The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปแบบการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้(5E)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-10-03 01:51:25

รูปแบบการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้(5E)

รูปแบบการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้(5E)

รปู แบบการเรียนรูด้ ว้ ยกระบวน
การสบื เสาะหาความรู้ (5E)

รปู แบบการเรียนรดู้ ว้ ยกระบวน
การสืบเสาะหาความรู้ (5E)

คำนำ

หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาวิทยาการจัดการเรียนรู้ 1
รหัสวิชา 5002506 จัดทาข้ึนเพ่ือศึกษาหาความรู้ในเรื่องรูปแบบการ
เรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยเนื้อหาประกอบไปด้วย
ความหมาย แนวคิดพ้ืนฐาน ลักษณะสาคัญ วัตถุประสงค์ ข้ันตอนการ
จัดการสอน บทบาทของผู้สอน ผลท่ีเกิดข้ึนจากรูปแบบการสอน ข้อดีและ
ข้อจากัดของการเรียนรู้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) และ
แผนการจัดการเรยี นรู้เร่อื งอ่านและเขยี นคาท่มี ีอกั ษรนา (ห นา)

คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณอาจารย์ ดร.รัชกร ประสีระเตสัง
ท่ีคอยให้คาแนะนาในการจัดทาแผนการเรียนรู้และให้คาแนะนาการจัดทา
หนงั สอื เลม่ นี้

คณะผู้จัดทาหวังว่า หนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน นักเรียน
นักศึกษาหรือผู้ที่สนใจท่ีกาลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนาหรือมี
ข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา
ณ ทีน้ดี ้วย

คณะผูจ้ ดั ทา

สำรบัญ

เร่อื ง หนา้

คานา ก

สารบัญ ข

รปู แบบการเรยี นร้ดู ว้ ยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) 1

ความหมายรูปแบบการเรยี นรดู้ ว้ ยกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2

แนวคิดพน้ื ฐานรูปแบบการเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) 6

ลักษณะสาคัญของการเรียนรูร้ ปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 7

ขน้ั ตอนการจัดการสอนของการเรยี นรู้รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 9

บทบาทของผู้สอนในการเรียนรู้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 12

การใช้กระบวนการจัดการเรียนรสู้ บื เสาะหาความรู้ (5E) ให้ไดผ้ ลดีที่สุด 14

ความแตกตา่ งของการเรยี นรูแ้ บบ 5E กบั การเรยี นรูแ้ บบดง้ั เดมิ 15

ขอ้ ดแี ละขอ้ จากดั ของการเรียนรรู้ ปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 16

แผนการจดั การเรียนรู้รูปแบบการสอนกระบวนสบื เสาะหาความรู้ (5E) 19

สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ 26

บรรณานกุ รม 40

รูปแบบกำรเรียนรดู้ ว้ ยกระบวน

กำรสบื เสำะหำควำมรู้ (5E)

การจดั การเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้เป็นวิธีการจัดการสอนที่เน้นให้
ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเองมี ประสบการณ์ตรงในการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางความคิด ค้นพบความรู้
หรือ แนวทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางความคิด ค้นพบความรู้หรือ
แนวทางแก้ปัญหาได้เอง และสามารถนามาใช้ในชีวิตประจาวันได้ส่วนผู้สอน
เป็นเพียงผู้อานวยความสะดวก ซึ่งถือว่าเป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้
นาความรู้ 3 หลักการ แนวคิดหรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ไปเช่ือมโยงกับ
ประเด็นปัญหาท่ีผู้เรียนสนใจศึกษา ค้นคว้า และลงมือปฏิบัติ ด้วยตนเอง
ตามความสามารถและความถนัดของตนเองอย่างเป็นอิสระ ด้วยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์และกระบวนการวิจัย ที่มีการวางแผนไว้ก่อนล่วงหน้า โดยมี
ผู้สอนเป็นผู้คอยให้คาปรึกษาแนะนาแก่ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมาย
ที่ตั้งไว้ การดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนจะให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า
ทดลอง ระดมสมอง ศึกษาใบความรู้ อื่น ๆ ผู้สอนจะเป็นผู้คอยช่วยเหลือการ
ตรวจสอบความรู้ใหม่ ๆ ซ่ึงอาจกระทาได้ท้ังการตรวจสอบกันเองระหว่างกลุ่ม
หรือผู้สอนช่วยเหลือใน การตรวจสอบความรู้ใหม่ ๆ กิจกรรมการเรียนรู้แบบ
5E ข้ึนจะช่วยเสริมสร้างพลังความสามารถของผู้เรียนแต่ละคนให้เต็มขีด
ความสามารถ โดยประยุกต์ใช้หลักการเรียนรู้ด้วยตนเอง เน้นบรรยากาศใน
การเรยี นการสอน ให้ผเู้ รียนมอี ิสระใน การคิด ทุกคนมีโอกาสใช้ความคิดอย่าง
เต็มศกั ยภาพ

ควำมหมำยรปู แบบกำรเรยี นรู้ด้วย

กระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้ (5E)

ความหมายของการสืบเสาะหาความรู้ คาวา “Inquiry” ทีเกี่ยวข้อง
กบการจัดการเรียนรู้ นักการศึกษาได้ใช้ช่ือต่าง ๆ กันไป เช่น การสืบสอบ
การสืบสวนสอบสวน การสอบสวน การค้นพบ การแก้ปัญหา การสืบเสาะ
และการสืบเสาะหาความรู้ สาหรับการวิจัยคร้ังน้ี ผู้วจีดทาใช้คาว่า “การ
สืบเสาะหาความรู้” ส่วนในการจัดการ เรียนการสอนโดยเน้นการใช้
กระบวนการสบื เสาะหาความรนู้ น้ั การวจิ ัยครั้งน้ีใช้คาว่า “การจัดการเรียนรู้
รูปแบบการสอนกระบวนสืบเสาะหาความรู้ (5E) (inquiry-based
learning) ซึ่ง Budnitz (2003) ได้กล่าวว่า การสืบเสาะหาความรู้เป็น
แนวคดิ ทมี คี วามซบั ซอ้ นและมีความหมายแตกตา่ งกนั ไปตามบริบททีใช้และผู้
ทใี ห้คาจากดั ความ

