The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัยในชั้นเรียน 64-1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sucharat ratchasarn, 2022-04-28 11:27:24

รายงานวิจัยในชั้นเรียน 64-1

รายงานวิจัยในชั้นเรียน 64-1

1

2

ชื่อเรือ่ ง การพัฒนาความสามารถในการเช่อื มโยงความคดิ (Apperception)

ช่อื ผวู้ ิจัย จากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) ตามแนวทางการสอนคดิ
สาระการเรยี นรู้ (Thinking Schools) โดยใชส้ ง่ิ แวดลอ้ มทางการเรียนร้บู นเครอื ข่าย รายวชิ า การ
ระยะเวลา ออกแบบผลิตภณั ฑ์ ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นโนนหนั วทิ ยายน
นางสาวสุชารัตน์ ราชสาร
วทิ ยาศาสตรร์ ะดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 จำนวน 16 คน
เดอื นมถิ ุนายน – กันยายน 2564 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564

บทคดั ย่อ

การศึกษาครง้ั น้ี มีวตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื การพัฒนาความสามารถในการเช่อื มโยงความคิด
(Apperception) จากการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning) ตามแนวทางการสอนคดิ
(Thinking Schools) โดยใช้สิ่งแวดลอ้ มทางการเรียนร้บู นเครือขา่ ย รายวิชา การออกแบบผลิตภัณฑ์
ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 โรงเรยี นโนนหันวิทยายน ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรยี นโนน
หันวทิ ยายน อำเภอชุมแพ จังหวดั ขอนแกน่ สงั กัดองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดขอนแกน่ จำนวน 14 คน
ซึง่ ได้มาจากการเลอื กแบบเจาะจง เนอ่ื งจากเป็นนกั เรยี นที่เรียนในรายวชิ าน้ี แบบแผนการวจิ ัย คอื One
Group Posttest Design เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการศึกษา ประกอบดว้ ย 1) คู่มือการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้
ส่ิงแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครอื ขา่ ย สำหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 จำนวน 1 เรื่อง 2) แบบ
ประเมินชิน้ งาน สถติ ิทีใ่ ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล คอื ค่าเฉลีย่ ( X ) และหาค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.)

ผลการวิจัยพบว่า จากการทดสอบของนักเรียนจำนวน 21 คน โดยคะแนนเต็มจาก การประเมิน
ช้นิ งานทเ่ี กดิ จากการเชอื่ มโยงความคิด 20 คะแนน มีนกั เรยี นจำนวน 14 คนได้คะแนนตง้ั แต่ 14 คะแนนข้ึนไป
โดยคิดเป็น ร้อยละ 100 ของนกั เรยี นทงั้ หมดมคี ะแนนคะแนนเฉล่ียคิดเป็น 17.36 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
เท่ากบั 2.50 ซง่ึ จะเห็นได้วา่ คะแนนเฉลยี่ ของการทดสอบหลงั เรียนผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 ตามท่กี ำหนดไว้

สารบญั 3

บทคดั ยอ่ หน้า
สารบญั
บทที่ 1 บทนำ ก
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กีย่ วข้อง ข
บทท่ี 3 วธิ ีดำเนนิ การศึกษา 1
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 5
บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 33
บรรณานุกรม 36
ภาคผนวก 38
40
41

1

บทที่ 1
บทนำ

1. ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา
การศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนามนุษย์ เพราะช่วยให้มนุษย์สามารถพฒั นาคณุ ภาพชีวติ

ของตนให้สามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข โลกในยุคโลกาภิวัตน์ที่มีความเจริญก้าวหน้าด้าน
เทคโนโลยี และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว ด้วยผลจากความเจริญก้าวหน้าของวทิ ยาการดา้ น
ต่าง ๆ จึงจำเป็นที่แต่ละประเทศต้องเรียนรู้ที่จะปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา
และเตรียมความพร้อมที่จะเผชิญกับความท้าทายของกระแสโลก โดยปัจจัยสำคัญที่จะเผชิญกบการ
เปล่ียนแปลงและความท้าทายดงั กล่าว ไดแ้ ก่ คุณภาพคน จงึ เนน้ การพฒั นาคนใหม้ ีศกั ยภาพที่จะแข่งขันใน
สังคมยุคโลกาภิวัตน์ โดยเน้นการเป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม มีการ
ดำเนินการอย่างตอ่ เนื่อง ในด้านแนวคิดทีย่ ึด “เด็กเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน” ให้ความสำคัญ
กับการพัฒนาที่สมดุลทั้งด้านตัวคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาคนให้มีคุณภาพ
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ “คน” เพ่ือให้เกดิ การพฒั นายัง่ ยืนอย่างแทจ้ รงิ ดงั นั้น การจัดการเรียนการสอน จึงเป็น
เรื่องที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง และต้องเป็นการศึกษาที่มีคุณภาพ เพื่อทำให้ศักยภาพที่มีอยู่ในตัวตนได้รบั
การพัฒนาอยา่ งเตม็ ที

การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกำหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจดั การเรียนร้โู ดยรว่ มกนั สร้าง
รูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นท่อี งค์
ความรู้ทักษะความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียนเพื่อใช้ในการดำรงชีวิตในสังคมแห่งความ
เปลี่ยนแปลงในปัจจุบันโดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพ่ือ
ทกั ษะแหง่ การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ทีม่ ีช่ือย่อ
ว่าเครือข่าย P21 ซึ่งได้พฒั นากรอบแนวคิดเพ่ือการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ทกั ษะ
เฉพาะดา้ นความชำนาญการ และความรู้เท่าทนั ด้านต่างๆเข้าด้วยกนั เพื่อความสำเรจ็ ของผู้เรียนทั้งด้านการ
ทำงานและการดำเนินชวี ิต

ในศตวรรษท่ี 21 การจัดการเรียนรูน้ ัน้ ต้องมีความสัมพันธม์ ีขัน้ ตอนและกระบวนการที่เป็นลำดับที่
ผู้เรียนสามารถมีส่วนร่วมกับการเรียนการสอนได้เช่นการกำหนดปัญหาที่ผู้เรียนสนใจการทำกิจกรรมกลุ่ม
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์และสามารถบูรณาการกับรายวิชาอื่นๆได้ด้วย ตนเองและการสอนที่ถือว่ามี
ประสทิ ธภิ าพนั้นครูต้องมีคุณสมบัตมิ ากกว่าการเป็นผู้ที่ทำหน้าที่สอน (Instructor) ครูต้องมีลักษณะของผู้ท่ี
สามารถชี้แนะการเรียนรู้ (Learning Coaching) และสามารถทำหน้าที่เป็นผู้นำนักเรียนท่องเที่ยวไปสู่โลก
แห่งการเรียนรไู้ ด้ (Learning Travel Agent) ซงึ่ บทบาทของครจู ากยคุ สมยั กอ่ นจำเป็นต้องมกี ารเปล่ียนแปลง
เม่ือกา้ วสยู่ ุคแห่งศตวรรษท่ี 21 เน่ืองจากครูในโลกยุคใหม่ต้องมีความรอบรู้มากกว่าการเป็นผู้ดูแลรายวิชาที่
สอนเทา่ น้ันแต่ครมู ีบทบาทของการเพ่มิ พนู ความรูแ้ ก่นักเรียนเสริมสรา้ งทักษะท่ีจำเป็นตอ่ การประกอบอาชีพ

การจดั การเรยี นการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ เปน็ การจัดการเรียนรู้แบบูรณาการองค์ความรู้ โดยมุ่งให้
ผู้เรียนเชื่อมโยงความรู้ ความคิด ทักษะและประสบการณ์ทีม่ ีความหลากหลายและสัมพนั ธ์กนั เป็นองค์รวม
เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนเห็นแจ้งรจู้ รงิ ในส่ิงที่ศกึ ษา สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ ได้สามารถสรา้ งช้ินงานได้อย่าง
สร้างสรรค์ และมีคุณค่าตลอดจนรู้เท่าทันโลกอินเตอรเ์ น็ต และมีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้อนิ เตอรเ์ น็ต

2

ปัญหาทีพ่ บจากการเรยี นการสอนท่ีผา่ นมาคอื นักเรยี นขาดกระบวนการคดิ ขาดทักษะการแสวงหาความรู้ ไม่
รจู้ ักใชป้ ระโยชนจ์ ากแหล่งเรียนรู้ ขาดทักษะในการวางแผน ทักษะการทำงาน ไม่สามารถเชอ่ื มโยงความรู้ไป
ใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้ด้วยตนเอง อีกทั้งขาดทักษะการสรุปความคิดรวบยอดซึ่งถือเป็นเป้าหมายหลักใน
การเรยี นทำใหก้ ารพัฒนาช้ินงานไมบ่ รรลุตามเปา้ หมาย

จากความสำคัญดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษาเก่ียวกบั วิธีสอนและนวัตกรรมทีจ่ ะสามารถนำมา
ช่วยพัฒนาความสามารถในการคิดเชื่อมโยงความรู้ให้กับนักเรียน ซึ่งวิธีการหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการ
แก้ปัญหาการเรียนการสอนคือวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุกด้วยการตั้งคำถามสำคัญ การเรียนแบบร่วมมือ
(Cooperative Learning) เป็นวิธีการที่เน้นให้ผู้เรียนช่วยเหลือกันในการเรียนรู้ โดยมีการจัดกิจกรรมที่ให้
ผูเ้ รยี นมกี ารพ่งึ พาอาศัยกนั มีการศึกษาหารอื กันอย่างใกลช้ ิด มปี ฏิสัมพนั ธ์ มีการทำงานร่วมกนั เป็นกลุ่ม มี
การวิเคราะห์กระบวนการของกลุม่ และมีการแบ่งหนา้ ที่รับผดิ ชอบร่วมกัน (ทิศนา แขมณี, 2545) และเปน็
การสอนที่เน้นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนให้แก่ผูเ้ รียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็กๆ แต่ละกลุ่มจะ
ประกอบด้วยสมาชิกที่มีความรคู้ วามสามารถแตกต่างกัน โดยท่ีแต่ละคนมสี ่วนรว่ มอยา่ งแท้จรงิ ในการเรียนรู้
คนที่เรียนเก่งจะช่วยเหลือคนที่อ่อนกว่า (วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2542) มีขั้นตอนกระบวนการจัดการเรยี น
การสอนที่ฝึกให้ผู้เรียนรู้จักกระบวนการคิด เรียนรู้ที่จะทำงานร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนขาดความ
รับผดิ ชอบและเปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นท่มี ีความสามารถทางการเรยี นที่ตา่ งกัน ได้ช่วยเหลอื ซึง่ กันและกันในการ
เรียน ทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนง่ายขึ้น เป็นการลดบทบาทของครู ซึ่งครูเป็นเพียงผู้
เตรียมกจิ กรรมการเรียนการสอนและเปน็ ผ้ใู ห้คำแนะนำในการเรียน โดยมงุ่ เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ

การเรยี นรู้เชิงรกุ ตามแนวทางการสอนคิด โดยมุง่ เนน้ การจัดการเรียนรู้สกู่ ารเป็นโรงเรยี นแห่งการคิด
หรือ Thinking School ไม่ตอ้ งการให้เดก็ เรยี นแบบทอ่ งจาํ แตเ่ ดก็ ควรจะตอ้ งรจู้ ักคิดและแกป้ ญั หาเป็นอย่าง
สร้างสรรค์ รวมทั้งมีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความต้องการของเด็กแต่ละคน เด็กมีความสุขในการ
เรยี น โดยมหี ลกั การสำคัญคือ(ศราวธุ สุตะวงศ,์ 2563)

1. ครูมบี ทบาทเป็นทัง้ ผูช้ ว่ ยเหลอื และผ้รู ว่ มงาน
2. นักเรียนทำงานเป็นทมี เคารพสทิ ธขิ องตนเองและผู้อน่ื รจู้ ักรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผ้อู ่นื
3. นกั เรียนรู้จักคดิ นอกกรอบ มีแนวคดิ เพมิ่ ที่หลากหลาย เพม่ิ พูนปัญญา ค้นพบตวั เอง
4. นักเรียนฝึกลองผิดลองถกู ในการแสดงความคิดเหน็ แลกเปลีย่ นในช้ันเรยี น
5. ครใู ชค้ ำถามในการเรียนการสอนกระตุ้นให้ผู้เรียนกล้าตอบคำถามตลอดเวลา
6. กระบวนการเรียนในช้นั เรียนเป็นขนั้ ตอนตามรปู แบบ Thinking Whiteboard
7. ครูใชเ้ ครอ่ื งมอื การคิด Thinking Tools ในขน้ั การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนสม่ำเสมอ

8. นักเรียนได้แสดงความคิดของตัวเองเป็นรายบุคคล และเห็นความสำคัญของการเรียนท่ีเน้น

ความเข้าใจมากกวา่ การทอ่ งหรือจำ
9. ฝึกคิดอย่างเป็นระบบ นำทักษะการคิดไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้สม่ำเสมอ และสามารรถคิดใน

ระดับสูงได้เป็นอยา่ งดี
10. นักเรียนสามารถแก้ไขปัญหาและตัดสินปัญหาได้อย่างมีเหตุมีผล ตลอดถึงใช้วิจารญาณ
ตดั สินใจได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนฐานข้อมูลท่รี อบด้าน
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด (Apperception) เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ท่ี
เกิดจากแรงกระตุ้นภายนอกหรือสิ่งแวดล้อม (neutral - passive) การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคลได้รับ

3

ประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง ๕ (sensation) และความรู้สึก(feeling) คือ การตีความหรือแปล
ความหมายจากการสมั ผัส การจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏนี ้ีจึงเน้นให้ผู้เรยี นได้รับประสบการณ์ผ่านทาง
ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ และสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างความรู้เดมิ กับความรู้ใหม่ซึง่ จะช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดความ
เข้าใจได้เปน็ อยา่ งดี

ดังที่ได้กล่าวมาแล้วจะเห็นไดว้ า่ ประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากการจัดการเรียนรู้เชิงรุกตามแนวทางการสอน
คิดซ่งึ มีมากมายหลายประการ สามารถใชใ้ นการพฒั นาความสามารถในการเชอ่ื มโยงความคิดของนักเรียนชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 โรงเรยี นโนนหนั วทิ ยายน

2. วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั

1. เพ่ือพฒั นาความสามารถในการเชือ่ มโยงความคิดจากการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู ชิงรกุ (Active
Learning) ตามแนวทางการสอนคดิ (Thinking Schools) โดยใชส้ ง่ิ แวดล้อมทางการเรยี นรู้บนเครือขา่ ย
รายวิชา การออกแบบผลิตภัณฑ์ ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นโนนหนั วิทยายน

2. เพ่ือศกึ ษาความคดิ เห็นของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ที่มตี ่อการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เชิงรกุ
(Active Learning) ตามแนวทางการสอนคดิ (Thinking Schools) โดยใช้สิง่ แวดล้อมทางการเรยี นร้บู น
เครอื ขา่ ย

3. นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ
สิ่งแวดล้อมทางการเรยี นรูบ้ นเครือข่าย หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสือ่ บนเครือข่าย ใช้

หลักการนำเสนอรูปแบบของบทเรียนในลกั ษณะสอ่ื หลายมติ ิ โดยนำองคป์ ระกอบและหลักการสำคญั ของทฤษฏี
คอนสตรัคตวิ ิสต์ ได้แก่

1. สถานการณป์ ญั หา (Problem Base)
2. แหลง่ เรยี นรู้ (Resource)
3. ฐานการช่วยคดิ (Scaffolding)
4. การโค้ช (Coaching)
5. การร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaboration)
ความสามารถเชื่อมโยงความคิด หมายถึง การเรียนรู้เกิดจากบุคคลได้รับแรงกระตุ้นจาก
ภายนอกหรอื ส่ิงแวดล้อม จนเกิดการตคี วามหรือแปลความหมายจากการสัมผสั สร้างความสัมพันธ์ระหวา่ ง
ความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ด้วยวิธีการเปรียบเทียบ ผสมผสานจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับปัญหาหรือ
สถานการณ์อื่น ๆ ต่อไป
4. วธิ ีดำเนนิ การ
1. ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง
ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
โนนหันวิทยายน อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่นสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนกั เรียน 14 คน

4

2. ตวั แปร ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้ามดี งั น้ี
2.1 ตัวแปรท่ศี กึ ษาคอื การจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning)

ตามแนวทางการสอนคิด (Thinking Schools) โดยใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรยี นรบู้ นเครือขา่ ย
2.2 ตัวแปรตาม คือ
1) ความสามารถในการเชอ่ื มโยงความคดิ
2) ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)

ตามแนวทางการสอนคิด (Thinking Schools) โดยใชส้ ง่ิ แวดล้อมทางการเรยี นรู้บนเครอื ข่าย

3. กรอบแนวคิดในการวจิ ัย
ผูว้ ิจยั ได้ศกึ ษาและกำหนดกรอบแนวคดิ ในการพฒั นาความสามารถในการเชือ่ มโยงความคดิ จากจัด
กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามแนวทางการสอนคิด (Thinking Schools) โดยใช้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายรายวิชา การออกแบบผลิตภัณฑ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนโนนหันวทิ ยายน ดังน้นั จงึ ต้องมีการออกแบบวางแผนการพฒั นาดังน้ี

1. สำรวจขอ้ มูลพนื้ ฐาน
2. ออกแบบการพฒั นา
3. ทดลองใช้
4. สรุปผลการพฒั นา

5. ประโยชน์ของการวจิ ยั
1. ทำให้ทราบผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามแนวทางการสอนคดิ

(Thinking Schools) โดยใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรยี นรูบ้ นเครอื ข่าย
2. ทำใหท้ ราบความพึงพอใจของนักเรียนระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่เี รยี นจากการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามแนวทางการสอนคิด (Thinking Schools) โดยใช้สิ่งแวดล้อม
ทางการเรยี นรู้บนเครือขา่ ยเพือ่ นำไปพัฒนาในบทเรยี นเรอ่ื งตอ่ ไป

5

บทท่ี 2
เอกสารและวรรณกรรมท่ีเกีย่ วขอ้ ง

ผวู้ จิ ยั ได้รวบรวมหลักการและทฤษฎีเกีย่ วกบั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งและการเรียนแบบรว่ มมอื โดยใช้เทคนคิ เพื่อนคู่คดิ ร่วมกบั เคร่อื งมอื การสอนคิด และเอกสาร
งานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง ผู้วิจัยได้แบ่งเป็นหวั ข้อดงั น้ี

1. การสอนเน้นกระบวนการคิด
2. ทฤษฎขี องกลุ่มท่เี น้นการรบั รแู้ ละการเชือ่ มโยงความคิด (Apperception)
3. สิ่งแวดล้อมทางการเรยี นรู้บนเครอื ขา่ ย

1. การสอนเนน้ กระบวนการคดิ

1. ความหมาย

ความหมายของคำว่า “คดิ ” ราชบัณฑติ ยสถาน พุทธศกั ราช 2542 (ราชบัณฑิต, 2546) อ้างใน ณรงค์
กาญจนะ (2553 : 1) วา่ หมายถึงทำให้ปรากฏเป็นรปู หรอื ประกอบใหเ้ ปน็ รูปหรือเปน็ เร่ืองขึน้ ในใจ ใครค่ รวญ
ไตร่ตรอง

เกรยี งศกั ดิ์ เจรญิ วงศศ์ กั ด์ิ (2548 : 63) กล่าวว่า การคิดคอื กจิ กรรมทางความคิดท่มี วี ตั ถุประสงค์
เฉพาะเจอะจง เรารูว้ ่ากำลงั คิดเพ่อื วตั ถุประสงคบ์ างอยา่ ง และสามรถควบคมุ ใหค้ ิดจนบรรลุเปา้ หมายได้
กล่าวคือ การคิดเปน็ การจัดการขอ้ มลู ที่สมองได้รบั ให้อยใู่ นรูปแบบเหมาะสม โดยแปลขอ้ มูลข่าวสารท่ีได้รบั สู่
รูปแบบใหม่ทีแ่ ตกต่างไปจากเดิม ซ่ึงในขณะใช้ความคดิ สมองจะนำเอาขอ้ มูล ความรู้ อารมณ์ และความ
ต้องการ เพื่อนำไปสู่เป้าหมายทไี่ ดว้ างไว้ในส่ิงท่ีปรารถนาจะได้รับ เช่น ตอบสนองตอ่ วตั ถุประสงค์ในการตอบ
คำถามหรอื การแกป้ ญั หา หรือชว่ ยนำไปสู่เป้าหมายทว่ี างไว้

ณรงค์ กาญจนะ (2553 : 2)สรปุ ความหมายของการคดิ วา่ การคิดหมายถงึ การทำใหป้ รากฏเปน็ รปู
หรือเปน็ เรื่องข้ึนในใจ

ดงั นั้นการคิดจึงเป็นกระบวนการทเ่ี กดิ ข้นึ ในสมองที่ใช้สัญลักษณห์ รือภาพแทนส่ิงของ เหตกุ ารณห์ รือ
สถานการณ์ต่าง ๆโดยมกี ารจดั ระบบความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสารซึง่ เป็นประสบการณเ์ ดมิ กับประสบการณใ์ หม่หรอื
ส่งิ เรา้ ใหม่ ท่ไี ปได้ ทงั้ ใน รูปแบบ ธรรมดาและสลับซบั ซ้อน ผลจากการจัดระบบสามารถ แสดงออกไดห้ ลาย
ลกั ษณะ เช่น การให้เหตุผลการแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ เพราะฉะนั้นการสอนแบบเนน้ กระบวนการคิดจงึ เปน็ ส่วน
สำคัญท่ีสามารถใหน้ กั เรยี นเรยี นรูค้ วามร้โู ดยผ่านกระบวนการคดิ ของตนเองเป็นสำคญั

2. วัตถปุ ระสงค์ของการสอนเนน้ กระบวนการคิด

ความนัยหน่ึงของการสอน คือ การพฒั นาทกั ษะกระบวนการของผูเ้ รียน หากคนเราถ้ารู้จักวธิ คี ิด
หรือคิดเปน็ ก็จะแก้ไขปญั หาหรอื ดำเนนิ ชวี ิตได้อย่างมคี ณุ คา่ มปี ระสิทธิภาพ โดยเฉพาะนักเรียนซง่ึ เปน็
เยาวชน เป็นกำลังของชาติ และเป็นกำลังสำคญั ในการพฒั นาประเทศตอ่ ไปในอนาคต ต้องได้รบั การฝึกฝนใน

6

การคิด จนกอ่ เปน็ ทกั ษะสำหรบั การศึกษาหาความรู้เพมิ่ เติม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถ
ประกอบอาชพี ในอนาคตได้

เฉลิม มลิลา (2526 : 152-153) อา้ งใน ณรงค์ กาญจนะ (2553 : 3-4) ความว่าวัตถุประสงค์ในการ
พฒั นาการคิดของนักเรียน มดี ังน้ี

