ เพราะดํารงตนไมใหก าวไปสคู วามเส่ือมทั้งหลาย ภาพ : เวน จากการดม่ื น้ําเมา
นนั่ เอง https://sites.google.com/site/thrrmthan1/
ทมี่ า :

๑๗

ใบกิจกรรมที่ ๒ เรื่อง อริยสัจ ๔ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค

ตอนท่ี ๑
คําช้แี จง : ใหนักเรียนยกตัวอยางจากการดําเนนิ ชีวติ ประจําวันท่ีสอดคลองกบั อริยสจั ๔ ทุกข

สมุทัย นโิ รธ มรรค

..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
ต...อ..น...ท...ี่ .๒.................................................................................................................................................
คําชแ้ี จง ใหนักเรียนหาภาพขาว หรอื ขาวตัวอยา งบคุ คลที่มีคณุ ลกั ษณะตรงตามหลกั ธรรมอริยสัจ ๔

ทกุ ข สมทุ ยั นโิ รธ มรรค แลว นาํ มาวเิ คราะหในหวั ขอตอไปนี้

ติดรปู ภาพหรอื ขาว ช่อื บคุ คล ..................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................

แหลง ขอมลู ...............................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................

..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

๑๘

ใบความรูท ี่ ๓ เรื่อง การปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรมพระพทุ ธศาสนา
ในกระแสความเปลย่ี นแปลงของโลกและการอยรู วมกนั อยางสนั ตสิ ขุ

โลกมกี ารเปล่ยี นแปลงอยูตลอดเวลามนุษย

จึงจําเปนตอ งแสวงหาแนวทางในการดาํ เนินชวี ติ เพื่อ

สามารถดํารงตนอยไู ดอยางมคี วามสุข หลกั ธรรม

ทางพระพุทธศาสนาจึงถกู มาประยกุ ตใชเพอ่ื แก

ปญหาดงั กลาว มดี ังนี้

๑. การปฏบิ ัติตนของชาวพทุ ธ ทามกลาง

กระแสการเปล่ยี นแปลงการปฏบิ ัติตนอยภู ายใต

กรอบหลักธรรมคําสอนของพระพทุ ธศาสนา เนน

ความสขุ สงบทางจติ ใจมากกวา วตั ถุ หลกั ธรรมที่

เหมาะสมทนี่ ํามาใช คอื มัชฌิมาปฏปิ ทา สอนให

ยึดทางสายกลาง ยนิ ดีในสงิ่ ทต่ี นหาไดอ ยางชอบ

ธรรม ความมกั นอยเปน ธรรมของผูสละโลก ภาพ : โลกมีการเปลี่ยนแปลงอยตู ลอดเวลา

๒. อริยทรัพย ๗ คือทรัพยอันประเสรฐิ ท่ีมา : http://7billionspeople.weebly.com/

๗ ประการ ทอ่ี งคพระพุทธเจาทรงตรสั วามนุษยท ้งั หลายควรพึงแสวงหาทรัพยทง้ั ๗ ประการนไ้ี วก ับ

ตน อริยทรัพย ๗ ประกอบไปดว ย

๑. ศรทั ธา หมายถึง ความเชื่อ เชือ่ อยา งมีเหตผุ ล

๒. ศลี หมายถึง การรกั ษาวตั รปฏิบัติ ทง้ั ทางกาย วาจาและใจของตนใหเรยี บรอย

และมคี วามสํารวม

๓. หริ ิ หมายถึง ความละอายตอ บาปและกรรมชวั่

๔. โอตตปั ปะ หมายถงึ ความเกรงกลวั ตอ บาปและกรรมช่ัว

๕. พาหุสจั จะ หมายถึง ความเปน ผูทไี่ ดศ ึกษาเรยี นมาก ใฝรู ใฝศ ึกษาจนมคี วามรูม าก

๖. จาคะ หมายถึง การบริจาค การใหทาน ความเสยี สละชว ยเหลอื ผอู น่ื

๗. ปญ ญา หมายถงึ ความรู ความเขา ใจอยางถอ งแทลกึ ซงึ้ ในเหตุในผล เขาใจความดี

ความช่วั เขาใจความถูกและผิด ไมเอาใจเขาหาอวชิ ชา

จะเหน็ วาอรยิ ทรพั ย ๗ ประการน้ี ไมใชแกว แหวน เงินทอง หรอื ของมีคา อน่ื ๆในทางโลก แต

เปนของมีคา ในทางธรรม ทางจิตใจ ท่ีจะสามารถทําเราคนเรามคี วามสขุ ไดมากกวาและย่งั ยนื กวา

ทรพั ยใ นทางโลกทัง้ ปวง

๓. กลุ จิรฏั ฐติ ธิ รรม หมายถึง ธรรมสําหรบั ดํารงความม่ังค่งั ของตระกูลใหยง่ั ยนื มี ๔ ประการ คือ

๑. ทรพั ยส นิ หรือสิง่ ของใดที่หมดหรอื หายไป ควรรจู กั หามาแทนไว (นัฏฐคเวสนา)

๒. รจู ักซอมแซมบรู ณะของเกา หรอื ของท่ีชาํ รุดใหใชการได (ชณิ ณปฏิสังขรณา)

๓. รจู กั กิน รูจกั ใชเทาที่จําเปน ใหเหมาะสมแกฐานะของตน (ปริมติ ปานโภชนา)

๔. ตง้ั ผมู ีศีลใหเปน พอบานแมบ าน เพ่อื ความเปนระเบียบและสงบสขุ ของครอบครัว

(อธปิ จจสลี วนั ตสถาปนา )