กรมวิชาการ (2545) อธิบายว่า นักเรียนจะสร้างองค์ความรู้ด้วย
ตัวเองผ่านกิจกรรมการ สังเกต การต้ังคาถาม การวางแผนการทดลอง การ
สารวจตรวจสอบ กระบวนการแก้ปัญหา การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายและ
การสื่อสารความรู้เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ โดยกิจกรรมต่าง ๆ ต้องเน้นให้ ผู้เรียน
ได้คิดได้มีส่วนร่วมวางแผน ลงมือปฏิบัติ สืบค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล
ตรวจสอบ วิเคราะห์ ข้อมูล สร้างคาอธิบายเก่ียวกับข้อมูลทีได้เพ่ือนาไปสู่
คาตอบของปัญหาหรือคาถาม และในทีสุด นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้
นอกจากน้ี กิจกรรมต่าง ๆ ควรสนับสนุนให้นักเรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ซึงกัน
และกนั

การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที
เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ ให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการปฏิบัติกิจกรรม
การเรียนการสอนอยา่ งแท้จรงิ โดยวิธีใหน้ ักเรียนเป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้ด้วย
ตนเอง หรือสรา้ งความรู้ดว้ ยตนเอง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดย
ทคี รทู าหน้าทคี ล้ายผู้ช่วย คอยสนับสนุน ช้ีแนะ ช่วยเหลือ ตลอดจนแก้ปัญหา
ท่ีอาจเกิดขึ้นระหวางการเรียนการสอน และนักเรียนทาหน้าที่คล้ายผู้จัดวาง
แผนการเรียน มีความกระตือรือร้นที่ จะศึกษาหาความรู้โดยวิธีการ
เช่นเดียวกบั การทางานของนักวิทยาศาสตร์

ดังน้ัน การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (inquiry-based
learning) เป็นกระบวนการ จัดการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมการเรียนรู้ตลอดเวลา ให้โอกาสแก่นักเรียนได้ฝึกคิด ฝึกสังเกต ฝึก
นาเสนอ ฝึกวิเคราะห์วิจารณ์ ฝึกสร้างองค์ความรู้ เน้นการพัฒนา
ความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการฝึกให้นักเรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าหา
ความรู้ โดยครูต้ังคาถาม กระตุ้นให้นักเรียนใช้กระบวนการทางความคิด
หาเหตุผลจนค้นพบความรู้หรือแนวทางในการแก้ไขปัญหาท่ี ถูกต้องด้วย
ตนเอง สรุปเป็นหลักการเกณฑ์หรือวิธีการในการ แก้ปัญหาและสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการควบคุมปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือสร้าง
ส่ิงแวดล้อมในสภาพการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวางโดยมีครูเป็นผู้กากับ
ควบคุม ดาเนินการให้คาปรึกษาช้ีแนะ ช่วยเหลือ ให้กาลังใจ เป็นผู้กระตุ้น
ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นคิดรวมทง้ั รว่ มแลกเปลี่ยนเรียนรู้

จากแนวคิดดังกล่าว สรุปความหมายของการสืบเสาะหาความรู้ ไว้
ว่าเป็นเทคนิคหรือกลวิธี อย่างหน่ึงในการจัดการเรียนรู้วิชาษาไทย โดย
ให้นักเรียนเป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ กระตุ้นให้นักเรียนมีความอยากรู้อยากเห็นเสาะแสวงหา
ความรู้โดยการถามคาถาม และพยายามค้นหาคาตอบให้นักเรียนมีส่วน
ร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดเวลา ให้โอกาสแก่นักเรียนได้ฝึกคิด ฝึก
สังเกต ฝึกนาเสนอ ฝึกวเิ คราะห์วิจารณ์ ฝึกสร้างองค์ความรู้โดยที่ครูเป็น
ผู้กากับควบคุมดาเนินการให้คาปรึกษา เป็นผู้สนับสนุนชี้แนะ ช่วยเหลือ
ตลอดจนแก้ปัญหาท่อี าจเกิดขึ้นระหวางการเรยี นการสอน และให้กาลังใจ
เป็นผู้กระตุ้นส่งเสริมให้นักเรียนคิดและเรียนรู้ด้วยตนเอง รวมท้ังร่วม
แลกเปล่ยี นเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะความรู้ หมายถึง การจัดการเรียนรู้
ทีให้นักเรียนมีส่วน ร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดเวลา ให้โอกาสแก่
นักเรียนได้ฝึกคิด ฝึกสังเกต ฝึกนาเสนอ ฝึกสร้างองค์ความรู้ โดยมีครู
เป็นผู้กากับควบคุมดาเนินการให้คาปรึกษาชี้แนะ ช่วยเหลือ ให้กาลังใจ
เป็นผู้ กระตุ้น ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดและเรียนรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งร่วม
แลกเปลย่ี นเรียนรู้

รูปแบบการเรียนการสอน 5E เป็นการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนสร้าง
ค ว า ม รู้ ด้ ว ย ต น เ อ ง มี พื้ น ฐ า น ม า จ า ก ท ฤ ษ ฎี ค อ น ส ต รั ค ติ วิ ส ต์
(Constructivism) โดยมีรากฐานสาคัญมาจากทฤษฎีพัฒนาการทาง
สติปัญญาของเพียเจต์ (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
ซึ่งอธิบายว่า พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของบุคคลมีการปรับตัวทาง
กระบวนการ ดูดซึม (Assimilation) และกระบวนการปรับโครงสร้างทาง
ปัญญา (Accommodation) พัฒนาการเกิดขึ้นเม่ือบุคคลรับ และซึมทราบ
ขอ้ มลู หรือประสบการณเ์ ขา้ ไปสัมพันธ์กับความรู้หรือโครงสร้างทางปัญญาท่ีมีอยู่
เดิมหากไม่สามารถสัมพันธ์ กันได้จะเกิดภาวะไม่สมดุลข้ึน (Disequilibrium)
บุคคลจะพยายามปรับสภาพให้อยู่ในสภาวะสมดุล (Equilibrium) โดยใช้
กระบวนการปรบั โครงสร้างทางปัญญา

เพียเจต์ เช่ือว่า คนทุกคนจะมีพัฒนาเชาว์ปัญญาเป็นลาดับขั้นจากการมี
ปฏิสัมพันธ์และประสบการณ์กับส่ิงแวดล้อมตาม ธรรมชาติและประสบการณ์ที่
เก่ียวกับการคิดเชิงตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมทั้งการถ่ายทอดความรู้ทางสังคม
วฒุ ภิ าวะและกระบวนการพฒั นาความสมดุลของบุคคลนนั้