1. มุง่ ใหน้ กั เรยี นรู้จักคิด และคดิ เป็น คิดอย่างมวี ิจารณญาณ (critical thinking)
2. มุ่งให้นกั เรยี นรู้จักฝกึ หัดใช้การพจิ ารณาสงั เกตเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ และ
ประสบการณเ์ บื้องต้น ซึ่งเปน็ องคป์ ระกอบพนื้ ฐานของการสร้างความเข้าใจข้อเท็จจรงิ และการกำหนดข้อ
สมมติฐาน ในขั้นต่อไป
3. มงุ่ ให้นักเรียนรจู้ ักวิธีการจำแนกองคป์ ระกอบทส่ี ำคัญ และรายละเอยี ดปลีกยอ่ ยทไ่ี มส่ ำคญั ของ
ขอ้ เท็จจริง ความรู้ และประสบการณซ์ ง่ึ นำไปสกู่ ารกำหนดความคิดไดอ้ ย่างถูกต้อง
4. มงุ่ ใหน้ กั เรียนรจู้ กั ความคดิ อยา่ งมีระบบในรูปของการสรา้ งความคิดรอบยอด หรือมโนทศั น์และ
หลกั การ
5. มงุ่ ใหน้ ัดเรียนรจู้ ักวิธีการ และฝกึ ตัดสนิ ใจอย่างมรี ะบบ โดยอาศัยแนวความคิด และหลกั การที่
ถกู ตอ้ งเหมาะสม
6. มุ่งใหน้ กั เรยี นมีความสารถแกป้ ัญหาที่สลบั ซับซ้อนโดยอาศยั หลกั การท่ีถกู ต้องเหมาะสม
7. ม่งุ ให้นักเรียนสามารถแสดงออกซง่ึ แนวความคดิ และหลกั การส่งิ ต่าง ๆ ทัง้ เป็นรูปธรรม และ
นามธรรมได้อยา่ งถกู ต้อง มเี หตุผล
8. มงุ่ ใหน้ ักเรยี นรวู้ ิธีการวิเคราะห์ข้อเท็จจริง เพือ่ สรุปแนวความคิดจำแนกความต่าง
9. ม่งุ ใหน้ กั เรียนรจู้ ักวธิ กี ารสังเคราะหข์ อ้ เทจ็ จรงิ เพอ่ื สรุปแนวความคดิ และหลกั การ
10. มุ่งใหน้ กั เรียนร้จู ักวธิ ีการประเมนิ คา่ ขอ้ เท็จจริง เพอ่ื สรุปแนวความคดิ และหลักการ
11. มงุ่ ให้นกั เรยี นฝึกหดั และมคี วามคิดสรา้ งสรรค์
12. มุง่ ให้นกั เรยี นฝกึ หดั และค้นพบประสบการณ์ดว้ ยตนเอง

ดังน้นั สามารถสรปุ ได้ว่า การพฒั นาความคิดของนักเรยี นนั้น มเี ป้าหมายหรือวัตถปุ ระสงคห์ ลาย
ประการทสี่ ำคญั ไดแ้ ก่ มงุ่ ให้นกั เรยี นรูจ้ ักคิด และคิดเป็น กลา่ วคอื นักเรยี นได้พฒั นาทกั ษะการคดิ อย่างมี
วจิ ารณญาณ คดิ แกป้ ญั หา คิดสร้างสรรค์ และรปู แบบการคดิ แบบอน่ื ๆ เพอื่ ใช้ในการตดั สินใจอยา่ งมีระบบ มี
ความถูกต้อง นำไปส่กู ารคน้ พบท่เี ปน็ ประโยชน์ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ทกั ษะกระบวนการคิดใหเ้ กิด
ประโยชนต์ อ่ กระบวนการเรียนรู้ ดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั และประกอบอาชพี ต่อไปในอนาคต

3. ประโยชนข์ องการสอนแบบเนน้ กระบวนการคิด
ณรงค์ กาญจน (2553 : 4-5) กล่าวถงึ ประโยชนข์ องการสอนเพ่อื การพัฒนากระบวนการคดิ

หรอื อีกนยั หนึ่งคอื การสอนเพือ่ การพฒั นากระบวนการคิด โดยแบง่ เป็น ประโยชนต์ ่อนักเรยี น และประโยชน์
ต่อครผู ู้สอน ดงั น้ี

ประโยชน์ตอ่ นกั เรยี น
1. นกั เรียนสามารถเรยี นรไู้ ด้ดขี ึน้
2. นักเรยี นสามารถแกป้ ัญหาของตนเองไดด้ ี
3. นกั เรียนสามารถคดิ ไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม กอ่ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเอง

7

4. นักเรยี นคดิ ได้อย่างเปน็ ระบบ เขา้ ใจและจำเน้อื หาอย่างเปน็ ระบบ ทำให้ความรคู้ งทน
และการเรียนเปน็ สิง่ ที่ไมน่ า่ เบอื่ อีกตอ่ ไป

ประโยชนต์ อ่ ครู
1. เมื่อนักเรยี นมที ักษะการคิด ครสู ามารถสอนได้งา่ ยขึน้ ใชเ้ วลานอ้ ยลงในการอธบิ ายให้
นักเรียนเข้าใจ
2. ทำให้บรรยากาศการเรยี นนา่ สนใจ ปัญหาด้านการจดั ชนั้ เรียนน้อยลง
3. เมื่อนักเรียนคดิ เปน็ แกป้ ัญหาเปน็ ปัญหาด้านพฤตกิ รรมนักเรยี นกจ็ ะมนี ้อยทำให้สอนได้
อยา่ งสนุก
4. ครเู หน่ือยน้อยลง ทำให้มีพลงั เหลือที่จะพฒั นาและออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอน
ใหด้ ขี ้ึนเร่ือย ๆ

2. ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชือ่ มโยงความคดิ (Apperception)
ทศิ นา แขมมณี (2553: 48-50) ไดร้ วบรวมทฤษฎีของกลมุ่ ทเ่ี นน้ การรับรู้และการเช่ือมโยง

ความคดิ ไว้ดังน้ี
1. ทฤษฎขี องกลมุ่ ทเ่ี น้นการรับรูแ้ ละการเชอ่ื มโยงความคดิ (Apperception

หรอื Herbartianism) นักคิดคนสำคญั ในกลมุ่ น้คี อื จอห์น ลอ็ ค (John Locke) วิลเฮลม์ วนุ ด์ (Wilhelm
Wundt) ทชิ ชเนอร์ (Titchener) และแฮร์บาร์ต (Herbart) ซง่ึ มีความเช่อื ดังนี้ (Bigge , 1964 : 33-47)

2. ความเช่อื เกีย่ วกับการเรียนรู้
1) มนษุ ยเ์ กดิ มาไม่มีความดีความเลวในตวั เอง การเรียนร้เู กิดได้จากแรงกระตุ้นภายนอก หรือ

ส่งิ แวดล้อม (neutral - passive)
2) จอห์น ล็อค เช่อื ว่าคนเราเกดิ มาพรอ้ มกบั จติ และสมองท่ีวา่ งเปล่า (tabula rasa) การ

เรียนรู้เกิดจากการท่บี ุคคลไดร้ ับประสบการณผ์ า่ นทางประสาทสัมผสั ทง้ั 5 การส่งเสริมใหบ้ คุ คลมี
ประสบการณม์ ากๆ ในหลายๆทาง จงึ เป็นการชว่ ยให้บคุ คลเกิดการเรยี นรู้

3) วนุ ด์ เชื่อวา่ จิตมีองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ การสัมผัสทงั้ 5 (sensation) และการรู้สึก
(feeling) คือการตีความหรือแปลความหมายจากการสมั ผสั

4) ทิชเชเนอรม์ ีความเหน็ เชน่ เดยี วกับวุนด์ แตไ่ ดเ้ พิม่ ส่วนประกอบของจติ อกี 1 สว่ น ได้แก่ จิต
นาการ (imagination)

5) แฮร์บาร์ต เชอ่ื ว่าการเรียนรูม้ ี 3 ระดบั คอื ขัน้ การเรียนรู้โดยประสาทสมั ผัส (sense
activity) ข้ันการจำความคิดเดมิ (memory charcterized) และข้นั การเกดิ ความคิดรวบยอดและความ
เขา้ ใจ (conceptual thinking or understanding) การเรยี นรเู้ กิดขนึ้ จากการทบ่ี ุคคลไดร้ บั ประสบการณ์
ผา่ นทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 และส่ังสมประสบการณ์ หรอื ความรูเ้ หล่านไ้ี ว้ การเรียนรู้นจ้ี ะขยายขอบเขต
ออกไปเรอื่ ยๆเมอ่ื บุคคลไดร้ ับประสบการณ์ความรู้เดิมเข้าดว้ ยกนั (appercetion)

6) แฮร์บารต์ เชื่อว่า การสอนควรเริ่มจากการทบทวนความรเู้ ดิมของผ้เู รยี นเสียกอ่ นแล้วจงึ เสนอ
ความรูใ้ หม่ ตอ่ ไปควรจะช่วยให้ผเู้ รียนสร้างความสัมพนั ธร์ ะหว่างความรูเ้ ดิมกบั ความรู้ใหม่ จนได้ข้อสรปุ ท่ี
ต้องการแล้วจึงให้ผู้เรียนนำข้อสรปุ ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้กบั ปัญหาหรอื สถานการณ์ใหม่

หลักการจัดการศึกษา/การสอน

8

1) การจัดให้ผู้เรยี นไดร้ บั ประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผสั ทั้ง 5 เป็นสิง่ จำเปน็ อย่างมากต่อ
การเรยี นรขู้ องผู้เรยี น

2) การช่วยใหผ้ ู้เรียนสร้างความสมั พันธ์ระหวา่ งความรูเ้ ดมิ กับความร้ใู หม่จะช่วยให้ผู้เรยี นเกิด
ความเข้าใจเปน็ อย่างดี

3) การสอนโดยดำเนนิ การตาม 5 ข้ันตอนของแฮรบ์ ารต์ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
และรวดเรว็ ขน้ั ตอนดังกล่าวคือ

3.1 ขัน้ เตรียมการหรือขั้นนำ (preparation) ได้แก่ การเรา้ ความสนใจของผู้เรียนและการ
ทบทวนความรูเ้ ดิม

3.2 ขัน้ เสนอ (presentation) ได้แก่ การเสนอความรใู้ หม่
3.3 ขัน้ การสมั พันธ์ความรูเ้ ดิมกบั ความรู้ใหม่ (comparison and abstraction) ไดแ้ ก่ การ
ขยายความรู้เดมิ ให้กว้างออกไป โดยสมั พนั ธค์ วามรเู้ ดิมใหก้ วา้ งออกไป โดยสัมพันธค์ วามรเู้ ดิมกบั ความรูใ้ หม่
ด้วยวิธีการตา่ งๆ เชน่ การเปรียบเทยี บ การผสมผสาน ฯลฯ ทำให้ไดข้ ้อเท็จจริงใหม่ที่สมั พันธ์กับ
ประสบการณ์เดมิ
3.4 ข้นั สรปุ (generalization) ได้แก่ การสรปุ การเรียนร้เู ป็นหลักการหรอื กฎต่างๆ ที่
สามารถจะนำไปประยกุ ต์ใช้กับปัญหาหรือสถานการณอ์ ่นื ๆต่อไป
3.5 ขน้ั ประยุกตใ์ ช้ (application) ไดแ้ ก่ การให้ผเู้ รยี นนำขอ้ สรปุ หรือการเรยี นรทู้ ่ไี ดไ้ ปใช้ใน
การแก้ปัญหาในสถานการณใ์ หม่ๆทไ่ี มเ่ หมอื นเดิม
สยมุ พร ศรมี งุ คณุ (https://www.gotoknow.org/posts/341272) ไดก้ ล่าวถงึ ทฤษฎขี องกลุ่มที่
เน้นการรบั รแู้ ละการเช่ือมโยงความคิด(Apperception)ไว้วา่ การเรยี นรเู้ กดิ จากแรงกระตนุ้ ภายนอกหรอื
ส่ิงแวดล้อม(neutral - passive) การเรยี นรเู้ กิดจากการทีบ่ คุ คลไดร้ บั ประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัส
ทงั้ 5 (sensation) และความรู้สกึ (feeling) คอื การตคี วามหรอื แปลความหมายจากการสมั ผัสการจัดการ
เรยี นการสอนตามทฤษฏีน้จี งึ เนน้ ให้ผเู้ รียนไดร้ ับประสบการณผ์ า่ นทางประสาทสัมผสั ท้ัง 5 และสรา้ ง
ความสมั พันธร์ ะหว่างความรเู้ ดมิ กับความรูใ้ หม่ซ่งึ จะช่วยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความเขา้ ใจได้เปน็ อย่างดี
เลิศชาย ปานมุข (http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic=
2874.0;wap2) ได้กลา่ วถึงทฤษฎขี องกลุม่ ทเี่ น้นการรับรู้และการเชือ่ มโยงความคดิ (Apperception)ไว้
วา่ การเรียนรเู้ กิดจากแรงกระตนุ้ ภายนอกหรือสง่ิ แวดลอ้ ม(neutral - passive) การเรยี นรเู้ กิดจากการท่ี
บุคคลได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทง้ั 5 (sensation) และความรู้สึก(feeling) คือ การตคี วาม
หรอื แปลความหมายจากการสมั ผัส

สรปุ
ทฤษฎีของกลมุ่ ทเ่ี นน้ การรบั รู้และการเชอ่ื มโยงความคิด (Apperception) เปน็ ทฤษฎกี ารเรียนรู้ท่ี

เกิดจากแรงกระตุ้นภายนอกหรือสงิ่ แวดลอ้ ม (neutral - passive) การเรยี นร้เู กดิ จากการที่บคุ คลได้รบั
ประสบการณผ์ า่ นทางประสาทสัมผสั ทั้ง 5 (sensation) และความรสู้ ึก(feeling) คอื การตคี วามหรือแปล
ความหมายจากการสัมผัส การจัดการเรยี นการสอนตามทฤษฏีนจ้ี งึ เน้นใหผ้ ้เู รยี นได้รับประสบการณ์ผ่านทาง
ประสาทสัมผสั ทั้ง 5 และสรา้ งความสมั พันธร์ ะหวา่ งความรเู้ ดิมกบั ความรูใ้ หมซ่ ่ึงจะช่วยใหผ้ ้เู รียนเกิดความ
เขา้ ใจได้เป็นอยา่ งดี

9

3. ส่งิ แวดล้อมทางการเรยี นรู้บทเครือข่าย
จากการศึกษาการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ พบว่า นักการศึกษาทางทฤษฎี

คอนสตรัคติวิสต์ ได้เสนอแนะวิธีการที่จะนำไปสู่ประโยชน์ทางการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้น โดยการนำเทคโนโลยี
การศึกษาเขา้ ประสานรว่ มกับหลกั การออกแบบการจัดการเรยี นรตู้ ามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์เพ่ือนำไปสู่
การเรียนรทู้ ่มี ีประสทิ ธิภาพดงั เชน่ รปู แบบที่จะนำเสนอดังต่อไปนี้

1. หลักการพนื้ ฐานในการออกแบบสิ่งแวดลอ้ มทางการเรียนรตู้ ามแนวคอนสตรัคตวิ ิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสตไ์ ด้นำหลกั การที่สำคัญของกลุม่ แนวคิด

Cognitive Constructivism และ Social Constructivism มาใชใ้ นการออกแบบดังมีองค์ประกอบ ทีส่ ำคัญ
ดงั น้ี

1) สถานการณป์ ัญหา(Problem Based)มาจากพ้นื ฐานของ Cognitive Constructivism
ของเพียเจต์ ที่เชื่อว่า ถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหา (Problem) ที่ก่อให้เกิดความ ขัดแย้งทางปัญญา
(Cognitive Conflict)หรือเรียกว่า เกิดการเสียสมดุลทางปัญญา ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทาง
ปญั ญาให้เข้าสู่ภาวะสมดลุ (Equilibrium) โดยการดดู ซึม (Assimilation) หรอื การปรบั เปลีย่ นโครงสรา้ งทาง
ปัญญาเข้าสู่สภาวะสมดุลหรือสามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ หรือเกิดการเรียนรู้นั่นเอง ใน
สิง่ แวดล้อมทางการเรียนรู้ที่สร้างข้นึ นน้ั สถานการณ์ปัญหาจะเปรียบเสมือนประตูท่ีผู้เรียนจะเข้าสู่เนื้อหาที่
จะเรียนรู้ โดยสถานการณ์ปัญหาที่สร้างขึ้นอาจจะมีหลายลักษณะ เช่น สถานการณ์ปัญหาเดียวที่
ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดที่เรียนสถานการณ์ปัญหาที่มีหลายระดับ สำหรับระดับมือใหม่ (Novice) ระดับ
ผู้เชี่ยวชาญ (Expert) หรอื แบง่ เป็นระดับงา่ ย ปานกลาง ยาก สถานการณ์ปัญหาท่มี หี ลายสภาพบริบท ท่ี
ผเู้ รียนเผชญิ ในสภาพจริง และสถานการณ์ปญั หาทเี่ ปน็ เรื่องราว (Story)

2) แหล่งเรียนรู้ (Resource) เป็นที่รวบรวมข้อมูล เนื้อหา สารสนเทศที่ผู้เรียนจะใช้ใน
การแก้สถานการณ์ปัญหาที่ผู้เรียนเผชิญ ซึ่งแหล่งเรียนรู้ในสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ นั้นไม่ใช่แหล่ง
รวบรวมเน้อื หาเทา่ นัน้ แตร่ วมถงึ ส่ิงตา่ งๆทีผ่ ู้เรยี นจะใช้ในการเสาะแสวงหาและคน้ พบคำตอบ (Discovery)
ลักษณะของแหลง่ เรยี นรู้ต่างๆ ไต้แก่ ธนาคารข้อมูล แหล่งที่เกี่ยวข้องในการสร้างความรู้ เช่น ชุมชน ภูมิ
ปัญญาทอ้ งถ่ิน เปน็ ตน้ เครือ่ งมือท่ชี ว่ ยในการสรา้ งความรู้ เชน่ อปุ กรณใ์ นการทดลอง เปน็ ตน้

3) ฐานการช่วยเหลือ (Scaffolding) มาจากแนวคิดของ Social Constructivism ของ
Lev Vygotsky ทีเ่ ช่อื ว่าถา้ ผู้เรยี นอยู่ต่าํ กวา่ Zone of Proximal Development ไมส่ ามารถเรียนร้ไู ด้ ด้วย
ตนเองได้ จำเป็นทีจ่ ะไดร้ ับการชว่ ยเหลอื ที่เรียกว่า Scaffolding ซึง่ ฐานความชว่ ยเหลือจะสนับสนุนผู้เรียน
ในการแก้ปัญหา หรือการเรียนรูใ้ นกรณีท่ีไมส่ ามารถปฏิบัติภารกิจ การเรียนรู้ให้ สำเร็จด้วยตนเองได้ โดย
ฐานความช่วยเหลืออาจเปน็ การแนะนำแนวทาง ตลอดจนกลยุทธ์ต่างๆ ในการแก้ปัญหาหรอื ปฏิบัติภารกจิ
การเรยี นรู้

10

4) การโค้ช (Coaching) มาจากพ้นื ฐาน Situated Cognition และ Situated Learning หลักการนี้
ไดก้ ลายมาเป็นแนวทางในการจัดการเรยี นตามแนวคอนสตรัคตวิ ิสต์ทไ่ี ด้เปล่ียนบทบาทของครูท่ีทำหน้าท่ีใน

การถ่ายทอดความรหู้ รือบอกความรู้ มาเป็น “การโค้ช” ท่ีให้ความช่วยเหลือการ ใหค้ ำแนะนำสำหรับผู้เรียน
จะเปน็ การฝกึ หัดผเู้ รียน โดยการใหค้ วามรแู้ ก่ผเู้ รยี นในเชงิ การให้การรูค้ ิดและการสรา้ งปัญญาซึ่งบทบาทของ

การโค้ชมเี ง่ือนไขทีส่ ำคญั ดังนี้
4.1) เรียนรู้ผู้อยู่ในความดูแลหรือผู้เรียน จากการสังเกตด้วยการฟังและการไต่ถามด้วย

ความเอาใจใส่

4.2) ควรสอบถามกระด้นความคิดของผู้เรียน โดยพยายามจัดสิ่งแวดลอ้ มทางการเรียนรู้ท่ี
กอ่ ใหเ้ กิดความขัดแย้งทางปัญญา

4.3) สร้างเส้นทางเปน็ เชงิ การสืบสวนอย่างมคี วามหมายต่อผเู้ รียนและ พยายามสนับสนุน
ให้ผูเ้ รยี นสร้างเส้นทางอยา่ งมเี หตุผลและมีความหมายไปส่ผู ฝู้ ึกสอน

4.4) ยอมรับในสติปัญญาผู้เรียนและพยายามช่วยแก้ไข ปรับปรุงเพื่อให้ ผู้เรียนมีความ

เขา้ ใจในการเลือกเสน้ ทางการตดั สนิ ใจหรือเลือกวธิ กี ารทจี่ ะปฏบิ ตั ติ อ่ ไป

5) การร่วมมือกนั แกป้ ญั หา (Collaboration) เปน็ อีกองคป์ ระกอบหนง่ึ ท่มี ีส่วน สนบั สนุนให้ผู้เรียน

ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผูอ้ ่ืนเพ่ือขยายมนมองให้แก่ตนเอง การร่วมมือกนั แกป้ ัญหาจะสนับสนุนให้

ผู้เรียนเกิดการคิดไตร่ตรอง (Reflective Thinking) เป็นแหล่งที่เปิดโอกาสให้ทั้งผู้เรียนและผู้สอน

ผเู้ ชย่ี วชาญ ได้สนทนาแสดงความคิดเห็นของตนเองกับผู้อ่ืน นอกจากนี้การ รว่ มมือกนั แก้ปัญหายังเป็นส่วน

สำคัญในการขยายแนวคิด ปรับเปลี่ยนและป้องกนั การเข้าใจทีค่ ลาดเคล่ือน (Misconception) ที่จะเกิดขน้ึ

ในขณะท่เี รยี นรู้

2. หลักการของสิ่งแวดลอ้ มทางการเรียนรู้แบบเปิด (Open Learning Environments OLEs)

หลักการนี้เป็นรูปแบบหน่งึ ในการจดั สง่ิ แวดลอ้ มทางการเรยี นรตู้ ามแนว คอนสตรัค

ติวิสต์ ซึ่งออกแบบและพัฒนาโดย Michael Hannafin เป็นทฤษฎีที่เน้นเกี่ยวกับการคิดแบบอเนกนัย

(Divergent Thinking) ซึ่งเป็นความสามารถทางสติปัญญาของมนษุ ย์ที่จะตอบสนองต่อสิง่ เร้า โดยสามารถ

แสดงออกได้หลายแบบ และหลายวิธี และแนวคิดที่หลากหลาย (Multiple Perspective) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่

เหมาะสมกับการเรียนรู้ที่เป็นการแก้ปัญหา โดยเฉพาะเป็นปัญหาที่มีโครงสร้างซับซ้อน (Hannafin,1999)

ทฤษฎนี ้จี ะช่วยสง่ เสรมิ การเรียนรู้ดา้ นต่าง ๆ คือ การสืบเสาะความรู้ของแต่ละบุคคล การคิดแบบอเนกนัย

และแนวคดิ ท่ีหลากหลาย การกำกับติดตามตนเองโดยใช้ Metacognition การเรียนรโู้ ดยผา่ นประสบการณ์

ของแต่ละบุคคล ประสบการณ์ตรงและประสบการณ์เชิงรูปธรรมที่เกี่ยวข้องกับความเป็นจริง ปัญหาท่ี