๑๙

การปฏบิ ัตติ นเพอ่ื การอยูรวมกนั อยา งสันตสิ ุข ภาพ : การอยูร วมกนั อยางสันติสขุ
ท่มี า : นางอมรรตั น ภมู ปิ ระหมนั
การอยูรวมกันอยางสันตสิ ขุ คอื การอยู
รวมกันปราศจากความรุนแรง มีความเหน็ ขดั แยง
กันไดแตไ มจ ําเปนตอ งมคี วามรุนแรง คือมคี วามคดิ
เห็นตา งกนั แตไมทํารายกนั ทางกาย ทางใจ ทาง
วาจา วธิ ีการแกป ญ หาเก่ียวกับความรนุ แรง คอื

๑. ความรนุ แรงกบั ความยุติธรรม

สถานที่ใดทไี่ มมคี วามยตุ ธิ รรม มกั จะมีความรนุ แรงเกดิ ขึ้น นาํ มาซงึ่ ความลาํ เอยี งอนั เปนทมี่ า
ความไมย ตุ ิธรรมมีดว ยกนั ๔ ประการ เรียกวา อคติ ๔ ไดแก ทางความประพฤตทิ ผ่ี ิด มี ๔ อยา ง

๑. ฉนั ทาคติ หมายถงึ ความลาํ เอยี งเพราะรัก เพราะชอบเปน พิเศษ
๒. โทสาคติ หมายถงึ ความลําเอยี งเพราะชงั เพราะความเกลียดชัง ความไมชอบ
๓. ภยาคติ หมายถงึ ความลําเอียงเพราะกลัวหรอื เกรงใจ
๔. โมหาคติ หมายถงึ ความลําเอยี งเพราะไมรู (หลง)
อคติ ๔ หรือ ความลาํ เอียงทงั้ ๔ ประการน้ี เปนอันตรายสาํ หรับทกุ คน โดยเฉพาะคนท่เี ปน
หัวหนางาน หวั หนาครอบครัว ไมค วรมีอคตทิ ้ัง ๔ ประการนีอ้ ยใู นจิตใจ มิฉะนนั้ ผใู ตปกครองจะขาด
ความเชอื่ มั่น ไมมคี วามสุข รูส กึ ไมม น่ั คง รสู กึ วา ไมไ ดร บั ความยุติธรรม จะนาํ ไปสคู วามแตกแยกและ
ความไมสําเรจ็ ไมเจรญิ กาวหนาของการงานท้งั ปวง

๒. ความรนุ แรงกบั ความไมร ู

ความรนุ แรงบางคร้งั เกดิ ขึ้นเพราะความไมร หู รือความเขาใจผิด ชาวพทุ ธตอ งปองกนั มใิ หเ กิด
ความรุนแรง โดยปฏบิ ตั ติ นตามหลกั วฑุ ฒธิ รรม ๔ หรือ วุฒิ ๔ คือ ธรรมเปน เหตกุ ารณแ หงความเจรญิ
หมายถงึ คณุ ธรรมทเี่ ปนเครอ่ื งเพิม่ พูนความเจริญงอกงามมี ๔ ประการ

๑. สัปปุรสิ สังเสวะ คือ การเสวนากับผูรู รูจกั คบหาผูรู ผูทรงคณุ ความดี การเขาหา
บัณฑติ แสวงหาแหลงภมู ิปญญา

๒. สัทธมั มัสสวนะ คือ การฟง คาํ สอน เอาใจใสส ดบั รบั ฟงคาํ บรรยาย คาํ แนะนาํ ส่งั สอน
แสวงหาความรู ทงั้ จากตัวบคุ คลโดยตรงและจากหนงั สือแหลง ความรอู ่นื ๆ

๓. โยสโิ สมนสิการ คอื การคดิ ใหแ ยบคาย ฟงสงิ่ ใดแลวพิจารณาไตรตรอง แยกแยะให
ละเอยี ดถีถ่ ว น แสวงหาคาํ ตอบ หาเหตุผลใหถกู ตอ ง

๔. ธรรมานุธรรมปฏิบัติ คือ การปฏบิ ตั ใิ หถกู หลกั นาํ ส่งิ ทีไ่ ดเลา เรยี น รบั ฟงมาแลว
ตรติ รอง พิจารณาใหถอ งแท ใหช ดั จริง แลว ลงมอื ปฏบิ ัติตามทเี่ รียนมาน้นั

๒๐

๓. พรหมวิหาร ๔ กบั สันตสิ ุข

ความรนุ แรงบางครง้ั เกิดจากการไมมนี ํ้าใจ ไมมีความเปน มติ รตอกนั พรหมวหิ าร ๔ หมายถึง
ธรรมประจาํ ใจอนั ประเสรฐิ เปน หลักธรรมท่ีสําคัญทีส่ ดุ มีดงั น้ี

๑. เมตตา คอื ความรักใคร ปรารถนาใหผูอ่ืนไดร บั ความสขุ
๒. กรณุ า คือ ความสงสาร คดิ ชว ยใหผ ูอ่ืนพนทุกข
๓. มทุ ติ า คอื ความยนิ ดีดวยเมอ่ื ผอู ่นื มีความสขุ
๔. อุเบกขา คอื วางใจเปน กลางเม่อื เห็นผอู ื่นเปน ทุกขหรือเปน สขุ ก็รบั วาทุกอยา ง
เปน ไปตามกฎแหง กรรมตามสมควรแกเ หตุ

๔. อธิปไตย ๓ กบั สันตสิ ขุ

การที่ผูมีอํานาจในการตดั สินใจจะทําอะไรสงไปน้นั อาจยึดถือหลักอธปิ ไตย ๓ อนั หมายถงึ
ความเปนใหญ ภาวะทถี่ อื เอาเปน ใหญ ความเปนอิสระ จําแนกออกเปน ๓ อยา ง ดังนี้

๑. โลกาธิปไตย หมายถงึ การถือกระแสโลกเปนใหญ และโลกในท่นี ห้ี มายถงึ คน
ดังน้ัน โลกาธิปไตยตามความหมายนเ้ี ทยี บไดกับคําวา ประชาธิปไตยทถ่ี อื คนสวนใหญเ ปน หลัก

