The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการวิเคราะหลักสูตร รายวิชา กราฟิกพื้นฐาน ว30284 ระดับชั้น ม.4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sucharat ratchasarn, 2022-04-11 10:47:38

รายงานผลการวิเคราะหลักสูตร 2/64

รายงานผลการวิเคราะหลักสูตร รายวิชา กราฟิกพื้นฐาน ว30284 ระดับชั้น ม.4

คำนำ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 น้นั ครผู ู้จัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ จะตอ้ งมีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั หลกั สูตรแกนกลาง สามารถวิเคราะหเ์ ก่ียวกับหลักสูตรว่ามี
ความตอ้ งการให้ผเู้ รยี นมีคุณภาพอย่างไร และสามารถนาหลักสตู รแกนกลางนั้นมาจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้ผ้เู รยี น
เกดิ การพฒั นาตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหลกั สตู ร

การวิเคราะห์หลกั สูตร รายวิชา กราฟิกพ้นื ฐาน รหัสวชิ า ว 30284 เลม่ น้ี ได้แสดงการวเิ คราะห์ ตัวชีว้ ัด
และสาระการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อให้สามารถ
นามาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยภายในเล่มประกอบด้วย ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
คาอธบิ ายรายวชิ าโครงสร้างรายวชิ าแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวทางการประเมินผลการจดั การเรยี นรู้

หวงั เปน็ อย่างย่งิ ว่าเอกสารฉบบั น้ี คงจะเปน็ ประโยชน์สาหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ พ่อื พัฒนาผู้เรยี น
ได้ตรงตามเปา้ หมายและวตั ถุประสงค์ของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

นางสาวสุชารตั น์ ราชสาร

สำรบัญ หนา้
1
เรอ่ื ง 1
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน
1
วสิ ัยทัศน์ 1
หลกั การ 2
จดุ หมาย
สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3
เปา้ หมายของวิทยาศาสตร์
เรยี นรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ 3
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 4
คุณภาพผู้เรียน 5
ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตร
คาอธิบายรายวิชา 8
แบบบนั ทึกการจัดทาหน่วยการเรยี นรู้ 9
หนว่ ยการเรยี นรู้
โครงการสอน 10
วธิ ีการวดั ผลประเมินผล 11
รายละเอยี ดการเกบ็ คะแนน 12
แผนการประเมินผล
18
18

20

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

วสิ ัยทัศน์
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน มุ่งพฒั นาผ้เู รยี นทุกคน ซง่ึ เป็นกาลงั ของชาติใหเ้ ป็นมนุษย์ทม่ี ีความ

สมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติ ที่จาเป็นต่อ
การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเช่ือว่า
ทกุ คนสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ

หลักการ

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน มหี ลักการท่สี าคัญ ดงั นี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเป็น
ไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คณุ ภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ให้สอดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของทอ้ งถิน่
4. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาที่มโี ครงสรา้ งยดื หย่นุ ทั้งดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรยี นรู้
5. เป็นหลกั สูตรการศึกษาที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จุดหมาย

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จงึ กาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกดิ กับผูเ้ รียน เม่ือจบการศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน ดังนี้

1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนบั ถอื ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคดิ การแก้ปญั หา การใช้เทคโนโลยี และมที ักษะชีวติ
3. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตที่ดี มสี ขุ นสิ ัย และรักการออกกาลงั กาย
4. มคี วามรกั ชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ ม่ันในวิถีชวี ติ และการปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะทมี่ ุ่งทาประโยชนแ์ ละสรา้ งสง่ิ ท่ีดงี ามในสังคม และอยู่รว่ มกันในสงั คมอยา่ งมีความสุข



สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ในการพฒั นาผูเ้ รยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มงุ่ เน้นพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคณุ ภาพตาม
มาตรฐานที่กาหนด ซึ่งจะช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ดังน้ี

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน มุ่งให้ผู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพือ่ ขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วิธกี ารสอ่ื สาร ท่มี ปี ระสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มตี อ่ ตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อ
การตดั สนิ ใจเกยี่ วกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความร้มู าใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมกี ารตดั สนิ ใจท่มี ปี ระสิทธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดขน้ึ ต่อตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่รว่ มกนั ในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การ
ปรับตัวให้ทันกับการเปลย่ี นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ยี งพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่ี
ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อน่ื
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ื อการพัฒ นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร
การทางาน การแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถ
อยรู่ ่วมกบั ผู้อ่ืนในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ
3. มีวนิ ยั
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มงุ่ มนั่ ในการทางาน
7. รักความเป็นไทย



8. มีจิตสาธารณะ
นอกจากน้ี สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพ่ิมเติมให้สอดคล้องตามบริบทและ
จดุ เน้นของตนเอง

เป้าหมายของวิทยาศาสตร์
ในการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผูเ้ รียนได้คน้ พบความรู้ดว้ ยตนเองมากท่ีสุด

เพ่ือใหไ้ ดท้ ง้ั กระบวนการและความรู้ จากวธิ ีการสงั เกต การสารวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนาผลที่ได้
มาจดั ระบบเป็นหลักการ แนวคิด และองค์ความรู้
การจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมเี ปา้ หมายท่สี าคญั ดงั น้ี

๑. เพื่อให้เข้าใจหลักการ ทฤษฎี และกฎทเ่ี ปน็ พ้นื ฐานในวชิ าวทิ ยาศาสตร์
๒. เพือ่ ให้เขา้ ใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวทิ ยาศาสตร์และข้อจากดั ในการศึกษาวชิ าวิทยาศาสตร์
๓. เพื่อให้มีทักษะท่ีสาคัญในการศึกษาค้นคว้าและคิดคน้ ทางเทคโนโลยี
๔. เพือ่ ใหต้ ระหนักถงึ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษยแ์ ละสภาพแวดล้อมใน
เชิงที่มีอิทธพิ ลและผลกระทบซ่งึ กนั และกนั
๕. เพอื่ นาความรู้ ความเขา้ ใจ ในวชิ าวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ สังคมและการ
ดารงชีวติ
๖. เพื่อพัฒนากระบวนการคดิ และจนิ ตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และการจัดการ ทกั ษะใน
การส่ือสาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ
๗. เพอื่ ใหเ้ ปน็ ผู้ท่มี จี ิตวิทยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มในการใชว้ ิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอยา่ งสรา้ งสรรค์