เกี่ยวข้อง และการจัดหาเครื่องมือแหล่งทรัพยากรที่จะช่วยส่งเสริม ให้เกิดความพยายามในการเรียนเของ

ผู้เรียน หลักการสำคัญของการจดั สิง่ แวดลอ้ มทางการเรียนรู้แบบเปิดประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ประการ

ได้แก่

11

1) การเขา้ สูบ่ ริบทเปน็ พาหนะท่ีเหมาะสมซ่ึงแต่ละคนจะไดร้ ับคำแนะนำทีเ่ ป็น ความต้องการ
หรอื ปญั หา และการอธิบายแนวคดิ การเข้าสู่บรบิ ทจะแนะแนวผูเ้ รยี นเกี่ยวกับการร้จู ำ (Recognition) หรือ
การสร้างปัญหาทีก่ ำหนดให้และการสร้างกรอบความต้องการในการเรียนรู้ ซึ่งมี รูปแบบพ้นื ฐาน 3 ประการ
ได้แก่ Externally Imposed, Externally Induced, Individually Generated

1.1) Externally imposed (บริบทการเรียกร้องจากภายนอก) จะช่วยให้เกิด ความ
กระจ่างเกี่ยวกับผลลัพธท์ ี่คาดหวัง เกี่ยวกับความพยายามของผู้เรียน และมีการแนะแนวทางอย่าง ชัดเจน
เกี่ยวกับการเลือกและการใช้กลยุทธ์ Externally Imposed มักจะถูกนำเสนอในรูปของปัญหาที่เหมาะสม
หรือคำถามที่มีการจัดเรียบเรียง สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้ผู้เรียนในการอ้างอิง หรือเชื่อมโยงไปยัง ลักษณะท่ี
เก่ียวข้องกบั ประสบการณ์ของตนเอง

การเข้าสู่บริบทแบบ Externally imposed ได้มีการศึกษาและรายงานผล กันอย่าง
มากมาย เช่น เรื่อง Great Sola System Reseue’s (1992) เป็นการนำเข้าสู่บริบทที่จัดให้ผู้เรียน โดย
กำหนดบทบาทสมมติให้ผู้เรียนเป็นนักธรณีวิทยา ซึ่งยานอวกาศไต้ถูกทำลายอยู่บนดาวเคราะห์ ดวงหนึ่ง
ผเู้ รยี นไดร้ บั เงือ่ นของปญั หา ท่ีทา้ ทายให้ผู้เรียนตดั สินว่าการแตกรา้ วของดาวเคราะหอ์ ยู่จดุ ใด ซง่ึ เปน็ ภารกิจ
ที่ผู้เรียนต้องแก้ปัญหาให้ได้ การเข้าสู่บริบท Externally Imposed และทักษะที่ ต้องการให้เกิดก็จะถูก
นำไปใช้

1.2) Externally Induced จะแนะนำผู้เรียนในส่วนที่สำคัญ แต่จะไม่ระบุที่อยู่ ปัญหา
ที่เจาะจง สว่ นที่สำคญั ของ Externally Induced คอื การเผชญิ กับปญั หาจำนวนมากหรือประเดน็ ท่ีสามารถ
สร้างหรือการศึกษาที่ผู้เรียนพึงพอใจ Bransford และคณะ (Cognition and Technology Group
Vanderbilt ,1992) ไดอ้ อกแบบวีดิทศั น์แบบเรอื่ งส้นั ในเรือ่ ง The Jasper Woodbury Problem Solving
Series สถานการณ์นั้นเป็นการแนะนำในปัญหาเดียวหรือหลายๆปัญหาที่ปรากฏบริบทของ Externally
Induced จะแนะนำกรอบของเหตผุ ลเกยี่ วกบั กรอบของปัญหาหรือประเด็นซงึ่ จะชกั ชวนใหผ้ ู้เรยี นมีส่วนร่วม
ผู้เรียนจะตีความเกีย่ วกับบริบทอย่างมีความหมาย สร้างปัญหาย่อย ๆ และกำหนดกลยุทธ์ ซึ่งจะขึ้นอยู่กบั
การตีความหมายของแต่ละบุคคลเกี่ยวกับการนำเขา้ สู่บรบิ ท (Enabling Contexts) Jacobson, Sugimoto
และ Archodiou’s (1996) ทำการศึกษาเรื่อง Thematic Investigator Employed Specific Case of
Evolutionary Biology (ตัวอย่าง,the peppered mount, rabbits in Australia) เพื่อที่จะจัดหาบริบทท่ี
หลากหลายสำหรับการเรยี นเรื่องที่ซับซ้อนใน Darwinian ทางเลือกของบริบทจะชักจูงผูเ้ รียนในการคดิ ทีม่ ี
ความแตกต่างกัน (Think differently) เกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีความซับช้อนและ
เป็นโครงสร้างที่มีความสัมพันธ์สลับซับซ้อน เช่น ความหลากหลายของประชากรและการคัดเลือกโดย
ธรรมชาติ ตัวอย่างนี้ ผู้เรียนจะได้รับแนวคิด และบริบทที่เป็นทางเลือกที่จะช่วยกระตุ้นความรู้เดิมท่ี
เกี่ยวข้อง ประสบการณ์ที่มีมาก่อนและทักษะที่เกี่ยวข้องกับปัญหาซึ่งช่วยผู้เรียนในการสร้างกลยุทธ์ที่มี

12

ศักยภาพ
1.3) Individually-generated เป็นการเข้าสู่บริบทที่ผู้เรียนแต่ละคนสร้างขึ้น เองซ่ึง

เป็นบริบทท่ีลักษณะเฉพาะที่ไม่สามารถออกแบบมาล่วงหน้าได้ ผู้เรียนด้องสร้างการเข้าสู่บริบทบนพื้นฐาน
ความด้องการและกรณีแวดล้อมมาเป็นหน่วยรวม ดังตัวอย่าง เกษตรกับการกำหนดวิธีการ และการ
บำรุงรักษาให้ผักมีความเจริญเติบโต ซึ่งจำเป็นต้องมีความเข้าใจในหลายๆส่วน เช่น พื้นที่ เพาะปลูก (ปุ๋ย
เครื่องมือทางการเกษตร นอกจากนี้แล้วยังต้องคำนึงถึงค่าใช้จ่าย และผลิตที่ได้ ตลอดจน การบริหาร
จัดการธุรกิจอีกด้วย เพื่อแก้ปัญหาลดปัญหาความเสียหายเกี่ยวกับผลผลิต ในกรณีนี้การเข้าสู่บริบทแบบ
Individually-generated ผู้เรียนต้องกำหนดกรอบการเข้าสู่บริบทตามความต้องการในการเรียนเกี่ยวกับ
บริบทการชักชวน ซ่งึ ต้องสร้างบริบททีส่ ัมพันธ์กับองคค์ วามรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในกรอบปญั หาและ
ประเด็นตา่ งๆท่ีนำไปสกู่ ารแนะกลยุทธใ์ นการแกป้ ัญหา

2) แหล่งทรพั ยากร (Resources)
แหล่งทรัพยากรเป็นแหล่งรวมวัสดุต่าง ๆ ที่จะช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ แหล่งทรัพยากร

เป็นได้ตั้งแต่สื่ออิเล็กทรอนิคส์ (เช่น ฐานข้อมูล คอมพิวเตอร์แบบการสอน และ วีดิทัศน์) จนกระทั่ง ส่ือ
สิ่งพมิ พ์ (เชน่ หนังสือ ตำรา แหล่งขอ้ มลู ทัว่ ไป บทความในวารสาร) รวมถงึ บุคคล (เชน่ ผเู้ ชย่ี วชาญ พ่อแม่
ครู และกลมุ่ เพ่อื น) ส่ือบนเครือข่ายเป็นท่ีรวบรวมแหล่งทรพั ยากรท่หี ลากหลายและแพร่หลายมากท่ีสุด และ
สามารถชว่ ยให้เข้าถงึ ข้อมลู ไดก้ ็จรงิ แต่สมรรถนะทเ่ี กยี่ วข้องกับแหลง่ ทรัพยากรทห่ี ามาได้ค่อนข้างที่จะยาก
สำหรับแต่ละคนในการด้นหา (Hill, Hannafin, 1997) ขณะทส่ี ื่อบนเครอื ข่ายบรรจุแหล่งของเน้ือหาจำนวน
เป็นล้านๆ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับศักยภาพของสื่อบนเครือข่าย การใช้สื่อบนเครือข่ายเป็นแหล่งทรัพยากร
สำหรับ OLEs มีข้อจำกัดเกี่ยวกับการให้เนื้อหาที่ชัดเจน ยากต่อการเข้าถึงแหล่งเนื้อหาหรือยากต่อการใช้
งานหรือท้งั สองอย่างการใช้แหล่งทรพั ยากรถกู กำหนดโดยความเก่ยี วเนอ่ื งของการเชา้ สู่บริบทและระดับการ
เข้าถึงแหล่งทรัพยากรของผู้เรียน ส่วนที่มีความเกี่ยวขอ้ งอย่างมากของแหล่งทรัพยากร คือ เป้าหมายการ
เรยี นรขู้ องแต่ละคนและความสามารถในการเชา้ สูแ่ หลง่ ทรพั ยากรย่งิ มีมากเท่าใด ก็ยง่ิ ทำให้มกี ารใช้เพ่ิมมาก
ขึน้ OLEs ทำการขยายลกั ษณะการใช้งานแหลง่ ทรัพยากรท่ีหาได้ ซ่งึ ช่วยในการจัดแหลง่ ข้อมูล ซ่ึงสำรองไว้
เป็นพิเศษ ในการเข้าสู่ข้อมูลอย่างกว้างขวางโดยอาศัยเครื่องมือ (Applications) ของ OLEs ในบางกรณี
แหล่งทรัพยากรที่หาได้ อาจเป็นสิ่งที่สนับสนุนเพิ่มเติม หรือขยายด้วยแหล่งทรัพยากรใหม่บนพื้นฐานที่
เหมาะสมกบั แหลง่ วัสดุเนอ้ื หาที่ใหไ้ ว้ในการเข้าสู่บริบทของ OLEs อาจกลา่ วงา่ ยๆไดว้ ่า แหลง่ ทรัพยากรอาจ
เปน็ ไดท้ ้ัง แหลง่ ที่คงที่ (Static) หรือแหลง่ ท่เี ป็นพลวตั ร (Dynamic) แม้วา่ การเพิม่ ข้ึนของแหล่งทรัพยากรที่
มีความเป็นดิจิตอล จะสะท้อนคณุ สมบัตขิ องท้ังแหล่งทค่ี งทแ่ี ละแหลง่ ทเี่ ป็นพลวัตร

2.1) แหล่งทรัพยากรทค่ี งที่ (Static Resources)

13

แหล่งทรัพยากรที่คงที่มักจะเป็นแหล่งของสารสนเทศที่เนื้อหาที่ใช้ ไม่ค่อยมี
ความเปลี่ยนแปลง แหล่งทรัพยากรที่คงที่จะบรรจุสารสนเทศ ซึ่งมีเสถียรภาพอย่างมากในทุกช่วงเวลา
อกี ทงั้ เป็นเนื้อหาทไี่ มเ่ ปลย่ี นแปลงอยา่ งเช่น รปู ภาพถา่ ยทางประวตั ิศาสตร์ เปน็ ต้น บางแหล่งทรัพยากร
สามารถจัดหาได้โดยผ่านเทคโนโลยี และไม่สามารถปรับเปล่ียนเนือ้ หาได้ เช่น เนื้อหาสาระ ต่างๆใน CD-
ROM ตำรา มัลติมีเดีย หนังสือ และสารานุกรมอิเล็กทรอนคิ ส์ ตัวอย่างเช่น ฐานข้อมูล ของ The Visible
Human (National Library of Medicine, 1996) จะบรรจภุ าพสไลด์ทีม่ ีความละเอียด กราฟกิ ภาพยนตร์
ดิจิตอล เกี่ยวกับสรีระของร่างกายเป็นจำนวนหนึ่งพันชุด ซึ่งสามารถนำมาใช้ตาม หลักวิชาได้อย่าง
กว้างขวาง เช่นเดียวกันกับฐานข้อมูลของ NASA และที่ห้องสมุดแหง่ ชาติของสภานติ ิบัญญัติอเมริกา การ
แปลความหมายและการทำความเข้าใจของผเู้ รยี นทม่ี กี ารพัฒนาขึน้ นนั้ อาจจะมีการพจิ ารณาได้จากการเข้า
ไปศึกษาที่แหล่งข้อมูลเหล่านี้อย่างซํ้าแล้วซํ้าอีก แต่เป็นเนื้อหาสาระของแหล่งทรัพยากรนี้ยังคงไม่
เปล่ียนแปลง

2.2) แหล่งทรพั ยากรทเ่ี ปน็ เปน็ พลวตั ร (Dynamic resources)
เป็นแหล่งทรัพยากรที่มีการเปลี่ยนแปลง (Dynamic resources) ตาม ช่วงเวลา

และการเข้าสู่ข้อมูลใหม่ๆ สิ่งเหล่านี้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าสู่แหล่งทรัพยากรเดิมแต่ได้ ผลลัพธ์ที่แตกต่าง
ตัวอย่างที่เป็นแหล่งทรัพยากรที่เป็นพลวัตร (dynamic resources) เช่น ฐานข้อมูล วิชาภูมิศาสตร์ที่สร้าง
โดยกรมอุตุนิยม ซึ่งสร้างมาจากฐานข้อมูลทางสภาพภูมิอากาศ ที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องและ
ตลอดเวลา ซ่งึ ฐานขอ้ มูลเหล่านจี้ ะขึ้นอยู่กับความตอ้ งการ

ตัวอย่างของ The Human Body (Iiyoshi and Hannafin, 1996) ที่จัดท้ัง
แหล่งทรัพยากรที่คงที่และแหล่งทรัพยากรที่เป็นพลวัตร ซึ่งประกอบด้วย Multimedia Object ท่ี
หลากหลาย รวมทั้งข้อความต่างๆ เสยี งบรรยาย ภาพเคลือ่ นไหว ภาพยนตร์ดิจิตอล และแหลง่ กราฟกิ แต่
ละแหล่งสามารถเข้าถึงได้โดยอิสระ และเชื่อมต่อกับแหล่งต่างๆตามความประสงค์ของผู้เรียน นอกจากน้ี
ข้อมูลสารสนเทศต่างๆที่ต้องการให้เปลี่ยนแปลง หรือข้อสังเกตต่างๆ หรือสารสนเทศที่ต้องการให้ขยาย
เพิ่มข้ึน สามารถเสนอแนะ หรือแนบเข้าไปกับแหล่งทรัพยากรนี้ได้แหล่งทรัพยากรก็ยงั คงอยู่แบบเดิม แต่
การทำงานท่ีเปน็ พลวตั รสามารถทีจ่ ะดำเนนิ ต่อไปอยา่ งต่อเน่ืองเมื่อผู้เรียนเพิ่มสารสนเทศที่เก่ียวข้องเขา้ มา
หรือปรับปรุงแก้ไข และตอบสนองกับความต้องการของผู้เรียน Honebeinn (1996) Lab design project
ผู้เรียนสามารถเข้ามาสู่ศูนย์วิจัยทางชีววิทยาเข้าไปสู่ห้องปฏิบัติการที่ต้องการ ค้นหารายละเอียดของ
เคร่อื งมอื การทดลองท่ีตอ้ งการ งานวจิ ัยทเี่ กยี่ วข้อง แหล่งทรัพยากรอาจมลี ักษณะท่ีคงท่ี แต่ในทางปฏิบัติ
สามารถทีจ่ ะเอ้ือต่อการจัดคำถามการวิจัยตลอดจนชี้แนะให้ผู้เรียนสร้างการเชือ่ มต่อระหว่างแหล่งต่างๆ อีก
ทัง้ เสนอแนวทางการพิสูจนไ์ ปสู่คำตอบของปญั หานั้นๆ

3) เครอื่ งมอื (Tool)

14

เครื่องมอื เป็นสิ่งท่ีจัดเปน็ สือ่ กลางหรอื วธิ กี าร ซึ่งทำใหผ้ ู้เรียนเกิดความใส่ใจ และลงมือกระทำ
กับแหล่งการเรียนรู้และแนวคิดของตนเอง อย่างไรก็ตามองค์ประกอบของเครื่องมือจะแบ่งตามการเข้าสู่
บริบทของ OLEs และเจตนาของผู้ใช้ ซึ่งเครือ่ งมือทางเทคโนโลยชี นดิ เดียวกัน สามารถที่จะสนับสนนุ การ
ทำงานที่แตกต่างกัน เครื่องมือไม่ใช่สิ่งที่จะสนับสนุนกิจกรรมทางพุทธิปัญญาหรือทักษะ แต่อาจเป็น
ตัวกลางซึ่งจะสนับสนุนเพิ่มพูนหรือขยายการคิด เครื่องมือเป็นสิ่งที่จัดพาหะสำหรับการนำเสนอและจัด
กระทำกบั ความคิดรวบยอดหรือแนวความคิดท่ีซับซ้อนที่เปน็ นามธรรม ในรูปแบบที่สามารถสัมผัสหรือเป็น
รูปธรรม ตัวอย่างของเครื่องมือที่ใช้ใน OLEs ได้แก่1) เครื่องมือกระบวนการ (Processing Tool) ซึ่งช่วย
สนับสนนุ การทำงานทมี่ ีการเชอื่ มโยงกับรูปแบบการประมวลสารสนเทศในกระบวนการรู้คิดของมนุษย์ เช่น
เครื่องมือช่วยค้นหา เครื่องมือสำหรับเก็บรวบรวม เครื่องมือจัดหมวดหมู่ 2) เครื่องมือที่ใช้จัดกระทำ
(Manipulation Tool) เป็นเครื่องมือที่ใช้ทดสอบความตรง (Validity) การอธิบายเกี่ยวกับความเชื่อหรือ
ทฤษฎีท่มี ีมากอ่ น และ 3) เคร่อื งมอื ส่อื สาร (Communication Tool) ทเ่ี ปน็ สือ่ กลางการแลกเปลยี่ นแนวคิด
ระหว่างผู้เรยี น ครูและผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งจะช่วยสนับสนนุ การทำงานที่มกี ารเชื่อมโยงกบั รูปแบบการประมวล
สารสนเทศในกระบวนการร้คู ดิ ของมนษุ ย์

4) ฐานการช่วยเหลอื (Scaffolding)
ฐานการช่วยเหลือเป็นกระบวนการซึ่งความพยายามในการเรียนรู้จะได้รับการสนับสนุนใน

ขณะที่เข้าสู่ OLEs ฐานความช่วยเหลือสามารถที่จะแยกความแตกต่างโดยกลไกการทำงานและระบบการ
ทำงานทางด้านกลไกจะเน้นวธิ กี ารหรือหลักการ ซง่ึ ฐานความช่วยเหลือนำเสนอในขณะทร่ี ะบบการทำงาน
จะเนน้ วตั ถปุ ระสงคแ์ ตล่ ะคนพยายามแกป้ ญั หาทั้งท่ีเป็นปญั หาทีเ่ หมาะสม หรอื ความต้องการในการเรียนรู้
ของแต่ละคน ความซับซ้อนของ Scaffolding จะแปรผันตามการกำหนดหรือสร้างปัญหา และความ
ตอ้ งการของการสรา้ งการเข้าสู่บรบิ ท วธิ กี ารของ Scaffolding สามารถทจี่ ะเช่ือมโยงกับขอบขา่ ยภายใต้ส่ิง
ที่ศึกษาเมื่อการเข้าสู่บริบทเป็นสิ่งที่แต่ละบุคคลจะสร้างขึ้น Scaffolding ที่มีลักษณะทั่วไปจะได้รับการ
นำเสนอ OLEs Scaffolding อาจจะไม่ได้เลือนจางไปในฐานะที่ประสบผลสำเร็จในการเอื้ออำนวย ในการ
Externally Impose หรือ Induced ซงึ่ ผู้เรยี นสามารถให้เหตุผลในส่งิ ท่พี วกเขาสร้างข้ึนมาไต้ ในกรณีที่ใช้
เป็นรายบุคคล ซึ่งโดยธรรมชาติของการใช้และความต้องการของผู้เรียน ไม่สามารถสร้างไว้ล่วงหน้าได้
Scaffolding แบบเดิมยังคงจัดหาให้ได้ แต่ว่าการใช้ Scaffoldingพบว่ามีความถ่ีการใช้น้อยลงเมื่อผู้เรียน
ไดร้ ับความสะดวกเพมิ่ ขึ้น

4.1) ฐานความช่วยเหลือการสร้างความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding) จะ
ถูกจดั หามาใหผ้ ู้เรยี น เม่ือปญั หาท่ีกำลงั ศกึ ษาไต้ถูกกำหนดขึ้น น่นั ก็คอื Externally Impose หรือการนำเข้า
ส่บู ริบท เมอ่ื ปัญหาและขอบขา่ ยถูกกำหนดขึ้นนน้ั อาจเป็นไปไดท้ ี่ตอ้ งใช้ หลกั การที่ต้องเรียนมากอ่ น และ
จำเป็นต้องรู้ในขอบข่ายเนื้อหาที่ต้องการศึกษา ดังนั้น Conceptual Scaffolding จึงเป็นสิ่งที่ออกแบบมา

15

เพื่อช่วยผู้เรียนในการให้เหตุผล และแนะแนวผู้เรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ควรจะนำมาพิจารณา นั่นคือจะต้อง
จำแนกความรทู้ ี่เปน็ ความคิดรวบยอดทส่ี ำคัญทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ปญั หาหรือการสรา้ งโครงสร้างที่จะแยกไปสู่การ
จดั หมวดหมขู่ องความคดิ รวบยอด โครงสรา้ งนี้ อาจเป็นการจัดลำดบั ความสมั พันธ์ โดยใชภ้ าพกราฟกิ แสดง
ความคิดเห็น หรือการแสดงเปน็ เค้าโครงของลักษณะที่แยกเป็นสว่ นย่อย หรืออาจเป็นสารสนเทศหรือการ
บอกใบโ้ ดยผเู้ ช่ยี วชาญ ใน OLEs Conceptual Scaffolding จะจดั เตรียมแนวคิดท่หี ลากหลายท่ีเป็นปัญหา
ที่เกี่ยวข้องกับความคิดรวบยอดที่จะศึกษา อาจไม่ได้เป็นการแนะนำเกี่ยวกับแหล่งทรัพยากรอย่างชัดเจน
แต่เป็นการนำเสนอตัวอย่างของสง่ิ ทีค่ วรจะต้องพิจารณาเกี่ยวกับการแกป้ ญั หาดังกล่าว