๒. อัตตาธิปไตย หมายถงึ การถอื ตวั เองเปน ใหญ โดยไมนําพาวา คนอน่ื จะเหน็ เปน
อยางไร จึงนา จะเทียบไดกบั คําวา เผดจ็ การ

๓. ธรรมาธิปไตย หมายถึง ถือความถูกตอ งเปนใหญ อันถอื ไดว า เปนหวั ใจที่ปรากฏอยู
ไดท้ังในโลกาธิปไตย และอตั ตาธิปไตย เพราะเปน ปจจัยสาํ คญั ในการกาํ กบั ใหผกู ระทําไมวาจะ
ถือโลกเปนใหญตามขอ ๑ หรือถือตัวเองเปนใหญตามขอ ๒ ดํารงอยูไดโดยที่ผูคนในสังคม
ยอมรับในทางตรงกันขา ม ถาไมมีธรรมาธปิ ไตยกํากับไมว า จะเปน โลกาธิปไตย หรอื อตั ตาธิปไตย
ท่ีมอี ํานาจลนฟาแคไหนถงึ จดุ หน่ึงแลว ก็ตอ งมีอันพังทลายลง เพราะผูคนในสังคมมองเห็นภยั
และลุกขึ้นมาตอ ตานพรอมกนั

๕. กุศลวติ กกบั สนั ตสิ ุข

กุศลวิตก หมายถึง การนกึ คดิ ในทางท่ีดีงาม โดยมีเหตุผลในการตรติ รกึ และนึกถงึ เรอื่ งราวตางๆ
รูเหตุแหงความเสื่อมและเหตุแหงความเจรญิ ผูท่ีนึกแตสิ่งดีงามจะชวยใหสังคมลดความรุนแรงลง
จาํ แนกออกเปน ๓ อยา ง คือ

๑. เนกขัมมวติ ก หมายถึง ความนกึ คิดในทางเสียสละ ความนกึ คิดที่ปลอดจากกาม
คอื ไมติดในการปรนเปรอสนองความอยากของตน

๒. อพยาบาทวติ ก หมายถงึ ความนกึ คิดทปี่ ลอดจากการพยาบาท หรอื ความนึกคิดที่
ประกอบดวยเมตตา คอื ไมคิดขัดเคืองหรือพยาบาทมุงรา ยบคุ คลอื่น

๓. อวหิ งิ สาวติ ก หมายถงึ ความนกึ คิดท่ปี ลอดจากการเบียดเบยี น ความนึกคิดท่ปี ระกอบ
ดว ยกรณุ าไมคดิ รายหรือมุงทําลาย

๒๑

๖. สงั คหวัตถกุ บั สนั ตสิ ขุ

สังคหวัตถุ หมายถงึ วิธปี ฏิบตั เิ พ่ือยดึ เหนีย่ วน้าํ ใจคนอน่ื ท่ยี ังไมเคยรกั ใครน บั ถือ หรือทีรักใคร
นบั ถืออยแู ลวใหสนิทแนบแนน ย่งิ ข้ึน กลาวอยา งงายๆ สังคหวตั ถุ คอื เทคนิควีท่ีทําให คนรักหรอื มนต
ผูกใจคนนั่นเอง มที ง้ั หมด ๔ ประการ

๑. ทาน คือ การให การเสยี สละ
๒. ปยวาจา คอื การพดู จาดว ยถอยคาํ ที่ไพเราะออ นหวาน พูดดวยความจรงิ ใจ
๓. อตั ถจรยิ า คือ ประพฤตใิ นส่งิ ท่เี ปน ประโยชนแกผอู น่ื
๔. สมานัตตา คอื การเปน ผเู สมอตน เสมอปลาย

๗. สาราณียธรรมกบั สันติภาพ
สาราณียธรรม แปลวา ธรรมหรอื ส่งิ ท่ีเปนเหตใุ หร ะลึกถึงกันเปน หลักการอยรู วมกนั จดุ หมาย
เพอ่ื ตอ งการสอนใหคนสมัครสมานสามัคคีกัน มที ้งั หมด ๖ ประการ

๑. กายกรรม อนั ประกอบดว ยเมตตา คอื การกระทําทางกายท่ีประกอบดวยเมตตา
เชน การใหการอนุเคราะหชวยเหลอื และเอือ้ เฟอตอผูอ ่ืน ไมร งั แกทํารายผอู ่นื

๒. วจีกรรม อันประกอบดวยเมตตา คือ การมวี าจาท่ีดี สุภาพ ออนหวาน พดู มีเหตผุ ล
ไมพูดใหร ายผอู ่ืนทาํ ใหผ ูอื่นเดอื ดรอน

๓. มโนกรรมอัน ประกอบดวยเมตตา คอื ความคดิ ที่ประกอบดวยเมตตาทงั้ ตอหนา
และลบั หลงั เปน การคดิ ดตี อ กนั ไมคิดอจิ ฉาริษยาหรอื ไมค ดิ มุงรา ยพยาบาท หากทกุ คนคดิ แลว
ปฏบิ ัติเหมอื นกนั ความสามคั คีก็จะเกิดข้ึนในสังคม

๔. สาธารณโภคี คือ การรูจกั แบงส่งิ ของใหก นั และกนั ตามโอกาสอันควร เพอ่ื แสดง
ความรกั ความหวงั ดีของผทู ี่อยใู นสงั คมเดียวกัน

๕. สีลสามัญญตา คือ ความรกั ใครส ามคั คี รกั ษาศลี อยา งเหมาะสมตามสถานะของตน
มคี วามประพฤตสิ ุจริตปฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑข องหมคู ณะ ไมเอารัดเอาเปรียบผอู ่ืน

๖. ทิฏฐสิ ามัญญตา คอื การมีความเห็นรวมกัน ไมเ หน็ แกต วั รจู กั รบั ฟง ความคิดเห็น
ของผอู นื่ รวมมือรวมใจในการสรางสรรคส งั คมใหเกดิ ความสงบ

ภาพ : การอยูร ว มกันอยางสันตสิ ขุ
ท่ีมา : นางอมรรตั น ภมู ิประหมัน

๒๒

ใบกิจกรรมท่ี ๓ เร่ือง การปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรมพระพทุ ธศาสนา
ในกระแสความเปลยี่ นแปลงของโลกและการอยูรวมกนั อยางสันตสิ ขุ

คาํ ชีแ้ จง : ใหนกั เรยี นเตมิ คําหรอื ขอ ความลงในชองวางใหถูกตอ ง

๑. สง่ิ สุดข้วั ๒ ทาง ทีพ่ ระพทุ ธเจาทรงคน พบ หลักธรรมที่ทรงนาํ มาแกไ ข คอื
................................................................................................................................................................