เรยี นร้อู ะไรในวิทยาศาสตร์

เรียนรอู้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์
กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรม์ ุ่งหวังใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ท่เี น้นการเช่อื มโยงความรกู้ บั

กระบวนการ มีทกั ษะสาคัญในการค้นควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และ
แก้ปญั หาทห่ี ลากหลาย ให้ผู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในการเรียนรู้ทกุ ข้ันตอน มีการทากิจกรรมดว้ ยการลงมือปฏิบัตจิ รงิ
อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ชั้นโดยกาหนดสาระสาคัญ ดงั น้ี

✧ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ เรยี นรเู้ กีย่ วกับ ชวี ิตในส่งิ แวดลอ้ ม องค์ประกอบของสิ่งมีชวี ติ
การดารงชีวติ ของมนุษยแ์ ละสัตว์ การดารงชวี ิตของพชื พนั ธกุ รรม ความหลากหลายทางชีวภาพ
และววิ ัฒนาการของสิ่งมชี วี ิต

✧ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เรียนรูเ้ ก่ยี วกบั ธรรมชาติของสาร การเปลย่ี นแปลงของสาร
การเคลอื่ นที่ พลังงาน และคลืน่

✧ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ เรียนรูเ้ ก่ียวกบั องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสมั พนั ธ์
ภายในระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลีย่ นแปลงทางธรณวี ิทยา กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อสิ่งมชี ีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม

✧ เทคโนโลยี
●การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เก่ยี วกบั เทคโนโลยเี พ่ือการดารงชวี ิตในสังคมทีม่ กี าร

เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใช้ความรแู้ ละทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่อื แก้ปัญหาหรอื พฒั นางานอยา่ งมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ



เชงิ วิศวกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคานงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ิต สงั คม และสง่ิ แวดล้อม
●วทิ ยาการคานวณ เรียนรู้เก่ียวกบั การคิดเชิงคานวณ การคดิ วเิ คราะห์ แก้ปัญหา

เปน็ ขนั้ ตอนและเป็นระบบ ประยกุ ต์ใชค้ วามรดู้ ้านวิทยาการคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร ในการแกป้ ัญหาทพ่ี บในชวี ติ จรงิ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

iสาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสิง่ ไมม่ ีชีวติ กับสิง่ มชี ีวติ
และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่งิ มชี ีวติ กบั ส่งิ มีชวี ติ ตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลงั งาน การเปลย่ี นแปลงแทนที่
ในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบท่มี ีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
แนวทางในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดล้อมรวมทงั้ นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบตั ขิ องส่ิงมีชวี ิต หน่วยพนื้ ฐานของสง่ิ มีชีวติ การลาเลียงสารเข้า
และออกจากเซลล์ ความสมั พันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ทข่ี องระบบตา่ ง ๆของสตั วแ์ ละมนุษยท์ ี่ทางานสัมพนั ธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องอวัยวะต่าง ๆ ของพืชทีท่ างานสัมพันธ์กนั รวมทง้ั นาความร้ไู ปใช้
ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม
สารพันธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธุกรรมท่ีมผี ลตอ่ สิ่งมีชวี ติ ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ
สง่ิ มชี วี ิต รวมทัง้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหว่างสมบตั ิของ

สสารกับโครงสร้างและแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร
การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวนั ผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ลกั ษณะ
การเคล่ือนทแี่ บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลย่ี นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งานปฏสิ ัมพันธ์
ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวติ ประจาวัน ธรรมชาตขิ องคลื่น ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เสยี ง แสง
และคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมทงั้ นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของเอกภพกาแล็กซี

ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมท้งั ปฏิสมั พนั ธภ์ ายในระบบสุริยทสี่ ง่ ผลต่อส่งิ มชี ีวติ และการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี
อวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองคป์ ระกอบและความสัมพันธข์ องระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายใน
โลกและบนผวิ โลก ธรณพี ิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศและภูมอิ ากาศโลก รวมทง้ั ผลต่อส่งิ มชี วี ิต
และสงิ่ แวดล้อม

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี



มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยเี พื่อการดารงชีวติ ในสงั คมทีม่ กี ารเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเรว็ ใช้ความรูแ้ ละทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อนื่ ๆ เพื่อแกป้ ัญหาหรอื พัฒนางาน
อย่างมีความคิดสร้างสรรคด์ ้วยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสม
โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชวี ิต สงั คม และส่ิงแวดล้อม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปญั หาทพี่ บในชีวิตจรงิ อย่างเปน็ ขัน้ ตอนและ
เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้การทางาน และการแก้ปัญหาได้อยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ ร้เู ท่าทัน และมีจรยิ ธรรม

คุณภาพผเู้ รยี น
จบช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖

❖ เขา้ ใจการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย์ ภูมิคุ้มกันในร่างกาย
ของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ที่พืชสร้างขึ้น การถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วิวัฒนาการท่ีทาให้เกิดความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต
ความสาคญั และผลของเทคโนโลยที างดเี อน็ เอต่อมนษุ ย์สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอ้ ม

❖ เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลง แทนท่ีในระบบ
นเิ วศ ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม แนวทางในการ อนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ
และการแกไ้ ขปัญหาสงิ่ แวดลอ้ ม

❖ เข้าใจชนิดของอนุภาคสาคัญท่ีเป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติ บางประการของธาตุ
การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติ ต่าง ๆ ของสารที่มีความสัมพันธ์
กับแรงยึดเหนี่ยว พันธะเคมีโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ การเกิดปฏิกิริยาเคมีปัจจัยท่ีมีผลต่ออัตรา
การเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมแี ละการเขียนสมการเคมี