แนวคดิ พ้นื ฐำนรูปแบบกำรเรียนรู้ดว้ ย
กระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้ (5E)

สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ มีรากฐานมาจาก
ทฤษฎีของ Jean Piagat ท่ีกล่าวถึง พัฒนาการทางสมองของมนุษย์ไว้วา
ความคดิ ของมนษุ ย์ ประกอบด้วยโครงสรา้ ง 2 ประการ คือ

1. กระบวนการดูดซมึ (Assimulation) หมายถึง กระบวนการทอี ินทรยี ์
ซมึ ซาบประสบการณ์ใหมเ่ ขา้ ส่ปู ระสบการณ์เดิมทีเหมือนหรือคล้ายคลึงกัน
แลว้ สมองกร็ วบรวมปรับ เหตกุ ารณใ์ หมใ่ ห้เขา้ กบั โครงสร้างของความคิดอัน
เกดิ จากการเรยี นรูท้ มี่ อี ยเู่ ดมิ

2. กระบวนการปรับขยายโครงสร้าง (Accommodation) เป็น
กระบวนการทีต่อเน่ืองมาจาก กระบวนการดูดซึม คือ ภายหลังจากที่ซึม
ซาบของเหตุการณใ์ หมเ่ ขา้ มา และปรับเข้าสู่โครงสร้างเดิม แล้วถ้าปรากฏ
ว่าประสบการณ์ใหม่ ที่ได้รับการซึมซาบเข้ามาให้เข้ากับประสบการณ์
เดิมได้ สมองก็จะสร้างโครงสร้างใหม่ข้ึนมาเพ่ือปรับให้เข้ากับ
ประสบการณใ์ หม่นนั้

ลักษณะสำคัญของกำรเรียนรูร้ ปู แบบ
กำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ (5E)

คณะกรรมการพัฒนามาตรฐานการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะแห่ง
อเมริกา National Research Council ได้แนะนาลักษณะสาคัญของ
กิจกรรมการเรยี น การสอนแบบสืบเสาะหาความรไู้ ว้ 5 ประการ ดงั นี้

1. นกั เรียนต้งั คาถาม-ซักถาม คาถามที่นักเรียนเป็นผู้ริเร่ิมเป็นคาถาม
เกี่ยวข้อง กับเน้ือหาสาระสอดคล้องกับบทเรียนเสมอ และเป็นคาถามท่ีมี
ลักษณะที่เป็นเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific questions) ซึ่งนาไปสู่การสืบ
ค้นหาคาตอบที่เช่ือถือได้ ได้แก่คาถามประเภท ทาไม (why) และ อย่างไร
(how) ซ่ึงเป็นคาถามท่ีเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์เชิงหน้าที่หรือสาเหตุ
(causal/functional questions) ครูผู้สอนจึงต้องมีความรู้ความสามารถ
ในการช้นี าการวนิ จิ ฉัยคาถามตา่ งๆ ทีน่ ักเรียนถามใหเ้ ป็นคาถามท่ีมีประโยชน์
ไปสู่การสืบเสาะหาคาตอบ คาอธิบายได้ และให้มีความเหมาะสมกับระดับ
พัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียน จนกระท่ังนาไปสู่การลงมือปฏิบัติ
กจิ กรรมหาคาตอบได้

2. นักเรียนเก็บรวบรวมหลักฐาน เพื่อนาไปสู่การสร้างและประเมิน
คาอธิบาย หรือคาตอบของปัญหาอย่างสมเหตุสมผล เชื่อถือได้มีการใช้หลักฐาน
เชิงประจักษ์ (empirical evidence) สาหรับเป็นพื้นฐานในการอธิบายที่
เกี่ยวข้องกับปญั หาหรือคาถาม ทน่ี ักเรียนตัง้ ไว้

3. นักเรียนสร้างคาอธิบาย (explanation) ซึ่งได้จากการเก็บ
รวบรวมหลักฐานข้อมูลเพ่ือนาไปสู่การสร้างคาอธิบายหรือคาตอบของปัญหา
หรือคาถาม มากกว่าการเน้นการสร้างกฎเกณฑ์โดยสรุป คาอธิบายเป็นการ
เสนอความเข้าใจใหม่ท่ีเลยพ้นการมีความรู้อยู่ในขณะน้ัน คาอธิบายใด ๆ ต้อง
ถกู สร้างข้ึนมาจากการมีความรู้ หรือความเข้าใจทมี่ อี ยกู่ ่อนแล้วเสมอ

4. นักเรียนประเมินหรือตรวจสอบคาอธิบาย (cvaluation)
การประเมินอาจนา ไปสู่การปรับปรุงแก้ไข หรือยกเลิกคาอธิบาย ในการ
ประเมินนิยมใช้คาถาม ทาให้นักเรียนได้ตรวจสอบว่าคาอธิบาย ดังกล่าวทั้ง
คาอธิบายเดิมและดาอธิบายอ่ืนที่เสนอไว้จากหลักฐานท่ีเก็บรวบรวมมีความ
สอดคล้อง กับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในขณะนั้นมาก
นอ้ ยเท่าใด

5. นักเรียนรายงานคาอธิบายอย่างสมเหตุสมผล นักวิทยาศาสตร์
ต้องนาคาอธิบายที่สร้างได้มารายงานให้ผู้รู้ในแวดวงวิทยาศาสตร์รับทราบ
ในลักษณะท่ีคนอื่นสามารถ ตรวจสอบใได้โดยจะต้องมีความเชื่อมโยง
อย่างสมเหตุสมผลระหว่างคาถาม ปัญหา กระบวน การหลักฐานคาอธิบายที่
เสนอและการตรวจสอบคาอธิบายอื่น การรายงานคาอธิบายดังกล่าวทาให้ เกิด
การตรวจสอบ ทบทวนข้อสงสัยต่าง ๆ และเปิดโอกาสให้นักวิทยาศาสตร์คนอ่ืน
ได้ใช้คาอธิบายน้ี สาหรับคาถามปัญหาใหม่ต่อไป โดยเน้นให้นักเรียนเป็นผู้
ควบคมุ หรือนาตนเองในการทากจิ กรรมการดว้ ย