๒. การเขาไปชวยกจิ กรรมชว ยเหลอื ทางสังคม ควรนาํ หลักธรรมใดมาประยกุ ตใช
................................................................................................................................................................

๓. หลักธรรมทช่ี ว ยแกค วามลําเอยี งในสังคมที่กอ ใหเกิดความไมย ตุ ธิ รรม คอื
................................................................................................................................................................

๔. หลักธรรมที่ชว ยรักษาความม่ันคงของวงศต ระกูล คือ
................................................................................................................................................................
๕. เพอ่ื ปองกันความรุนแรงจากความไมรู และเพอ่ื ใหเกิดความเจริญงอกงามในสงั คม ควรนาํ หลักธรรม
......................................................................................................................................... ใหเกดิ สงบสขุ
๖. หวั ใจหลกั ของการบริหารหลักธรรมสําหรบั นกั ปกครอง คอื
................................................................................................................................................................
๗. การปกครองทีม่ กั นําไปสูความไมสงบภายในประเทศ ผนู าํ มักจะนําระบบการปกครอง
................................................................................................................................................................
มาปกครอง ในพระพุทธศาสนาเรียกวาระบบการปกครอง.....................................................................
๗. การปกครองทถี่ ือประชาธปิ ไตยที่ถือคนสว นใหญเปน หลกั ผนู ํามักจะนําระบบการปกครอง
................................................................................................................................................................
๘. หลักธรรมที่ใชเ ปนเคร่ืองยดึ เหนี่ยวน้าํ ใจคนอ่ืน คือ
................................................................................................................................................................
๙. หลกั ธรรมที่สง เสริมคดิ แตส ่งิ ดงี าม ลดความรนุ แรงในสงั คม คือ
................................................................................................................................................................
๑๐. หลักธรรมทส่ี รา งความสามัคคี คือ
................................................................................................................................................................

๒๓

แบบทดสอบหลังเรียน
เลมที่ ๓ เร่อื ง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
คาํ ชแ้ี จง ใหน ักเรียนทําเคร่ืองหมาย  ลงบนหนาขอ ที่ถูกตอ งมากที่สดุ

๑. ขอ ใด คอื ความสขุ ท่เี กิดจากการมีทรัพย
ก. อนวชั ชสขุ
ข. โภคสุข
ค. อนณสุข
ง. อัตถสิ ุข

๒. อาํ นาจขโมยโทรศพั ทเคร่ืองใหมข องเพ่อื นเพราะความอยากได จากเหตกุ ารณน ี้ตรงมี
ความสัมพันธตรงกบั อกุศลกรรมบถ ๑๐ ขอใด
ก. กายทจุ รติ วจีทจุ รติ
ข. วจีทุจริต มโนทจุ รติ
ค. กายทุจริต มโนทจุ รติ
ง. กายทุจริต วจที ุจรติ มโนทุจริต

๓. บคุ คลหวานพชื เชน ไร ยอมไดร บั ผลเชนนนั้ มคี วามสมั พันธกบั ขอ ใดมากท่ีสุด
ก. กงเกวียน กําเกวยี น
ข. ทําดีไดด ี ทาํ ชว่ั ไดชัว่
ค. น้ําขุน อยูใ น นํา้ ใสอยูนอก
ง. ความรูท ว มหวั เอาตัวไมรอด

๔. การกระทาํ ของบุคคลในขอใดสอดคลอ งกับหลักกรรมดที ่ีใหผ ล “สมบัติ ๔”
ก. ทองกวาขยนั เรียนมากข้นึ เพราะไมอ ยากเรยี นซํา้ ช้ันอีก
ข. เฉลมิ พลไมชอบเรยี นภาษาองั กฤษถูกแมบงั คับใหท อ งศัพททกุ วัน
ค. ฤทธไ์ิ กรตองรบี กลบั บานมาชวยพอ แมตงั้ รา นขายเส้ือผา ทีต่ ลาดนัด
ง. ประกายดาวขยันทํางานทําใหเลือ่ นตําแหนงเปนหัวหนา งานฝายบุคคล

๕. องคประกอบของขันธ ๕ คอื
ก. รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
ข. กล่นิ รูป รส สัมผัส สัญญา สงั ขาร
ค. เวทนา อารมณ สญั ญา สงั ขาร วิญญาณ
ง. รส เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ

๒๔

๖. การคิดใหแ ยบคาย ฟงสิง่ ใดแลว พจิ ารณาไตรตรอง แยกแยะให ละเอยี ดถ่ถี วน แสวงหา
คําตอบ หาเหตุผลใหถกู ตอง จากขอความดังกลาวมคี วามสัมพันธกบั ขอ ใดมากทส่ี ดุ
ก. ความมกี ัลยาณมิตร
ข. ความถึงพรอมดวยฉันทะ
ค. โยนิโสมนสกิ าร
ง. อรยิ สัจ ๔