4.2) ฐานความช่วยเหลอื เก่ียวกบั การรคู้ ดิ (Meta cognitive Scaffolding)
เป็นฐานการชว่ ยเหลือทส่ี นับสนนุ เกยี่ วกบั กระบวนการทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการจัดการเกีย่ วกบั การเรียนรู้ของแต่ละ
คน ฐานน้ีจะจดั การแนะแนวสงิ่ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับวธิ กี ารคิดในระหว่างการเรียนรู้ Meta cognitive Scaffolding
สามารถทีจ่ ะเป็นไดท้ ้ังลกั ษณะเฉพาะ (Domain Specific)เช่น การเข้าส่บู รบิ ททเี่ ป็นการ แนะนำ (Induced)
หรืออาจเป็นการเข้าสู่บริบทที่ไม่เคยรูจ้ ักมาก่อน ซึ่ง Lin (1995) ได้กล่าวว่า สิ่งแวดล้อมของการบูรณาการ
ความรู้ (Knowledge Integration Environments) (KIE) เป็นตัวอย่างที่มีการจัดการสนับสนุนของ Meta
cognition (คือการรู้เกี่ยวกับการรู้คิดของตนเอง) ซึ่งสนับสนุนใน รูปแบบของการเสนอแนะจากภายนอก
(Externally Induced) ที่เป็นสถานการณ์ท่ีเป็นปัญหาที่ผู้เรียน พยายามที่จะสร้างโมเดลของปรากฎการณ์
ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการของการสบื เสาะที่เป็นฐาน ของการช่วยเหลือ จะช่วยผู้เรียนในการพิจารณา
เก่ยี วกับวธิ กี ารที่จะต้องร้เู กย่ี วกับการรเิ รมิ่ เปรียบเทียบและปรับปรุง เกี่ยวกบั ความรทู้ ่ีกำลังเรยี น

Meta cognitive Scaffolding อาจเป็นการกระตุ้นเตือนให้ผู้เรียนสะท้อน
เป้าหมาย หรือบอกให้เชื่อมโยงไปสูแ่ หล่งทรพั ยากรทมี่ ี หรือเคร่อื งมอื ท่ชี ่วยเมื่อได้ทราบบริบทจัดกระทำกับ
ปญั หาหรอื ความจำเปน็ ในทางปฏิบตั ขิ องปัญหา ดังเชน่ โครงการ KIE ทวี่ า่ แสงจะเดนิ ทางได้ไกลเท่าไร และ
ความชว่ ยเหลือในการสืบเสาะสามารถออกแบบมาเพอ่ื ท่ีจะเปน็ วธิ ีการท่ีเฉพาะท่ีเกย่ี วข้องกับปัญหาที่ศึกษา
(ตัวอย่างเช่น คุณจะต้องใช้เวลาเพิ่มมากขึน้ น้อยลง จำนวนเท่ากับที่จะสามารถมองเห็นจากเทียนไขหรือ
การสะท้องแสงที่แสดงจากทะเลสาบอีกฟากหนึ่ง) ในทางตรงข้าม ฐานความช่วยเหลือที่เกี่ยวกับการสร้าง
โมเดล ผา่ นรปู แบบของภารกิจท่แี สดงปรากฎการณ์ต่างท่ีมีองค์ประกอบท่แี ตกต่าง จากตัวอยา่ งท่ีกล่าวมาใน
กรณขี ้างต้น Metacognitive Scaffolding จะเนน้ ในกระบวนการสร้างโมเดล รวมถึงค้นหาวธิ กี ารเช่ือมโยง
โมเดลกับความรู้เติมทีม่ ีมาก่อนและประสบการณ์ เชื่อมโยงรูปแบบของการทำความเขา้ ใจ และกระต้นุ ให้
ผู้เรยี นลงมอื กระทำกบั แนวคิดผา่ นเครอื่ งมือ

4.3) ฐานความช่วยเหลือกระบวนการ ( Procedural Scaffolding) เป็น วิธีการใช้
แหล่งทรัพยากรท่มี ีและเครือ่ งมอื จะเกี่ยวขอ้ งกับลักษณะของระบบและการทำงาน นอกจากนยี้ ังช่วยแนะนำ
ผู้เรียนในขณะเรียนรู้ ตัวอย่างเช่น ผู้เรียนไม่ไต้รับการปฐมนิเทศเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมทางก ารเรียนรู้

16

Procedural Scaffolding จะช่วยจัดหาส่วนที่เสนอแนะวิธีการกลับมายัง ตำแหน่งที่ต้องการ วิธีการที่จะ
ระบตุ ำแหน่งของแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศท่ีตอ้ งการ รวมถงึ การใช้ เครอื่ งมือทจี่ ดั ไวใ้ ห้

4.4) ฐานการช่วยเหลือดา้ นกลยุทธ์ (Strategic Scaffolding) เป็นวิธีการที่
เน้นเกี่ยวกับวิธีการที่เป็นทางเลือก ที่อาจเป็นส่ิงท่ีพิสูจน์ว่าเป็นส่ิงท่ีมีประโยชน์ Strategic Scaffolding จะ
สนับสนุนการคิดวิเคราะห์ การวางแผนยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ การตัดสินใจระหว่างการเรียนรู้แบบเปิด จะ
เนน้ เกี่ยวกับวธิ กี ารสำหรบั ระบุและเลือกสารสนเทศที่ตอ้ งการ ประเมนิ แหล่งทรพั ยากรท่จี ดั หาได้ และเช่ือม
ความเกยี่ วพันระหวา่ งความรู้ทีม่ มี าก่อนและประสบการณ์ กลยุทธ์อน่ื ๆ ของ Strategic Scaffolding จะไป
กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นตื่นตวั กับเครื่องมือและแหล่งทรพั ยากรท่ีอาจจะมีประโยชน์ภายใต้สถานการณ์น้ันและแนะ
แนวทางการใช้ อาจเป็นการจัดข้อคำถามที่จะช่วยในการพิจารณาในขณะที่ทำการประเมินปัญหา
เช่นเดียวกับการบอกใบ้ว่าเคร่ืองมือหรือแหลง่ ทรัพยากรใดมีสารสนเทศท่ตี อ้ งการในการแกป้ ัญหา

จากการศึกษาหลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบเปิด (Open Learning
Environments ะ OLEs) จะพบว่า จดุ เดน่ ของ OLEs คอื การเน้นเก่ียวกบั การคิดแบบอเนกนยั (Divergent
Thinking) ซึ่งเป็นความสามารถทางสติปญั ญาของมนุษย์ที่จะตอบสนองตอ่ สิง่ เร้า โดย สามารถแสดงออกได้
หลายแบบ และหลายวธิ ี และแนวคดิ ทีห่ ลากหลาย (Multiple Perspective) ซ่งึ เหมาะสมกบั การเรียนรู้ที่
เปน็ การแก้ปัญหา โดยเฉพาะเปน็ ปัญหาทม่ี ีโครงสร้างซับซอ้ น ซงึ่ ช่วยส่งเสรมิ การเรียนรูด้ ้านตา่ งๆ เช่น การ
สืบเสาะความรู้ของแต่ละบุคคล การคิดแบบอเนกนัย และแนวคิดที่หลากหลาย การกำกับติดตามตนเอง
โดยใช้ Metacognition การเรียนรู้โดยผ่านประสบการณ์ของแต่ละบุคคล ประสบการณ์ ตรงและ
ประสบการณ์เชงิ รูปธรรมท่เี กี่ยวข้องกบั ความเปน็ จริงปญั หาท่ีเกีย่ วขอ้ ง โดยมเี ครอื่ งมอื (Tool) เปน็ ส่ือกลาง
หรือวิธีการซึ่งทำให้ผู้เรียนเกิดความ ใส่ใจและลงมอื กระทำกับแหลง่ การเรยี นรแู้ ละแนวคิดของตนเอง แหล่ง
การเรียนร้ซู ง่ึ เปน็ ท้ังแหลง่ เรียนรูแ้ บบคงท่แี ละแบบพลวตั รจะช่วยกระตุน้ ให้ผู้เรียนขยายขอบเขตของการคิด
รวมท้ังการจดั ฐานความช่วยเหลอื ให้แกผ่ เู้ รียนจะช่วยสง่ เสริมใหเ้ กดิ ความพยายามในการเรยี นรู้

3.3.3 การออกแบบสิง่ แวดลอ้ มทางการเรียนร้ตู ามหลกั การ Constructivist Learning
Environments : CLEs

David H. Jonasson (1999) ได้เสนอแนะหลักการออกแบบส่ิงแวดล้อมทางการ เรียนรู้
ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่เรียกว่า Constructivist Learning Environments : CLEs ซึ่งมุ่ง ส่งเสริม
ความสามารถในการแก้ปญั หาและพัฒนาความคิดรวบยอดที่เกิดจากสถานการณ์ปัญหาทม่ี ี ความยุ่งยากซับ
ช้อน โดยการเรียนรู้เกิดจากปัญหา คำถาม กรณี หรือโครงสรา้ งท่ีมีความซบั ช้อน ปัญหาหรือจุดประสงค์
การเรียนรูเ้ กดิ จากตวั ผเู้ รียนเอง การเรียนการสอนท่ีเกดิ จากประสบการณท์ ่ี อำนวยความสะดวกตอ่ การสร้าง
ความรู้ การเรยี นร้มู คี วามต่นื ตวั และเน้นสภาพจรงิ ซง่ึ มอี งค์ประกอบ หลกั 6 ประการ ได้แก่

17

1) คำถามกรณีปญั หาหรือโครงงานจดุ มงุ่ หมาย(Question/Problem/ Project)
จดุ ม่งุ หมายของ CLEs คอื ปญั หาท่ผี ู้เรยี นพยายามจะแก้ ซง่ึ ใช้ปญั หาเป็น

แรงผลักตนั ให้เกิดการเรยี นรู้ซึ่งต่างจากการสอนแบบ Objectivist หรืออาศัยพื้นฐานของทฤษฎี พฤติกรรม
นิยมที่ใช้การลงมือกระทำกับตัวอย่างที่เป็นหลักการความคิดเดิม ผู้เรียนจะได้เรียนรู้บริบท ในระตับที่ใช้
แก้ปญั หามากกวา่ การประยกุ ต์ความร้ใู นการแกป้ ัญหา ซึ่งปัญหาท่จี ัดไวน้ ้ันควรมี โครงสร้างทซ่ี บั ชอ้ น ปัญหา
ที่ออกแบบใน CLEs นั้นจะรวม 3 องค์ประกอบ คือ บริบทของปัญหาการนำเสนอปัญหาหรือการจำลอง
ปญั หา และพื้นที่สำหรับลงมอื แก้ปญั หา

2) กรณีท่เี กีย่ วขอ้ ง (Related Case)
การเข้าใจในแต่ละปัญหานั้นเป็นการกระตุ้นประสบการณ์เกี่ยวกับปัญหา

นั้น ๆ และสร้างรูปแบบความคิดเกี่ยวกับปัญหา ในกรณีที่ผู้เรียนมีประสบการณ์นอ้ ยจงึ เป็นการยากในการ
แก้ปญั หา ตังนนั้ CLEs จงึ จดั ให้มกี ารเข้าถึงประสบการณท์ เ่ี กีย่ วขอ้ งกบั ปัญหา ซ่ึงผู้เรียนสามารถนำมาอา้ งองิ
ได้ จดุ ประสงคเ์ รมิ่ ตน้ ของการอธบิ ายกรณีทีเ่ กย่ี วข้อง คอื เพือ่ ให้ผูเ้ รียนไดเ้ ขา้ ใจประเด็นของปญั หาไดช้ ดั เจน
ซึ่งช่วยสนับสนุนผู้เรียนใน 2 ทาง คือ ช่วยให้ผู้เรียนจดจำได้ดี และกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความยืดหยุ่นทาง
ปญั ญา

3) แหลง่ ขอ้ มลู (Resource)
ในการที่จะตรวจสอบปัญหาผู้เรียนต้องการข้อมูลที่จะสร้างเป็นรูปแบบในการทำ

ความเข้าใจ (Mental Model) และจัดกระทำกับสมมติฐานที่ลงมือปฏิบัติแก้ปัญหาในที่ว่าง (Problem
Space) นั้น ตังนั้นในการออกแบบ CLEs ควรที่จะเลือกชนิดของข้อมูลที่ผู้เรียนต้องการใช้ ในการเข้าใจ
ปัญหา ฐานข้อมูลที่หลากหลายเป็นส่วนสำคัญใน CLEs ที่จะจัดให้ผู้เรียนสามารถเลือก ข้อมูลได้ในเวลาที่
ต้องการ CLEs สันนิษฐานว่าข้อมูลทำให้เข้าใจในบริบทของปัญหา หรือการ ประยุกต์ใช้ ดังนั้น จึงต้อง
ตัดสินใจถึงฐานข้อมูลทีผ่ ูเ้ รยี นด้องการ ที่จะใช้แปลความหมายของปัญหา บางครั้งข้อมลู กอ็ าจจะอยู่ในการ
นำเสนอปัญหาฐานข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ควรที่จะเชื่อมต่อกัน กลายเป็นสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงข้อความ
รูปภาพ เสียง วดิ ีโอและภาพเคลอ่ื นไหวทเ่ี หมาะสมต่อการ ช่วยเหลือผู้เรียนในการแกป้ ญั หา

เวิล์ด ไวด์ เว็บ (World Wide Web) เป็นส่ือที่สามารถรวบรวมนำเสนอข้อมูล
สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพทำให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งข้อมูลที่มีลักษณะสื่อประสม (Multimedia) จาก
อินเทอรเ์ นต็ มีการเชอ่ื มโยงหลายมิติ (Hyperlink) เชือ่ มตอ่ กับเว็บไซต์ (Web Site) ตา่ งๆได้เมอื่ ผู้เรียน ไม่มี
ความชำนาญในการกลั่นกรองข้อมูลที่จัดไว้ CLEs ควรจะมีการจัดการกับข้อมูลที่สะดวกต่อการสืบค้น
เพื่อที่จะช่วยให้ผู้เรยี นเกดิ กระบวนการคิดทีต่ อ้ งการ ซึง่ ขืนอยกู่ บั โครงสร้างทางกจิ กรรมที่ช่วยสนับสนุนการ
แกป้ ัญหาสำหรบั ผเู้ รียนท่ียงั ไมค่ ้นุ เคยตอ่ CLEs เวิลด์ ไวด์ เวบ็ มจี ุดออ่ นที่จะทำใหผ้ ู้เรียนเสยี สมาธจิ ากการ
แกป้ ญั หาและหลงทางอย่กู ับการสบื ค้นบนเว็บทมี่ มี ากมายภายในเว็บไซต์นัน้

18

4) เคร่ืองมือทางปัญญาในการสรา้ งความรู้ (Cognitive Tool)
เครื่องมือทางปัญญา ช่วยเหลือด้านความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติ ภารกิจ

ซ่ึงประกอบด้วย 1) เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการนำเสนอปญั หาหรือภารกิจ 2) เครอื่ งมือจำลองความรู้ท่ีเป็นพลวัตร
และความรู้คงที่ 3) เครื่องมือที่สนบั สนนุ ความสามารถในการแก้ปญั หา ซึ่งท้ายสุดเครื่องมือทางปัญญาจะ
ช่วยผู้เรียนเก็บรวบรวมข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหาในแต่ละชนิดของเครื่องมือทาง
ปัญญาและนำเสนอกิจกรรมทางปญั ญา ดังนั้น จึงจำเป็นต้องเลือกอย่างระมดั ระวงั เพือ่ ที่จะสนับสนุนการ
ดำเนินงานท่ีจำเป็นดังกลา่ ว

5) เครือ่ งมอื ในการสนทนาและการรว่ มมือกนั แกป้ ัญหา
ปัจจุบันความคิดหลักของการใช้เทคโนโลยีในการสนับสนุนการจัด สิ่งแวดล้อม

ทางการเรยี นรสู้ ่วนใหญ่ คอื การใช้คอมพิวเตอร์ในการติดต่อสื่อสาร เพือ่ ทจี่ ะสนับสนุน ให้เกิดการร่วมมือ
กันแก้ปัญหาระหว่างชุมชนของผู้เรียน เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะการเรียนรู้โดย ธรรมชาติส่วนใหญ่แล้วไม่ได้
เกิดขึ้นเป็นเอกเทศ แต่เกิดจากคณะบุคคลที่ทำงานร่วมกันเพื่อที่จะ แก้ปัญหา CLEs จะต้องมีการจัด
เตรยี มการแบง่ ปันข้อมูลและการแบ่งปันเคร่ืองมือในการสร้างความรู้เพ่ือท่จี ะช่วยผู้เรียนให้ร่วมมือกันสร้าง
สงั คมทีแ่ ลกเปล่ยี นความรู้ ดงั น้ัน การแกป้ ัญหา การสนทนา การพดู คุย ชมุ ชนสร้างความรู้และชุมชนของ
ผู้เรยี นมีสว่ นชว่ ยสนบั สนุนในการร่วมมอื กนั แกป้ ัญหา ซึง่ ปัจจบุ นั เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ถกู พัฒนามาเพ่ือท่ีจะ
สนับสนุนการติดต่อสื่อสารดังกล่าว การสนทนาระหว่างผู้เรียนจะทำเกิดความคิดขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ
เช่นเดยี วกับข้อคิดเหน็ ของแต่ละคนและข้อคิดเห็นของผสู้ อนแต่ละคน (Slatin, 1992) เมื่อผเู้ รียนร่วมมือกัน
แก้ปัญหา ผู้เรียนจะได้แลกเปลีย่ น จุดมุ่งหมายท่ีคล้ายคลึงกันเพื่อจะแกป้ ัญหาหรือเพ่ือที่จะบรรลุข้อตกลง
เก่ยี วกับประเด็นปญั หานน้ั

6) การสนบั สนุนทางสงั คมหรือบริบท (Social Support)
ในอดีตการออกแบบการสอนและเทคโนโลยี โครงงานจะประสบความล้มเหลวเสีย

ส่วนใหญ่เพราะการนำไปใช้ที่ไม่ถูกต้อง เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะผู้ออกแบบหรือนัก นวัตกรรมเทคโนโลยี
ประสบความล้มเหลวกับการรวมปัจจัยสิ่งแวดล้อมและบริบทท่ีมีต่อการนำไปใช้ โดยผู้ออกแบบได้นำ
นวตั กรรมของตนเองไปใชโ้ ดยปราศจากการพจิ ารณาลักษณะทางกายภาพท่ีสำคัญ การจดั ตั้งและแง่มุมทาง
วฒั นธรรมสังคมในท่ีซง่ึ จะนำนวตั กรรมนั้นไปใช้ ดงั นั้นผู้เรียนจึงปฏิเสธการใช้นวตั กรรมในการออกแบบและ
การนำไปใช้ CLEs การปรับปัจจัยที่เป็นบริบทเป็นสิ่งสำคัญของการนำไปใช้ให้ประสบผลสำเร็จ เป็น
สิ่งจำเป็นในการฝึกฝนผู้สอนและบุคคลผู้ซึ่งจะสนับสนุนการเรียนรู้ และฝึกฝนผู้เรียนที่จะเรียนผ่าน
ส่ิงแวดลอ้ ม สนบั สนนุ ผสู้ อนโดยให้การ สนบั สนุนการฝึกปฏบิ ัตงิ านและการประชมุ ที่ซ่ึงผู้สอนสามารถค้นหา
ความช่วยเหลือจากข้อตกลงกับ ผู้วิจัย คำถามสามารถนำเสนอโดยผู้สอนที่จะตอบภายในกลุ่มผู้สอนหรือ

19

เจา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยเทคนคิ การสนับสนุนทางสงั คมและบริบทของผู้สอนและผใู้ ช้เป็นสงิ่ จำเป็นที่จะนำ CLEs ไปใช้
ให้ประสบ ผลสำเรจ็

จากการศึกษาการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนตามหลักการ Constructivist
Learning Environments : CLEs จะพบว่า จุดเด่นของ CLEs มุ่งเน้นความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่มี
โครงสร้างซับซ้อน โดยเน้นการเรียนรู้ที่เปิดจากปัญหา คำถาม กรณีหรือโครงงานที่มีโครงสร้างซับซ้อน
ปัญหาหรือจุดประสงค์การเรียนรู้เกิดจากตัวผู้เรียนเอง การเรียนการสอนที่เกิดจากประสบการณ์ที่อำนวย
ความสะดวกต่อการสร้างความรู้ การเรยี นรู้ทม่ี คี วามตน่ื ตัวและเน้นสภาพจรงิ ดงั นน้ั การจัดสภาพแวดล้อม
ที่เป็นปัญหาหรือโครงงานในบริบทหรือสภาพแวดล้อมที่หลากหลายจึงเป็นแรงผลักดันให้ผู้เรียนต้องการ
เรียนรู้ โดยการจัดให้มีกรณีศึกษาที่เก่ียวข้องกับปัญหาน้ัน ๆ เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนไต้มีการถ่ายโยงความรู้จากกรณี
ตวั อยา่ งมาปรับเขา้ สู่สภาพท่ีเปน็ ปัญหา และมแี หล่งข้อมลู เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนได้ทำการศกึ ษาหาความรู้ ทำความ
เข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและเสนอแนะผลของปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ แล้วใช้เครื่องมือทางปญั ญา (Cognitive
Tool) เพื่อช่วยให้ผู้เรียนแปลความหมายและจัดกระทำกับปัญหา ซึ่งเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่
ผู้เรียนในการแก้ปัญหา นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือในการร่วมมือกันแก้ปัญหาที่ผู้เรียนสามารถสื่อสารและ
ร่วมกันจดั โครงสร้างของปัญหาอย่างมีความหมายเพ่ือเป็นการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และจัดให้มีแหลง่
สนับสนุนทางสังคมที่เป็นสภาพบริบทในชีวติ จริง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายสามารถ
นำไปใชใ้ นชีวิตจรงิ ได้

จากการศึกษาหลักการออกแบบสิง่ แวดล้อมทางการเรยี นรู้ดังกลา่ วมาแล้ว ข้างต้นจะ
พบว่า สถานการณ์ปัญหาซึ่งมาจากแนวคิดของเพียเจต์ ตามหลักการ Cognitive Constructivism
สถานการณป์ ญั หาเปน็ ส่งิ สำคัญทจ่ี ะกระตนุ้ ให้ผ้เู รยี นเสยี สมคลุ ทางปญั ญาและเกิด กระบวนการคดิ ไตร่ตรอง
คิดวิเคราะห์ เพื่อหาสาเหตุและขจัดความขัคแย้งทางปัญญาที่เกิดขึ้น การ ออกแบบสถานการณ์ปัญหา
สามารถนำเสนอได้ในหลายสภาพบริบท อาจเปน็ การจำลองสถานการณ์ปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกบั ผู้เรียน ซ่ึงจะ
ทำใหผ้ ู้เรยี นรู้สกึ เปน็ ส่วนหนง่ึ ของสถานการณ์ปญั หาและมคี วามกระตอื รอื ร้นท่ีจะลงมอื แก้ปญั หา ผ้เู รียนจะ
เกิดการเชื่อมโยงความรู้หรือประสบการณ์เดิมกบั ความรู้ใหม่มาใช้ในการแก้ปญั หา โดยอาศัยแหล่งความรู้
หรือเครื่องมือต่าง ๆ ที่ถูกสร้างขึ้นในสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ เพื่อช่วยสนับสนุนการสร้างความรู้ของ
ผู้เรียน ซึ่งแหล่งความรู้ที่สร้างขึ้นนัน้ จะเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศที่ทำให้ผู้เรียนเข้าใจบริบท
ของปัญหาและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาได้ ตัวอย่างของแหล่งความรู้ตามหลักการจัด
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบเปิด (open Learning EnvironmentsะOLEs) ที่จัดไว้มีทั้งแหล่งความรู้
แบบคงที่ ซง่ึ มีลกั ษณะที่บรรจสุ ารสนเทศท่ีไม่มีการเปล่ียนแปลง เชน่ รูปภาพถา่ ยทางประวัตศิ าสตร์ เป็นต้น
และไมส่ ามารถเปลยี่ นแปลงเน้อื หาได้ เชน่ หนังสอื และสารานุกรมอิเลก็ ทรอนิกส์ มลั ติมีเดยี เป็นต้น และ
แหลง่ ความรแู้ บบพลวัตรซ่ึงมักจะมกี ารเปลยี่ นแปลงตามชว่ งเวลาซ่งึ เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นไดเ้ ข้าสู่แหล่งความรู้