ข้นั ตอนกำรจัดกำรสอนของกำรเรียนร้รู ปู แบบ
กำรสอนแบบสืบเสำะหำควำมรู้ (5E)

1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ขั้นนี้เป็นของการนาเข้าสู่
บทเรียนหรือนาเข้าสู่เรื่องท่ีอยู่ในความสนใจที่เกิดจากข้อสงสัย โดยครูผู้สอน
จะต้องกระตุ้นใหน้ ักเรียนเกิดความสนใจใคร่รู้ เพ่อื นาเขา้ สบู่ ทเรียนหรือเน้ือหา
ใหม่ๆ ซ่ึงความสนใจใคร่รู้นั้น อาจมาจากความสนใจของนักเรียนเอง การ
อภิปรายกลุ่ม หรือจากการนาเสนอของครูผู้สอนก็ได้ แต่จะต้องเป็นเร่ืองที่
นักเรียนยอมรับโดยไม่มีการบังคับ หลังจากนั้น เมื่อได้ข้อคาถามท่ีน่าสนใจ
แล้ว ครูผู้สอนต้องกระตุ้นให้นักเรียนร่วมกัน กาหนดขอบเขตและแจกแจง
รายละเอียดของเรื่องท่ีจะศึกษาให้มีความชัดเจนมากย่ิงขึ้น โดยใช้การรับรู้จาก
ประสบการณ์เดิม รวมกับการศึกษาเพ่ิมเติมจากจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในประเด็นท่ีจะศึกษา และมีแนวทางในการสารวจ
ตรวจสอบมากยง่ิ ขึน้

2. ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) เมื่อทาความเข้าใจในประเด็น
หรือคาถามท่ีสนใจศึกษาอย่างถ่องแท้แล้ว ครูผู้สอนจะเปิดโอกาสให้นักเรียน
ดาเนินการศึกษาค้นคว้า โดยการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ได้มา
ซึ่งข้อมูลอย่างเพียงพอที่จะใช้ในขั้นต่อไป เช่น การสารวจ การสืบค้นจาก
เอกสารต่าง ๆ การทดลอง และการจาลองสถานการณ์ เป็นต้น เพ่ือตรวจสอบ
สมมตุ ิฐานและใหไ้ ดข้ ้อมูลอยา่ งเพียงพอทีจ่ ะนาไปใชใ้ นการอธิบายและสรุป

3. ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) เมื่อได้ข้อมูลอย่างเพียงพอ
แล้ว ครูผู้สอนจะต้องให้นักเรียนนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์และแปลผล เพื่อ
สรุปผลและนาเสนอผลท่ีได้ในรูปต่าง ๆ เช่น การบรรยายสรุป การสร้าง
แบบจาลอง การวาดภาพ หรอื การสรุปเป็นตารางหรือกราฟ ซ่ึงผลสรุปท่ีได้นั้น
จะตอ้ งสามารถอ้างองิ ความรู้ มีความสมเหตุสมผล และมีหลักฐานทเ่ี ช่ือถือได้

4. ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) เปน็ ขัน้ ของการนาความรู้ทีไ่ ดจ้ ากข้นั
ก่อนหน้าน้ี มาเชื่อมโยงกับความรู้เดิมหรือใช้อธิบายถึงสถานการณ์หรือ
เหตุการณ์เก่ียวข้อง โดยครูผู้สอนอาจจัดกิจกรรมและให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมนั้น ๆ เช่น ต้ังคาถามจากการศึกษาเพ่ือให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย
และแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม ซึ่งจะทาให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้เข้า
กบั ประสบการณ์หรือสถานการณ์ท่ีเกย่ี วข้องได้มากขน้ึ

5. ข้ันประเมิน (Evaluation) เป็นขั้นของการประเมินการ
เรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ เช่น การทาข้อสอบ การทารายงานสรุป
หรือการให้นักเรียนประเมินตัวเอง เป็นต้น เพ่ือตรวจสอบนักเรียนว่ามี
ความรู้ท่ีถูกต้องมากน้อยเพียงไรจากการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
ดังกล่าว ครูผู้สอนจะต้องเปิดโอกาสให้นักเรียน วิเคราะห์ วิจารณ์และ
คิดพิจารณาความรู้ท่ีได้ให้รอบคอบ โดยมีครูผู้สอนช่วยตรวจสอบและ
ปรับปรุงความรู้ท่ีนกั เรยี นไดร้ บั น้ันให้ถูกต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับ
ความรเู้ ดิมของนักเรียนมากยิ่งขึ้น และนานักเรียนไปสู่คาถามท่ีต้องการ
การสารวจตรวจสอบตอ่ ไปอยา่ งต่อเนือ่ ง

บทบำทของผสู้ อนในกำรเรยี นรรู้ ปู แบบ

กำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ (5E)

บทบาทผู้สอน เพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนแสดงบทบาทอย่างเต็มที
คุณครูควรเตรียมส่ือการเรียนการสอน และออกแบบกิจกรรมเพ่ือสร้าง
บรรยากาศแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และส่ิงท่ีคุณครูควรทาใน
5 ขั้นตอน ดังนี้

1. การสร้างความสนใจ (Engagement) โดยผู้สอนควรสร้าง
ความสนใจ สร้างความอยากรู้อยากเห็น มีการต้ัง คาถามกระตุ้นให้
ผู้เรียนคิดดึงเอาคาตอบท่ียังไม่ครอบคลุมสิ่งท่ีผู้เรียนรู้หรือแนวคิดหรือ
เนือ้ หา

2. การสารวจและค้นหา (Exploration) โดยผู้สอนส่งเสริมให้
ผู้เรียนทางานร่วมกันในการสารวจ ตรวจสอบ สังเกตและฟังการโต้ตอบ
กันระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ทาการซักถามเพ่ือนาไปสู่การสารวจ
ตรวจสอบของผู้เรียน และให้เวลาผู้เรียนในการคิดข้อสงสัยตลอดจน
ปญั หาตา่ ง ๆ และทาหนา้ ที่ให้คาปรกึ ษาแกผ่ ู้เรยี น

3. การอธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) โดยผู้สอนสง่ เสริมให้
ผู้เรียนอธิบายแนวคิดหรือให้คาจากัดความด้วยคาพูดของผู้เรียนเอง ให้
ผู้เรียนแสดงหลักฐานให้เหตุผลและอธิบายให้กระจ่าง ให้ผู้เรียนอธิบาย
ให้คาจากัดความ และช้ีบอกส่วนต่าง ๆ ในแผนภาพให้ผู้เรียนใช้
ประสบการณ์เดิมของตนเป็นพ้ืนฐานในการอธิบายแนวคิด

4. การขยายความรู้ (Elaboration) โดยผสู้ อนคาดหวังใหผ้ ูเ้ รยี นได้
ใช้ประโยชน์จากการช้ีบอก ส่วนประกอบต่าง ๆ ในแผนภาพคาจาความและ
อธิบายส่ิงที่เรียนรู้มาแล้ว ส่งเสริมให้ผู้เรียนนาสิ่งท่ีผู้เรียนได้เรียนรู้ไป
ประยุกต์ใช้หรือ ขยายความรู้และทักษะในสถานการณ์ใหม่ ให้ผู้เรียน
อธิบายอย่างมีความหมาย ให้ผู้เรียนอ้างอิงข้อมูลท่ีมีอยู่พร้อมทั้งแสดง
หลักฐานและถามคาถามผเู้ รยี นว่าได้เรียนรู้อะไรบา้ ง หรอื ไดแ้ นวคดิ อะไร

5. การประเมนิ ผล (Evaluation) โดยผูส้ อนสงั เกตผเู้ รียนในการนา
แนวคิดและทักษะใหม่ไปประยุกต์ใช้ประเมิน ความรู้และทักษะผู้เรียน หา
หลกั ฐานที่แสดงวา่ ผ้เู รยี นเปลีย่ นความคิดหรือพฤติกรรม ให้ผู้เรียนประเมิน
การเรียนรู้ และทักษะกระบวนการกลุ่ม ถามคาถามปลายเปิด เช่น ทาไม
ผเู้ รยี นจึงคิดเชน่ น้นั เพราะอะไร

สรปุ ไดว้ า่

บทบาทของครูในการจดั การเรียนรู้ดว้ ยวิธีสืบเสาะหาความรู้ ครูเปน็
ผู้สรา้ งสถานการณห์ รอื กาหนดปญั หาให้ คอยกระตนุ้ นกั เรียนใหม้ ีสว่ น
รว่ มในการทากิจกรรม เป็นผ้เู ตรยี มความพร้อมในการจดั กิจกรรม จดั หา
วัสดุอุปกรณ์เพ่ืออานวยความสะดวกในการศกึ ษาค้นควา้ เป็นผู้ถาม

คาถาม และควรใหค้ วามสนใจตอ่ คาถาม

กำรใช้กระบวนกำรจดั กำรเรยี นร้รู ูปแบบ
กำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ (5E) ให้ไดผ้ ลดีทส่ี ุด

Roger W. Bybee กล่าวว่า 5E model จะเกิดประสิทธิผลได้ดี
ทีส่ ดุ เม่อื

1. นามาใช้กับผู้เรียนที่เริ่มเรียนรู้แนวคิดหรือเร่ืองใหม่ใด ๆ เป็น
ครัง้ แรก เพราะผู้สอนมโี อกาสใชว้ งจรการเรียนรู้ได้เตม็ รูปแบบ

2. ให้การเรียนการสอนในแต่ละลาดับ (phase) เป็นพื้นฐานใน
การเรียนรู้เรื่องท่ีเก่ียวเน่ืองต่อไป การนา 5E มาใช้กับการเรียนการสอน
เรื่องใดเร่ืองหน่ึงที่ไม่มีส่วนต่อต่อยอด จะทาให้ 5E มีประสิทธผิ ลน้อยกว่า
ทคี่ วรเพราะผเู้ รยี นไมม่ โี อกาสได้พัฒนาแนวคิดและยังปิดก้ันความสามารถ
ในการเรยี นรู้ของผู้เรียนอีกด้วย

3. ไม่ควรใช้เวลาในแต่ละลาดับนานเกินไปเพราะ 5E เน้นการใช้
ผลสาเร็จของลาดับหนึ่งเป็นฐานสร้างการเรียนรู้ในลาดับถัดไป การจมอยู่
กับลาดับใดลาดับหน่ึงนานเกินไป ผู้เรียนอาจหมดความกระตือรือร้นหรือ
ลืมเรื่องทไ่ี ดป้ ไู วเ้ ป็นพ้นื ฐาน นอกจากน้ันความสนใจของเพ่ือนร่วมเรียนที่
ลดลงอาจส่งผลต่อการตั้งคาถามหรือได้คาตอบท่ีไม่ช่วยสร้างการเรียนรู้
หรอื แนวคดิ ใหม่

ควำมแตกต่ำงของกำรเรียนรูแ้ บบ 5E
กบั กำรเรียนรแู้ บบดง้ั เดมิ

แนวคิดการเรยี นรแู้ บบ 5E
1. กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีเน้นการฝึกกระบวนการเรียน ท่ีจะ
ทาให้ได้มาซึ่งองคค์ วามรู้
2. เน้นการเรียนท่ีให้ผู้เรียนเป็นผู้กระทา หรือปฏิบัติให้เกิดองค์
ความรูม้ ากกว่าเปน็ ผ้รู ับองค์ความรู้
3. มักมีความเช่ือว่าผู้สอนต้องรับผิดชอบ ให้ความสนใจติดตาม
รูปแบบวิธีการคิดและการเปลี่ยนแปลงการคิดของผู้เรียนในทุกขั้นตอนของ
การเรียนรู้

แนวคดิ การเรยี นรแู้ บบด้งั เดมิ
1. กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีเน้นการนาเสนอแนวคิด ความรู้
และขอ้ เท็จจรงิ ใหก้ บั นักเรียนเป็นหลกั
2. ขาดการมุ่งเน้นท่ีกระบวนการการเรียนรู้ และกระบวนการคิดท่ี
จาเป็นต่อการเรียนรู้
3. มักมีความเช่ือว่าความสามารถในการคิดเป็นสิ่งท่ีมีมาแต่กาเนิด
การให้เวลากับการคิดเป็นการเสียเวลา ดังนั้นควรมุ่งเน้นไปที่การให้เน้ือหา
สาระแกผ่ เู้ รียน

ขอ้ ดีและขอ้ จำกัดของกำรเรยี นรรู้ ปู แบบ

กำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ (5E)

การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เป็นวิธสี อนท่ีเหมาะกับวิชาวิทยาศาสตร์
โดยท่ีครูเป็นผู้เตรียมสภาพแวดล้อมจัดลาดับเน้ือหา แนะนาหรือช่วยให้
นักเรียนประเมินความก้าวหน้าของตนเอง ส่วนนักเรียนเป็นผู้เรียนภายใต้
เงื่อนไขของครู นักเรียนมีอิสระในการดาเนินการทดลองอย่างเต็มท่ี สรุปข้อดี
และข้อจากดั ของการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ไว้ ดังน้ี

ข้อดขี องการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้
1. นักเรียนมีโอกาสได้พัฒนาความคิดอย่างเต็มที่ ได้ศึกษาด้วยตนเองจึงมี
ความอยากร้อู ยู่ตลอดเวลา
2. นักเรียนมีโอกาสได้ฝึกความคิด และฝึกการกระทา ทาให้ได้เรียนรู้วิธี
จัดระบบความคิดและวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองทาให้ความรู้คงทน
และถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ กล่าวคือทาให้สามารถจดจาได้นานและนาไปใช้ใน
สถานการณใ์ หม่อีกดว้ ย
3. นักเรียนเป็นศนู ยก์ ลางของการเรยี นการสอน
4. นกั เรียนสามารถเรียนรู้มโนทัศน์และหลักการทางวิทยาศาสตร์ได้เรว็ ข้นึ
5. นักเรยี นจะเป็นผู้มเี จตคตทิ ด่ี ตี ่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์

สรุปได้ว่า ข้อดีของการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เป็นการ
สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาความคิดอย่างเป็นระบบ
โดยการสืบค้นข้อมูลและเสาะแสวงหาด้วยตนเองเพ่ือสามารถถ่ายโยงการ
เรียนรู้ ทาให้เกดิ เปน็ การจาแบบยั่งยนื

ข้อจากดั ของการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้
1. ในการสอนแตล่ ะครงั้ ตอ้ งใช้เวลาในการสอนมาก
2. ถ้าสถานการณ์ที่ครูสร้างขึ้นไม่ทาให้น่าสงสัยแปลกใจ จะทาให้
นักเรียนเบ่ือหน่าย ถ้าครูไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ในการสอนวิธีน้ีมุ่งควบคุม
พฤติกรรมของนักเรียนมากเกินไปจะทาให้นักเรียนไม่มีโอกาสได้สืบเสาะหา
ความรดู้ ้วยตนเอง
3. ในกรณีที่นักเรียนมีระดับสติปัญญาต่าและเนื้อหาค่อนข้างยาก
นกั เรียนอาจจะไมส่ ามารถศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองได้
4. นักเรียนบางคนท่ียังไม่เป็นผู้ใหญ่พอ ทาให้ขาดแรงจูงใจที่จะศึกษา
ปัญหาและนักเรียนท่ีต้องการแรงกระตุ้นเพ่ือให้เกิดความกระตือรือร้นในการ
เรียนมาก ๆ อาจจะพอตอบคาถามได้ แต่นักเรียนไม่ประสบความสาเร็จในการ
เรยี นดว้ ยวิธนี เี้ ทา่ ทีค่ วร
5. การใช้สอนแบบนี้อยู่เสมอ อาจทาให้ความสนใจของนักเรียนใน
การศกึ ษาค้นควา้ ลดลง

สรุปได้ว่า ข้อจากัดของการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ การ
เรียนการสอนแบบนี้ใช้เวลามากในการสอนแต่ละคร้ัง อาจจะทาให้ผู้เรียน
เบื่อ โดยเฉพาะผู้เรียนที่มีระดับสติปัญญาต่า จะทาให้ขาดแรงจูงใจในการสืบค้น
เนื้อหา ประกอบกับถ้าสถานการณ์ท่ีครูสร้างขึ้น ไม่ชวนสงสัยยิ่งจะทาให้ผู้เรียน
เบือ่ หน่ายบทเรยี น จะทาใหก้ ารสอนแบบนไี้ มไ่ ด้ผลเท่าท่ีควร

สรุป

การเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ข้ันตอนน้ัน นับว่าเป็นรูปแบบ
การเรียนรู้ท่ีดีที่สุดในการจัดการเรียนการสอน STEM เพราะจะนาพา
นักเรียนเข้าร่วมการสารวจ อธิบายอย่างละเอียดและประเมินผล เพ่ือให้
สามารถเชื่อมโยงกับกลยุทธ์การสอนท่ีแตกต่างกันได้ ช่วยให้ครู
วิทยาศาสตร์สามารถอานวยการสอนและสนับสนุนผู้เรียนในการดาเนิน
กิจกรรมได้หลากหลายมากข้ึน ซ่ึงเมื่อเทียบกับรูปแบบการสอนแบบดั้งเดิม
การเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนจะให้ประโยชน์มากกว่า
เกย่ี วกบั ความสามารถของนกั เรียนในการเรยี นรูท้ างวิทยาศาสตร์

การเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ข้ันตอน นับเป็นการเรียนการ
สอน ที่ให้ความสาคัญกับผู้เรียนหรือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีการจัดการ
เรียนรทู้ ีฝ่ กึ ให้ผู้เรยี นรูจ้ กั คน้ ควา้ หาความรู้โดยใช้กระบวนการทางความคิด
หาเหตุผล เพ่ือทาให้ค้นพบความรู้หรือแนวทางแก้ปัญหาท่ีถูกต้องด้วย
ตนเอง จงึ นับได้ว่าการเรียนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5 ข้ันตอนน้ัน เป็นการ
เรียนการสอนท่ีเน้นองค์ความรู้ทักษะ ความเช่ียวชาญและสมรรถนะท่ีเกิด
กับตัวผู้เรียน ซึ่งทาให้ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวิต
ทา่ มกลางการกระแสเปลยี่ นแปลงในยคุ ปจั จุบันได้

กำรเรยี นรูร้ ปู แบบกำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ (5E)

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ปู แบบการสอนกระบวนสืบเสาะหาความรู้ (5E)

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2

รายวิชาภาษาไทย รหสั วชิ า ท32101 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

หน่วยการเรยี นรู้ 13 ตะวันพัก จันทร์ผอ่ ง จานวนเวลาเรียน 14 ชวั่ โมง

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื ง อา่ นและเขยี นคาทมี่ ีอกั ษรนา ( ห นา) ใช้เวลา 2 ชัว่ โมง