๗. หลกั ปฏบิ ัตใิ นการทาํ ใหครอบครัวมคี วามสขุ สอดคลองกับกลุ จฏิ ฐติ ธิ รรม ๔ ขอ ใดมากทสี่ ุด
ก. แมของนกนอ ยทําบญั ชีครวั เรอื นประมาณการใชจายในครอบครัว
ข. พอ ของมนเู ปนคนรกั ครอบครัวและรกั ลกู มากชอบชว ยแมทาํ งานบา น
ค. แมข องวนดิ าเกบ็ เส้อื ผาเกา ของตัวเองมาแกเยบ็ ใหมใ หทนั สมยั ใสไปทํางาน
ง. พอและแมข องพลอยใสไปเดนิ หา งทุกวันอาทิตยช วยกันเตรยี มของกินของใชไว
ไมใ หข าด

๘. องอาจเกบ็ โทรศัพทไดจากสนามฟุตบอลจงึ นาํ ไปคืนครปู ระจาํ ชั้น จากขอความดงั กลา ว
มีความสมั พนั ธกับขอใดมากท่สี ดุ
ก. กายสุจรติ มโนสุจรติ
ข. วจีสุจริต กายสจุ ริต
ค. มโนสุจริต วจีสุจรติ
ง. กายสจุ รติ มโนทุจริต วจสี จุ ริต

๙. อนณสุข มคี วามสมั พนั ธกบั ขอ ใดมากท่สี ดุ
ก. เดนชัย เปน คหบดีในจังหวดั ทผ่ี คู นนับถือ
ข. สนิ เปนกรรมกรรับจางแตไมเ คยเปนหน้ใี คร
ค. กนกพร กนิ อาหารภตั ตาคารเปนประจาํ เม่ือถึงวนั หยดุ
ง. จนิ ดามณชี อบเดินทางทองเทยี่ วในประเทศไทยมากท่ีสดุ

๑๐. วิภานกั ศกึ ษาแพทยจ บใหม หลักธรรมใดหากวิภานาํ ไปปฏบิ ัติตามแลว จะเปน หนทางไปสู
ความเจริญกาวหนาของชวี ติ ในอนาคต
ก. สขุ ๒
ข. ดรณุ ธรรม ๖
ค. กศุ ลกรรมบถ ๑๐
ง. กุลจิรัฏฐติ ธิ รรม ๔

๒๕

ภาคผนวก

๒๖

เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น
ขอ เฉลย
๑ข
๒ก
๓ก
๔ง
๕ค
๖ข
๗ข
๘ค
๙ก
๑๐ ง

๒๗

เฉลยใบกิจกรรมที่ ๑ เรอ่ื ง พระรตั นตรยั (ธรรมคณุ ๖)

คําชีแ้ จง : ใหน กั เรียนพิจารณาภาพ แลวเติมขอความลงในชองวา งใหถูกตอ ง

พระรตั นตรัย

ความหมาย ความหมาย ความหมาย
..พ...ร..ะ..ผ..ตู...ร..ัส..ร..ู..ห..ร..ือ...พ...ร..ะ..พ...ุท..ธ...เ.จ..า.... .ห..ล...ัก..ธ..ร..ร..ม...ท...่ีพ..ร..ะ...พ...ุท..ธ...เ.จ..า..ท...ร..ง...... ส...า..ว..ก..ผ...ูส..ืบ...ท...อ..ด..พ...ร..ะ...พ..ุท...ธ..ศ...า..ส..น...า..
................................................... .ค..น...พ...บ....แ..ล...ะ..ส..ั่ง..ส..อ...น...ช..า..ว..โ.ล...ก......... ...................................................

................................................... ................................................... ...................................................

คุณคา คณุ คา คณุ คา
.พ...ร..ะ..พ...ทุ...ธ..เ.จ...า..ท..ร..ง..เ..ป..น...ผ..มู...ีป...ญ...ญ...า.. ...ห..ล...ัก..ธ..ร..ร..ม...อ..ัน...เ.ป...น ..ค...ว..า..ม...จ..ร..ิง..ท..ี่... .พ...ร..ะ..ส...ง..ฆ..ผ...ูส..บื...ท..อ...ด..พ...ร..ะ..พ...ุท...ธ........
.ม...า..ก....ต..ร..สั...ร..ชู ..อ..บ...ด...ว ..ย..พ...ร..ะ..อ...ง..ค...... ...พ..ร..ะ...พ..ุท...ธ..เ..จ..า..ท...ร..ง.ค...น...พ..บ...แ...ล..ว...... .ศ...า..ส..น...า...ท...าํ ..ห..น...า..ท...เี่.ผ...ย..แ..ผ...พ ...ร..ะ......
.เ..อ..ง...ท...ร..ง..ม..ีพ...ร..ะ..บ...ร..สิ...ทุ ..ธ..ค์ิ...ุณ............ ...น..าํ..ไ..ป..เ..ท..ศ...น..า....ส..่งั..ส..อ...น...แ..ก..ช...า..ว..โ.ล...ก .ธ..ร..ร..ม...ค..า..ส...อ..น...แ..ก...ม..น...ุษ...ย..ช..า..ต...ิ.......
.ป...ร..า..ศ...จ..า..ก..ก...ิเ.ล..ส...ท..ัง้..ก...า..ย....ว..า..จ..า...ใ..จ. ...แ..ม..พ...ร..ะ...พ..ทุ...ธ..เ.จ...า..เ.ส..ด...จ็..ด...บั ..ข...ัน..ธ..... .พ...ร..ะ..ส...ง..ฆ..ถ...อื ..เ.ป...น...เ.น...ือ้ ..น...า..บ..ญุ....ข..อ..ง...
.แ...ล..ะ..ท...ร..ง..ม..พี...ร..ะ...ก..ร..ณุ....า.ธ...คิ ..ุณ....อ..นั...... ...ป..ร..นิ...ิพ...พ...า..น..ไ..ป..แ...ล..ว....แ..ต...พ..ร..ะ......... .โ..ล..ก...เ.ป...น ..ผ...ูป..ฏ...บิ...ตั ..ิด...ี .ป...ฏ...บิ ..ัต...ชิ ..อ...บ....
.ย...ง่ิ ..ใ.ห...ญ.....ท..ร..ง..ส..ล...ะ..ค...ว..า..ม..ส...ุข..ส..ว...น.... ...ธ..ร..ร..ม..ว..นิ...ัย..ย...ัง..ค..ง..อ..ย...ู .พ...ร..ะ..ส...ง..ฆ...... .จ...ึง.ม...คี...ณุ ...อ..น...นั...ต..ท...่ีค..ว...ร.แ...ก..ก...า..ร........
.พ...ร..ะ..อ...ง..ค..อ...อ..ก..เ..ท..ศ...น...า...ส..ั่ง..ส...อ..น....... ...ส..า..ว..ก..ไ..ด..น...า..ห...ล..กั...ธ..ร..ร..ม..น...้นั...ไ.ป........ .เ.ค...า..ร..พ..........................................
.ม...น...ษุ ..ย... .เ.ท...ว..ด...า...พ...ร..ห..ม....ม...า..ร...ใ..ห..... ...ส..ืบ...ท..อ...ด..แ...ล..ะ..เ..ผ..ย..แ...ผ..แ..ก...พ...ุท...ธ....... ...................................................
.พ...น...จ..า..ก...ท..ุก...ข..ท...้งั..ป..ว...ง.................... ...บ..ร..ิษ...ทั....ช...า.ว...พ..ทุ...ธ..ท...ี่ด..จี...ึง..ค..ว..ร......... ...................................................
................................................... ...ป..ฏ...บิ...ัต..ิต...น..ต...า..ม..ห...ล..ัก...ธ..ร..ร..ม..อ...ย..า..ง... ...................................................
................................................... ...ถ..ูก..ต...อ..ง..เ.ห...ม...า..ะ..ส..ม........................ ...................................................