20

เดิมแต่ได้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันในการออกแบบสารสนเทศอาศัยหลักการทางพุทธิญญา (Cognitivism)เช่น
การจัดเสนอสิ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนจัดโครงสร้าง จัดระเบียบ ข่าวสาร ข้อมูลที่จะเรยี น โดยทำเป็นแผนที่ทาง
ปัญญา (Cognitive Map) ที่แสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งเนื้อหาทัง้ หมด การใช้ภาพกราฟฟิกท่ีเป็นแรงจงู ใจ
(Motivational Graphic) ที่เป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวแสดงขั้นตอน การสื่อสาร เพื่อส่งเสริมการสร้าง
จินตนาการภายในสมองและกระตุ้นความใส่ใจของผูเ้ รียน สำหรับเครื่องมือในการเรียนรู้ ได้แก่ เครื่องมือ
ติดต่อสื่อสารแบบไม่ประสานเวลา เช่น E-mail กระดานสนทนา เป็นต้น เครื่องมือการบูรณาการ เช่น
ลิงค์ที่เกี่ยวขอ้ ง เป็นต้น จัดเป็นสือ่ กลางหรือวิธีการซึง่ ทำให้ผู้เรียนเกิดความใส่ใจและลงมอื กระทำกับแหล่ง
การเรียนรู้และแนวคิดของตนเองในการแก้ปัญหาหรือปฏิบัติภารกิจการเรียนรู้ หากผู้เรียนยังไม่สามารถ
เรยี นรู้หรือแก้ปญั หาได้ จากหลักการ Social Constructivism ซึ่งมีแนวคิดเก่ยี วกับช่วงของการพฒั นาหรือท่ี
เรียกว่า Zone of Proximal Development ผู้เรียนจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือที่เรียกว่าฐานการ
ช่วยเหลือ (Scaffolding) ซึ่งจะเป็นกระบวนที่ช่วยสนับสนุนความพยามยามในการเรียนรู้ และแนะแนว
เก่ยี วกับวธิ คี ดิ ในระหวา่ งการเรียนรู้ของผู้เรยี น ตลอดจนกลยทุ ธ์ตา่ ง ๆ ในการแกป้ ญั หาหรือวิธีปฏิบัติภารกิจ
การเรียนรู้ ทั้งนี้ในกระบวนการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaborative Learning) จาก
แนวคิดของ Lev Vygostky ที่เกย่ี วกับภาษา สงั คมและวฒั นธรรม การปฏสิ มั พันธ์ทางสังคมจะสนบั สนุนให้
ผเู้ รยี นไดแ้ ลกเปลี่ยนประสบการณ์กบั ผู้อนื่ เพือ่ ขยายมุมมองใหแ้ ก่ตนเอง ชว่ ยปรับเปล่ียนความเขา้ ใจท่ีคลาด
เคลอื น (Misconception)

3.3 โมเดลส่งิ แวดลอ้ มการเรยี นรู้ตามแนวคอนสตรคั ตวิ สิ ต์
ในปัจจบุ นั แนวทางการศกึ ษาได้เปลี่ยนกระบวนทัศน์จากการสอนโดยครูผู้สอนหรือสื่อ

การสอนมาสกู่ ารเน้นผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลางที่ให้ความสำคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรยี น โดยผา่ นการปฏิบัติลงมือ
กระทำ แนวการจัดการศึกษาทเี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นศูนยก์ ลางน้ีมีความสอดคลอ้ งกับทฤษฎีคอนสตรคั ติวิสต์ซ่ึงเน้น
การสร้างความรดู้ ว้ ยตนเอง ด้วยการลงมอื กระทำหรอื ปฏิบัตทิ ่ีผ่านกระบวนการคิด โดยอาศัยประสบการเดิม
หรอื ความรูเ้ ดมิ ทม่ี อี ยูแ่ ลว้ เชอ่ื มโยงกับประสบการณใ์ หม่หรอื ความรูใ้ หม่ เพ่ือขยายโครวงสร้างทางปญั ญา การ
จัดสิ่งแวดลอ้ มท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้หรอื สร้างความรู้ของผู้เรียน ด้วยการนำวิธีการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
หรือสื่อตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ร่วมกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ ดังนั้นในการจัด
ส่ิงแวดล้อมทางการเรียนรเู้ พือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผเู้ รียน จึงเป็นสิง่ สำคญั ในสภาพสังคมปัจจุบัน
สำหรบั การศึกษาในคร้งั นี้ไดน้ ำโมเดลการออกแบบสงิ่ แวดลอ้ มการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคตวิ สิ ต์ ได้แก่ SOI
model, Open Learning Environments: OLEs และ Constructivist Learning Environments( CLEs )
ออกแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่ายท่ีส่งเสริมความเข้าใจโปรแกรมเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
สามารถสรา้ งความรู้ดว้ ยตนเองด้วยการลงมอื กระทำ มีรายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี
3.3.1 SOI Model เป็นโมเดลการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรยี นสร้าง
ความรูเ้ องอย่างกระตอื รือร้นด้วยการพยายามสร้างความหมายจากเนื้อหาท่ีถกู นำเสนอแก่ผเู้ รียน ซง่ึ ขน้ึ อยูก่ ับ
การกระตุน้ ( Activate ) กระบวนการรูค้ ิดต่างๆ ของผู้เรียนในระหว่างการเรียนรู้ รวมทั้งการเลอื กข้อมูลที่มี
ความสัมพันธ์กัน การจัดระเบียบ และการบูรณาการข้อมูลที่ได้รับเข้ามากับข้อมูลที่มี อยู่เดิม( Existing

21

knowledge ) โดย SOI model นี้เป็นโมเดลการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้เกิดกระบวนการรู้คิด 3 กระบวนการที่
สำคญั ในการเรยี นรูแ้ นวคอนสตรคั ตวิ ิสต์ โดย S หมายถงึ การเลอื ก(Selection) O หมายถึง การจดั หมวดหมู่
(Organization) I หมายถึง การบรู ณาการ(Integrating) (Mayer, 1996)

3.3.2 Open Learning Environment(OLEs) หลักการนี้เป็นรู้แบบหนึ่งของการจัดสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรตู้ ามแนวทางคอนสตรัคติวิสต์ ซึง่ ออกแบบและพัฒนาโดย Michael Hannafin ท่เี น้นเกี่ยวกับ
การคิดแบบอเนกนยั (Divergent thinking)ซึ่งเป็นความสามารถทางสติปัญญาของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสง่ิ
เร้า ทสี่ ามารถแสดงออกไดห้ ลายแบบและหลายวิธีเปน็ แนวคดิ ทหี่ ลากหลาย (Multiple perspective)เหมาะ
กับการเรียนรู้ที่เป็นการแก้ปัญหาโดยเฉพาะเป็นปัญหาที่มีโครงสร้างซับซ้อน(Hannafin, 1999) หลักการน้ี
ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ในด้านต่างๆเช่น การสืบเสาะแสวงหาความรู้ของแต่ละบุคคล(Inquiry)การคิดแบบ
อเนกนัย (Divergent thinking) และแนวคิดที่หลากหลาย (Multiple perspective) ผู้เรียนสามารถเรียนรู้
ด้วยตนเอง และควบคมุ การเรียนรู้โดยใช้เมตะคอกนิชน่ั (Metacognition)ซ่ึงการเรยี นรู้จะผ่านประสบการณ์
ของแต่ละบุคคล เป็นประสบการณ์ตรง เชิงรูปธรรมที่เก่ียวข้องกบั ความจริง(Realistic)กบั ปัญหาท่เี ก่ยี วข้อง
นอกจากนมี้ ีเคร่ืองมอื และแหล่งทรพั ยากรทสี่ ง่ เสริมใหเ้ กิดความพยายามในการเรยี นร้ขู องผู้เรียน

หลักการสำคัญของ Open Learning Environment(OLEs) สามารถสรปุ ไดด้ ังนี้ (Hannafin, 1999)
(1)การเข้าสบู่ ริบท(Enabling context)เปน็ การสรา้ งแนวคิดที่ใช้ในการจัดสิง่ แวดล้อมการเรียนรู้ซ่ึง
เป็นบรบิ ทนำมาจากภายนอก โดยกำหนดปัญหาเฉพาะสำหรบั ผ้เู รียน
(2)แหล่งเรียนรู้(Resource)เป็นแหล่งที่เสนิข้อมูลสารสนเทศต่างๆในการเรียนประกอบด้วย แหล่ง
เรียนทคี่ งที(่ static resource)เชน่ เนอ้ื หาท่เี ป็นหลลกั การทฤษฏีหรอื กฏเกณฑ์ เป็นตน้ และ แหล่งเรียนรู้พล
วัตร(Dynamic resource) เปน็ การเรียนที่มีการเปล่ียนแปลงสารสนเทศอยูต่ ลอดเวลา
(3)เครอ่ื งมอื (Tool)เปน็ วธิ ีการหรอื วิถที างสำหรับผ้เู รียนใช้ในการจดั กระทำกบั ข้อมูลและสารสนเทศ
แบ่งเป็น เครื่องมือกระบวนการ(Processing tool)จะสนับสนุนกระบวนการรู้คิดของผู้เรียน เครื่องมือจัด
กระทำ(Manipulation)เพื่อทดสอบความตรงหรือสำรวจความเชื่อทฤษฏี เครื่องมือสื่อสาร
(Communication tool)เพือ่ สอ่ื สารระหวา่ งผเู้ รยี นกบั ผ้เู รยี น และผู้สอน ตลอดจนผ้เู ชย่ี วชาญ
(4)การช่วยเหลือ (Scaffolding)เป็นการแนะนำแนวทางและสนบั สนุนความพยายามในการเรียนรู้
ประกอบด้วย ฐานการช่วยเหลือการสร้างความคิดรวบยอด(Conceptual scaffolding)ฐานการช่วยเหลือ
ด้านความคิด(Metacognitive scaffolding)ฐานการช่วยเหลือด้านกระบวนการ(Procedural scaffolding)
เป็นการแนะแนวทางวิธีการ ใช้แหล่งเรียนและเครื่องมือ และฐานความช่วยเหลือด้านกลยุทธ์(Strategic
scaffolding)ซงึ่ แนวทางเกีย่ วกับวธิ กี ารทใ่ี ช้ในการแกป้ ัญหา
สรปุ ไดว้ ่า OLEs model เป็นการจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวทางคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบ
หนง่ึ ทีเ่ น้นเก่ียวกับการคดิ แบบอเนกนัย(Divergent thinking) ซง่ึ เป็นความสามารถทางสตปิ ัญญาของมนุษย์
ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า ที่สามารถแสดงออกได้หลายแบบและหลายวิธีเป็นแนวคิดที่หลากหลาย(Multiple
perspective) เหมาะกับการเรยี นรทู้ ่ีเปน็ การแกป้ ัญหา โดยเฉพาะเปน็ ปัญหาที่มีโครงสร้างซับซ้อน หลักการ
สำคญั ของ Open Learning Environment(OLEs) ประกอบดว้ ย การเขา้ สู่บรบิ ท(Enabling context)แหลง่
เรียนร(ู้ Resource) เครอ่ื งมือ(Tool) การช่วยเหลือ (Scaffolding)
3.3.3Constructivist Learning Environments(CLEs) หลักการนี้เป็นรูปแบบหนึ่งของการจัด
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวทางคอนสตรัคติวิสต์ที่พัฒนาโดย David H. Jonassen(1999) ที่มุ่ง

22

ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาและพัฒนาความคิดรวบยอดที่เกิดจากสถานการณ์ที่มีความยุ่งยาก
ซบั ซอ้ น องคป์ ระกอบหลักของการออกแบบประกอบด้วย

(1)กรณีปัญหา ที่ไม่ได้ระบุจุดมุ่งหมายที่แน่นอน มีกระบวนการหาคำตอบที่หลากหลาย มี
กระบวนการในการประเมินผลที่หลากหลาย โดยให้ผู้เรยี นทำการตัดสินปัญหาและยืนยนั คำตอบของตนเอง
โดยการแสดงความคิดของตนเองหรือความเชื่อของตนเอง

(2) กรณีเกี่ยวข้อง ใช้ในกรณีที่ผู้เรียนมีประสบการณ์น้อย โดยจัดให้มีการเข้าถึงประสบการณ์ที่
เกย่ี วขอ้ งกับปญั หาซึ่งผเู้ รยี นสามารถนำมาอ้างอิงได้ เช่อื มโยงนำประสบการณท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งมาใช้ได้ จดุ ประสงค์
เริ่มต้นของการอธบิ ายกรณีที่เก่ียวข้องคอื เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจประเด็นของปัญหาได้ชัดเจน โดยสนับสนนุ
ให้ผู้เรียนจดจำได้ดี และกระตุ้นให้ผูเ้ รียนเกิดความยดื หยุ่นทางปัญญา โดยจัดแหล่งอ้างอิงที่ผู้เรียนสามารถ
เปรียบเทียบได้เพื่อนำมาปรับใช้ให้เข้ากับปัญหาในปัจจุบัน อีกทั้งการนำเสนอที่หลากหลายของบริบทใน
ระดับที่มีความซับซ้อนที่ฝังอยู่ในขอบข่ายความรู้ เป็นการเน้นย้ำความคิด ความเกี่ยวข้องภายในและการ
เชื่อมต่อโดยการจัดเตรียมการแปลความหมายในบริบทที่หลากหลายเป็นการสนบั สนนุ ให้เกดิ ความยืดหยนุ่
ทางปัญญา

(3)แหล่งข้อมลู จัดให้ผูเ้ รยี นสามารถเลือกขอ้ มูลได้ในเวลาทตี่ อ้ งการ เปน็ ส่งิ แวดล้อมของฐานข้อมูลท่ี
เชือ่ มตอ่ กัน รวมไปถึงขอ้ ความ รูปภาพ เสยี ง วิดโี อ และภาพเคล่ือนไหวทีเ่ หมาะสมตอ่ การชว่ ยเหลือผู้เรียนใน
การแก้ปัญหา ใช้เวิลด์ไวด์เวบ็ เป็นสื่อที่รวบรวมและนำเสนอข้อมูลสารสนเทศทีม่ ีลักษณะสื่อประสมท่ีมีการ
เช่อื มโยงหลายมติ ิ เพ่อื ช่วยใหผ้ ้เู รยี นเกิดกระบวนการคิดที่ต้องการสนับสนุนการแกป้ ัญหา

(4)เครื่องมือทางปัญญา เพื่อช่วยเหลือผู้เรียนในการปฏิบัติภารกิจแระกอบด้วยเครื่องมือจำลอง
ความรู้คงที่และความรู้ที่เป็นพลวัตร เช่น ฐานความรู้ Spreadsheets ระบบผู้เชียวชาญ และโครงสร้างสื่อ
ประสม ซ่งึ จดั เตรยี มการนำเสนอความรู้อย่างเป็นทางการทร่ี ะบถุ งึ วิธวี เิ คราะห์ และการจัดการปรากฏการณ์
มีการอธิบายอย่างเปน็ ทางการที่ชว่ ยสนับสนุนให้เกดิ ความเข้าใจ เครอื่ งมือทสี่ นับสนนุ การปฏิบัติที่สนับสนุน
ผู้เรียนสามารถเรียกดูผลของการทดสอบได้โดยง่ายที่ช่วยสนับสนุนการปฏิบัติ เช่นเครื่องคิดเลขหรือ
ฐานข้อมูล เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล เช่นเครื่องมือการสืบค้นที่ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้เรียน
เคร่อื งมือในการสนทนาหรอื การเรียนแบบร่วมมือ สนับสนุนชมุ ชนการสนทนาผ่านรูปแบบท่แี ตกต่างกันของ
การประชมุ ทางคอมพิวเตอร์ เช่น จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ กระดานขา่ ว บริการผ่านเครือขา่ ย การสนทนาบน
เครือข่าย เปน็ ต้น

(5)การสนับสนุนทางสังคมหรือบริบท โดยออกแบบการสอนและเทคโนโลยีให้เหมาะสมกับ
สง่ิ แวดล้อมและบรบิ ท โดยพิจารณาจากลักษณะกายภาพทสี่ ำคญั การจดั ตัง้ และแง่มุมทางวฒั นธรรม

สรปุ ไดว้ า่ หลักการ CLEs เปน็ รปู แบบการจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรยี นร้ตู ามแนวทางคอนสตรัคติวิสต์
ที่มุ่งส่งเสริมความสามารถในการแก้ปญั หาและการพัฒนาความคิดรวบยอดที่เกิดจากสถานการณ์ที่มีความ
ยุ่งยากซับซอ้ น การเรียนรู้มีความตืน่ ตวั และเน้นสภาพจรงิ องค์ประกอบหลักของการออกแบบประกอบด้วย
คำถาม กรณี ปัญหา หรอื โครงงาน เปน็ ฐานการเรียนรซู้ ่งึ เป็นการเรียนรอู้ ย่างต่ืนตวั และการเรยี นรู้จากสภาพ
จริง กรณีที่เกีย่ วข้อง แหล่งข้อมูล เครื่องมือทางปัญญา เครื่องมือในการสนทนา/เรียนแบบร่วมมือ และการ
สนับสนนุ ทางสังคมหรือบรบิ ท

3.4 หลกั การออกแบบสือ่ บนเครอื ขา่ ยตามแนวทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคตวิ ิสต์
กิจกรรมโดยอาศัยหลักการพ้ืนฐานและทฤษฎกี ารเรียนร้ขู องPiaget (1962,อ้างถงึ ใน อไุ ร ทองหัวไผ่
,2553) ซ่ึงมแี นวคิดดังนี้

23

1. เปน็ กจิ กรรมทน่ี า่ สนใจ
2. สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในการคดิ ตัดสนิ ใจ แกป้ ัญหาดว้ ยกนั
3. เน้นการพัฒนาความคดิ ทไี่ ดม้ าจากการมีปฏิสมั พนั ธท์ างสังคมกับผูอ้ นื่
4. ลดบทบาทของครใู นการดำเนินกจิ กรรมให้นอ้ ยลง
5. ให้ผู้เรียนดำเนินการเรียนด้วยตนเอง มีอิสระในการแสดงความคิดเห็นเพื่อขจัดปัญหา
ความขดั แยง้ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ขณะทำกิจกรรม และหาขอ้ ตกลงเพอ่ื ไม่ให้ความขัดแยง้ เกิดข้ึนอกี
6. ให้ทุกคนมีโอกาสร่วมกจิ กรรมทตี่ นเองสนใจ การออกแบบการเรียนรตู้ ามแนวคอนสตรัค
ติวิสต์ในที่นี้ได้นำหลักการที่สำคัญของทั้งสองกลุ่มแนวคิด คือ Cognitive Constructivism และ Social
Constructivism มาใชใ้ นการออกแบบ ดงั มอี งค์ประกอบท่สี ำคัญดงั นี้ (สมุ าลี ชยั เจริญ,2551)
6.1 สถานการณ์ปญั หา(Problem Base) มาจากพ้นื ฐานของ Cognitive Constructivism
ของเพียรเจต์ เชื่อว่า ถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหา (Problem) ท่ีก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา
(Cognitive Conflict) หรือเรียกว่า เกิดการเสียสมดุลทางปัญญา ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทาง
ปัญญาให้เข้าสู่สภาวะสมดุล (Equilibrium) โดยการดูดซึม (Assimilation) หรือการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง
ทางปัญญา (Accommodation) จนกระทัง้ ผู้เรียนสามารถปรับโครงสร้างทางปัญญาเข้าสู่สภาวะสมดุลหรอื
สามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ หรือเกิดการเรียนรู้นั้นเอง ในสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น
สถานการณ์ปัญหาจะเปน็ เสมอื นประตูที่ผู้เรียนจะเข้าสู่เน้ือหาที่จะเรียนรู้ โดยสถานการณ์ปัญหาท่ีสร้างขึ้น
อาจมีลกั ษณะหลายลักษณะ เชน่

1) เป็นสถานการณป์ ัญหาเดียวกันทีค่ รอบคลุมเนอ้ื หาทงั้ หมดท่เี รยี น
2) เป็นสถานการณป์ ัญหาท่ีมีหลายระดับ สำหรับระดบั มอื ใหม่ (Novice)ระดับผู้เช่ยี วชาญ
(Expert) หรอื ง่าย ปานกลาง ยาก เปน็ ต้น

3) เป็นสถานการณ์ปัญหาทมี่ ีหลายสภาพบรบิ ททผ่ี ้เู รยี นเผชญิ ในสภาพจริง
4) เป็นสถานการณป์ ัญหาทเ่ี ปน็ เรื่องราว (Story)

6.2 แหลง่ เรยี นรู้ (Resource) เป็นทร่ี วบรวมข้อมลู เนื้อหา สารสนเทศทผ่ี ู้เรยี นจะใช้
ในการแก้สถานการณ์ปญั หาท่ีผู้เรยี นเผชิญ ซึง่ แหลง่ เรยี นร้ใู นส่ิงแวดล้อมทางการเรยี นรู้น้ันคงไม่ใช่เพียงแค่
เป็นเพียงแหล่งรวบรวมเนื้อหาเท่านั้น แต่รวมถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ผู้เรียนจะใช้ในการเสาะแสวงหาและค้นพบ
คำตอบ (Discovery) ดงั น้ัน ผ้เู ขยี นจะขอนำเสนอลกั ษณะของแหล่งเรียนรตู้ ่าง ๆ มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

1) ธนาคารขอ้ มลู
2) แหล่งทเี่ กี่ยวขอ้ งในการสรา้ งความรู้ เชน่ ชมุ ชนภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ เป็นตน้
3) เครอื่ งมือทชี่ ว่ ยในการสรา้ งความรู้ เช่น อปุ กรณใ์ นการทดลอง
6.3 ฐานการช่วยคิด (Scaffolding) มาจากแนวคิดของ Social Constructivismของ
Vysgotsky ที่เชื่อว่า ถ้าผู้เรียนอยู่ต่ำกว่า Zone of Proximal Development ไม่สามารถเรียนรู้ด้วย
ตนเองได้ จำเป็นที่จะต้องได้รับการช่วยเหลือที่เรียกว่า Scaffolding ซึ่งฐานความช่วยเหลือจะสนับสนุน
ผูเ้ รียนในการแกป้ ญั หา หรือการเรียนรใู้ นกรณีที่ไมส่ ามารถปฏิบตั ภิ ารกิจใหส้ ำเร็จด้วยตวั เองได้

6.4 การโค้ช (Coaching) มาจากพื้นฐาน Situated Cognition และ Situated
Learning หลักการนี้ได้กลายมาเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ที่ได้เปลี่ยน
บทบาทของครูที่ทำหนา้ ที่ในการถ่ายทอดความรหู้ รือ บอกความรู้ มาเปน็ “การโคช้ ” ที่ให้ความช่วยเหลือ

24

การใหค้ ำแนะนำสำหรบั ผเู้ รียนจะเป็น การฝึกหัด ผเู้ รียน โดยการใหค้ วามรู้ แกผ่ ู้เรียนในเชิงการใหก้ ารรู้คิด