❖ เข้าใจปริมาณที่เก่ียวกับการเคล่ือนที่ ความสมั พันธ์ระหว่างแรง มวลและความเรง่ ผลของความเรง่ ท่ีมี
ต่อการเคลื่อนท่ีแบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ ระหว่างสนามแม่เหล็กและ
กระแสไฟฟา้ และแรงภายในนวิ เคลยี ส

❖ เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน การเปล่ียน พลังงานทดแทนเป็น
พลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคล่ืน การได้ยิน
ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง สีกับการมองเห็นสีคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า และประโยชน์ของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า

❖ เข้าใจการแบ่งช้ันและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคล่ือนที่ ของแผ่นธรณีที่
สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุกระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ ระเบิด สึนามิผลกระทบ
แนวทางการเฝา้ ระวัง และการปฏิบัตติ นให้ปลอดภัย

❖ เข้าใจผลของแรงเนอ่ื งจากความแตกตา่ งของความกดอากาศ แรงคอรอิ อลิส ทม่ี ี ต่อการหมุนเวียนของ
อากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลท่ีมีต่อภูมิอากาศ ความสัมพันธ์ของการหมุนเวียนของ
อากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้าในมหาสมุทร และผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ ส่ิงมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพื่อลดกิจกรรมของมนุษย์ท่ี
ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก รวมท้ังการแปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศท่ีสาคัญจากแผนท่ี
อากาศ และขอ้ มูลสารสนเทศ

❖ เข้าใจการกาเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของ เอกภพ หลักฐานที่
สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแลก็ ซโี ครงสร้างและองคป์ ระกอบของ กาแลก็ ซที างช้างเผอื ก กระบวนการ
เกดิ และการสรา้ งพลังงาน ปัจจัยที่สง่ ผลต่อความส่องสว่างของ ดาวฤกษ์และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความส่องสวา่ ง



กับโชติมาตรของดาวฤกษ์ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์วิวัฒนาการและการ
เปล่ียนแปลงสมบัติบางประการของ ดาวฤกษ์กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์
ลกั ษณะของดาวเคราะห์ ที่เอือ้ ต่อการดารงชีวิต การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลท่ีมีต่อโลก รวมท้ังการสารวจ
อวกาศและ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ

❖ ระบุปญั หา ตง้ั คาถามทจ่ี ะสารวจตรวจสอบ โดยมีการกาหนดความสมั พันธ์ระหวา่ งตัวแปรตา่ ง ๆ
สืบคน้ ขอ้ มูลจากหลายแหลง่ ต้งั สมมติฐานทีเ่ ป็นไปไดห้ ลายแนวทาง ตัดสนิ ใจเลือกตรวจสอบสมมติฐานทเี่ ปน็ ไปได้

❖ ตั้งคาถามหรือกาหนดปญั หาทอี่ ยูบ่ นพ้นื ฐานของความร้แู ละความเขา้ ใจทางวิทยาศาสตร์ ทแี่ สดงให้
เห็นถงึ การใช้ความคิดระดบั สูงทีส่ ามารถสารวจตรวจสอบหรอื ศึกษาคน้ ควา้ ไดอ้ ย่างครอบคลุมและเชอื่ ถอื ได้สรา้ ง
สมมตฐิ านท่มี ีทฤษฎรี องรับหรอื คาดการณ์สิง่ ทจ่ี ะพบ เพอื่ นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ออกแบบวธิ ีการสารวจ
ตรวจสอบตามสมมติฐานท่ีกาหนดไว้ได้อย่างเหมาะสมมหี ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ เลอื กวัสดุ อปุ กรณ์ รวมทั้งวิธกี ารใน
การสารวจตรวจสอบอย่างถูกตอ้ งทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบนั ทกึ ผลการสารวจตรวจสอบอยา่ งเปน็ ระบบ

❖ วิเคราะห์แปลความหมายข้อมูล และประเมนิ ความสอดคล้องของข้อสรุปเพื่อตรวจสอบกับสมมติฐาน
ทีต่ ้ังไว้ใหข้ อ้ เสนอแนะเพือ่ ปรับปรงุ วธิ กี ารสารวจตรวจสอบ จัดกระทาขอ้ มูลและนาเสนอขอ้ มลู ด้วยเทคนิควิธที ่ี
เหมาะสม สือ่ สารแนวคิด ความรจู้ ากผลการสารวจตรวจสอบโดยการพดู เขยี น จัดแสดงหรือใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศเพือ่ ให้ผ้อู น่ื เขา้ ใจโดยมีหลกั ฐานอา้ งองิ หรือมที ฤษฎรี องรับ

❖ แสดงถงึ ความสนใจ ม่งุ ม่นั รบั ผิดชอบ รอบคอบ และซือ่ สตั ย์ ในการสืบเสาะหาความรูโ้ ดยใช้เครื่องมอื
และวิธีการท่ีใหไ้ ด้ผลถูกต้อง เชอื่ ถือได้มีเหตผุ ลและยอมรับไดว้ า่ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์อาจมกี ารเปล่ียนแปลงได้

❖ แสดงถึงความพอใจและเหน็ คุณค่าในการคน้ พบความรูพ้ บคาตอบ หรือแก้ปญั หาได้ทางานร่วมกบั ผู้อ่ืน
อย่างสรา้ งสรรค์แสดงความคิดเหน็ โดยมีขอ้ มูลอา้ งอิงและเหตผุ ลประกอบเกย่ี วกบั ผลของการพฒั นาและการใช้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ย่างมคี ุณธรรมต่อสังคมและสง่ิ แวดล้อม และยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผ้อู ่นื

❖ เขา้ ใจความสมั พันธ์ของความรูว้ ิทยาศาสตร์ทีม่ ีผลตอ่ การพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และการ
พัฒนาเทคโนโลยีทสี่ ่งผลให้มกี ารคิดคน้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทีก่ ้าวหน้าผลของเทคโนโลยตี อ่ ชวี ิต สังคม และ
ส่ิงแวดลอ้ ม