๒๘

คําชแี้ จง : ใหนักเรียนเขียนผงั ความคดิ เรื่อง ธรรมคุณ ๖
..............๑.....พ..ร..ะ...ธ..ร..ร..ม..อ..ัน...พ...ร..ะ..ผ..มู...ีพ...ร..ะ..ภ..า..ค...เ.จ..า....ท..ร..ง...
.แ..ส...ด..ง..ไ..ว..ด..แี..ล...ว ...ห...ล..ัก...ค..าํ..ส..อ...น..ใ..น..พ...ร..ะ..พ...ุท...ธ...ศ..า..ส...น..า.......
.น...ัน้ ..เ..ป..น...ผ..ล...ม..า..จ..า..ก...ก..า..ร..ต..ร..ัส...ร..ขู ..อ..ง..พ...ร..ะ..พ...ทุ ..ธ...เ.จ..า...เ..ช..น....
.พ...ร..ะ..อ...ง.ค...ท ..ร..ง....แ..ส..ด...ง..ว..า .อ...ะ..ไ..ร..เ.ป..น...ค..ว...า..ม..ท...กุ ..ข..จ...ร..ิง...ท..ร..ง.
.แ..ส...ด..ง..ว..า..อ..ะ...ไ.ร..เ.ป...น...เ.ห...ต..ใุ.ห...เ.ก...ิด..ค...ว..า..ม..ท...ุก..ข..ก...็เ.ป...น..เ..ห..ต...ุ ..
.ใ..ห..เ..ก..ิด..ค...ว..า..ม..ท...ุก..ข...จ..ร..ิง...............................................

.............๒.....พ...ร..ะ..ธ..ร..ร..ม....ผ..ูป...ฏ..ิบ...ตั...จิ ..ะ..เ.ห...น็.... ธรรมคุณ ๖ ...............๓.....พ..ร..ะ...ธ..ร..ร..ม..ไ..ม..ข...้นึ ..อ...ย..กู ..บั.........
.ด..ว..ย..ต...น..เ..อ..ง...ห...ล..กั...ค..าํ..ส..อ...น..ท...ี่พ...ร..ะ..พ...ทุ ..ธ..เ..จ..า. ..ก...า..ล..เ.ว..ล...า...ห..ล...กั ..ธ..ร..ร..ม...ค..ํา..ส...อ..น...ท..ั้ง..ห...ม..ด.....
.ท..ร..ง..แ..ส...ด..ง..ไ..ว..น ..ัน้....เ.ช...น ....ท..ร..ง..แ..ส...ด..ง..ว..า..ก..า..ร... ..เ..ป..น...ห..ล...กั ..ค...ว..า..ม..จ..ร..ิง..ท...ไ่ี .ม...เ .ป...ล..ี่ย..น...แ..ป...ล..ง....
.ด..ืม่...ส..รุ ..า..เ.ป...น..อ...บ..า..ย...ม..ขุ..เ..ป..น...ท...า.ง..แ...ห..ง..ค...ว..า.ม.. ..เ..ป..น...อ..ย..า..ง..อ...ื่น..ไ..ป..ต...า..ม..ก...า.ล...เ.ว..ล...า...เ.ช..น........
.เ.ส..่อื...ม.....ใ.ค...ร..ก..ต็ ..า..ม...ห...า.ก...ด..่มื...ส..รุ ..า..แ..ล...ว..จ..ะ..ร..ู .. ..ท...ร..ง..แ..ส..ด...ง..ว..า ...ค..ว...า.ม...เ.ก...ีย..จ..ค...ร..า.น...ไ..ม..ด..ี.....
.ไ.ด...ด ..ว..ย..ต...น..เ..อ..ง..ว..า...ค...ว..า..ม..เ.ส...่ือ..ม...ท..้งั..ห...ล..า..ย.... ..แ...ม..จ..ะ...เ.ร..ยี ..น...ห..น...งั..ส..อื..ก...จ็ ..ะ..ไ..ม..ป...ร..ะ..ส..บ.........
.เ.ก..ดิ...ข..น้ึ...เ.พ...ร..า..ะ..ต..น....ด...ม่ื ..ส..รุ..า..น...่ัน..เ..อ..ง............ ..ผ...ล..ส..าํ..เ..ร.จ.็ .............................................

