The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางสาว อรสา เอกนารายณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by xxeknarayn, 2021-09-14 08:51:56

นางสาว อรสา เอกนารายณ์

นางสาว อรสา เอกนารายณ์

ข่าวปลอม



รู้เท่าทัน
Fake
news

นางสาว อรสา เอกนารายณ์

ชั้น มใ 6/8 เลขที่18

โรงเรียนเวียงเจดีย์วิทยา

การรับและส่งข้อมูลข่าวสาร
สามารถทำได้หลากหลาย
ช่องทาง และรวดเร็ว โดย
เฉพาะช่องทางอินเทอร์เน็ต
ที่มีความสะดวกในการรับ
และส่งข่าวสารต่อ ๆ กันได้
อย่างรวดเร็ว ทำให้เป็นช่อง
ทางหนึ่งสำหรับผู้ที่ต้องการ

สร้างข่าวปลอม ข่าว
บิดเบือน หรือผู้อยู่เบื้อง
หลังที่ต้องการแสวงหา
ประโยชน์จากความตื่นรับ
ข้อมูลข่าวสารของประชาชน

ส่งผลให้เกิด
ความเข้าใจผิด และอาจ
ทำให้เกิดสถานการณ์ปั่น

ป่วนตามมา

หน้า ที่

คำนำ ก
สารบัญ ข

การตรวจสอบข่าวปลอม(Fake News)

1. ที่มา
1

2. หัวข้อข่าว

3. สังเกตชื่อ LinkและURLจะผิดแปลก 2

4รูปภาพประกอบไม่ตรงกับเนื้อ

5. การเขียนและสะกดคำ "ผิด" 3

6. ตรวจสอบจากแหล่งข่าวอื่นเปรียบเทียบ

7. การจัดวางภาพและกราฟิก 4

8. มีโฆษณาสิ่งผิดกฎหมาย
9. ดูจุดประสงค์ในการเผยแพร่ข่าว

ข่ากวปาNรลตอeรมwว(จsFส)อaบke

1 . ที่ ม า / แ ห ล่ ง อ้ า ง อิ ง ใ ค ร เ ขี ย น ใ ค ร เ ผ ย แ พ ร่ น่ า

เ ชื่ อ ถื อ ห รือ ไ ม่ ?
สิ่ ง ที่ ที่ เ ร า ต้ อ ง ดู เ ล ย ก็ คื อ ข่ า ว นี้ ค น เ ขี ย น คื อ ใ ค ร เ ผ ย
แ พ ร่ ท า ง ไ ห น มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ชี่ ย ว ช า ญ ห รือ ค ว า ม
เ กี่ ย ว ข้ อ ง ใ น ด้ า น นั้ น จ ริง ห รือ ไ ม่ ห รือ เ นื้ อ ห า ข่ า ว นั้ น
อ้ า ง อิ ง จ า ก เ ว็ บ ห รือ แ ห ล่ ง ที่ น่ า เ ชื่ อ ถื อ ห รือ ไ ม่ เ พ ร า ะ มี
เ ว็ บ ไ ซ ต์ ที่ ข้ อ มู ล ไ ม่ น่ า เ ชื่ อ ถื อ อ ยู่ ม า ก ม า ย โ ด ย เ ร า
ส า ม า ร ถ ดู ข่ า ว จ า ก ห ล า ย ๆ ช่ อ ง ท า ง ป ร ะ ก อ บ กั น ไ ด้
ห า ก เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ ม า จ า ก อ ง ค์ ก ร ที่ ชื่ อ ไ ม่ คุ้ น เ ค ย ค ว ร
ต ร ว จ ส อ บ เ พื่ อ ค ว า ม แ น่ ใ จ อี ก ค รั้ ง ห นึ่ ง




2. หัวข้อข่าว / คำที่ใช้ ใส่อารมณ์เกินจริงเน้น "เรียกร้อง
ความสนใจ"

ข่าวปลอมมักมีการพาดหัวที่สะดุดตา อ่านแล้วให้ความ
รู้สึกใส่อารมณ์เวอร์เกินจริง เน้นใช้ตัวหนาและ

เครื่องหมายตกใจ! (อัศเจรีย์) เพื่อเรียกร้องความสนใจ
เน้นกระตุ้นให้คนอยากกดเข้าไปดูหรือแชร์ไปด่า หาก
ข้อความพาดหัวมีความหวือหวาจนเกินไป ที่ทำให้เรารู้สึก
ว่าไม่น่าเป็นไปได้ ข่าวนั้นอาจจะเป็นข่าวปลอม ให้ลองพิ
จรณาให้ดีว่า ข่าวที่เรากำลังจะแชร์นั้น เราอยากแชร์ไป

