The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

0.20-3 การพัฒนาแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุ้งขาวและกุ้งก้ามกราม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MSC NPRU, 2023-10-30 23:52:49

0.20-3 การพัฒนาแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุ้งขาวและกุ้งก้ามกราม

0.20-3 การพัฒนาแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุ้งขาวและกุ้งก้ามกราม

7 – 8 กรกฎาคม 2565 วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม การพัฒนาแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม อาทิตยอูตะเภา 1* , พชรพงศขุนแกว1 , วิศิษยศักด ิ์ มะลิเงิน1 และ สมพล สุขเจริญพงษ2 1 นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 2 อาจารยสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม * [email protected] บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม 2) ศึกษาความพึงพอใจตอ การใชงานแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม กลุมเปาหมาย คือ เกษตรกรผูเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม หมู 10 บานรางมูก ตําบลลําเหย อําเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม จํานวน 28 ราย เคร ื่ องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลโดยใช แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ รอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และคาเบ ี่ ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใชแอปพลิเคชัน kodular เปนเคร ื่ องมือในการพัฒนาแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุง กามกราม ผลการวิจัย พบวา ผลการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกรามสําหรับผูเช ี่ ยวชาญ ในภาพรวมมีคุณภาพในระดับดีมาก ( ݔҧ= 4.64, S.D. = 0.39) และแบบประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชัน การเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม ในภาพรวมอยูในระดับมาก (ݔҧ= 4.48, S.D. = 0.35) แอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุง กามกรามชวยอํานวยความสะดวก และเปนเคร ื่ องมือที่ชวยพัฒนาการเรียนรูดวยตนเองใหกับผูใชงาน คําสําคัญ: แอปพลิเคชัน การเลี้ยงกุง กุงขาวและกุงกามกราม 497


7 – 8 กรกฎาคม 2565 วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม Development of Applications for Pacific White Shrimp and Giant Freshwater Prawn Farming Artid autapao1* , Pacharapong khunkaew1 , Visitsak Malingoen1 and Sompon Sukcharoenpong 2 1 Students of Business Computer, Faculty of Management Science, Nakhon Pathom Rajabhat University 2 Lecturer of Business Computer, Faculty of Management Science, Nakhon Pathom Rajabhat University *[email protected] Abstract The objectives of this study were 1) to develop a white shrimp and lobster farming application; 2) to assess satisfaction with a white shrimp and lobster farming application. The target group is 28 white shrimp and lobster farmers at Village No. 10, Ban Rang Muk, Lam Yee Subdistrict, Don Tum District, Nakhon Pathom Province. Data collection tools were used by questionnaires. The statistics used to analyze the data were Percentage, Mean, and Standard Deviation. Using kodular application as a tool to develop white shrimp and lobster farming applications. The results showed that the quality assessment of white shrimp and lobster farming applications for experts Overall, the quality was at a very good level (ݔҧ= 4.64, S.D. = 0.39). and the application satisfaction assessment form Breeding white shrimp and lobster Overall, it was at a high level (ݔҧ= 4.48, S.D. = 0.35). The white shrimp and lobster farming application facilitated and is a tool that helps develop self-learning for users Keyword : application, shrimp farming, White Shrimp and Lobster บทนํา กุงเปนสัตวน้ําท ี่เปนสวนประกอบในเมนูอาหารของทุกชนชาติเพราะติดใจในรสชาติอันแสนอรอยของกุง ซึ่งกุงมี หลายชนิด และหลากสายพันธุแตละสายพันธุก็มีลักษณะที่แตกตางกันไป กุงขาวที่มีขายในทองตลาดยุคน ี้จะเปนกุงเล ี้ ยงแทบ ทั้งหมด ราคาคอนขางถูก ในสวนของกุงกามกราม เปนกุงที่นิยมรับประทานของคนสวนใหญ ไมวาจะดวยขนาดที่ถือวาใหญ น้ําหนักราว 300 – 600 กรัมตอตัว และความอรอยที่รานอาหารนิยมนํามาประกอบอาหาร จึงถือไดวากุงกามกรามเปนกุงท ี่ ยกระดับคุณคาสูงกวากุงอื่น ๆ ทั้งหนาตาและรสชาติ[1] เมื่อความตองการบริโภคกุงที่มีมากขึ้น แตปริมาณกุงกลับมีนอยลงในธรรมชาติทําใหกุงมีราคาแพง จึงทําใหปจจุบัน นี้มีการเพาะเลี้ยงกุงกันอยางแพรหลายในหลายจังหวัด เชน นครปฐม ฉะเชิงเทรา สุพรรณบุรีฯลฯ อาชีพการเล ี้ ยงกุงจึงสราง รายไดใหกับเกษตรกร การศึกษาขอมูลการเลี้ยงกุง เพื่อเตรียมความพรอมสําหรับการเลี้ยงกุงจึงเปนส ิ่ งที่สําคัญ ซึ่งการเล ี้ ยงกุง นั้นมีขั้นตอน และปญหาอุปสรรคมากมาย ดังนั้น ผูที่สนใจอาชีพการเล ี้ ยงกุง จึงตองศึกษาข ั้ นตอนการเล ี้ ยงกุงใหดีเสียกอน ยกตัวอยางปญหาของการเล ี้ ยงกุงท ี่ พบมากที่สุด คือ น้ํา ซึ่งในการพิจารณาสถานที่ที่จะเล ี้ ยงกุง จึงตองพิจารณาหาแหลงน้ํา ที่มีอยูใกลๆ เชน แมน้ํา ลําธาร คลองที่มีน้ําไหลผานตลอดปและน ้ํ าน ั้ นจะตองมีคุณภาพดีปลอดสารพิษ จากโรงงาน 498