❖ ตระหนกั ถึงความสาคัญและเหน็ คุณค่าของความรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีท่ีใช้ในชวี ติ ประจาวนั ใช้
ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ แสดงความช่ืนชม
ภมู ิใจ ยกย่อง อา้ งอิงผลงาน ช้นิ งานท่ีเป็นผลมาจากภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ และการพัฒนาเทคโนโลยที ี่ทันสมัย ศึกษา
หาความรเู้ พมิ่ เติม ทาโครงงานหรอื สร้างช้ินงานตามความสนใจ

❖ แสดงความซาบซึ้ง หว่ งใย มพี ฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรกั ษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
อยา่ งร้คู ุณค่า เสนอตวั เองร่วมมอื ปฏบิ ัติกบั ชุมชนในการป้องกนั ดแู ลทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มของ
ทอ้ งถิน่

❖ วเิ คราะหแ์ นวคิดหลักของเทคโนโลยไี ด้แก่ ระบบทางเทคโนโลยที ซี่ ับซอ้ นการเปล่ียนแปลงของ
เทคโนโลยีความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยีกบั ศาสตรอ์ ืน่ โดยเฉพาะวิทยาศาสตรห์ รอื คณิตศาสตร์วเิ คราะห์
เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพ่อื เลอื กใช้เทคโนโลยโี ดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชีวติ สังคม เศรษฐกิจ และสง่ิ แวดลอ้ ม
ประยุกตใ์ ช้ความรูท้ กั ษะ ทรพั ยากรเพือ่ ออกแบบสรา้ งหรอื พฒั นาผลงาน สาหรับแก้ปัญหาท่มี ีผลกระทบตอ่ สังคม
โดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ใช้ซอฟต์แวร์ชว่ ยในการออกแบบและนาเสนอผลงาน เลือกใชว้ ัสดุ
อปุ กรณ์และเครื่องมือได้อย่างถกู ต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทง้ั คานึงถึงทรพั ย์สินทางปัญญา

❖ ใชค้ วามรทู้ างดา้ นวิทยาการคอมพิวตง้ิ ส่ือดจิ ิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศละการส่ือสารเพ่อื รวบรวม
ข้อมลู ในชีวิตจริงจากแหลง่ ตา่ งๆ และความรู้จากศาสตร์อ่ืน มาประยุกต์ใช้สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจการเปลย่ี นแปลง
ของเทคโนโลยีทีม่ ีผลตอ่ การดาเนนิ ชีวติ อาชีพ สงั คม วฒั นธรรม และใช้อย่างปลอดภัย มีจรยิ ธรรม



ตารางมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชวี้ ัด สาระเทคโนโลยี

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้วี ัด

ว 4.2 ม.4/1 ประยุกตใ์ ชแ้ นวคิดเชงิ คานวณ • การพัฒนาโครงงาน

ในการพัฒนาโครงงานทีม่ ีการบูรณาการกับ • การนาแนวคิดเชงิ คานวณไปพัฒนาโครงงานท่เี กี่ยวกับ

วิชาอ่นื อย่างสรา้ ง ชีวิตประจาวัน เชน่ การจดั การพล้งั งาน อาหาร การเกษตร

สรรคแ์ ละเชอ่ื มโยงกบั ชวี ิตจริง การตลาด การค้าขาย การทาธรุ กรรม สขุ ภาพ และ

สิง่ แวดลอ้ ม

• ตัวอย่างโครงงาน เชน่ ระบบดแู ลสุขภาพระบบอัตโนมตั ิ

ควบคมุ การปลูกพืช ระบบจัดเสน้ ทาวงการขนสง่ ผลผลิต

ระบบแนะนาการใชง้ านหอ้ งสมุดที่มีการโตต้ อบกบั ผู้ใช้

เชอื่ มตอ่ กบั ฐานข้อมลู

ตารางการวเิ คราะหห์ ลักสตู ร (วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหว่าง

ช่ือรายวิชา กราฟกิ พนื้ ฐาน รหสั วิชา ว 3302

สาระท่ี มาตรฐานการ ผลการเรยี นรู้ 1. ควำมรเู้ บอื้ งต้น
เรียนรู้ 1,2 - สีในงำนคอมพ
สาระที่ 4
เทคโนโลยี ว 4.2 ม.4/1 3,4 2. กำรประยุกต์ใช
ประยุกต์ใช้
แนวคิดเชิง 5,6,7,8 - องคป์ ระกอบของ
คำนวณในกำร - กำรประยกุ ตใ์ ช้ง
พัฒนำโครงงำน
ทมี่ กี ำรบูรณำ กำรปรับแต่งรปู ภำ
กำรกับวิชำอนื่ - กำรสรำ้ งตวั อักษ
อยำ่ งสร้ำง - กำรปรบั แต่งรูปภ
สรรค์และ
เชอ่ื มโยงกับ
ชีวติ จรงิ

9,10 - กำรสรำ้ งภำพอนิ
- กำรสร้ำงแฟ้มสะ
- กำรสรำ้ งภำพเคล
ทลี ะเฟรม
- กำรสรำ้ งหน้ำโฮม

งมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กบั กระบวนการจัดการเรยี นรู้)

284 จานวน 4 คาบ/สัปดาห์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/2

สาระการเรียนรู้ กระบวนการ การวัดผล
จดั การเรียนรู้ ประเมนิ ผล
นเก่ยี วกบั ภำพกรำฟกิ
พวิ เตอร์กรำฟิก กระบวนกำรสอน 1. ด้ำนพทุ ธิพิสยั
ชง้ ำนกรำฟกิ ในดำ้ นตำ่ งๆ แบบ Active (Cognitive
Learning เปน็ Domain)
งโปรแกรม Photoshop cs6
งำนเคร่ืองมอื Photoshop cs6 กระบวนกำรเรยี น 2. ดำ้ นทกั ษะพสิ ยั
กำรสอนทีเ่ น้นให้ (Psychomotor
ำพในรปู แบบต่ำง ๆ ผูเ้ รยี นมสี ่วนรว่ ม
ษร และมี ปฏิสัมพันธ์ Domain)
ภำพด้วย Filter ในรปู แบบตำ่ งๆ กบั กิจกรรมกำร 3. ดำ้ นเจตพิสัย
เรยี นรผู้ ่ำนกำร
(Affective
ปฏิบัตทิ ่ี Domain)
หลำกหลำยรูปแบบ