1. สาระสาคญั
อกั ษรนา (ห นา) คือ คาที่มพี ยญั ชนะ 2 ตวั เรียงกันและรว่ มอยู่ในสระตัวเดียวกัน

พยัญชนะตัวแรก คือ ห นา และ อ นา ย จะออกเสียงร่วมสนทิ เป็นพยางคเ์ ดียว ส่วนเสยี ง
วรรณยุกตข์ องพยางคจ์ ะผนั วรรณยุกต์ตามเสียง ห หรอื อ นา

2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั
สาระที่ 1 การอา่ น
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิดไปใชต้ ดั สินใจ

แก้ปญั หาและสรา้ งวิสัยทศั นใ์ นการดาเนินชวี ติ และมนี ิสัยรกั การอ่าน
ตวั ชีว้ ดั ขอ้ 1 อ่านออกเสยี งคาคาคล้องจองและข้อความส้นั ๆ
ตัวช้วี ัดขอ้ 2 อธบิ ายความหมายของคาและขอ้ ความทีอ่ ่าน

สาระท่ี 2 การเขยี น
มาตรฐานท่ี 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี น เขยี นสอ่ื สาร เขยี นเรยี งความ ย่อ

ความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและ
รายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

ตวั ชี้วดั ข้อ 2 เขยี นคาได้ถกู ความหมาย

สาระท่ี 4 หลักการใช้ภาษา

มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษาภูมปิ ญั ญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้
เป็นสมบัตขิ องชาติ

ตวั ชี้วดั ข้อ 2 เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา

ตัวชวี้ ดั ข้อ 3 เรยี บเรียงคาเป็นประโยคไดต้ รงตามเจตนาของการสื่อสาร

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

3.1 บอกความหมายของคาอักษรนาได้ (K)
3.2 อ่านออกเสยี งคาทมี่ ี ห นา ไดถ้ กู ตอ้ ง (P)
3.3 เขยี นคาทีม่ ี ห นา ได้ถกู ต้อง (P)
3.4 มีมารยาทในการอ่านและการเขียน (A)

4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น
4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

5. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
5.1 ใฝ่เรียนรู้
5.2 ม่งุ มั่นในการทางาน
5.3 รักความเปน็ ไทย

6. สาระการเรยี นรู้
การอา่ นและเขียนท่มี อี ักษรนา (ห นา )

7. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
ช่ัวโมงที่ 1
ขนั้ ท่ี 1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement)

1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรยี นและสนทนาพูดคุยเรื่องทั่ว ๆ ไป
1.2 ครูแจง้ จุดประสงคข์ องการเรียนใหน้ ักเรยี นทราบวา่ จะเรียนเร่อื ง
การอ่านและเขยี นคาท่มี อี ักษรนา (ห นา )
1.3 ครูเปิดส่อื เกมคลกิ รูปภาพคาทีม่ ี ห นา ให้นักเรียนรว่ มกันเล่น
พร้อมอธิบายใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ และแจกใบความร้เู ร่ืองอักษร ห นา ใหก้ บั นักเรียน

ข้นั ท่ี 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration)
2.1 ครใู ชค้ าถามสอบถามนักเรียนว่า จากสอื่ เมือ่ สกั ครู่นอี้ กั ษรนามวี ่า

อะไรบา้ ง โดยครสู ุ่มเลอื กใหน้ กั เรยี นตอบ 3 - 4 คน เพอื่ ตอบคาถามในประเด็นนี้

2.2 ครูอธบิ ายเก่ียวกับความหมายและเนอ้ื หาของอักษรนาท่ีจะ
เรียนรใู้ นชัว่ โมงนี้

2.3 ครูเขยี นคาทม่ี ี ห นา บนกระดาน ให้นักเรยี นฝึกอา่ นสะกดคา
พร้อมกนั จนคล่อง และสังเกตวธิ ีการอ่าน

2.4 ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสนทนาเก่ียวกับวิธีการอา่ นสะกดคาทม่ี ี
ห นา จากตวั อย่างคาทน่ี กั เรียนได้อ่านบนกระดาน

2.5 ครูเขียนคาว่า หวง หวาน บนกระดาน ใหน้ ักเรียนร่วมแสดง
ความคิดเห็นว่า เปน็ คาทมี่ ี ห นา หรอื ไม่อย่างไร

2.6 ครูตดิ บัตรคาบนกระดาน แลว้ ใหน้ กั เรยี นอ่านออกเสยี งคาท่มี ี
ห นา พร้อมกนั ท้งั ชนั้ เรยี น

2.7 นกั เรยี นทากจิ กรรมท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การอ่านสะกดคาทีม่ ี หนา แล้ว
ชว่ ยกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

2.8 ครแู บง่ กลุม่ นักเรียนออกเปน็ กลมุ่ กลุ่มละ 4 - 5 คน ครูแจก
บทความส้นั ๆ และใบความรู้ ทีม่ คี าทม่ี ี ห นา ใหน้ กั เรยี นกล่มุ ละ 1 บทความ
นกั เรียนแต่ละกลุ่มหาคาทมี่ ี ห นา จากบทความท่คี รูแจก นามาประดษิ ฐเ์ ป็นชุดคาท่ี
มี ห นา และฝกึ อา่ นสะกดคา

ขั้นที่ 3 ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)

3.1 ครแู ละนักเรียร่วมกนั สรปุ ความรเู้ ก่ยี วกบั การอ่านและเขยี น
อกั ษร ห นา

3.2 ครมู อบมายใหน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ ทกั ษะที่ ๑ เปน็ รายบคุ คล
โดยให้นักเรยี นส่งท้ายช่วั โมง

3.3 ในขณะทีน่ กั เรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรมของนักเรียนแต่ละคน ให้
ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและคอยใหค้ าแนะนาแก่นักเรยี นทม่ี ีปญั หาหรือ
ขอ้ สงสยั

ขนั้ ท่ี 4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration)
4.1 ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายเพื่อให้เกดิ ความเชื่อโยง

ความรู้ ความเขา้ ใจและนาความรู้เรือ่ งการอ่านสะกดคาทมี่ ี ห นา ไปใชใ้ นการอา่ น
และเขยี นสะกดคาในการเรยี นสาระการเรยี นรู้อื่นและในชีวิตประจาวนั ได้อยา่ ง
ถูกตอ้ ง