7 – 8 กรกฎาคม 2565 วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม อุตสาหกรรม และดินจะตองสามารถเก็บกักน้ําไดไมควรเปนดินทราย หรือดินที่มีทราย เพราะจะมีปญหาในการเก็บกักน ้ําใน ฤดูแลง ซึ่งถาจะแกไขจะตองลงทุนสูง อีกประการหนึ่ งท ี่ จะตองพิจารณาดวย คือ ทางคมนาคม ถาอยูใกลทางคมนาคมติดตอ สะดวก ในการขนสงจะไมทําใหลูกกุงบอบช ้ํ ามาก สามารถจับกุงสงตลาดไดอยางรวดเร็ว กุงไมเส ื่ อมคุณภาพ และราคาไมตก ในบางแหงอาจใชน้ําบาดาลเลี้ยงกุงก็ไดแตตองลงทุนสูง กอนปลอยกุง ตองฆาปลาที่มีอยูเดิมออกใหหมด มิฉะนั้น ปลาเหลาน ี้ อาจแยงอาหาร หรือกินลูกกุง เปนตน ดวยหลักการและเหตุผลดังกลาวขางตน ผูวิจัยมองเห็นความสําคัญของปญหาการเล ี้ ยงกุง จึงไดออกแบบ แอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม สําหรับเกษตรกรผูที่สนใจในการเลี้ ยงกุง ทั้งในดานการเตรียมความพรอม สําหรับการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม การคํานวณอัตราการปลอยลูกกุง การคํานวณการใหอาหารกุง การปองกันโรคและ การรักษากุง รวมทั้งราคากลางตลาดกุง วัตถุประสงคในการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการวิจัยครั้งนี้ไดทบทวนเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของพอสังเขปไดดังตอไปนี้ มาโนช และคณะ [2] ไดศึกษาวิจัยเร ื่ อง การเล ี้ ยงกุงขาววานาไม (Litopenaeus Vanamai) รวมกับกุงกุลาดํา (Penaeus Monodon) ผลการศึกษาพบวา ผลการทดลองเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมรวมกับกุงกุลาดําในถังไฟเบอรในอัตราสวนท ี่ แตกตางกันเพ ื่ อหาอัตราสวนเหมาะสม และ ศึกษาอัตรารอดตาย โดยเลี้ยงในอัตราสวนท ี่ แตกตางกัน คือ กุงขาวแวนนาไม 100%, กุงขาวแวนนาไม 75% กุงกุลาดํา 25%, กุงขาวแวนนาไม 50% กุงกุลาดํา 50%, กุงขาวแวนนาไม 25% กุงกุลาดํา 75% และ กุงกุลาดํา 100% ตามลําดับ ชุดการทดลองละ 3 ซ้ําการทดลองเปนระยะเวลา 120วัน พบวา น้ําหนักของกุงขาว แวนนาไม มีคาเฉล ี่ ยเทากับ16.34±0.43, 26.03±0.59, 18.34±0.91และ16.04±1.20 กรัม ตามลําดับ น้ําหนักคาเฉล ี่ ยกุง กุลาดํา 13. 60±0.69, 12.96±1.26, 9.54±1.58 และ7.86±0.18 กรัม ตามลําดับ อัตรารอดตาย ของกุงขาวแวนนาไมมี คาเฉล ี่ ยเทากับ 72.22±1.47, 85.92±2.67, 95.56±2.94 และ 82.22±5.88 เปอรเซ็นตตามลําดับ อัตรารอดตายของกุง กุลาดํามีคาเฉล ี่ ยเทากับ 51.11±4.84, 72.22±5.55 , 69.44±2.00, และ 62.22±5.88 เปอรเซ็นตตามลําดับ และมีอัตรา แลกเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ มีคาเทากับ 2.60±0.04, 2.43±0.21, 2.63±0.37, 2.58±0.67 และ3.16±0.62 ตามลําดับ เม ื่ อนํา คาเฉล ี่ ยน ้ํ าหนัก และอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเน ื้ อมาวิเคราะหผลทางสถิติพบวามีความแตกตางทางสถิติ (P<0.05 ) จาก การทดลองคร ั้ งน ี้ พบวาการทดลองเล ี้ ยงอัตราสวนท ี่ เหมาะสมสําหรับการเล ี้ ยงกุงขาวแวนนาไม 75 เปอรเซ็นตตอกุงกุลาดํา 25 เปอรเซ็นต บุญรัตน [3] ไดศึกษางานวิจัยเร ื่ อง ผลของอุณหภูมิและความหนาแนนของการลําเลียงลูกกุงขาว (Litopenaeusvannamei) ลูกกุงกุลาดํา (Penaeus monodon) และกุงกามกราม (Macrobrachium rosenbergii) ระยะ โพสลาวาตอการรอดตายและการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน ้ํ าท ี่ใชลําเลียงบางประการ ผลการศึกษาพบวา การลําเลียงลูกกุง ทั้ง 3 ชนิด นาน 10 ชั่วโมงนั้น สามารถลําเลียงไดสูงสุดท ี่ ระดับ 1,000 ตัวตอลิตร เม ื่อใชอุณหภูมิน้ํา 22.5±0.2 °C และ สามารถลําเลียงไดสูงสุดไมเกิน 750 ตัวตอลิตรเมื่อลําเลียงที่อุณหภูมิ29.2±0.3 °C อยางไรก็ตามหากลําเลียงในชวงเวลาที่สั้น กวา 10 ชั่วโมง สามารถลําเลียงลูกกุงไดหนาแนนขึ้นไดกลาวคือ การลําเลียงลูกกุงทั้ง 3 ชนิด สามารถลําเลียงไดถึง 2,000 ตัว ตอลิตร ที่ 22.5±0.2°C และ 1,000-1,500 ตัวตอลิตร ที่อุณหภูมิ29.2±0.3°C ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระยะเวลาลําเลียง 499


7 – 8 กรกฎาคม 2565 วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วราห[4] ไดศึกษาเร ื่ อง แอปพลิเคชันกุงขาว 4.0 เปนแอปพลิเคชัน เขามาชวยปรับเปลี่ ยนการเกษตรด ั้ งเดิม ไปสู การเกษตรยุคใหม ที่เนนการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกรตองขับเคล ื่ อนเศรษฐกิจดวย นวัตกรรมเพ ื่ อท ี่ จะสรางความมั่งคั่งอยางยั่งยืน โดยแอปพลิเคชันกุงขาว 4.0 สามารถแสดงผลขอมูลสภาพอากาศ ระดับน ้ํ าขึ้นลง และราคาที่เปนปจจุบัน และใหขอมูลดานการจัดการการเลี้ยง การใหอาหาร คุณภาพน้ํา และโรคไดทั้งน ี้สามารถประเมิน น้ําหนักของกุงในบอไดจากภาพถาย ทําใหทํางานไดสะดวก และไดขอมูลอยางรวดเร็ว เปนตัวชวยสําหรับการตัดสินใจกับผู เลี้ยงกุงขาวไดเมื่อพัฒนาแอปพลิเคชันเสร็จสิ้นแลว ไดนําไปอบรมถายทอด 2 ครั้ง โดยมีจํานวนผูเขาอบรมทั้งสิ้น 113 ราย ซึ่ง ผลการสํารวจพบวาผูเขารับการอบรมสวนใหญเห็นวาเปนงานที่มีประโยชนกับผูเลี้ยงกุงขาวมาก และตองการใหมีการพัฒนาสู ระบบปฏิบัติการ IOS ตอไป ธนภัทร [5] ไดศึกษาเรื่อง นวัตกรรมระบบสารสนเทศเพ ื่ อสนับสนุนการตัดสินใจในการจัดการฟารมกุงของเกษตรกร รายยอยภายใตกลุมสหกรณผลการศึกษาพบวา 1) เกษตรกรผูเล ี้ ยงกุงภายใตกลุม สหกรณใชสารสนเทศในการวางแผนและ สนับสนุนการตัดสินใจบนพื้ นฐานของ 7 งานหลัก คือ การ เลือกแหลงที่ตั้งของฟารม การวางแผนธุรกิจเล ี้ ยงกุง การจัดการบอ เลี้ยง การจัดการกุง การจัดการ ดานการเงิน การจัดการฟารม และการจัดการชุมชน สังคมหรือกลุมเกษตรกร และปจจัยที่มี อิทธิพล ตอการใชเทคโนโลยีในการจัดการขอมูลรวมกันผานระบบออนไลนของเกษตรกรผูเล ี้ ยงกุง พบวา ความไววางใจซึ่ งกัน และกัน ความคาดหวังตอความพยายาม อิทธิพลจากสังคม การสนับสนุนของ ทรัพยากร และอํานาจของผูมีสวนรวม มี อิทธิพลตอการยอมรับการใชเทคโนโลยีที่ระดับ 51.4% 2) ผลการวิเคราะหขอมูลเชิงสถิติเก ี่ ยวกับโมเดลพยากรณราคากุง พบวา ราคากุง = -1759.426 - 1.066 (ขนาดของกุง) + 9.881(อัตราเงินเฟอ) + 11.135(ดัชนีราคาผูผลิต) - 1.835(ดัชนีราคา ผูผลิต ภาคเกษตรกรรม) + 1.863(อัตราแลกเปลี่ ยนเงินตรา) + 0.002 (อัตราผลิตกุงขาวแวนนาไมรวม) - 1.864(ราคาน ้ํ ามัน ดีเซล) + 42.448(ถาเปนเดือนมกราคม) + 53.286 (ถาเปนเดือนกุมภาพันธ) + 30.325(ถาเปนเดือนมีนาคม) + 2.057(ถาเปน เดือนเมษายน) - 20.070(ถาเปนพฤษภาคม) - 10.085 (ถาเปนเดือนมิถุนายน) - 3.180(ถาเปนเดือนกรกฎาคม) - 3.320 (ถา เปนเดือนสิงหาคม) - 11.835 (ถาเปนเดือนกันยายน) - 30.390(ถาเปนเดือนตุลาคม) - 11.835(ถาเปนเดือนพฤศจิกายน) ซึ่ง ปจจัย ดังกลาวมีอิทธิพลตอราคากุงรอยละ 89.7 ที่ระดับความเชื่อมั่นรอยละ 99 โดยโมเดลพยากรณราคา กุงนี้ไดนํามาพัฒนา เปนโมบายแอพพลิเคชั่นเพื่อวางแผนและสนับสนุนการตัดสินใจทางดานการเงิน ของผูเลี้ยงกุงภายใตชื่อ Smart Aqua 3) จาก การสอบถามทัศนคติจากกลุมตัวอยางผูใชงานนวัตกรรม ตนแบบจํานวน 30 ตัวอยาง พบวามีความพึงพอใจตอการใชงาน ระบบในดานความสามารถของระบบ ดานเน ื้ อหา ดานการออกแบบ ดานความปลอดภัย ดานการรับรูประโยชนของระบบ ดานการ สนับสนุนทรัพยากรและขอมูล ทัศนคติตอการใชและการยอมรับการใชในระดับพอใจมาก และ 4) การใหใชสิทธิโดย ไมจํากัดแตเพียงผูเดียวเปนรูปแบบที่เหมาะสมที่สุดในการนํานวัตกรรมตนแบบส ูเชิง พาณิชยโดยคาดวาจะใชระยะเวลาคืนทุน 3.5 ป กรกวี[6] ไดศึกษาเร ื่ อง การศึกษาคุณภาพน ้ํ าท ิ้ งจากการเล ี้ ยงกุงขาวในระบบปดในพื้ นที่อําเภอบางแพ จังหวัด ราชบุรีผลการศึกษาพบวา คุณภาพน ้ํ าจากการเล ี้ ยงกุงขาวแวนนาไม เม ื่ อถึงชวงระบายน ้ํ าท ิ้ งกอนจับกุงเพ ื่ อจําหนาย มี คาพารามิเตอรที่เพ ิ่ มข ึ้ นทั้ง 3 บอ โดยมีคาเฉล ี่ ยบีโอดี 26.57 ± 1.74 สารแขวนลอย 74.17 ± 1.65 แอมโมเนียไนโตรเจน 1.40 ± 0.09 และฟอสฟอรัสรวม 0.50± 0.12 เกินมาตรฐานท ี่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส ิ่ งแวดลอมกําหนด สวน คุณภาพน้ําจากรองน้ําทิ้งทั้ง 5 เดือน มีคาเฉล ี่ ยบีโอดี15.46± 0.51 สารแขวนลอย 60.00 ± 1.98 แอมโมเนียไนโตรเจน 0.95 ± 0.04 ไนโตรเจนรวม 4.90 ± 0.16และฟอสฟอรัสรวม 0.34± 0.03 มีคุณภาพเหมาะสมตามเกณฑคุณภาพน ้ํ าที่นํามาใช เพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง จากการศึกษางานวิจัยท ี่ เก ี่ ยวของขางตน สรุปไดวา การพัฒนาแอปพลิเคชันมาใชงานเพ ื่ อชวยอํานวยความสะดวก และเปนเคร ื่ องมือที่ชวยพัฒนาการเรียนรูดวยตนเอง เพื่อลดเวลา และข ั้นตอนในการทํางาน ดวยเหตุนี้ผูพัฒนาจึงไดมองเห็น ถึงความสําคัญในการออกแบบแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกรามสําหรับเกษตรกรผูที่สนใจในการเลี้ ยงกุง เพื่อ ประโยชนตอการเรียนรูดวยตนเอง และการเตรียมความพรอมสําหรับการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม 500