และการสรา้ งปัญญา ซงึ่ บทบาทของการโคช้ มีเงือ่ นไขท่สี ำคญั ดังน้ี

1) เรียนรู้ผู้อยูใ่ นความดูแล หรือผู้เรียนจากการสังเกตด้วยการฟังและการไตถ่ าม

ดว้ ยความเอาใจใส่

2) ควรสอบถามกระตนุ้ ความคิดของนกั เรียน โดยพยายามจดั สิ่งแวดล้อมทางการ

เรียนรทู้ ่ีก่อให้เกดิ ความขัดแย้งทางปัญญา 3)

สร้างเส้นทางเป็นเชิงการสืบสวนอยา่ งมีความหมายตอ่ ผู้เรียนและพยายามสนับสนุนใหผ้ ู้เรยี นสร้างเส้นทาง

อยา่ งมีเหตผุ ลและมคี วามหมาย 4) ยอมรับในสติปัญญาผู้เรียน และ

พยายามช่วยแก้ไข ปรับปรุง เพื่อทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจ ในการเลือกเส้นทางการตัดสินใจหรือเลือก

วิธกี ารทีจ่ ะปฏิบัตติ อ่ ไป 6.5 การร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaboration) เป็นอีก

องค์ประกอบหนึ่ง ที่มีส่วนสนับสนุนให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้อื่นเพื่อขยายมุมมองให้แก่

ตนเอง การร่วมมือกันแก้ปัญหาจะสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดการคิดไตร่ตรอง (Reflective Thinking) เป็น

แหล่งที่เปดิ โอกาสให้ท้ังผูเ้ รียน ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ ได้เสวนาแสดงความคิดเห็นของตนเองกับผู้อืน่ สำหรบั

การออกแบบการร่วมมือกันแก้ปัญหาในขณะสร้างความรู้ นอกจากนี้การร่วมมือกันแก้ปัญหายังเป็นส่วน

สำคัญในการปรับเปลย่ี นและป้องกนั ความเข้าใจท่คี าดเคล่อื น (Misconception) ทีจ่ ะเกดิ ข้นึ ในขณะที่เรียนรู้

รวมทั้งการขยายแนวคิดทฤษฎีตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์นั้นผู้เรียนเป็นผู้เสริมสร้างความรู้ด้วยตนเอง

ผู้สอนไมส่ ามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญาของผู้เรยี นได้ แต่สามารถช่วยผู้เรียนปรับขยายโครงสรา้ ง

ทางปัญญาได้ ด้วยการจดั สถานการณท์ ่ีทำให้เกิดภาวะไมส่ มดุลหรือก่อให้เกิดความขัดแยง้ ทางปัญญา โดย

ได้จากสิ่งแวดล้อมและการปฏสิ ัมพนั ธ์กับผู้อื่นในการศกึ ษาครัง้ นี้ ผู้วิจัยได้ออกแบบการเรยี นรู้ตามแนวคอน

สตรคั ตวิ สิ ต์ในท่นี ้ีนำหลักการท่ีสำคญั ของทั้งสองกลุ่มแนวคิด คือ Cognitive Constructivism และ Social

Constructivism มาใช้ในการออกแบบ ดังมีองค์ประกอบที่สำคัญคือ 1. สถานการณ์ปัญหา (Problem

Base) 2. แหล่งเรียนรู้ (Resource) 3. ฐานการช่วยคิด (Scaffolding) 4. การโค้ช (Coaching) 5. การ

ร่วมมือกนั แกป้ ัญหา (Collaboration)

การเรยี นบนเครอื ขา่ ย
1. การเรียนบนเครือข่าย (Web-based learning)
การเรยี นบนเครือข่ายเป็นรปู แบบหนึง่ ของการศึกษาที่ผสมผสานกนั ระหว่างเทคโนโลยีปัจจุบัน

กับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และการแก้ปัญหาในเรื่อง
ข้อจำกัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการเรียนบนเครือข่ายจะประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัด

สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอนได้หลายรูปแบบ เช่น การนำเสนอเนื้อหา การ
ปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียนและผู้สอนทำให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Collaborative
environment) ผูเ้ รยี นสามารถควบคมุ การเรยี นได้ด้วยตนเองทำให้เกิดส่ิงแวดล้อมที่ยดื หยุน่ ผเู้ รยี นสามารถ

เขา้ ถงึ แหล่งข้อมูลทม่ี ีอยมู่ ากมายโดยอาศยั คุณลักษณะของการเชอ่ื มโยงหลายมิติ(Hyperlink) ท้ังในรูปแบบ
ของข้อความหลายมิติ (Hypertext) หรือสื่อหลายมิติ (Hypermedia) ผู้เรียนสามารถค้นคว้าข้อมูลในการ

เรียนร้ดู ้วยตนเอง เป็นการสนองตอบแนวคิดในการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลาง เป็นการ
เรียนร้ดู ว้ ยวิธีการทห่ี ลากหลาย และเกดิ ขึน้ ได้ทกุ เวลา ทุกสถานท่ี ซึง่ สอ่ื ตา่ งๆเหล่าน้ีสามารถกระตุ้นใหผ้ ูเ้ รียน
เรียนรู้และแก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งอิสระ

25

ในดา้ นการเรยี นการสอนน้ันสามารถนำการบริการบนอนิ เตอร์เน็ตมาใช้ประโยชน์ไดด้ ังเช่นไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic mail : E-mail) ใช้ติดต่อสื่อสารระหวา่ งอาจารย์หรือเพื่อนร่วมชั้นเรียนดว้ ยกัน
กระดานข่าว(Web Board) ใช้กำหนดประเด็นหรือกระทู้ ทั้งอาจารย์และผู้เรียน การสนทนา(Chat) ใช้
สนทนาระหว่าผเู้ รียนและอาจารยใ์ นห้องเรียนหรอื ชั่วโมงเรยี นน้นั ๆเสมือนวา่ กำลังคยุ กันอย่ใู นห้องเรียนจริงๆ
MSN(Windows messager) ใช้สนทนาระหว่างผู้เรียนและผู้สอนในห้องเรียนเสมือนว่ากำลังคุยกันอยู่ใน
ห้องเรียนจริงๆ โดยที่ผู้เรียนไม่จำเป็นตอ้ งอยใู่ นเวลานัน้ เวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ (WWW) เปน็ การบริการบนอินเตอร์เน็ต
ในรูปของสื่อประสมในรูปของตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง โดยอาศัยคุณลักษณะของการ
เชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) ทั้งในรูปแบบของข้อความหลายมิติ(Hypertext) หรือสื่อหลายมิติ
(Hypermedia) เพ่ือเชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้ด้วยกัน เป็นการนำประโยชน์ของเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพ่ือการคน้ ควา้ ขอ้ มูลในการเรียนร้ดู ว้ ยตนเองและสนองตอบแนวคดิ ในการจดั การเรยี นการสอนที่
เน้นผู้เรียนเปน็ ศนู ย์กลาง

สำหรับลักษณะการเรียนการสอนบนเครือข่าย ผู้เรียนจะเรียนผ่านจอมอนิเตอร์ที่เชื่อมโยงกับ
เครือข่าย ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ขึ้นอยู่กับความพร้อมของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสาร สนทนา
อภิปรายกับผู้เรียนด้วยกัน อาจารย์ หรือผู้เชี่ยวชาญ รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายจะมีความ
ยืดหยุ่น ในเรื่องเวลา และสถานที่ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และแก้ปัญหาได้อย่างอิสระ โดยมีผู้สอนเป็นผู้
เสนอแนะเป็นที่ปรึกษาพร้อมทั้งแนะนำแหล่งข้อมลู ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนให้ผู้เรียน ผู้เรียนสามารถ
ทราบถึงความก้าวหน้าในการเรียนหรอื ประเมนิ ตนเองได้ (บุญเรือง เนียมหอม,2540)

2. ความหมายของการเรยี นบนเครอื ขา่ ย
การนำเทคโนโลยีปัจจุบัน โดยเฉพาะการบริการต่างๆ บนอินเตอร์เน็ตมาออกแบบและพัฒนา

เพื่อใช้ในการเรียนการสอนนั้น มีชื่อเรียกแตกต่างกันดังนี้ การจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย (Web-
based instruction) หรือ การเรียนบนเครือข่าย (Web-based learning) หรือ เครือข่ายฝึกอบรม (Web-
based training) หรืออินเตอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-based training) หรืออินเตอร์เน็ตช่วยสอน
(Internet-based instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-based training) และเวิลด์ไวดเ์ ว็บช่วยสอน
(WWW-based instruction) (สรรรัชต์ หอ่ ไพศาล, 2544)ทงั้ น้มี นี กั วชิ าการและนกั การศึกษามากมายได้ให้
ความหมายไว้ ดังน้ี

Clark (1996) ให้ความหมายว่า เป็นการเรียนการสอนรายบุคคลที่นำเสนอโดยการใช้เครือข่าย
คอมพิวเตอร์สาธารณะหรือส่วนบุคคล และแสดงผลในรูปของการใช้เว็บบราวเซอร์สามารถเข้าถึงข้อมูลท่ี
ตดิ ตัง้ ไวไ้ ดโ้ ดยผา่ นเครือข่าย

Khan(1997) ให้ความหมายว่า เป็นโปรแกรมไฮเปอร์มีเดียที่ช่วยในการสอน โดยการใช้ประโยชน์
จากคุณลักษณะ และทรพั ยากรของอินเตอร์เน็ตมาสรา้ งใหเ้ กดิ การเรียนรู้ อย่างมคี วามหมาย โดยส่งเสริมและ
สนับสนนุ การเรยี นรใู้ นทุกทาง

Parson(1997) ให้ความหมายว่า เปน็ การสอนท่นี ำเอาส่งิ ที่ตอ้ งการสง่ ให้บางส่วน หรอื ทั้งหมด โดย
อาศยั เครือข่าย ซงึ่ เว็บช่วยสอนสามารถกระทำได้ในหลากหลายรปู แบบ และหลายขอบเขต ทเ่ี ชือ่ มโยงถึงกัน
ทั้งการเชื่อมตอ่ บทเรียน วัสดชุ ่วยการเรียนรู้ และการศกึ ษาทางไกล

Relan and Gillani(1997) ให้ความหมายว่า เป็นการกระทำของคณะหนึ่งในการเตรียมการคิดใน
กลวิธีการสอนโดยกลุ่มคอนสตรัคติวิซึมและการเรียนรู้ในสถานการณร่วมมือกันโดยใช้ประโยชน์จาก
คณุ ลักษณะและทรพั ยากรในเวิลด์ไวดเ์ วบ็

26

Lannpere(1997) ให้ความหมายว่า เป็นการจัดการเรียนการสอนผ่านส่ิงแวดล้อมของเวิลด์ไวดเ์ วบ็
ซึ่งอาจเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนในหลักสูตรมหาวิทยาลัย ส่วนประกอบการบรรยายในชั้น
เรียน การสัมมนาโครงการกลุ่มหรือการสือ่ สารระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนหรืออาจเป็นลักษณะของหลกั สูตรที่
เรียนผ่านเวิลด์ไวด์เว็บโดยตรงทั้งกระบวนการ การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายนี้เป็นการรวมกันระหว่าง
การศึกษาและการฝึกอบรมเข้าไว้ด้วยกัน โดยให้ความสนใจต่อการใช้ในระดับการเรียนที่สูงกว่าระดับ
มัธยมศึกษา

ใจทิพย์ ณ สงขลา(2542) ให้ความหมายว่า เป็นการผนวกคุณสมบัติไฮเปอร์มีเดียเข้ากับ
คุณสมบัติของเว็บเวิลด์ไวด์เว็บ เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนในมิติที่ไม่มีขอบเขตจำกัดด้วยระยะทาง
และเวลาท่ีแตกตา่ งกนั ของผเู้ รียน (Learning without Boundary)

วิชุดา รัตนเพียร(2545) ให้ความหมายว่า เป็นการนำเสนอโปรแกรมบทเรียนบนเว็บเพจโดย
นำเสนอผ่านบริการเวิลด์ไวด์เว็บในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งผู้ออกแบบและสร้างโปรแกรมการสอนผ่าน
เครือข่ายจะต้องคำนึงถึงความสามารถและบริการที่หลายหลายของอินเตอร์เน็ต และนำคุณสมบัติต่างๆ
เหลา่ น้ันมาใชเ้ พือ่ ประโยชนใ์ นการเรยี นการสอนใหม้ ากท่สี ุด

กิดานันท์ มลทิ อง(2543) ให้ความหมายวา่ เปน็ การใชเ้ ครือข่ายในการเรยี นการสอนโดยอาจใช้
เครือข่ายเพื่อนำเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิตขิ องวิชาทั้งหมดตามหลกั สตู รหรือใช้เพียงการนำเสนอ
ขอ้ มลู บางอย่างเพ่ือประกอบการสอนกไ็ ด้ รวมท้ังใช้ประโยชน์จากคุณลกั ษณะต่างๆ ของการสอื่ สารท่ีมีอยู่ใน
ระบบอินเตอร์เนต็ เช่นการเขียนตอบโต้กนั ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และการพูดคยุ สดดว้ ยข้อความและ
เสยี งมาใช้ประกอบดว้ ยเพ่อื ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสุด

ถนอมพร เลาจรัสแสง(2544) ให้ความหมายว่า เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี
ปัจจุบนั กับกระบวนการออกแบบการเรยี นการสอนเพื่อเพมิ่ ประสิทธิภาพทางการเรยี นรู้และแก้ปัญหาในเร่ือง
ข้อจำกัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเครือข่ายจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของ
เวิลด์ไวดเ์ ว็บ ในการจัดสงิ่ แวดลอ้ มที่ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการเรียนการสอนซ่งึ การเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่าน
เวบ็ นี้ อาจเปน็ บางส่วนหรือท้ังหมดของกระบวนการเรียนการสอนกไ็ ด้

ภาสกร เรืองรอง(2544) ให้ความหมายว่า เป็นการใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นระบบอนิ เตอร์เนต็ มา
ออกแบบและจัดระบบเพื่อการเรียนการสอน สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
เชื่อมโยงเปน็ เครอื ขา่ ยท่ีสามารถเรยี นร้ไู ด้ทกุ ท่ที ุกเวลา

3. ประเภทของการเรียนบนเครอื ข่าย
เนื่องจากอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งทรัพยากรที่มีคุณสมบัติหลากหลายต่อการนำไปประยุกต์ใช้ใน

การศึกษา ดังน้นั การเรยี นการสอนบนเครือข่ายจึงสามารถทำไดห้ ลายลกั ษณะ ในแต่ละสถาบนั หรือในแต่ละ
เนื้อหาหลักสูตรก็จะมีวิธีการจัดการเรียนการสอนบนเครือข่ายที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งมีนักการศึกษาได้
กล่าวถึงการเรียนการสอนบนเครอื ข่ายดังน้ีParsonได้แบ่งสื่อบนเครือข่ายเป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ (กิดานันท์
มลิทอง, 2543)

1. วิชาเอกเทศ (Standard-alone course หรือ Web-based course)เป็นวิชาที่เนื้อหา
และทรัพยากรทั้งหมดจะมีการนำเสนอบนเครือข่าย รวมถึงการสือ่ สารกันเกือบทั้งหมดระหว่างผู้สอนและ
ผู้เรียนจะผา่ นทางคอมพวิ เตอร์ การใช้รปู แบบนสี้ ามารถใช้ไดก้ บั วิชาทีผ่ ู้เรยี นน่ังเรยี นอยูใ่ นสถาบันการศึกษา
และส่วนมากแล้วจะใช้ในการศึกษาทางไกลโดยผู้เรียนจะลงทะเบียนเรียนและมีการโต้ตอบกับผู้สอนและ
ผูเ้ รยี นรว่ มชัน้ เรยี นกับคนอื่น ๆ ผา่ นทางการสื่อสารบนอนิ เทอร์เน็ต ด้วยวธิ กี ารน้จี ะทำใหผ้ ้เู รยี นในทุกส่วน

27

ของโลกสามารถเรียนร่วมกันได้โดยไม่มขี ีดจำกดั ในเร่ืองสถานที่และเวลา การจัดให้มีชัน้ เรยี นโดยการใช้เว็บ
ในลักษณะการศึกษาทางไกลเรียกว่า “ ชั้นเรียนไซเบอร์” (Cyber Class) โดยผู้เรียนไม่ต้องเดินทางไป
วิทยาลัยแต่ทำการเรียนผ่านทางอินเทอร์เน็ตทั้งหมดนับตั้งแต่การลงทะเบียนเรียน บันทึกเปิดเข้าไปดู
รายละเอยี ดและวิธีการเรียน ศกึ ษาเนื้อหาจากเว็บไซต์ของอาจารยป์ ระจำวิชา คน้ ควา้ เพม่ิ เติมจากเว็บไซด์
อื่น ๆ ทำกิจกรรมส่งทางอีเมล์หรือทางไปรษณีย์ถ้าเป็นชิ้นงานที่ไม่สามารถส่งทางอีเมล์ได้ และ
ติดต่อส่ือสารกับผสู้ อนและผู้เรยี นอื่นทางอเี มลแ์ ละโทรศัพท์ บนเครอื ข่าย

2. วชิ าใช้สือ่ บนเครอื ข่ายเสรมิ (Web supported course) เป็นส่ือบนเครือข่ายรายวิชาท่ี
มีลักษณะเป็นการสื่อสารสองทาง ที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้สอนและผู้เรียนจะพบกันใน
สถาบันการศึกษา มีแหล่งทรัพยากรทางการศึกษาหลาย ๆ อย่างเชน่ การอ่านเนื้อหาที่เกีย่ วกับบทเรียน
และข้อมูลเสรมิ จะอา่ นจากเว็บไซตต์ ่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกันโดยการท่ีผู้สอนกำหนดมาให้หรือผู้เรียนหาเพ่ิมเติม
สว่ นการทำงานทส่ี ง่ั การทำกิจกรรม และการตดิ ตอ่ ส่ือสาร จะทำกนั บนเครือข่าย

3. ทรพั ยากรสอื่ บนเครือข่าย (Web Pedagogical resources) เป็นการนำเว็บไซต์ต่าง ๆ
ที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชามาใช้เป็นส่วนหนึ่งของวิชานั้น หรือใช้เป็นกิจกรรมการเรียนของวิชา
ทรัพยากรเหล่านี้จะอยู่ในรูปหลากหลายรูปแบบ เช่น ขอ้ ความ ภาพกราฟกิ ภาพเคลื่อนไหว เสียง การ
ติดต่อระหว่างผู้เรียนกับเว็บไซต์ ฯลฯ โดยจะดูได้จากเว็บไซต์ต่าง ๆ ในการวิจัยคร้ังน้ีผู้วิจัยได้ใชร้ ูปแบบ
การจัดการเรียนการสอนบนเครือข่ายในลักษณะเป็น วิชาใช้สื่อบนเครือข่ายเสริม (Web supported
course) ซ่งึ เปน็ ส่อื บนเครือข่ายรายวิชาทีม่ ีลกั ษณะเป็นการส่ือสารสองทาง ท่มี ีปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างผู้สอนกับ
ผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้สอนและผู้เรียนจะพบกันในสถาบันการศึกษา ใช้วิธีสื่อสารกันผ่านเว็บบอรด์
(Web board) และ e-mail พร้อมทั้งมีเนือ้ หาในรายวชิ าเพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นไดศ้ กึ ษาค้นคว้าหาความรู้

4. การเรยี นการสอนผา่ นเครือขา่ ย
การจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย หมายถึง การผนวกคุณสมบัติไฮเปอร์มีเดียเข้ากับ

คุณสมบัติของเครอื ข่าย เวิลด์ ไวด์ เวบ็ เพื่อสรา้ งเสริมสง่ิ แวดล้อมแห่งการเรียนในมิตทิ ีไ่ มม่ ีขอบเขตจำกัด
ด้วยระยะทางและเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียน (Learning without Boundary)การใช้คุณสมบัติของ
ไฮเปอร์มีเดียในการเรยี นการสอนผ่านเครือข่ายนั้น หมายถึง การสนับสนุนศักยภาพการเรียนด้วยตนเอง
ตามลำพัง กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถเลอื กสรรเนื้อหาบทเรียนที่นำเสนออยู่ในรูปแบบไฮเปอร์มีเดยี ซึ่งเป็น
เทคนิคการเชื่อมโยงเนื้อหาหลัก ด้วยเนื้อหาอื่นที่เกี่ยวข้องรูปแบบการเชื่อมโยงนี้เป็นได้ทั้งการเชื่อมโยง
ข้อความไปสู่เน้อื หาท่ีมีความเก่ียวข้อง หรือสื่อภาพ และเสียง การเช่ือมโยงดังกล่าวจงึ เป็นการเปิดโอกาส
ใหผ้ ู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนด้วยตนเอง โดยเลอื กลำดับเน้ือหาบทเรียนตามความตอ้ งการ และเรียน
ตามกำหนดเวลาที่เหมาะสมและสะดวกของตนเอง ส่วนการใช้คุณสมบัติของเครือข่ายเวิลด์ ไวด์ เว็บ
หมายความถึง การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนหรือผู้เรียนอื่นเพื่อการเรียนรู้โดยไม่
จำเปน็ ต้องอย่ใู นเวลาเดยี วกนั หรอื ณ สถานทีเ่ ดียวกนั (Human to Human Interaction) เชน่ ผเู้ รยี น
นัดหมายเวลา และเปิดหัวข้อการสนทนาผ่านโปรแกรมประเภท Synchronous Conferencing System
เช่น
IRC (Internet Relay Chat) หรือผู้เรียนสามารถตามหวั ข้อและร่วมการสนทนาในเวลาทีต่ นเองสะดวกผ่าน
โปรแกรมประเภท Asynchronous Conferencing System เชน่ E-mail Bulletin Board System
หรอื Listserv การปฏิสัมพันธเ์ ช่นน้ีเป็นไปไดท้ งั้ ลกั ษณะบคุ คลต่อบุคคล (Person to Person) ผู้เรยี นกบั

28

กลมุ่ (Person to Group) หรือกลมุ่ ตอ่ กลุ่ม (Group to Group) ในปจั จบุ ันมีความพยายามประยุกต์
รปู แบบการเรยี นการสอนโดยใช้ทงั้ ทฤษฎกี ารสอนทใี่ ช้กบั การเรยี นการสอนผ่านคอมพิวเตอร์ช่วยสอนใน
คอมพิวเตอรเ์ ดียว (Stand Alone) และการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนท่ีตอบรับกับคุณสมบตั ิของ
เครือขา่ ย เวลิ ด์ ไวด์ เวบ็ Gillani และ Relan (1996) มองเหน็ วา่ การเรยี นการสอนบนเวิลด์ ไวด์ เว็บ
(Web-based Instruction) เปน็ การประยกุ ต์ใช้ยทุ ธวธิ ีการสอนแบบพุทธพิสยั (Cognitive) ภายใต้
สง่ิ แวดลอ้ มการเรียนแบบ Collaborative Learning กล่าวคือการเรยี นการสอนบนเวลิ ด์ ไวด์ เว็บ อาศัย
รูปแบบการเรยี นการสอนในลกั ษณะที่ผู้เรยี นเป็นศูนยก์ ลางแหง่ การเรยี น (Learner Center) และการ
เรียนดว้ ยการปฏสิ ัมพันธก์ ับผ้อู น่ื (Learner Interaction) ซง่ึ จะได้กล่าวถงึ รายละเอยี ดของรูปแบบการ
เรยี นท้งั รูปแบบดงั ต่อไปน้ี