รว่ มกับกำรใช้

เครอ่ื งมือสอนคดิ
(Thinking Tools)

นโฟกรำฟิก
ะสมงำน
ลอื่ นไหวแบบเฟรม และเคลอื่ นไหว

มเพจ

8

9

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วชิ ำเพิ่มเตมิ
รหสั วิชำ ว30284 งำนกรำฟิกพ้นื ฐำน ชนั้ มัธยมศกึ ษำตอนปลำย

เวลำ 80 ช่ัวโมง จำนวน 2 หน่วยกิต

ศกึ ษา คน้ ควา้ ข้อมูลและอธิบายองคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบหลักและการสร้าง

งานกราฟิก องคป์ ระกอบของโปรแกรมสร้างงานกราฟิก การจดั การไฟล์รูปภาพ การสร้างรูปภาพและระบายสี
การปรับแต่งรูปภาพ การสร้างตัวอักษรประกอบภาพ การสร้างภาพเคลื่อนไหว และการปรับแต่งและตัดต่อ

ภาพ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ นาเสนองานในรปู แบบท่เี หมาะสม ตรงตามวัตถปุ ระสงคข์ องงาน ปฏบิ ตั ิการ
สรา้ งภาพอนิ โฟกราฟิกโรงเรยี นชาวนาดว้ ยโปรแกรมกราฟิก ออกแบบ ตกแต่งหน้าโฮมเพจเกยี่ วกับประเทศ
ในอาเซยี น ตกแต่งผลงานเพอ่ื นาไปใช้กับนาเสนอ งานออกแบบ และงานดา้ นศิลปะอนื่ ๆ

โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารและค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต
การตดิ ต่อสอ่ื สารผา่ นเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอรแ์ กป้ ัญหา และการจัดการ

เพ่ือให้มีความร้คู วามเข้าใจ เห็นคุณค่าและสามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบคน้ ข้อมูลการ
เรียนรู้ การส่ือสาร การแก้ปัญหาการทางานและอาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม มุ่งม่ันในการทางาน มีวินัย
ซื่อสัตย์สุจริตและอยู่อย่างพอเพียง ใช้ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์สร้างชิ้นงานอย่างมีจิตสานึกและความ

รบั ผดิ ชอบไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ประสทิ ธิผล

ผลกำรเรียนรู้

1. อธิบายความรู้เบอื้ งต้นเกี่ยวกับภาพกราฟิก การแทนค่าสี และชนิดของไฟลภ์ าพได้
2.บอกความหมายและการประยกุ ตใ์ ช้งานกราฟิกในดา้ นตา่ งๆ ได้

3. อธิบายองคป์ ระกอบของโปรแกรม Photoshop cs6 ได้
4. ประยกุ ต์ใช้งานเครือ่ งมอื Photoshop cs6 ได้อย่างเหมาะสม
5. อธิบายการปรบั แตง่ รปู ภาพในรูปแบบต่าง ๆ ได้

6. ปรับแตง่ รปู ภาพเบือ้ งต้นได้อย่างเหมาะสม
7. อธิบายการสร้างตัวอักษรและการปรบั แตง่ รูปภาพดว้ ย Filter ในรูปแบบต่างๆ ได้

8. สรา้ งตัวอกั ษรกราฟกิ และปรบั แต่งรูปภาพดว้ ย Filter ได้
9. ประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสรา้ งงานกราฟิก สร้างชิ้นงานอนิ โฟกราฟกิ โรงเรยี นชาวนาไดอ้ ย่าง

เหมาะสม

10. ประยกุ ต์ใชง้ านการสรา้ งภาพเคลื่อนไหวแบบเฟรม และเคลอ่ื นไหวทีละเฟรมได้
11. สร้างภาพเคล่ือนไหวสาหรับเว็บเพจไดอ้ ย่างเหมาะสม

รวมทงั้ หมด 11 ผลกำรเรยี นรู้

แบบบันทึกการจ
ชือ่ ราย งานกราฟิกพ้ืนฐาน รหสั วชิ า ว3028

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้

ท่ี ช่ือหน่วยการ ตวั ชี้วัด/ สาระการเรยี นรู้

เรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้

1 งานกราฟิก 1,2 1. ความรู้เบ้อื งตน้ เกยี่ วกับภาพกราฟกิ

พืน้ ฐาน - สีในงานคอมพวิ เตอร์กราฟกิ

2. การประยุกต์ใช้งานกราฟิกในดา้ นต่างๆ

2 การใช้โปรแกรม 3,4 - องคป์ ระกอบของโปรแกรม Photoshop
โฟโต้ชอ้ ป - การประยุกตใ์ ชง้ านเครอื่ งมอื Photosho

3 การปรบั แต่งภาพ 5,6,7,8 การปรับแตง่ รูปภาพในรปู แบบตา่ ง ๆ

และตัวอกั ษร - การสรา้ งตัวอักษร

- การปรบั แตง่ รูปภาพด้วย Filter ในรปู แ

4 การประยกุ ต์ 9,10 - การสรา้ งภาพอนิ โฟกราฟกิ
ใช้งานกราฟิก - การสร้างแฟม้ สะสมงาน
- การสร้างภาพเคลือ่ นไหวแบบเฟรม
และเคลอ่ื นไหวทีละเฟรม

- การสร้างหนา้ โฮมเพจ

จัดทาหนว่ ยการเรยี นรู้
84 จานวน 4 คาบ/สัปดาห์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เวลา นา้ หนกั คะแนน แหล่งเรียนรู้/ส่อื ช้ินงาน/