7 – 8 กรกฎาคม 2565 วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วิธีดําเนินการวิจัย 1. กลุมตัวอยางท ี่ใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ไดแก เกษตรกรผูเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม หมู 10 บานรางมูก ตําบลลําเหย อําเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม จํานวน 28 ราย (1 ราย = 1 ครัวเรือน) (สํานักงานประมงจังหวัดนครปฐม, 2564) การ กําหนดขนาดประชากรกลุมตัวอยางในการเก็บแบบสอบถามครั้งนี้ผูวิจัยไดเลือกใชทฤษฏีของทาโร ยามาเน เพ ื่ อทดสอบและ ประเมินความพึงใจที่มีตอแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ผูวิจัยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลในครั้งนี้โดยมีขั้นตอนการสราง ดังน ี้ 2.1 ศึกษาขอมูลและเก็บรวบรวมขอมูลท ี่ เก ี่ ยวกับการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม ความรูเบ ื้ องตนสําหรับการ เล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม การคํานวณการปลอยลูกกุงขาวและกุงกามกราม การใหอาหารกุงขาวและกุงกามกราม การ ปองกันโรคและการรักษากุงขาวและกุงกามกราม ราคากลางตลาดกุง เพื่อนําขอมูลไปในใชการสรางเครื่องมือการทําแอปพลิเค ชัน 2.2 ดําเนินการออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม 2.3 สรางแบบสอบถาม เรื่อง ความพึงใจที่มีตอแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม 2.4 เคร ื่ องมือท ี่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถามที่ผูวิจัยไดสรางข ึ้ นมา แบงเปน 3 สวน ไดแก ขอมูลท ั่วไปของ ผูตอบแบบสอบถาม แบบสอบถามความพึงพอใจในการใชงานแอปพลิเคชัน แบบสอบถามถึงความคิดเห็นและขอเสนอแนะ 2.5 การเก็บรวบรวมขอมูล 2.5.1 ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เก็บรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณเกษตรกรผูเลี้ยงกุง 2.5.2 ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เก็บรวบรวมขอมูลจากส ื่ ออิเล็กทรอนิกสเชน เอกสาร อิเล็กทรอนิกสขอมูลจากส ื่อออนไลนเว็บไซตตาง ๆ เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลเบ ื้ องตนที่เกี่ยวของกับงานวิจัย 3. การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดเก็บรวบรวมขอมูลความคิดเห็นเก ี่ ยวกับความพึงพอใจที่มีตอแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุง กามกราม ที่ไดจากแบบสอบถามความคิดเห็นจากกลุมเปาหมายนํามาวิเคราะหขอมูลซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ขอมูลท ั่วไปของกลุมเปาหมายซ ึ่งเปนขอมูลจากแบบสอบถามตอนท ี่ 1 วิเคราะหดวยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) คือ คารอยละ (Percentage) และคาความถี่สะสม (Frequency) 2. ขอมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงใจที่มีตอแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม วิเคราะหขอมูล โดยใชคาเฉลี่ย (ݔҧ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เพื่อหาขอสรุปของงานวิจัย ผลการวิจัย 1. การประเมินคุณภาพแอปพลิเคชันแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม ผลการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกรามสําหรับผูเช ี่ ยวชาญ ในภาพรวมมีคุณภาพ ในระดับดีมาก (ݔ = 4.64, S.D. = 0.39) เม ื่ อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานการใชงานแอปพลิเคชัน มีคุณภาพในระดับดี มาก (ݔ = 4.75, S.D. = 0.39) รองลงมาคือ ดานความนาเช ื่ อถือ มีคุณภาพในระดับดีมาก (ݔ = 4.69, S.D. = 0.41) รองลงมาคือ ดานความสามารถของแอปพลิเคชัน มีคุณภาพในระดับดีมาก (ݔ = 4.63, S.D. = 0.14) รองลงมาคือดานความ ถูกตองของแอปพลิเคชัน ในภาพรวมมีคุณภาพในระดับมาก (ݔ = 4.38, S.D. = 0.77) ตามลําดับ 501