1. การเรียนท่ผี ู้เรยี นเป็นศนู ยก์ ลางแห่งการเรียนรู้ สามารถอธิบายใหเ้ ห็นภาพไดช้ ัดเจนได้
โดยการอภปิ รายเปรียบการออกแบบการเรียนการสอนสองค่ายหลักคอื Objectivist และ Constructivist
Objectivist เปน็ กล่มุ ท่ีเน้นการสอนและวิธีการสอนท่ีมีเป้าหมายหลัก มีวัตถุประสงคย์ อ่ ยเพอื่ สนบั สนุน
เปา้ หมายหลกั สว่ น Constructivist ได้แก่ กลุ่มการเรียนทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ หลกั วถิ ที างการสอนทง้ั สอง
โดยสังเขปมีดังน้ี Objectivist เป็นรปู แบบการสอนทกี่ ำหนดเปา้ หมายประสงคห์ ลักในการเรยี นและกำหนด
วัตถุประสงค์ยอ่ ยที่จำเป็นในการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์หลัก และพัฒนาการตดั สนิ ตามวตั ถุประสงคห์ ลัก และ
พฒั นาเกณฑ์การตดั สินตามวัตถุประสงค์นั้นๆ การเรียนจะมรี ูปแบบขั้นตอนชัดเจนใหผ้ ู้เรยี น เม่อื ผ่านการ
เรียน แล้วผเู้ รยี นรจู้ ะได้รบั ผลการเรียนอะไรบา้ ง การประเมนิ จึงเปน็ ไปในลกั ษณะการเปรียบเทียบผลใน
วัตถปุ ระสงค์ยอ่ ยและเป้าประสงค์หลกั Constructivist เป็นการเรยี นการสอนอกี ลักษณะหนง่ึ ทเี่ นน้ ผู้เรยี น
เปน็ ศนู ยก์ ลางและการเรยี นการสอนมงุ่ เนน้ กระบวนการเรียนรูท้ ต่ี อ่ เตมิ จากความรซู้ ่ึงแตกตา่ งกัน และเนน้
บทบาทของแรงจูงใจจากภายในของผู้เรียน ผู้เรยี นมที กั ษะในการตรวจสอบและควบคุมการเรยี นของตนเอง
ผลสมั ฤทธ์ิของการเรียนจะอยู่ท่ีรายบุคคลซ่ึงไม่สามารถใชเ้ พียงเกณฑ์วดั ในเชิงปริมาณ ในการออกแบบการ
เรยี นการสอนฝา่ ย Constructivist มีความเห็นว่าเทคโนโลยีเวลิ ด์ ไวด์ เว็บ สนบั สนนุ การเรยี นแบบผู้เรยี น
เปน็ ศูนย์กลางในการเรียน ตัวอยา่ งเชน่ ในการเรียนจากเนื้อหาบนเวิลด์ ไวด์ เว็บ นี้ผู้สอนจะเสนอเนือ้ หา
และการเชอ่ื มโยงทีเ่ กีย่ วข้องตามฐานะความรูแ้ ละประสบการณข์ องผู้สอน และผู้เรียนจะเลอื กข้อมูลเนือ้ หา
และการเช่ือมโยงตามประสบการณ์และพน้ื ฐานความรเู้ ดมิ ทีผ่ ูเ้ รยี นมีอยู่เพอ่ื การเรยี นร้ขู องตนเองโดยนยั นีก้ าร
จดั การเรยี นการสอนโดยใช้ส่อื ไฮเปอร์มีเดยี ผ่ายเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ใหโ้ อกาสผ้เู รียนท่ีจะเลือกเขา้ ศึกษาบาง
เนอ้ื หาเพิ่มท่ีตนเองต้องการเพ่อื บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ ซึ่งรวมท้ังการเลือกเรียนเน้อื หาท่ีไม่เพียง
กำหนดโดยผอู้ อกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพยี งกลุม่ เดียวเท่านั้นแตส่ ามารถเลอื กเนื้อหาที่เชอ่ื มโยงขอ้ มูล
ออกส่ภู ายนอก (External Link) ไปสแู่ หล่งขอ้ มูลอื่น ๆ ภายใต้เน้อื หาประเภทเดียวกนั จากลกั ษณะการ
เรียนดังกลา่ วจะเห็นได้วา่ กลไกควบคุมการเรียนจะอยู่ที่ตัวผู้เรยี นโดยสมบูรณ์ในการเรยี นการสอนบน
เครอื ข่ายเวลิ ด์ ไวด์ เว็บ นนั้ ผเู้ รยี นควรมวี ฒุ ิภาวะที่เหมาะสม และมที ักษะในการตรวจสอบพทุ ธิพิสยั
การเรียนรูข้ องตนเอง (Meta-Cognitive Skills) กล่าวคอื มีแนวทางการเรยี นของตน (Self-Directed)
ควบคุมและตรวจสอบตนเองได้ (Self-Monitoring) การเรียนด้วยการปฏิสมั พันธก์ บั ผูอ้ ืน่ รปู แบบการเรียน
เช่นน้อี าศัยคุณสมบตั ิของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรซ์ ึ่งผเู้ รยี นสามารถปฏิสัมพนั ธท์ างความคิดกับผู้สอนและ
ผู้เรยี นอน่ื ในขอบขา่ ยการเช่ือมโยงทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งลดข้อจำกดั เรือ่ งความแตกต่างของเวลาและสถานท่ี
ของผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียน รปู แบบการเรียนโดยใชก้ ระบวนการปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผู้เรยี นทไี่ ดร้ บั การ
วจิ ยั แลว้ พบวา่ ใหค้ วามสมั ฤทธ์ิในการเรยี นสงู ในชัน้ เรยี นปกตกิ ็ได้ถูกประยุกต์เขา้ กับการเรียนการสอนบน

29

เครอื ขา่ ย ซึ่งให้ผลเปน็ ทนี่ ่าพอใจ ไดแ้ ก่ การเรยี นแบบความรว่ มมอื (Collaborative Learning) การเรยี น

แบบความร่วมมือ หมายถงึ การเรยี นโดยการใช้กจิ กรรมท่ผี ้เู รียนจำนวนสองคนขึ้นไปรว่ มมอื กนั สรรหา

ความหมาย คน้ คว้า และพัฒนาทกั ษะการเรียนรว่ มกัน ซงึ่ อาจเป็นลักษณะของการเรยี นทใี่ ช้กระบวนการ

แก้ปญั หา (Problem-based Learning) เชน่ การสรา้ งสถานการณ์จำลองเพื่อการเรยี นดว้ ยโปรแกรมท่ี

แพร่หลายบนเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต ได้แก่ MUDs (Multiple User Dialogue, Multiple User

Domains) และ MUSEs (Multi User Simulation Environments) ซ่ึงเปน็ โปรแกรมทีจ่ ำลอง

สถานการณ์คล้ายของจรงิ เชน่ ในห้องปฏบิ ัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ให้ผู้ใช้แก้ปัญหา ส่วนผ้ใู ช้เองก็สามารถ

สรา้ งสถานการณจ์ ำลองข้นึ เองให้ผอู้ น่ื เข้าร่วมด้วยได้ โครงสร้างทีเ่ ป็นกิจกรรมกลุ่มเชน่ นี้ มีข้อท่ีควรต้อง

คำนึงเชน่ เดยี วกบั กิจกรรมทจ่ี ัดขึน้ ในช้นั เรยี นปกติ แต่ผู้เรียนที่มีปฏิสัมพนั ธ์กันผา่ นเครือข่ายไมไ่ ด้พบปะกัน

จริงในเวลาหรือ ณ สถานท่ีเดียวกนั ซึง่ นักวจิ ยั ไดศ้ กึ ษาพบความแตกตา่ งของพฤติกรรมกลุ่มทั่วไป เชน่

ผู้เรียนเตรยี มเนอื้ หาเพ่อื การอภปิ ราย ผู้สอนนำหัวข้อเร่ืองการสนทนา จัดกลุ่มยอ่ ยหรือจัดคูอ่ ภิปรายและ

ดูแลใหก้ ารอภิปรายอยใู่ นประเด็นและบรรลุวตั ถุประสงค์ หรอื จนกระท่งั ผเู้ รยี นสามารถดำเนนิ การอภิปราย

เอง ขอ้ ทีพ่ งึ ตระหนกั ในการสร้างปฏสิ มั พนั ธ์กลุ่มผ่านเครือขา่ ยกค็ ลา้ ยเชน่ การประชุมกลุม่ ทั่วไป เช่น หวั ขอ้

และกำหนดการลำดับการจดั การเพอ่ื กระตุ้นให้เกิดพลวตั และประสทิ ธภิ าพของกลุ่มการเรียนการสอนผ่าน

เครือข่าย ความหมายโดยรวมจงึ หมายถงึ การใช้โปรแกรมสอ่ื หลายมิติทีอ่ าศยั ประโยชนจ์ ากคุณลักษณะ

และทรัพยากรของอนิ เทอร์เน็ตและเวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ มาออกแบบเปน็ เวบ็ เพอื่ การเรยี นการสอน สนบั สนนุ และ

สง่ เสรมิ ให้เกดิ การเรยี นรอู้ ยา่ งมีความหมายเชอ่ื มโยงเปน็ เครือขา่ ยท่สี ามารถเรียนไดท้ ุกทท่ี ุกเวลา โดยมี

ลักษณะที่ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏสิ ัมพันธก์ ันโดยผ่านระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ทเ่ี ช่อื มโยงซงึ่ กนั และกนั การ

เรียนการสอนผ่านเครอื ข่ายจะตอ้ งอาศยั คณุ ลกั ษณะของอนิ เทอรเ์ น็ต 3 ประการในการนำไปใช้และประโยชน์

ทีจ่ ะได้ นั่นคือ

1. การนำเสนอ (Presentation) ในลักษณะของเวบ็ ไซต์ที่ประกอบไปด้วยขอ้ ความ กราฟิก ซึ่ง

สามารถนำเสนอไดอ้ ย่างเหมาะสมในลักษณะของสอ่ื คือ

1.1 การนำเสนอแบบสื่อทางเดยี ว เช่น เปน็ ข้อความ

1.2 การนำเสนอแบบสอื่ คู่ เชน่ ข้อความกับภาพกราฟกิ

1.3 การนำเสนอแบบมัลตมิ ีเดีย คอื ประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟกิ ภาพเคล่ือนไหว เสียง

และภาพยนตร์ หรือวดี ีโอ

2. การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องใช้ทุกวันในชีวิตซึ่งเป็น

ลักษณะสำคัญของอนิ เทอรเ์ นต็ โดยมกี ารสอ่ื สารบนอินเทอรเ์ น็ตหลายแบบ เชน่

2.1 การส่อื สารทางเดียว โดยดูจากเวบ็ เพจ 2.2 การ

ส่ือสารสองทาง เชน่ การส่งอีเมล์โต้ตอบกัน การสนทนาผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็

2.3 การส่ือสารแบบหนึ่งแหลง่ ไปหลายที่ เปน็ การส่งขอ้ ความจากแหล่งเดียวแพร่กระจายไปหลาย

แหง่ เชน่ การอภิปรายจากคนเดยี วใหค้ นอน่ื ๆ ได้รบั ฟังด้วย หรอื การประชุมทางคอมพิวเตอร์

2.4 การสื่อสารหลายแหลง่ ไปสู่หลายแหล่ง เช่น การใช้กระบวนการกลุ่ม

ในการสือ่ สารบนเว็บ โดยมีคนใชห้ ลายคนและคนรับหลายคนเช่นกัน
3. การก่อเกิดปฏิสัมพันธ์ (Dynamic Interaction) เป็นคุณลักษณะสำคัญของ

อินเทอรเ์ น็ต และลักษณะที่สำคัญท่ีสุดมี 3 ลกั ษณะ คอื

30

3.1 การสบื คน้
3.2 การหาวธิ กี ารเข้าสู่เว็บ
3.3 การตอบสนองของมนษุ ย์ในการใชเ้ ว็บ
5. ประโยชน์ของการเรียนการสอนผา่ นเครอื ข่าย
ประโยชนข์ องการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย ที่เป็นมิติใหม่ของเคร่ืองมือและกระบวนการใน
การเรียนการสอน ไดแ้ ก่
1. การเรียนการสอนสามารถเข้าถึงทกุ หนว่ ยงานท่มี ีอินเทอรเ์ น็ตตดิ ตงั้ อยู่
2. การเรียนการสอนกระทำได้โดยผู้เข้าเรียนไม่ตอ้ งทง้ิ งานประจำเพือ่ มาอบรม
3. ไมต่ อ้ งเสยี ค่าใชจ้ ่ายในการเรียนการสอน เชน่ คา่ ทพี่ กั คา่ เดินทาง
4. การเรยี นการสอนกระทำได้ตลอด 24 ชัว่ โมง
5. การจัดสอนหรืออบรมมีลักษณะที่ผู้เข้าเรียนเป็นศูนยก์ ลางการเรยี นรู้เกิดกับตัวผู้เข้าเรียน
โดยตรง
6. การเรยี นรเู้ ปน็ ไปตามความกา้ วหน้าของผรู้ ับการเรยี นการสอนเอง
7. สามารถทบทวนบทเรียนและเนอ้ื หาไดต้ ลอดเวลา
8. สามารถซกั ถามหรอื เสนอแนะ หรือถามคำถามได้ดว้ ยเครอ่ื งมอื บนเวบ็
9. สามารถแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระหว่างผู้เข้ารับการอบรมได้โดยเครื่องมือสื่อสารในระบบ
อนิ เทอร์เน็ต ทง้ั ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (E-mail) หรอื หอ้ งสนทนา (Chat Room) หรืออ่ืน ๆ
10. ไม่มีพิธกี ารมากนกั
การเรียนรู้สือ่ บนเครอื ขา่ ยเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดความรู้แลกเปลีย่ นข่าวสารขอ้ มูลระหว่างกนั
เน่อื งจากเวิลดไ์ วด์เว็บมีความสามารถในการถ่ายทอดข้อมูลได้หลายประเภทไมว่ ่าจะเปน็ ข้อความ ภาพน่ิง
ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ในปัจจุบันแนวทางการศึกษาได้เปลี่ยนกระบวนทัศน์จากการสอนโดยครูผู้สอน
หรือสื่อการสอนมาสู่การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่ให้ความสำคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผ่านการ
ปฏิบัติลงมือกระทำ ซึ่งแนวการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้มีความสอดคล้องกับทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสต์ซ่งึ เนน้ การสร้างความรดู้ ้วยตนเอง ดว้ ยการลงมือกระทำหรือปฏิบตั ิท่ผี ่านกระบวนการคิด ในการ
วิจยั ครงั้ นี้ ผูว้ จิ ัยเห็นวา่ การเรยี นร้บู นเครอื ข่ายมคี วามเหมาะสมในการนำมาพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรยี นรู้
ตามแนวทฤษฏีคอนสตรคั ตวิ สิ ต์

31

บทที่ 3
วธิ ีดำเนินการวจิ ัย

1. ข้นั ตอนในการดำเนนิ การวจิ ยั
1.1 การวิเคราะห์ ศึกษาสภาพปัญหา การจัดการเรียนการสอนกลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ศกึ ษาวิเคราะห์หลกั สตู รเพ่อื จำแนกกิจกรรมกระบวนการเรยี นรสู้ าระการเรยี นรูเ้ ทคโนโลยี กำหนดผลการ
เรยี นรู้ การวัดและประเมินผล โดยอิงผลการเรยี นรู้ของหลักสตู รวเิ คราะหส์ าระการเรยี นรู้เกย่ี วกบั เทคโนโลยี
โดยละเอยี ด กำหนดเปน็ หน่วยการเรียนรู้ และเนอื้ หาย่อยโดยละเอยี ด ศึกษาหลักการ วิธีการ ทฤษฎี และ

เทคนคิ วิธสี รา้ งแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้จากเอกสารตา่ งๆและงานศกึ ษา ท่เี กยี่ วขอ้ ง และเขียนแผนการ
จัดการเรยี นรู้

1.2 การออกแบบการสอน ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตา่ งๆ ในบทเรียน แบบทดสอบ แบบฝกึ
ทักษะ / กิจกรรม

1.3 การพัฒนา เป็นขน้ั การพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู้ และตรวจสอบคุณภาพแผนการจัดการ

เรยี นร้โู ดยผู้เชี่ยวชาญ
1.4 การดำเนินการนำแผนการจัดการเรยี นรู้ไปใช้จดั การเรยี นการสอนกับกลุ่มเปา้ หมายตามแบบ

แผนการทดลอง เกบ็ รวบรวมข้อมลู ต่างๆ ทเี่ กี่ยวข้องทไ่ี ด้จากการจัดการเรยี นการสอน
1.5 การประเมินผล เป็นการนำข้อมลู ท่ไี ด้จากการจัดการเรยี นการสนไปวิเคราะห์คา่ ทางสถิตแิ ละ

สรุปผลการจดั การเรียนการสอนเขียนรายงานผลการศกึ ษา

2. แผนการดำเนนิ การวจิ ยั

ตารางที่ 1 แผนการดำเนนิ การวิจยั

แผน วนั /เดือน/ปี กิจกรรม หมายเหตุ

R1 มิถนุ ายน- - การวเิ คราะห์ ศกึ ษาสภาพปัญหา
การออกแบบการสอน ออกแบบกิจกรรม
กรกฎาคม 2564 - การเรยี นรู้ตา่ งๆ ในบทเรยี น เครอ่ื งมือ
ประเมิน
D1 สงิ หาคม - พฒั นาสิ่งแวดลอ้ มทางการเรยี นรบู้ น
2564 เครือขา่ ย
- พฒั นาแผนการจัดการเรยี นรู้
- วพิ ากษแ์ ผนโดยผูร้ ่วมวิจยั
-
นำแผนการจัดการเรียนรไู้ ปใชจ้ ดั การเรยี น
- การสอนกับกล่มุ เปา้ หมายตามแบบ
แผนการทดลอง เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ต่างๆ ท่ี
เกย่ี วขอ้ งที่ได้จากการจดั การเรียนการสอน
สะท้อนผลการสอน

32

R2 สิงหาคม - นำผลการสะท้อนมาพฒั นานวตั กรรมและ
2564 แผนการจดั การเรยี นรู้

D2 กันยายน - วิพากษแ์ ผนโดยผรู้ ่วมวิจยั
2564
- นำแผนการจัดการเรียนรไู้ ปใชจ้ ัดการเรียน
R3 กันยายน การสอนกบั กล่มุ เปา้ หมายตามแบบ
2564 แผนการทดลอง เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลต่างๆ ท่ี
เกย่ี วขอ้ งที่ไดจ้ ากการจัดการเรยี นการสอน
D3 กันยายน
2564 - สะท้อนผลการสอน

- นำผลการสะทอ้ นมาพัฒนานวตั กรรมและ
แผนการจัดการเรยี นรู้

- วิพากษแ์ ผนโดยผู้รว่ มวจิ ยั

- นำแผนการจัดการเรยี นรู้ไปใชจ้ ดั การเรียน
การสอนกับกลุ่มเปา้ หมายตามแบบ
แผนการทดลอง เกบ็ รวบรวมข้อมูลต่างๆ ท่ี
เก่ยี วขอ้ งท่ไี ด้จากการจดั การเรยี นการสอน

- สะท้อนผลการสอน

3. ข้ันตอนการดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
มลี ำดับข้นั ตอนดังนี้

1. ชแ้ี จงใหผ้ ู้เรยี นทราบถงึ การจดั การเรียนรโู้ ดยใช้ส่ิงแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายท่ี
พัฒนาขน้ึ

2. ดำเนินการจดั การเรยี นรู้ ดว้ ยการจัดการเรียนร้เู ชิงรุกตามแนวทางการสอนคิด

โดยใช้สง่ิ แวดล้อมทางการเรยี นรบู้ นเครอื ขา่ ย
3. เกบ็ คะแนนจากการใบงาน ชนิ้ งาน แบบสงั เกตพฤติกรรม

4. รวบรวมขอ้ มลู ทง้ั หมดและวิเคราะหโ์ ดยวิธีการทางสถติ ิ
5. สรุปผลการดำเนินงาน

4. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล

1. วเิ คราะหผ์ ลการเกบ็ ขอ้ มูล

ผวู้ จิ ยั นำแบบประเมนิ คุณภาพแผนการจัดการเรียนร้ทู ีไ่ ด้จากผเู้ ชีย่ วชาญ

มาวิเคราะห์ ระดบั ความเหมาะสมโดยใช้สถติ ิค่าเฉลย่ี และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทียบกบั เกณฑ์การ

ประเมนิ ดงั นี้ (ลว้ น สายยศ. 2543 : 168)

ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.50 -5.00 หมายความว่า เหมาะสมมากที่สดุ

ค่าเฉล่ยี เท่ากับ 3.50 -4.49 หมายความวา่ เหมาะสมมาก

ค่าเฉล่ยี เท่ากับ 2.50 -3.49 หมายความวา่ เหมาะสมปานกลาง

33

ค่าเฉลี่ยเทา่ กับ 1.50 -2.49 หมายความวา่ เหมาะสมน้อย

ค่าเฉลย่ี เท่ากับ 1.00 -1.49 หมายความวา่ เหมาะสมน้อยทส่ี ดุ

เกณฑ์เฉลย่ี ของระดบั ความคิดเหน็ ของผเู้ ชี่ยวชาญในงานศึกษาน้ี ใชค้ ่าเฉล่ียของคะแนนตงั้ แต่

3.50 ขึ้นไป และค่าความเบีย่ งเบนมาตรฐานไม่เกิน 1.00

2. วเิ คราะห์ผลการประเมนิ การเชอื่ มโยงความคดิ

ผ้วู ิจยั ไดน้ ำคะแนนการประเมินการเชือ่ มโยงความคิดมาเปรยี บเทียบกับเกณฑ์ที่ตัง้ ไว้

ร้อยละ 70

3. วเิ คราะห์ความพงึ พอใจของนักเรียน

ผู้วจิ ัยนำแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ทไี่ ดจ้ ากประเมนิ ของนกั เรยี นกลุ่มตวั อยา่ งมาวเิ คราะห์

ระดบั ความพงึ พอใจ โดยใช้สถิติค่าเฉล่ีย และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน เทยี บกับเกณฑก์ ารประเมินดงั น้ี (

ล้วน สายยศ. 2543 : 168 )

ค่าเฉลยี่ เทา่ กับ 4.50 -5.00 หมายความวา่ เหมาะสมมากท่ีสุด

ค่าเฉล่ียเทา่ กับ 3.50 -4.49 หมายความว่า เหมาะสมมาก

ค่าเฉลยี่ เท่ากับ 2.50 -3.49 หมายความวา่ เหมาะสมปานกลาง

ค่าเฉลี่ยเทา่ กับ 1.50 -2.49 หมายความวา่ เหมาะสมนอ้ ย

ค่าเฉลย่ี เท่ากับ 1.00 -1.49 หมายความว่า เหมาะสมน้อยที่สุด

เกณฑเ์ ฉลี่ยของระดบั ความคดิ เหน็ ของผู้เชยี่ วชาญในงานศึกษาน้ี ใชค้ ่าเฉลี่ยของคะแนนตงั้ แต่