KPA ภาระงาน

4 2 1 1 - สิ่งแวดลอ้ มทางการ 1. Mind mapping เร่อื ง
เรยี นรู้บนเครอื ข่าย ความรเู้ บ้อื งตน้ เก่ยี วกับ

ๆ - Google classroom 2. Mind mapping เร่ือง การ

- PowerPoint ประยุกตใ์ ชง้ านกราฟกิ ในด้าน

- วิดที ศั น์ ต่างๆ

p cs6 12 4 4 2 - สง่ิ แวดล้อมทางการ 3. องคป์ ระกอบของโปรแกรม
เรยี นรูบ้ นเครือข่าย Photoshop cs6
op cs6 - Google classroom สังเกตพฤตกิ รรม

- PowerPoint

- วดิ ที ัศน์

20 5 8 3 - สง่ิ แวดล้อมทางการ 4. ภาพกราฟิกพ้ืนหลงั
เรียนรู้บนเครือข่าย 5. เทมเพลทปกหนงั สอื

แบบตา่ งๆ - Google classroom 6. การปรับแต่งรปู ภาพ

- PowerPoint 7. ตกแต่งภาพถ่าย

- วดิ ที ศั น์ 8. ปรบั แต่งใบหนา้ คน

9. ปรับแต่งภาพทวิ ทัศน์

10. เปลยี่ นภาพถ่ายเป็น

ภาพกราฟิก

11. สรา้ งตัวอักษร

12. ตกแตง่ ภาพดว้ ย Filter

36 5 20 5 - สง่ิ แวดลอ้ มทางการ 13. สรา้ งแฟ้มสะสมงาน
เรียนรูบ้ นเครอื ข่าย 14. สรา้ ง infographic

- Google classroom 15. สร้างภาพเคล่ือนไหวแบบ

- PowerPoint เฟรม

- วิดีทศั น์ 16. ภาพเคลื่อนไหวสาหรบั เว็บ

เพจ

๑๐

๑๑

หนว่ ยการเรยี นรู้

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วชิ าเพ่ิมเติม

รหสั วิชา ว30284 งานกราฟิกพ้นื ฐาน ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย

เวลา 80 ช่ัวโมง จานวน 2 หนว่ ยกติ

ลาดับ ช่อื หน่วย ตัวชีว้ ั เนือ้ หาวชิ า/สาระการเรยี นรู้ เวลา น้าหนัก ภาระงาน

ท่ี การเรยี นรู้ ด/ผล เรียน คะแนน

การ (ช่วั โมง)

เรยี นรู้

1 งานกราฟกิ 1,2 1. ความรู้เบ้อื งตน้ เกีย่ วกบั ภาพกราฟิก 4 4 1. Mind mapping
พืน้ ฐาน - การแทนค่าสี
- ชนดิ ของไฟล์ภาพ เร่อื ง ความรู้เบือ้ งต้น
- การประยุกตใ์ ชง้ านกราฟกิ ในด้าน เก่ยี วกับ
2. Mind mapping
ต่างๆ
เรอ่ื ง การประยุกตใ์ ช้
งานกราฟกิ ในด้านต่างๆ

2 การใช้ 3,4 2. การใชโ้ ปรแกรมโฟโตช้ ้อป 12 10 3. องค์ประกอบของ

โปรแกรม - องคป์ ระกอบของโปรแกรม โปรแกรม Photoshop
cs6
โฟโต้ช้อป Photoshop cs6 สังเกตพฤติกรรม

- การประยุกต์ใชง้ านเครอ่ื งมอื

Photoshop cs6

3 การปรับแตง่ 5-8 3. การสร้างช้ินงานดว้ ยโปรแกรม 20 16 4. ภาพกราฟิกพ้ืนหลัง

ภาพและ Photoshop cs6 5. เทมเพลทปกหนังสอื
6. การปรับแต่งรูปภาพ
ตัวอกั ษร - การปรับแตง่ รูปภาพในรปู แบบตา่ ง ๆ 7. ตกแต่งภาพถา่ ย
8. ปรับแต่งใบหนา้ คน
- การสร้างตวั อักษรและการปรบั แต่ง 9. ปรับแตง่ ภาพ
ทวิ ทัศน์
รูปภาพด้วย Filter ในรปู แบบต่างๆ 10. เปล่ยี นภาพถ่าย

- การสรา้ งตัวอักษรกราฟิกและปรบั แต่ง

รปู ภาพด้วย Filter

4. ประยกุ ตใ์ ชง้ านเครือ่ งมือ เปน็ ภาพกราฟิก
Photoshop cs6 ไดอ้ ย่างเหมาะสม 11. สรา้ งตัวอกั ษร
5. การปรับแต่งรูปภาพในรูปแบบต่าง ๆ 12. ตกแต่งภาพดว้ ย
Filter
6. การสร้างตัวอักษรและการปรบั แตง่

รูปภาพดว้ ย Filter ในรปู แบบต่างๆ

4 การประยกุ ต์ 9-10 7. การประยกุ ตใ์ ช้งาน 36 30 13. สรา้ งแฟม้ สะสม
งาน
ใช้งานกราฟิก - การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมสร้างงาน
14. สร้าง infographic
อินโฟกราฟกิ 15. สร้าง
- การสรา้ งภาพเคล่ือนไหวแบบเฟรม ภาพเคลือ่ นไหวแบบ

และเคลอ่ื นไหวทีละเฟรม เฟรม

- การสร้างภาพเคลอื่ นไหวสาหรบั เวบ็ 16. ภาพเคล่อื นไหว

เพจ สาหรับเวบ็ เพจ

๑๒

รวมทุกหน่วย 70 70
สอบกลางภาค 4 10
สอบปลายภาค 4 30
80 100
รวม

โครงการสอน
รายวชิ า กราฟกิ พน้ื ฐาน รหสั วิชา ว30284 ก

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 จานวนหน่วยกติ

สปั ดาห์ ชวั่ โมง ชือ่ หนว่ ย มาตรฐาน สาระการเรยี นรู้ กิจกรร
ท่ี ท่ี การสอ
งานกราฟิก ตัวช้ีวัด/
1 1-2 พ้นื ฐาน ศกึ ษาค้นค
ผลการ สาธิต ปฏ