7 – 8 กรกฎาคม 2565 วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 2. การประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม สรุปผล การประเมินความพึงพอใจไดดังนี้ ตารางท ี่ 1 ขอมูลท ั่วไปของผูตอบแบบประเมินความพึงพอใจ (n = 28) ขอมูลท ั่วไป จํานวน (คน) รอยละ เพศ ชาย 19 67.90 หญิง 9 32.10 อายุ ต่ํากวา 20 ป - - 21 – 30 ป 6 21.40 31 – 40 ป 16 57.10 41 – 50 ป 5 17.90 51 – 60 ป 1 3.60 60 ปขึ้นไป - - รายไดทั้งของครัวเรือน ต่ํากวา 5,000 บาท/เดือน - - 5,000 – 10,000 บาท/เดือน 3 10.70 10,001 – 20,000 บาท/เดือน 5 17.90 20,001 – 30,000 บาท/เดือน 9 32.10 มากกวา 30,000 บาท/เดือน 11 39.30 จากตารางท ี่ 1 ขอมูลท ั่วไปเกี่ยวกับผูประเมินความพึงพอใจ พบวา ผูตอบแบบประเมินสวนใหญเปนเพศชาย จํานวน 19 คน คิดเปนรอยละ 67 ซึ่งสวนใหญมีอายุระหวาง 31 – 40 ปจํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 57.10 และสวนใหญมีรายได ทั้งของครัวเรือน มากกวา 30,000 บาทตอเดือน จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 39.30 ตารางท ี่ 2ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม รายการประเมิน ࢞ഥ S.D ระดับความพึงพอใจ 1. ดานความสามารถของแอปพลิเคชัน 4.41 0.41 มาก 2. ดานความถูกตองของแอปพลิเคชัน 4.42 0.46 มาก 3. ดานการใชงานแอปพลิเคชัน 4.54 0.37 มากที่สุด 4. ดานความนาเชื่อถือ 4.54 0.52 มากที่สุด ภาพรวม 4.48 0.35 มาก 502