..............๔......พ...ร..ะ..ธ..ร..ร..ม..ค...ว..ร..เ.ร..ีย..ก...ใ.ห...ม ..า..... ..............๕.....พ...ร..ะ..ธ...ร..ร..ม..ค..ว..ร..น...อ..ม...น..ํา..ม...า....
.ด...ู .ห...ล..ัก..ธ...ร..ร..ม..ค..ํา..ส...อ..น...ท..ไ่ี..ด..ส...ั่ง.ส...อ..น...ไ.ว..น...้ัน... ..ป...ร..ะ..พ...ฤ..ต..ปิ...ฏ...บิ ..ตั...ิ .ห...ล..ัก..ธ...ร..ร.ม...ค..าํ..ส...อ..น...ท..่ี..
.พ...ร..อ..ม...ท...ีจ่ ..ะ..ใ..ห..ใ..ค..ร..ม...า.ศ...กึ..ษ...า..พ...จิ ..า..ร..ณ...า...... ..ไ..ด..ท...ร..ง..แ..ส..ด...ง.ไ..ว..น...น้ั ..ไ..ม..ใ..ช..แ..ส...ด..ง..ไ.ว..เ..พ..่อื...ใ.ห..
.ต...ร..ว..จ..ส..อ...บ..ท...ด..ล...อ..ง..แ..ล...ะ..ป...ฏ..ิบ...ตั ..ิด...ไู .ด... ....... ..ศ...กึ ..ษ...า..เ.ร..ีย..น...ร..ูแ..ต..เ..พ..ยี...ง..อ..ย..า..ง..เ.ด...ีย..ว...แ...ต.....
.เ..ส..ม..อ....ไ..ม..ไ..ด..ก..ํา..ห...น...ด..ไ..ว..ว..า ..ต..อ..ง..เ..ป..น........... ..ค...ว..ร..น..ํา..ม...า.ป...ร..ะ..พ...ฤ..ต...ิป...ฏ..ิบ...ัต..ดิ...ว ..ย..จ..ึง..จ..ะ.....
.ช...า..ว..พ..ุท...ธ..เ.ท...า..น...้นั .................................... ..เ.ก...ดิ ..ผ...ล..ต..า..ม...ส..ม..ค...ว..ร..แ..ก...ก..า..ร..ป...ฏ..บิ...ัต..ิ........
............................................................ ............................................................

.............๖.....พ..ร..ะ...ธ..ร..ร..ม..อ..นั...ว..ญิ.......ูช..น..จ...ะ..พ...ึง..ไ.ด..เ..ฉ..พ...า..ะ......
ต...น...ก...า..ร..จ..ะ..ร..ูว..า..ห...ล..กั...ธ..ร..ร..ม..ค...าํ .ส...อ..น...เ.ป...น..ค...ว..า..ม..จ..ร..ิง.........
ต...า..ม..ท...ี่แ..ส..ด...ง..ไ.ว..ห...ร..อื ..ไ..ม..น...น้ั ....จ..ะ..ต...อ..ง..ศ..กึ...ษ..า..น...าํ ..ม..า..ป...ฏ..บิ...ัต..ิ
เ.ม...ือ่..ป...ฏ...บิ ..ตั...ิแ..ล..ว..ก...็จ..ะ..ร..ผู...ล..ข..อ...ง.ก...า..ร..ป..ฏ...ิบ...ตั ..เิ.ช...น ..น...น้ั ..ด...ว..ย...
ต...น..เ.อ...ง......................................................................
...............................................................................

๒๙

เฉลยใบกจิ กรรมท่ี ๕ เรือ่ ง อรยิ สัจ ๔ ทุกข สมทุ ยั นโิ รธ มรรค

ตอนที่ ๑
คาํ ชแี้ จง : ใหนักเรียนยกตวั อยางจากการดาํ เนนิ ชีวติ ประจําวันที่สอดคลองกับอริยสจั ๔ ทุกข

สมุทัย นโิ รธ มรรค

..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................อ...ย..ูใ.น...ด..ุล...พ..ิน...จิ..ข...อ..ง..ค..ร..ูผ...สู ..อ..น................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
ต...อ..น...ท...ี่ .๒.................................................................................................................................................
คําชแ้ี จง ใหนกั เรยี นหาภาพขาว หรอื ขาวตวั อยา งบคุ คลที่มีคณุ ลกั ษณะตรงตามหลักธรรมอรยิ สัจ ๔

ทกุ ข สมทุ ัย นิโรธ มรรค แลวนาํ มาวเิ คราะหในหัวขอตอไปนี้

ติดรปู ภาพหรอื ขาว ชอ่ื บคุ คล ..................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................

แหลง ขอมูล...............................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................

..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..........................................................อ..ย...ใู .น...ด..ุล..พ...นิ...ิจ..ข..อ...ง..ค..ร..ูผ..ูส...อ..น.............................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

๓๐

เฉลยใบกจิ กรรมท่ี ๓ เรอื่ ง การปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมพระพทุ ธศาสนา
ในกระแสความเปล่ยี นแปลงของโลกและการอยรู วมกนั อยางสันติสขุ

คาํ ช้ีแจง : ใหนักเรยี นเติมคําหรือขอ ความลงในชองวา งใหถ ูกตอง

๑. ส่ิงสดุ ขัว้ ๒ ทาง ทพี่ ระพุทธเจาทรงคน พบ หลกั ธรรมที่ทรงนํามาแกไ ข คอื
.....ค...ือ...ม...ชั ..ฌ...มิ...า..ป..ฏ...ิป...ท..า....ส..อ..น...ใ..ห..ย..ดึ...ท..า..ง..ส...า.ย...ก..ล...า.ง....ย..นิ...ด..ใี.น...ส..ง่ิ..ท...่ตี ..น...ห...า.ไ..ด..อ...ย..า..ง..ช..อ...บ..ธ..ร..ร..ม..............................