เรยี นรู้

1 - ความร้เู ก่ียวกบั งานกราฟกิ

- สใี นงานคอมพิวแตอร์กราฟิก

3-4 งานกราฟิก 2 - ความหมาย ศึกษาคน้ ค
พ้ืนฐาน - การประยกุ ตใ์ ชง้ าน สาธิต ปฏ

2 5-6 การใช้ 3 - องคป์ ระกอบโปรแกรม ศกึ ษาค้นค
โปรแกรม สาธติ ปฏ
โฟโตช้ ้อป

7-8 การใช้ 4 - การวาดภาพดว้ ยเครือ่ งมือ ศึกษาคน้ ค
โปรแกรม
โฟโตช้ ้อป โปรแกรม สาธติ ปฏ

3 9-10 การใช้ 4 - การสรา้ งภาพกราฟิกพนื้ หลัง ศกึ ษาคน้ ค
โปรแกรม สาธิต ปฏ
โฟโต้ชอ้ ป
4 การสร้างเทมเพลทปกหนังสอื ศึกษาคน้ ค
11-12 การใช้ สาธติ ปฏ
โปรแกรม

นรายสปั ดาห์
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ต 2.0 เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรยี น

รม เครอ่ื งมือ ช้ินงาน/ การวดั ผล/ สือ่ นา้ หนัก
อน สอนคดิ ภาระงาน ประเมนิ ผล คะแนน

คว้า Mind Mind ตรวจใบงาน - ส่ิงแวดลอ้ ม 2
ฏิบตั ิ Mapping Mapping Mind Mapping ทางการเรยี นรบู้ น 2
5
คว้า Mind Mind ตรวจชิน้ งาน เครือขา่ ย
ฏิบัติ Mapping Mapping สงั เกตพฤติกรรม - Google
classroom
คว้า KWL , KWL , ตรวจใบงาน
ฏิบตั ิ สงั เกตพฤตกิ รรม - PowerPoint
- วิดีทศั น์

ควา้ PMI การใช้ ตรวจชิน้ งาน 1
2
ฏิบตั ิ โปรแกรม สังเกตพฤตกิ รรม

คว้า PMI การใช้ ตรวจชนิ้ งาน

ฏิบตั ิ โปรแกรม สงั เกตพฤติกรรม

คว้า PMI การใช้ ตรวจชน้ิ งาน - สิ่งแวดล้อม 2

ฏิบัติ โปรแกรม สังเกตพฤติกรรม ทางการเรยี นรู้บน

๑๓

สปั ดาห์ ชั่วโมง ชือ่ หนว่ ย มาตรฐาน สาระการเรียนรู้ กิจกรร
ท่ี ท่ี ตัวช้วี ัด/ การสอ
โฟโต้ชอ้ ป ผลการ
4 13-14 การปรบั แต่ง ศึกษาคน้ ค
15-16 ภาพและ เรียนรู้ สาธิต ปฏ
ตวั อักษร
5 17-18 การปรับแต่ง 5 การปรับแต่งรปู ภาพ ศึกษาคน้ ค
19-20 ภาพและ สาธติ ปฏ
ตวั อกั ษร 6 การปรับแต่งภาพถ่าย
6 21-22 การปรับแตง่ ศกึ ษาค้นค
ภาพและ 6 การปรับแตง่ ใบหนา้ คน สาธิต ปฏ
ตวั อกั ษร
การปรับแต่ง 6 การปรบั แต่งภาพทิวทัศน์ ศึกษาค้นค
ภาพและ สาธิต ปฏ
ตัวอกั ษร 6 การเปลย่ี นภาพถา่ ยเป็น
การปรับแต่ง ภาพกราฟิก ศกึ ษาคน้ ค
ภาพและ สาธิต ปฏ
ตวั อักษร

23-24 การปรบั แต่ง 7,8 การสร้างตัวอกั ษรและการ ศกึ ษาคน้ ค
ภาพและ ปรบั แตง่ รปู ภาพดว้ ย Filter สาธติ ปฏ
ตัวอกั ษร

รม เคร่อื งมือ ชนิ้ งาน/ การวดั ผล/ สอื่ น้าหนัก
อน สอนคดิ ภาระงาน ประเมินผล คะแนน

เครอื ข่าย

ควา้ PMI การทา ตรวจชิ้นงาน - Google 2
1
ฏิบตั ิ ภาพกราฟิกพ้นื สงั เกตพฤตกิ รรม classroom 2
1
หลัง - PowerPoint 2

คว้า PMI การทา ตรวจชิน้ งาน - วิดีทศั น์

ฏิบัติ ภาพกราฟกิ พ้ืน สงั เกตพฤติกรรม

หลงั

ควา้ PMI ใบงาน การ ตรวจใบงาน

ฏิบัติ ปรบั แต่ง สังเกตพฤติกรรม

ใบหน้าคน

ควา้ PMI การปรับแต่ง ตรวจชิ้นงาน

ฏิบัติ ภาพทวิ ทศั น์ สังเกตพฤติกรรม

ควา้ PMI ภาพกราฟิก ตรวจชิ้นงาน
ฏิบตั ิ สังเกตพฤตกิ รรม

คว้า PMI การสรา้ ง ตรวจชน้ิ งาน 2
๑๔
ฏิบัติ ตัวอักษรและ สังเกตพฤติกรรม
การปรับแตง่
รูปภาพดว้ ย

สปั ดาห์ ชัว่ โมง ช่ือหน่วย มาตรฐาน สาระการเรยี นรู้ กจิ กรร
ท่ี ท่ี ตวั ชีว้ ัด/ การสอ
ผลการ