7 – 8 กรกฎาคม 2565 วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จากตารางท ี่ 2 ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในภาพรวม อยูในระดับมาก (ݔҧ= 4.48, S.D. = 0.35) เม ื่ อพิจารณาเปนรายดานพบวา มี ความพึงพอใจดานการใชงานแอปพลิเคชันและดานความนาเช ื่ อถือ อยูในระดับมากที่สุด (ݔҧ= 4.54, S.D. = 0.52 และ 0.37) รองลงมาคือ มีความพึงพอใจดานความถูกตองของแอปพลิเคชัน อยูในระดับมาก (ݔҧ= 4.42, S.D. = 0.46) รองลงมาคือ มี ความพึงพอใจดานความสามารถของแอปพลิเคชัน อยูในระดับมาก (ݔҧ= 4.41, S.D. = 0.41) ตามลําดับ ตารางท ี่ 3 ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม ดานความสามารถ ของแอปพลิเคชัน รายการประเมิน ࢞ഥ S.D ระดับความพึงพอใจ 1. ความสามารถของแอปพลิเคชันในการประมวลผล 4.57 0.63 มากที่สุด 2. ความสามารถของแอปพลิเคชันในการรายงานผล 4.50 0.51 มากที่สุด 3. ความสามารถของแอปพลิเคชันในการเพิ่มขอมูล 4.39 0.68 มาก 4. กระบวนการในการติดต ั้งซอฟตแวร งายและเหมาะสม 4.18 0.72 มาก ภาพรวม 4.41 0.41 มาก จากตารางท ี่ 3 ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม ดานความสามารถของแอปพลิเคชัน พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในภาพรวม อยูในระดับมาก (ݔҧ= 4.41, S.D. = 0.41) เม ื่ อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีความพึงพอใจตอความสามารถของแอปพลิเคชันในการประมวลผล อยูในระดับมาก ที่สุด (ݔҧ= 4.57, S.D. = 0.63) รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอความสามารถของแอปพลิเคชันในการรายงานผล อยูใน ระดับมากที่สุด (ݔҧ= 4.50, S.D. = 0.51) รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอความสามารถของแอปพลิเคชันในการเพิ่ มขอมูล อยูในระดับมาก (ݔҧ= 4.39, S.D. = 0.68) รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอกระบวนการในการติดต ั้งซอฟตแวรงายและ เหมาะสม อยูในระดับมาก (ݔҧ= 4.18, S.D. = 0.72) ตามลําดับ ตารางท ี่ 4 ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม ดานความถูกตอง ของแอปพลิเคชัน รายการประเมิน ࢞ഥ S.D ระดับความพึงพอใจ 1. ความถูกตองในการจัดเก็บขอมลนูําเขา 4.36 0.62 มาก 2. ความถูกตองในการคนหาขอมูล 4.36 0.49 มาก 3 ความถูกตองของผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล 4.46 0.58 มาก 4 แอปพลิเคชันสามารถแสดงผลไดอยางถูกตองตามความเปนจริง 4.50 0.64 มากที่สุด ภาพรวม 4.42 0.46 มาก จากตารางท ี่ 4 ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม ดานความถูกตองของแอปพลิเคชัน พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในภาพรวม อยูในระดับมาก (ݔҧ= 4.42, S.D. = 0.46) เม ื่ อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีความพึงพอใจตอแอปพลิเคชันสามารถแสดงผลไดอยางถูกตองตามความเปนจริง อยู ในระดับมากที่สุด (ݔҧ= 4.50, S.D. = 0.64) รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอความถูกตองของผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล อยูในระดับมาก (ݔҧ= 4.46, S.D. = 0.58) รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอความถูกตองในการคนหาขอมูล และมีตอความถูกตองใน การจัดเก็บขอมูลนําเขา อยูในระดับมาก (ݔҧ= 4.36, S.D. = 0.62 และ 0.49) ตามลําดับ 503