๒. การเขา ไปชว ยกจิ กรรมชวยเหลือทางสังคม ควรนําหลักธรรมใดมาประยกุ ตใช
......ส...ัง.ค...ห..ว..ตั...ถ..กุ...บั ..ส...ัน..ต...ิส..ขุ...........................................................................................................................

๓. หลกั ธรรมท่ีชว ยแกความลําเอียงในสังคมท่กี อ ใหเกิดความไมยตุ ธิ รรม คอื
......อ...ค..ต...ิ .๔....ห...ร..ือ....ค..ว..า..ม..ล...าํ ..เ.อ..ีย...ง..ท..ง้ั...๔..........................................................................................................

๔. หลักธรรมทีช่ วยรกั ษาความมั่นคงของวงศตระกลู คือ
.......ห...ล..ัก..ธ..ร..ร..ม...ก..ุล...จ..ริ ..ฏั ..ฐ...ิต..ธิ..ร..ร..ม...................................................................................................................
๕. เพ่ือปองกันความรุนแรงจากความไมร ู และเพอื่ ใหเกดิ ความเจริญงอกงามในสงั คม ควรนาํ หลกั ธรรม
..........ว..ฑุ ..ฒ....ธิ ..ร..ร..ม....๔....ห..ร..ือ....ว..ุฒ...ิ..๔....ค..ือ....ธ..ร..ร..ม..เ..ป..น...เ.ห...ต..ุก...า..ร.ณ....แ..ห...ง..ค..ว..า..ม...เ.จ..ร..ิญ............................ ใหเกดิ สงบสขุ
๖. หัวใจหลกั ของการบริหารหลกั ธรรมสําหรับนกั ปกครอง คอื
..........ห..ล...กั ..ธ..ร..ร..ม..ธ..ร..ร..ม...า..ธ..ปิ...ไ.ต..ย....ถ..ือ...ค..ว..า..ม...ถ..ูก..ต...อ ..ง..เ.ป...น...ใ.ห...ญ... .........................................................................
๗. การปกครองท่มี กั นําไปสูค วามไมส งบภายในประเทศ ผนู าํ มกั จะนาํ ระบบการปกครอง
.........ก..า..ร..ถ..ือ...ต..ัว..เ..อ..ง..เ.ป...น..ใ..ห..ญ.....ไ.ม...น..ํา..พ...า..ว..า..ค...น..อ...น่ื ..จ..ะ...เ.ห..็น...เ.ป...น...อ..ย..า..ง..ไ..ร...จ..งึ..น...า.จ...ะ..เ.ท...ีย..บ...ไ.ด...ก ..ับ...ค..ํา..ว..า....เ.ผ..ด..็จ...ก..า..ร....
มาปกครอง ในพระพุทธศาสนาเรยี กวาระบบการปกครอง.....อ..ัต..ต...า..ธ..ปิ ..ไ..ต..ย...............................................
๗. การปกครองทถี่ อื ประชาธปิ ไตยที่ถือคนสว นใหญเปนหลัก ผูน าํ มักจะนําระบบการปกครอง
.........โ.ล...ก..า..ธ..ปิ...ไ.ต...ย...ห...ม..า..ย...ถ..ึง...ก..า..ร..ถ...ือ..ก..ร..ะ...แ..ส..โ..ล..ก...เ.ป..น...ใ.ห...ญ.....แ..ล..ะ...โ.ล..ก...ใ.น...ท...ี่น..ีห้...ม..า..ย..ถ...งึ ..ค..น..................................
๘. หลักธรรมท่ีใชเ ปนเครือ่ งยึดเหน่ยี วน้าํ ใจคนอนื่ คือ
.........ห..ล...กั ..ธ..ร..ร..ม...ส..ัง..ค..ห...ว..ตั..ถ...ุก..ับ...ส..ัน...ต..ิส..ุข.........................................................................................................
๙. หลักธรรมท่สี งเสริมคิดแตส ิ่งดีงาม ลดความรุนแรงในสังคม คือ
.........ห..ล...ัก..ธ..ร..ร..ม...พ..ร..ห...ม..ว...หิ ..า..ร...๔.....ก..บั...ส..นั...ต..ิส..ขุ.................................................................................................
๑๐. หลักธรรมทส่ี รางความสามคั คี คอื
.........ห..ล...ัก..ธ..ร..ร..ม...ส..า..ร..า..ณ...ีย...ธ..ร..ร..ม..ก..ับ...ส..ัน...ต..ภิ...า..พ................................................................................................

๓๑

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
ขอ เฉลย
๑ค
๒ข
๓ง
๔ก
๕ค
๖ข
๗ง
๘ค
๙ข
๑๐ ก

๓๒

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. สาํ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. (๒๕๔๗). เรยี นรจู ากกระแสพระราชดํารสั พระบาท
สมเด็จพระเจาอยหู ัวพระราชทานเม่อื วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๔๖ ท่ีเกีย่ วของกับการศึกษา. กรุงเทพฯ :
สํานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา.

_______________. (๒๕๕๒). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ :
โรงพมิ พช ุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย.

_______________. (๒๕๕๑). หนงั สอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน กลุมสาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พระพทุ ธศาสนา ม.๒.

กรงุ เทพฯ : โรงพิมพคุรสุ ภาลาดพรา ว.
ณัทธนัท เล่ียวไพโรจน. (๒๕๕๘). หนงั สอื เรียน รายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๒

กลุมสาระการเรยี นรูส งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั พฒั นาคุณภาพวิชาการ (พว.) จํากัด.
สถาบนั พฒั นาวชิ าการ. (๒๕๕๘). คูมอื ครูหนงั สือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ ๒ ตามหลักสตู รการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนา
คุณภาพวชิ าการ(พว.) จาํ กัด.
อรทิรา รัตนพ งษโ สภิต. (๒๕๕๒). New สรปุ เขม สังคมศึกษา ม.๒. กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพวัฒนาพานชิ .

๓๓


Click to View FlipBook Version