เพื่ออะไร

3. สังเกตชื่อ Link และ URL จะผิดแปลก
จงใจเลียนแบบให้เข้าใจผิด
ลิงก์ของข่าวที่แชร์มาอาจจะมี URL คล้ายกับ
URL ของสำนักข่าวที่น่าเชื่อถือ โดยมี
เว็บไซต์ข่าวปลอมจำนวนมากที่เปลี่ยนแปลง
URL เพียงเล็กน้อยเพื่อเลียนแบบแหล่งข่าว
จริง ต้องเข้าไปอ่านเนื้อหาและชื่อให้แน่ชัด




4รูปภาพประกอบไม่ตรงกับเนื้อหาข่าว

เป็ นวิธีตรวจสอบที่ง่ายๆ ด้วยสมมติฐานที่ว่า เมื่อ
เนื้อหาข่าวมันปลอม รูปภาพประกอบข่าวก็ต้อง
ปลอมและไม่ตรงกับเรื่ องจริงในข่าวเช่นเดียวกัน
เราสามารถตรวจที่มาของ "รูปภาพประกอบ" ได้
จาก Google เพียงคลิกขวาที่รูปภาพในข่าว จะมี
หัวข้อให้เลือกว่าค้นหารูปภาพจาก Google ซึ่ง
Google จะบอกได้หมดว่ารูปภาพนี้เผยแพร่ใน
อินเทอร์เน็ตเมื่อไหร่ และถึงบางครั้งรูปภาพอาจ
เป็ นรูปจริง แต่ไม่เกี่ยวข้องกับบริบทของเรื่องราว
เพื่อความมั่นใจ ลองนำภาพไปตรวจสอบที่มาของ
ภาพดังกล่าวผ่านการค้นหารูปแบบต่างๆ

5. การเขียนและสะกดคำ "ผิด"


ผู้สื่อข่าวที่ดีหรือสำนักข่าวออนไลน์ที่มีตัว
ตนและมีคุณภาพจะไม่ผิดพลาดเรื่องตัว
สะกดของคำหรือประโยคต่างๆ ด้วย
เหตุผลที่ว่าจะมีการพิสูจย์อักษรก่อนการ
เผยแพร่ทุกครั้งเพื่อความถูกต้องและ
ความไม่คลาดเคลื่อนของข้อความหรือ
สาร (Message) ที่จะส่งออกไป
6. ตรวจสอบจากแหล่งข่าวอื่นเปรียบ
เทียบ
สังเกตหรือตรวจสอบอีกครั้งจากแหล่ง
อื่นๆ หรือตรวจสอบแหล่งข้อมูลของผู้
เขียนเพื่อยืนยันว่าถูกต้อง หากไม่มีหลัก

ฐานหรือความน่าเชื่อถือ
ของผู้เชี่ยวชาญที่ไม่มีชื่อเสียง
อาจระบุได้ว่าข่าวดังกล่าวเป็นข่าวปลอม
ตรวจสอบข่าวจากรายงานข่าวของที่มา
อื่นๆ หากไม่มีแหล่งที่มาอื่นที่รายงาน
เรื่องราวเดียวกัน อาจระบุได้ว่าข่าวดัง
กล่าวเป็นข่าวปลอม หากมีการรายงาน
ข่าวโดยหลายแหล่งข่าวที่คุณเชื่อถือได้
มีแนวโน้มว่าข่าวดังกล่าวจะเป็นข่าวจริง

7. การจัดวางภาพและกราฟิก



สังเกตสิ่งผิดปกติในเนื้อหาข่าวหรือเว็บไซต์ เช่น

วันที่ลำดับเหตุการณ์ การจัดวางภาพกราฟิก
โดยข่าวปลอมอาจมีลำดับเหตุการณ์ที่ไม่สม

เหตุผล หรือมีการเปลี่ยนแปลงวันที่ของ
เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริง รวมทั้งมีการจัด
วางกราฟิกหรือเลย์เอาต์ที่ไม่เป็นมืออาชีพ ผิดไป

จากเลย์เอาต์ของสำนักข่าวจริง



8. มีโฆษณาสิ่งผิดกฎหมาย บนหน้าเว็บไซต์



สังเกตสิ่งผิดปกติในเนื้อหาข่าวหรือเว็บไซต์ เช่น
เมื่อคลิกเข้าไปดูในเว็บไซต์อาจมีโฆษณาของสิ่ง

ผิดกฎหมายปรากฏอยู่เต็มหน้าเว็บ



9. ดูจุดประสงค์ในการเผยแพร่ข่าว



ทำไมเราอยากแชร์? อ่านข่าวนี้แล้วเรารู้สึก
อย่างไร ผู้เขียนต้องการอะไร หรือมีเป้าหมายยัง
ไง เช่น ต้องการสร้างความตื่นตระหนก? หรือ
ให้ข่าวทำลายชื่อเสียง หรือมีจุดประสงค์อื่นๆ

แอบแฝงจากการให้ข่าวนี้


Click to View FlipBook Version