7 – 8 กรกฎาคม 2565 วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ตารางท ี่ 5ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม ดานการใชงานแอปพลิเคชัน รายการประเมิน ࢞ഥ S.D ระดับความพึงพอใจ 1. แอปพลิเคชันมีความสะดวกและงายตอการใชงาน 4.50 0.51 มากที่สุด 2. แอปพลิเคชันมีขอมูลที่ครอบคลุมกับการใชงานจริง 4.50 0.58 มากที่สุด 3. แอปพลิเคชันมีความรวดเร็วในการตอบสนองตอการใชงานไดเปนอยางดี 4.57 0.57 มากที่สุด 4. แอปพลิเคชันใชคําศัพทที่เขาใจงายและสามารถปฏิบัติตามได 4.61 0.57 มากที่สุด ภาพรวม 4.54 0.37 มากที่สุด จากตารางท ี่ 5 ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม ดานการใช งานแอปพลิเคชัน พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในภาพรวม อยูในระดับมากที่สุด (ݔҧ= 4.54, S.D. = 0.37) เม ื่ อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีความพึงพอใจตอแอปพลิเคชันใชคําศัพทที่เขาใจงายและสามารถปฏิบัติตามไดอยูในระดับมาก ที่สุด (ݔҧ= 4.61, S.D. = 0.57) รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอแอปพลิเคชันมีความรวดเร็วในการตอบสนองตอการใชงานได เปนอยางดีอยูในระดับมากที่สุด (ݔҧ= 4.57, S.D. = 0.57) รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอแอปพลิเคชันมีความสะดวกและ งายตอการใชงาน และแอปพลิเคชันมีขอมูลท ี่ ครอบคลุมกับการใชงานจริง อยูในระดับมาก (ݔҧ= 4.50, S.D. = 0.51 และ 0.58) ตามลําดับ ตารางท ี่ 6ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม ดานความนาเช ื่ อถือ รายการประเมิน ࢞ഥ S.D ระดับความพึงพอใจ 1. แหลงขอมูลมีความนาเชื่อถือ 4.39 0.68 มาก 2. ขอมูลมีความสอดคลองกับการใชงาน 4.57 0.69 มากที่สุด 3. ขอมูลมีความเปนปจจุบันและทันเหตุการณ 4.64 0.56 มากที่สุด 4. ขอมูลไมขัดตอกฎหมาย ศีลธรรม จริยธรรม 4.57 0.63 มากที่สุด ภาพรวม 4.54 0.52 มากที่สุด จากตารางท ี่ 6 ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม ดานความ นาเช ื่ อถือ พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในภาพรวม อยูในระดับมากที่สุด (ݔҧ= 4.54, S.D. = 0.52) เม ื่ อพิจารณา เปนรายขอ พบวา มีความพึงพอใจตอขอมูลมีความเปนปจจุบันและทันเหตุการณอยูในระดับมากที่สุด (x ̅ = 4.64, S.D. = 0.56) รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอขอมูลมีความสอดคลองกับการใชงาน และขอมูลไมขัดตอกฎหมาย ศีลธรรม จริยธรรม อยูในระดับมากที่สุด (ݔҧ= 4.57, S.D. = 0.69 และ 0.63) รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอแหลงขอมูลมีความนาเชื่อถือ อยูใน ระดับมาก (ݔҧ= 4.39, S.D. = 0.68) ตามลําดับ 504


7 – 8 กรกฎาคม 2565 วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม การพัฒนาแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม แสดงผลการพัฒนาแอปพลิเคชันไดดังนี้ หลังจากผูใชงานดาวนโหลดแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม จะพบไอคอนดังรูปตอไปนี้ ภาพท ี่ 1 หนาไอคอนแอปพลิเคชัน ภาพท ี่ 2 QR Code สําหรับดาวนโหลดคูมือ หนาการเขาใชงาน หนาเมนูหลักแอปพลิเคชัน ภาพท ี่ 3 หนาจอเริ่มตนเขาใชงานแอปพลิเคชัน ภาพท ี่ 4 หนาเมนูหลักแอปพลิเคชัน 505


7 – 8 กรกฎาคม 2565 วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม เมนูความรูเบ ื้ องตน เมนูการปลอยลูกกุง ภาพท ี่ 5 หนาเมนูความรูเบ ื้ องตน ภาพท ี่ 6 หนาเมนูการปลอยลูกกุง เมนูการใหอาหาร เมนูการปองกับโรคกุง ภาพท ี่ 7 หนาเมนูการใหอาหาร ภาพท ี่8 หนาเมนูการปองกับโรคกุง สรุปและอภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิเคราะหขอมูลสรุปไดดังนี้ 1. การประเมินคุณภาพแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม สําหรับผูเชี่ยวชาญ ผลการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม สําหรับผูเช ี่ ยวชาญ ผูเช ี่ ยวชาญมีความเห็นใน ภาพรวมตอแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม มีคุณภาพอยูในระดับดีมาก เม ื่ อพิจารณาเปนรายดานพบวา ดาน 506