4.2 สมาชิกแต่ละกลุ่มนาความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการศึกษาจากใบความรู้
มาอธบิ ายให้เพื่อน ๆ ในห้องเพ่ือจะไดอ้ ภิปรายความรรู้ ่วมกนั

4.3 ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปเรื่อง การอา่ นคาที่มี ห นา และ
จดบันทกึ ลงในสมุด

ข้นั ท่ี 5 ขนั้ ประเมนิ (Evaluation)
5.1 ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบฝกึ ทักษะที่ 2 เพอ่ื วัดความเข้าใจใน

เร่ืองอกั ษรนา

5.2 ในขณะปฏบิ ตั กิ ิจกรรมของนกั เรยี น ครูสังเกตและประเมิน
พฤตกิ รรมด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล

5.3 ครูตรวจแบบฝึกทกั ษะของนกั เรยี น แลว้ บันทึกคะแนน ลงใน
แบบบันทึกคะแนน โดยในการคดิ คะแนนใหน้ ักเรียนศกึ ษาหลกั เกณฑ์การให้
คะแนนให้เข้าใจ โดยครูแนะนาเพิ่มเติมสาหรับนกั เรยี นคนทย่ี งั ไมเ่ ขา้ ใจ

8. การวัดและประเมนิ ผล
วธิ กี ารวัด
1. สงั เกตการณ์ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่ม
2. ตรวจใบกิจกรรม

เครือ่ งมือ

1. แบบสังเกตการณป์ ฏบิ ตั ิกิจกรรมกลุ่ม

2. เกณฑก์ ารตรวจใบกจิ กรรม

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. นักเรยี นปฏิบัตกิ ิจกรรมกลุ่มผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับดขี ึ้นไป

2. นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลีย่ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 จงึ จะถอื ว่า
ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 80

9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้

9.1 เกมคลกิ รปู ภาพ
9.2 บตั รคา
9.3 บทความคาท่ีมีอักษร ห นา
9.4 ใบความรู้ เรือ่ งอกั ษร ห นา

10. บันทกึ ผลหลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
10.1 ผลการเรียน

..................................................................................................................
..................................................................................................................

10.2 ปัญหา/อปุ สรรค
..................................................................................................................
..................................................................................................................

10.3 แนวทางการแก้ไขปัญหา/อุปสรรค
..................................................................................................................
..................................................................................................................

ลงชื่อ............................................ผู้ออกแบบการเรยี นรู้

(.......................................)

............../.................../................

ส่อื /แหล่งกำรเรยี นรู้

เกมคลกิ รปู ภาพคาทม่ี ี ห นา

เกมคลกิ รปู ภาพคาทม่ี ี ห นา

ใบความรกู้ ารอา่ นคาทเ่ี ป็นอกั ษรนา

ใบความรกู้ ารอา่ นคาทเ่ี ป็นอกั ษรนา

บตั รคาทมี่ อี กั ษร ห นา

บทความทมี่ อี ักษร ห นา

บทความทมี่ อี ักษร ห นา

แบบฝึกทกั ษะที่ 1
หลกั การอา่ นและเขยี นคาทม่ี อี กั ษรนา

แบบฝึกทกั ษะที่ 2
หลกั การอา่ นและเขยี นคาทม่ี อี กั ษรนา











บรรณำนกุ รม

จรรยา โทะ๊ นาบตุ ร. รูปแบบการเรยี นด้วยกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบ 5E ใน
ศตวรรษท่ี 21. สืบค้น 26 กนั ยายน 2564. จาก https://www.krooban
nok.com/newsfile/p20486085.pdf.

ชยั ชนม์ หลกั ทอง. (2556). รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5E. สบื ค้น
25 กนั ยายน 2564. จาก https://sites.google.com/a/kkumail
.com/lesson-study-for-science/rup-baeb-kar-sxn-beab-sub-
sea-hakhwam-ru-5e.

ปิยนันท์ สวัสด์ศิ ฤงฆาร. (2563). 5E Instructional Model. สบื คน้
26 กันยายน 2564. จาก https://drpiyanan.com/2020/07/29/
5e-instructional-model/.

พัฒนนนั ท์ พันแกว้ . (2558). การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้. สืบคน้
25 กันยายน 2564. จากhttps://sites.google.com/site/karsub
seaahakhwamru/.

ภัทรยี า เจ๊ะหะ. (2554). ภทั รยี า-การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้. สบื ค้น
26 กันยายน 2564. จาก http://da-inquiry-cycles.Blogspot
.com/p/blog-page.html.

สมปอง เรืองสมสมัย. การจดั การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5E’s) ทมี่ ีตอ่
ความสามารถในการแกป้ ญั หาทางวทิ ยาศาสตร์ และผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
วชิ าวิทยาศาสตร.์ (วิทยานพิ นธป์ ริญญา ครุศาสตร์มหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัย
ราชภฏั ธนบุร,ี 2556) หน้า 8.

วิจารณ์ พานชิ . (2556). การสรา้ งการเรยี นรู้สศู่ ตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: ส. เจริญ
การพิมพ์.

อุไรวรรณ ปานีสงค์, จิต นวนแก้ว, สุมาลี เลีย่ มทอง. การจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้
กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5E) เสริมดว้ ยเทคนคิ การจดั แผนผงั มโนทศั น์.
(บณั ฑติ วทิ ยาลัย มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพบิ ูล
สงคราม, 2560) หนา้ 136

สาขาวชิ าภาษาไทย คณะครุศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ

จดั ทาโดย

นางสาวเกวลนิ มาลินทา รหัสนกั ศกึ ษา 631506104
นางสาวจตภุ ร กองแกน รหัสนักศกึ ษา 631506106
นางสาวชลธิชา แถวโนนงวิ้ รหสั นกั ศึกษา 631506107
นางสาวกาญจนา เกขุนทด รหัสนกั ศึกษา 631506202
นางสาวฐนิตา ทนนา้ รหสั นกั ศึกษา 631506208

นักศึกษาช้ันปีที่ 2

เสนอ

อาจารย์ ดร.รชั กร ประสรี ะเตสงั

รายวิชา วิทยาการจัดการเรยี นรู้ 1
รหสั วขิ า 5002506


Click to View FlipBook Version