3.50 ขน้ึ ไป และค่าความเบีย่ งเบนมาตรฐานไมเ่ กิน 1.00

5. สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ผ้วู จิ ัยวเิ คราะหข์ อ้ มูล โดยเลือกใชส้ ถิตพิ น้ื ฐานดังน้ี

1. ค่าเฉล่ยี ( X ) คำนวณจากสูตร (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 105)

X =X
N

เมือ่

X แทน คะแนนเฉล่ีย

 X แทน ผลรวมคะแนนทง้ั หมดในกล่มุ

N แทน จำนวนนกั เรยี นในกลมุ่ ตวั อยา่ ง

2. สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D) คำนวณจากสูตร (บุญชม ศรสี ะอาด. 2545 : 106)

S.D. = N  x2 − ( x)2
N (N −1)

เม่อื S.D. แทน ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

x แทน ผลรวมของคะแนนในกลมุ่

34

 x2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตวั ยกกำลังสอง

N แทน จำนวนนักเรยี นในกลุม่ ตวั อยา่ ง

35

บทท่ี 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการพฒั นาความสามารถในการเช่อื มโยงความคิด (Apperception) จากการจัดกิจกรรมการ

เรยี นรเู้ ชิงรุก (Active Learning) ตามแนวทางการสอนคดิ (Thinking Schools) โดยใชส้ งิ่ แวดล้อมทางการ

เรยี นรบู้ นเครอื ขา่ ยรายวิชา การออกแบบผลิตภณั ฑ์ ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษา

ปที ่ี 6 ปรากฏผลดงั น้ี

ตารางท่ี 2.1 แสดงผลการพัฒนาความสามารถในการเชอื่ มโยงความคิด (Apperception) จากการ

จดั กิจกรรมการเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามแนวทางการสอนคิด (Thinking

Schools) โดยใช้สงิ่ แวดล้อมทางการเรยี นรูบ้ นเครือข่ายรายวิชา การออกแบบ

ผลติ ภัณฑ์ ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ครงั้ ที่ 1 เทยี บกับเกณฑ์ทีต่ ง้ั ไว้

รอ้ ยละ 70

ท่ี ชอื่ -สกลุ ผลการประเมนิ ช้นิ งาน รวม รอ้ ยละ

การออกแบบโมเดลชดุ รับแขก

ผลงาน สวยงาม ร่วมมือ คดิ ตรงต่อ

ถกู ตอ้ ง สร้างสรรค์ เวลา

444 4 4 20

1 นายคงเดช เกดิ โภคา 4 4 2 3 2 15* 75

2 นางสาวจีรนันท์ สนี อ้ ย 433 3 3 16* 80

3 นายคามนิ ทร์ บญุ ปก 444 4 4 20* 100

4 นายธนวฒั น์ เนื่องชุมพล 4 4 4 4 4 20* 100

5 นายประภวษิ ณ์ุ มาตา 443 3 3 17* 85

6 นายรฐั กิจ กุดน่ั 444 4 4 20* 100

7 นายสนทยา มูลลา 433 3 4 15* 75

8 นางสาวช่อผกา สขุ ยอด 432 3 2 14* 70

9 นางสาววนดิ า เขาเขียว 434 4 4 19* 95

10 นางสาวศศิวิมล ง่อนไถ 444 4 2 18* 90

11 นางสาวสุภทั รตา นามวงษ์ 444 4 4 20* 100

12 นางสาวพิกลุ ทวีศิลป์ 432 3 2 14* 70

13 นางสาวมาริสา สำราญรมย์ 4 4 4 3 4 19* 95

14 นางสาวสดุ ารัตน์ เทียนชัย 434 4 4 19* 95

จำนวนนักเรยี นทง้ั หมด (คน) 14

จำนวนนกั เรียนท่มี ีคะแนนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 (คน) 14

ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีคะแนนผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ70 (14 คะแนน) 100

ค่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียน ( X) 17.57

ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) 2.34

36

* หมายถึง คะแนนท่ีผา่ นเกณฑต์ งั้ แตร่ อ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป (14 คะแนนขน้ึ ไป)

จากตารางที่ 2 พบว่าจากการประเมนิ ชิน้ งานทเ่ี กิดจากการเชื่อมโยงความคิดของนกั เรียนจำนวน
14 คน โดยคะแนนเต็มจาก การทดสอบ 20 คะแนน มีนักเรียนจำนวน 14 คนได้คะแนนตั้งแต่ 14 คะแนนขึ้น
ไป โดยคิดเป็น ร้อยละ 100 ของนักเรียนทั้งหมดมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็น 17.57 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากบั 2.34 ซ่ึงจะเห็นไดว้ า่ คะแนนเฉลย่ี ของการทดสอบหลงั เรยี นผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กำหนดไว้

ตารางท่ี 2.2 แสดงผลการพัฒนาความสามารถในการเชือ่ มโยงความคดิ (Apperception) จากการ

จดั กิจกรรมการเรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning) ตามแนวทางการสอนคดิ (Thinking

Schools) โดยใช้สิง่ แวดล้อมทางการเรยี นรบู้ นเครอื ข่ายรายวชิ า การออกแบบ

ผลติ ภัณฑ์ ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ครั้งที่ 2 เทยี บกับเกณฑท์ ่ีต้งั ไว้

ร้อยละ 70

ท่ี ชื่อ-สกลุ ผลการประเมินชิ้นงาน รวม ร้อยละ

การออกแบบโมเดลห้องนั่งเลน่ 70.00
70.00
ผลงาน สวยงาม ร่วมมอื คดิ ตรงตอ่ 100
100
ถกู ต้อง สร้างสรรค์ เวลา 85.00
100
444 4 4 20 75.00
80.00
1 นายคงเดช เกิดโภคา 4 3 3 2 2 14 95.00
75.00
2 นางสาวจรี นันท์ สีน้อย 433 2 2 14 75.00
75.00
3 นายคามนิ ทร์ บญุ ปก 444 4 4 20 95.00
95.00
4 นายธนวัฒน์ เน่อื งชุมพล 4 4 4 4 4 20

5 นายประภวษิ ณ์ุ มาตา 443 3 3 17

6 นายรฐั กจิ กดุ ั่น 444 4 4 20

7 นายสนทยา มูลลา 433 3 2 15

8 นางสาวช่อผกา สขุ ยอด 433 3 3 16

9 นางสาววนดิ า เขาเขยี ว 434 4 4 19

10 นางสาวศศวิ ิมล ง่อนไถ 433 3 2 15

11 นางสาวสุภัทรตา นามวงษ์ 433 3 2 15

12 นางสาวพกิ ุล ทวศี ิลป์ 433 3 2 15

13 นางสาวมาริสา สำราญรมย์ 4 4 4 3 4 19

14 นางสาวสุดารตั น์ เทยี นชัย 434 4 4 19

จำนวนนักเรียนทงั้ หมด (คน) 14

จำนวนนักเรียนที่มีคะแนนผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 70 (คน) 14

รอ้ ยละของนกั เรยี นทีม่ คี ะแนนผา่ นเกณฑร์ ้อยละ70 (14 คะแนน) 100

ค่าคะแนนเฉลยี่ ของนกั เรยี น ( X) 17.00

สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D) 2.39

* หมายถึง คะแนนท่ีผ่านเกณฑต์ ั้งแต่รอ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป (14 คะแนนขึ้นไป)

37

จากตารางที่ 2 พบว่าจากการประเมินชิ้นงานที่เกิดจากการเชอื่ มโยงความคิดของนกั เรียนจำนวน
14 คน โดยคะแนนเต็มจาก การทดสอบ 20 คะแนน มีนักเรียนจำนวน 14 คนได้คะแนนตั้งแต่ 14 คะแนนข้ึน

ไป โดยคิดเป็น ร้อยละ 100 ของนักเรียนทั้งหมดมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็น 17.00 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากบั 2.39 ซึ่งจะเหน็ ได้วา่ คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลงั เรยี นผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 70 ตามทกี่ ำหนดไว้

ตารางที่ 2.3 แสดงผลการพฒั นาความสามารถในการเชื่อมโยงความคดิ (Apperception) จากการ

จัดกิจกรรมการเรียนรู้เชงิ รกุ (Active Learning) ตามแนวทางการสอนคดิ (Thinking

Schools) โดยใช้สงิ่ แวดล้อมทางการเรยี นรู้บนเครือข่ายรายวิชา การออกแบบ

ผลติ ภัณฑ์ ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 คร้ังที่ 3 เทยี บกับเกณฑ์ทีต่ ง้ั ไว้

ร้อยละ 70

ท่ี ชอื่ -สกุล ผลการประเมนิ ช้นิ งาน รวม ร้อยละ

การออกแบบโมเดลหอ้ งน่งั เลน่

ผลงาน สวยงาม ร่วมมอื คิด ตรงต่อ

ถูกตอ้ ง สรา้ งสรรค์ เวลา

444 4 4 20

1 นายคงเดช เกิดโภคา 4 3 2 3 2 14 70.0

2 นางสาวจีรนนั ท์ สีน้อย 433 3 4 17 85.0

3 นายคามินทร์ บญุ ปก 444 4 4 20 100.0

4 นายธนวฒั น์ เน่ืองชมุ พล 4 4 4 4 4 20 100.0

5 นายประภวษิ ณ์ุ มาตา 444 4 4 20 100.0

6 นายรัฐกิจ กุด่ัน 444 4 4 20 100.0

7 นายสนทยา มูลลา 333 3 2 14 70.0

8 นางสาวช่อผกา สุขยอด 333 3 2 14 70.0

9 นางสาววนดิ า เขาเขียว 433 3 2 15 75.0

10 นางสาวศศวิ ิมล ง่อนไถ 443 4 2 17 85.0

11 นางสาวสภุ ทั รตา นามวงษ์ 444 4 4 20 100.0

12 นางสาวพิกุล ทวศี ิลป์ 333 3 2 14 70.0

13 นางสาวมาริสา สำราญรมย์ 4 4 4 4 4 20 100.0

14 นางสาวสุดารัตน์ เทียนชัย 444 4 4 20 100.0

จำนวนนกั เรยี นท้ังหมด (คน) 14

จำนวนนกั เรียนท่ีมีคะแนนผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 (คน) 14

ร้อยละของนักเรยี นทีม่ ีคะแนนผา่ นเกณฑร์ ้อยละ70 (14 คะแนน) 100

ค่าคะแนนเฉลย่ี ของนกั เรียน ( X) 17.50

ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D) 2.77

* หมายถึง คะแนนทผ่ี ่านเกณฑต์ ้ังแตร่ อ้ ยละ 70 ขึ้นไป (14 คะแนนข้นึ ไป)

จากตารางที่ 2 พบว่าจากการประเมนิ ชิ้นงานท่เี กิดจากการเชอ่ื มโยงความคิดของนักเรียนจำนวน

38

14 คน โดยคะแนนเต็มจาก การทดสอบ 20 คะแนน มีนักเรียนจำนวน 14 คนได้คะแนนตั้งแต่ 14 คะแนนขน้ึ
ไป โดยคิดเป็น ร้อยละ 100 ของนักเรียนทั้งหมดมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็น 17.50 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากบั 2.77 ซงึ่ จะเหน็ ได้วา่ คะแนนเฉลีย่ ของการทดสอบหลงั เรียนผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 70 ตามทก่ี ำหนดไว้

39

บทท่ี 5

สรปุ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

การพฒั นาความสามารถในการเช่ือมโยงความคดิ (Apperception) จากการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ ชงิ
รุก (Active Learning) ตามแนวทางการสอนคดิ (Thinking Schools) โดยใชส้ ง่ิ แวดล้อมทางการเรียนรู้บน
เครือขา่ ยของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรียนโนนหนั วทิ ยายนสรุป อภปิ รายผลไดด้ งั นี้

1. สรุปผล
ผลการพัฒนาความสามารถในการเชื่อมโยงความคิด(Apperception) จากการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) ตามแนวทางการสอนคิด (Thinking Schools) โดยใช้สิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้บนเครือข่ายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนโนนหันวิทยายน พบว่าจากการทดสอบของ
นักเรียนจำนวน 14 คน โดยคะแนนเต็มจาก การประเมินชิ้นงานที่เกิดจากการเชื่อมโยงความคิด 20 คะแนน
มีนักเรียนจำนวน 14 คนได้คะแนนตั้งแต่ 14 คะแนนข้ึนไป โดยคิดเป็นร้อยละ 100 ของนักเรียนทั้งหมดมี
คะแนน เฉลี่ยคิดเป็น 17.36 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.50 ซึ่งจะเห็นได้ว่าคะแนนเฉลี่ยของการ
ทดสอบหลงั เรยี นผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 70 ตามทกี่ ำหนดไว้

2.อภิปรายผล
ผลการพัฒนาความสามารถในการเชื่อมโยงความคิด(Apperception) จากการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) ตามแนวทางการสอนคิด (Thinking Schools) โดยใช้สิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้บนเครือข่ายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนโนนหันวิทยายน พบว่าจากการทดสอบของ
นักเรยี นจำนวน 14 คน โดยคะแนนเต็มจาก การประเมินชนิ้ งานที่เกิดจากการเช่ือมโยงความคิด 20 คะแนน มี
นักเรยี นจำนวน 14 คนไดค้ ะแนนตั้งแต่ 14 คะแนนขึ้นไป โดยคิดเป็น ร้อยละ 100 ของนักเรียนทง้ั หมดมคี ะแนน
คะแนนเฉลย่ี คิดเปน็ 17.36 และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.50 จะเหน็ ได้ว่าคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบ
หลงั เรยี นผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 70 ตามท่กี ำหนดไว้
อาจเน่ืองมาจากผู้วิจยั ดำเนินการพัฒนาแผนการจัดการเรยี นร้เู พื่อเป็นคู่มือการจัดการเรยี นรู้เชิงรุก (Active
Learning) ตามแนวทางการสอนคิด (Thinking Schools) โดยใช้ส่งิ แวดล้อมทางการเรยี นรู้บนเครือข่ายเพื่อ
นำไปใชใ้ นการพัฒนาความสามารถในการเชอื่ มโยงความคิด (Apperception) ผ่านการตรวจสอบกล่ันกรอง
จากหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ หัวหน้า
ฝ่ายวชิ าการและรองผู้อำนวยการฝ่ายวชิ าการ สอดคล้องกบั การใช้เทคนิคการฝกึ ฝนการใช้เครื่องมือสอนคิด
ของโรงเรยี นทำให้นักเรียนเกดิ ทกั ษะในการคดิ การพฒั นาสิง่ แวดล้อมทางการเรยี นรบู้ นเครือขา่ ย โดยทฤษฎี
ของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด (Apperception) เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกิดจากแรง
กระต้นุ ภายนอกหรอื สง่ิ แวดลอ้ ม (neutral - passive) การเรยี นรู้เกิดจากการทบี่ คุ คลไดร้ ับประสบการณ์ผ่าน
ทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 (sensation) และความรู้สึก(feeling) คือ การตีความหรือแปลความหมายจากการ
สมั ผัส การจัดการเรยี นการสอนตามทฤษฏนี ้ีจึงเนน้ ให้ผู้เรียนไดร้ ับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสท้ัง 5
และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้เป็นอย่างดี
การออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยผ่านการปฏิบัติลงมือกระทำ

40

แนวการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้มีความสอดคล้องกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ซึ่งเน้นการ
สร้างความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการลงมือกระทำหรือปฏิบัติที่ผ่านกระบวนการคิด โดยอาศัยประสบการเดิม
หรือความรเู้ ดิมที่มอี ย่แู ลว้ เชื่อมโยงกบั ประสบการณใ์ หมห่ รือความรใู้ หม่ เพ่อื ขยายโครวงสรา้ งทางปัญญา การ
จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อตอ่ การเรียนรู้หรือสร้างความรู้ของผู้เรยี น ด้วยการนำวิธีการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
หรอื สื่อตลอดจนภูมิปญั ญาท้องถน่ิ มาใช้รว่ มกัน เพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการเรยี นรู้

3.ปัญหา อปุ สรรคแ์ ละข้อเสนอแนะ
3.1 ปัญหา/อปุ สรรค
3.1.1 นกั เรียนบางส่วนไมเ่ ข้าชนั้ เรียนตามเวลา
3.2 ข้อ เสนอแนะ
3.2.1 นักเรียนตดิ ตามงานดว้ ยตนเอง
3.2.2 ควรมกี ารวจิ ัยในเนือ้ หาอ่ืนและระดบั ชนั้ อน่ื ๆ ต่อไป

41

บรรณานกุ รม

กดิ านันท์ มลทิ อง. (2543). เทคโนโลยกี ารศกึ ษาและนวตั กรรม. พิมพค์ ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร: อรณุ
การพิมพ์

กาญจนา ลาภรวย.(2532).การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาวิทยาศาสตร์ ผลสมั ฤทธดิ์ า้ นทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแกป้ ญั หาเชงิ วทิ ยาศาสตร์ของนักเรยี น
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 ที่ระดบั ความสามารถทางการเรยี นวชิ าวิทยาศาสตร์แตกตา่ งกนั โดยการ
สอนแบบไมช่ ้ีแนวทาง และการสอนสาธิตแบบชแ้ี นวทาง.ปริญญานพิ นธก์ ารศึกษามหาบณั ฑติ
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ.

ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2542). การสอนผ่านเว็บเวิลด์ไวด์เว็บ. วารสารครุศาสตร์, 27(3), 18-28.
ฐิตินนั ท์ โจณสิทธ์ิ. (2549).การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และ

ความสามารถในการแกป้ ญั หา เร่อื งแรงและการเคลอ่ื นที่ โดยใชก้ ิจกรรมโครงงาน
วิทยาศาสตร.์ วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑติ
วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ .
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2544). การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction)นวตั กรรมเพือ่ คณุ ภาพการ
เรยี นการสอน. วารสารศึกษาศาสตรส์ าร, 28(1), 87-94
บญุ เรือง เนียมหอม. (2540ก). การพฒั นาระบบการเรยี นการสอนทางอินเทอรเ์ นต็ ในระดับอุดมศึกษา.
วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาครุศาสตรม์ หาบญั ฑิต สาขาวิชาโสตทศั นศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
ปยิ ดา ปัญญาศรี. (2545).การเปรยี บเทยี บความสามารถในการคดิ แก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปี
ท่ี 1 ระหว่างนักเรยี นท่ีมแี บบการเรยี น การอบรมเลยี้ งดู และระดับเชาวป์ ญั ญาแตกตา่ งกัน.
วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาการศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาการวจิ ยั การศึกษา มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.
พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ,2542
ภาสกร เรืองรอง. (2544).Web Based Learning. คน้ เมื่อ 24 มนี าคม 2551, จาก
http://angsila.compsci.buu.ac.th/~sc440186/samana/Web%20Based%20Learning.do
c
วชิ ดุ า รตั นเพยี ร. (2545). การเรียนการสอนผา่ นเวบ็ : ทางเลือกใหมข่ องเทคโนโลยีการศึกษาไทย.
วารสารครศุ าสตร์, 27 (3), 29-35
สุทธิพร จิตตม์ ิตรภาพ. (2553). การเรียนในศตวรรษที่ 21.คน้ เมื่อ 31 มนี าคม 2557, จาก
http://www.anon.in.th/index.php/gellery/1-anon/detail/5-2013-04-28-20-43-33?
tmpl=component&phocaslideshow=0
สมุ าลี ชยั เจรญิ . (2551). เทคโนโลยกี ารศกึ ษาและการพฒั นาระบบการสอน. ขอนแกน่ : ภาควชิ า
เทคโนโลยีการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น.
สมุ าลี ชยั เจริญ. (2554). เทคโนโลยีการศึกษา หลกั การ ทฤษฏี ส่กู ารปฏบิ ัติ. ขอนแกน่ : ภาควิชา
เทคโนโลยกี ารศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .

42

สรรรัชต์ หอ่ ไพศาล. (2544). นวตั กรรมและการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาในสหัสวรรษใหม่:
กรณีการจัดการเรยี นการสอนฝ่านเวบ็ (Web Based Instruction: WBI). วารสารศรีปทมุ ปรทิ ัศน์
, 1(2), 93-104

สายฝน จารีต. (2547). การศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาโดยการใชก้ ิจกรรมคำถามปลายเปิด
แบบเร้าของเด็กปฐมวยั โรงเรยี นหนองกุมพิทยาคม สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาขอนแกน่
เขต 5. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาศึกษาศาตรมหาบณั ฑิต สาขาหลกั สตู รและการสอน บณั ฑิต
วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น.

สายสุนีย์ สีหวงษ.์ (2545).ความสัมพนั ธร์ ะหว่างทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เจตคตทิ าง
วิทยาศาสตร์กับความสามารถในการแกป้ ัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนกั เรยี นประถมศกึ ษา
จังหวัดบุรีรมั ย์ สังกดั สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดบุรีรัมย.์ วทิ ยานพิ นธป์ ริญญา
การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าการวจิ ยั การศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551,2551
อษุ า จนี เจนกจิ . (2544). การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์ และทักษะการ

ทดลองวทิ ยาศาสตร์ ของนักศึกษาวศิ วกรรมเคมี ชั้นปีที่ 2 ทไ่ี ดร้ บั การสอนด้วยคอมพิวเตอร์
ชว่ ยสอนประกอบการทดลอง เรอื่ ง การวิเคราะหต์ ัวอยา่ งน้ำ. ปริญญานิพนธก์ ารศกึ ษา
มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ.
อไุ ร ทองหวั ไผ่. (2553). การพัฒนาโมเดลส่ิงแวดล้อมการเรียนรบู้ นเครือขา่ ยท่สี ง่ เสรมิ ความเข้าใจ
โปรแกรม. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาปรัชญาดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑติ
วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
Clark, C.L. (1996). A student’Guide to the Internet. Saddle River, New Jersey: Prentice
Hall.
Duffy, T.M & Cunningham, D.J. (1996). CONSTRUCTIVISM: Implications for the design and
delivery of instruction. Handbook of Research for Educational Communication
and Technology. In D.H. Jonassen (Ed.). Ny: Simon & Schuster.
Eisenberg, Michael B. Essential Skills for the Information Age: The Big6™ in Action.
Video;
38 minutes. Worthington, Ohio: Linworth Publishing, 1999.
Hannafin, M., Susan, L. & Kevin O. (1999). Open Learning Environments: Foundations,
Methoods, and Models. In M.R. Charles (Ed.). Instructional Design Theories And
Models: A New Paradingm of Instructional Theory. Volumn II. New Jersey:
Lawrence Erlbaum.
Khan, B.H. (1997). Web-Based Instruction.Englewood Cliffs, New Jersey: Education
Technology Publication.
Lannpere, M. (1997). DefiningWeb-Based Instruction.Retrieved July 21, 2008, From
http://viru.tpu.ee/WBCD/defin.htm.

43

Mayer, R.E. (1996b). Learning strategies for making sense out of expository text: The SOI
model for guiding three cognitive processes in knowledge construction.
Educational Psychology Review, 8, 357-371

Relan, A. & Gillani, B.B. (1997). Web-Based Information and the Traditional Classroom:
Similarities And Differencee.In B.H. Khan (Ed.). Web-Based Instruction.Englewood
Cliffs. New Jersey: Educational Technology Publications.

Von Glasersfeld, E. (1991). “CONSTRUCTIVISM in education.” In the international
Eneyelopedia of Education. Research and Studies. Supplementary Volume.
New York : Pergamom Press.

44


Click to View FlipBook Version