7 – 8 กรกฎาคม 2565 วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม การใชงานแอปพลิเคชัน ดานความนาเช ื่ อถือ ดานความสามารถของแอปพลิเคชัน มีคุณภาพอยูในระดับดีมาก รองลงมาคือ ดานความถูกตองของแอปพลิเคชัน มีคุณภาพอยูในระดับมาก 2. การประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม ขอมูลท ั่วไปเกี่ ยวกับผูประเมินความพึงพอใจ พบวา ผูตอบแบบประเมินสวนใหญเปนเพศชาย มีอายุระหวาง 31 – 40 ปรองลงมาคือ มีอายุ 21 – 30 ปรองลงมาคือ 41 – 50 ปรองลงมาคือ มีอายุ 51 – 60 ปและสวนใหญมีรายไดทั้งของ ครัวเรือน มากกวา 30,000 บาทตอเดือน รองลงมาคือ มีรายไดทั้งของครัวเรือน 20,001 – 30,000 บาทตอเดือน รองลงมาคือ มีรายไดทั้งของครัวเรือน 10,001 – 20,000 บาทตอเดือน รองลงมาคือ มีรายไดทั้งหมดของครัวเรือน 5,000 – 10,000 บาท ตอเดือน ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชงานแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวและกุงกามกราม พบวา ผูตอบ แบบสอบถามมีความพึงพอใจในภาพรวมอยูในระดับมาก เม ื่ อพิจารณาเปนรายดาน พบวา มีความพึงพอใจดานการใชงาน แอปพลิเคชัน และดานความนาเช ื่ อถือ อยูในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ดานความถูกตองของแอปพลิเคชัน และดาน ความสามารถของแอปพลิเคชัน อยูในระดับมาก เรียงตามลําดับ ดานความสามารถของแอปพลิเคชัน พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อ พิจารณาเปนรายขอ พบวา มีความพึงพอใจตอความสามารถของแอปพลิเคชันในการประมวลผล และความสามารถของ แอปพลิเคชันในการรายงานผล อยูในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอความสามารถของแอปพลิเคชันในการ เพิ่มขอมูล และกระบวนการในการติดตั้งซอฟตแวรงายและเหมาะสม อยูในระดับมาก เรียงตามลําดับ ดานความถูกตองของแอปพลิเคชัน พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีความพึงพอใจตอแอปพลิเคชันสามารถแสดงผลไดอยางถูกตองตามความเปนจริง อยูในระดับ มากที่สุด รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอความถูกตองของผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล ความถูกตองในการคนหาขอมูล และความถูกตองในการจัดเก็บขอมูลนําเขา อยูในระดับมาก เรียงตามลําดับ ดานการใชงานแอปพลิเคชัน พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีความพึงพอใจตอแอปพลิเคชันใชคําศัพทที่เขาใจงายและสามารถปฏิบัติตามไดแอปพลิเคชัน มีความรวดเร็วในการตอบสนองตอการใชงานไดเปนอยางดีอยูในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอ แอปพลิเคชันมีความสะดวกและงายตอการใชงาน และแอปพลิเคชันมีขอมูลท ี่ ครอบคลุมกับการใชงานจริง อยูในระดับมาก เรียงตามลําดับ ดานความนาเช ื่ อถือ พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด เม ื่ อพิจารณาเปน รายขอ พบวา มีความพึงพอใจตอขอมูลมีความเปนปจจุบันและทันเหตุการณขอมูลมีความสอดคลองกับการใชงาน และขอมูล ไมขัดตอกฎหมาย ศีลธรรม จริยธรรม อยูในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ มีความพึงพอใจตอแหลงขอมูลมีความนาเช ื่ อถือ อยูในระดับมาก เรียงตามลําดับ ขอเสนอแนะ การใชงานแอปพลิเคชันการเลี้ยงกุงขาวและกุงกามกราม ควรใชอุปกรณหรือเครื่องมือในการศึกษาขอมูลใหตรงกับท ี่ กําหนดไวเพื่อใหแอปพลิเคชันสามารถแสดงผล และทํางานไดดี ขอเสนอแนะในการพัฒนาครั้งตอไป 1. จัดใหมีการดําเนินการพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการอื่น ๆ เชน IOS เพราะจะทําใหเกษตรกรสามารถใช งานแอปพลิเคชันไดครอบคลุมทุกระบบปฏิบัติการ 2. พัฒนาแอปพลิเคชันสําหรับการเลี้ยงสัตวน้ําประเภทอื่น ๆ เชน ปลา หอยขม ฯลฯ 507


7 – 8 กรกฎาคม 2565 วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม เอกสารอางอิง [1] สยามรัฐ. 2564. แหซื้อกุงกามกรามราคาถูกท ี่ตลาดนครปฐมชวยเหลือเกษตรกรหลังโควิด-19 พนพิษ. (ออนไลน). แหลงท ี่ มา : https://siamrath.co.th/n/207771. เขาถึงเม ื่ อวันท ี่ 1 สิงหาคม 2564 [2] มาโนช ขําเจริญ วัฒนา วัฒนกุล และกันยสินีพันธวนิชดํารง. (2562). การเล ี้ ยงกุงขาววานาไม(Litopenaeus vanamai) รวมกับกุงกุลาดํา. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชัย. [3] บุญรัตนประทุมชาติและคณะ. (2551). กระบวนการสะสมแรธาตุของกุงขาว [Litopenaeus vannamei] และ ประยุกตการเสริมแรธาตุในระบบอนุบาลและการเล ี้ยงในเชิงพาณิชย. คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี. [4] วราหเทพาหุดี. (2559). การพัฒนาแอปพลิเคชันการเล ี้ ยงกุงขาวแวนนาไมบนโทรศัพทมือถือ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร:กรุงเทพฯ. [5] ธนภัทร ยีขะเด. (2561). นวัตกรรมระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการจัดการฟารมกุงของเกษตรกรราย ยอยภายใตกลุมสหกรณ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. [6] กรกวีศรีอินทร. (2559). การศึกษาคุณภาพน ้ํ าท ิ้ งจากการเล ี้ ยงกุงขาวในระบบปดในพื้ นท ี่ อําเภอบางแพ จังหวัด ราชบุรี. วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ภาควิชา วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 508


Click to View FlipBook Version