เรียนรู้

7 25-26 การปรบั แต่ง 7 การสร้างตวั อกั ษรในงาน ศกึ ษาค้นค
ภาพและ โฆษณา สาธิต ปฏ
ตัวอกั ษร
8 การสร้างตวั อักษรบนใบหนา้ คน ศึกษาค้นค
27-28 การปรับแต่ง สาธิต ปฏ
ภาพและ
ตวั อักษร 8 การนาภาพใสใ่ นตวั อกั ษร ศึกษาคน้ ค
สาธิต ปฏ
8 29-30 การปรบั แตง่
ภาพและ 8 การปรับแต่งภาพด้วย filter ศึกษาค้นค
ตัวอักษร สาธติ ปฏ

31-32 การปรับแต่ง 8 การเปลย่ี นภาพเก่าเปน็ ภาพ ศกึ ษาคน้ ค
ภาพและ ใหม่ สาธติ ปฏ
ตัวอักษร

9 33-34 การปรบั แตง่
ภาพและ
ตัวอักษร

35-36 การปรบั แต่ง 8 การสรา้ งเอฟ็ เฟก็ ต์ให้กับภาพ ศึกษาค้นค
ภาพและ สาธิต ปฏ
ตวั อกั ษร

10 37-38
39-40

รม เครื่องมอื ชิน้ งาน/ การวดั ผล/ ส่อื น้าหนัก
อน สอนคดิ ภาระงาน ประเมนิ ผล คะแนน

Filter ตรวจชน้ิ งาน เครือขา่ ย 1
ควา้ PMI การสร้าง สังเกตพฤติกรรม - Google 1
ฏิบตั ิ ตัวอักษร classroom 1
ตรวจชิ้นงาน 1
คว้า PMI การสร้าง สังเกตพฤติกรรม - PowerPoint 1
ฏิบตั ิ ตัวอกั ษร - วดิ ที ัศน์

ควา้ PMI การสรา้ ง ตรวจชิ้นงาน
ฏิบัติ ตวั อักษร สงั เกตพฤตกิ รรม

ควา้ PMI การปรับแตง่ ตรวจชิ้นงาน
ฏิบัติ ภาพด้วย filter สงั เกตพฤติกรรม

ควา้ PMI การเปลย่ี น ตรวจชิน้ งาน

ฏิบตั ิ ภาพใหมเ่ ปน็ สังเกตพฤตกิ รรม
ภาพเกา่

คว้า PMI การสรา้ งเอฟ็ ตรวจช้ินงาน 1
ฏิบตั ิ เฟก็ ต์ใหก้ บั สงั เกตพฤตกิ รรม

ภาพ

๑๕

สปั ดาห์ ช่ัวโมง ช่อื หนว่ ย มาตรฐาน สาระการเรียนรู้ กิจกรร
ท่ี ท่ี ตัวช้วี ัด/ การสอ
การประยุกต์ ผลการ
11 41-42 ใช้งาน ศึกษาคน้ ค
43-44 เรยี นรู้ สาธิต ปฏ
การประยุกต์ ศกึ ษาคน้ ค
12 45-46 ใช้งาน 9 ความหมาย รูปแบบ สาธิต ปฏ
47-48 infographic ศึกษาคน้ ค
การประยกุ ต์ สาธติ ปฏ
13 49-50 ใชง้ าน 9 การออกแบบ infographic ศกึ ษาคน้ ค
51-52 สาธติ ปฏ
การประยกุ ต์ 9 การทาโครงร่างinfographic ศึกษาค้นค
14 53-54 ใชง้ าน สาธิต ปฏ
9 การตกแต่ง infographic ศกึ ษาค้นค
การประยุกต์ สาธติ ปฏ
ใชง้ าน 9 การปรบั ปรุงงาน infographic ศึกษาค้นค
สาธติ ปฏ
การประยกุ ต์ 9 การออกแบบแฟม้ สะสมงาน
ใชง้ าน
9 การสร้างปกแฟ้มสะสมงาน
การประยกุ ต์
ใช้งาน

55-56 การประยกุ ต์ 9 การสรา้ งคานาและสารบญั ศึกษาคน้ ค
ใชง้ าน สาธิต ปฏ

15 57-58 9 การสรา้ งหน้าประวัตแิ ละ ศกึ ษาคน้ ค
ผลงาน สาธติ ปฏ
59-60 การประยกุ ต์
ใช้งาน 9 การสรา้ งภาพกิจกรรม ศึกษาคน้ ค
สาธติ ปฏ

รม เคร่อื งมือ ชนิ้ งาน/ การวดั ผล/ สอ่ื นา้ หนัก
อน สอนคิด ภาระงาน ประเมินผล คะแนน

ควา้ PMI ใบงาน PMI ตรวจชิน้ งาน - สิง่ แวดล้อม 2

ฏิบัติ สงั เกตพฤตกิ รรม ทางการเรยี นรบู้ น

ควา้ PMI -infographic ตรวจชน้ิ งาน เครือขา่ ย 2

ฏิบตั ิ สงั เกตพฤติกรรม - Google
classroom
คว้า PMI infographic ตรวจชิ้นงาน - PowerPoint 1
ฏิบตั ิ PMI infographic สงั เกตพฤตกิ รรม - วิดีทศั น์ 2

คว้า ตรวจช้ินงาน

ฏิบัติ สังเกตพฤติกรรม

ควา้ PMI ภาพ ตรวจชน้ิ งาน 2

ฏิบัติ infographic สงั เกตพฤติกรรม

คว้า PMI แฟม้ สะสมงาน ตรวจชิ้นงาน 2
ฏิบตั ิ สังเกตพฤตกิ รรม

ควา้ PMI แฟม้ สะสมงาน ตรวจชิ้นงาน 1
ฏิบตั ิ สงั เกตพฤติกรรม

คว้า PMI แฟ้มสะสมงาน ตรวจชน้ิ งาน 1
ฏิบัติ สังเกตพฤตกิ รรม

คว้า PMI แฟ้มสะสมงาน ตรวจชิ้นงาน 1
ฏิบัติ สงั เกตพฤติกรรม 1

ควา้ PMI แฟม้ สะสมงาน ตรวจชิ้นงาน ๑๖
ฏิบตั ิ สงั เกตพฤติกรรม

สปั ดาห์ ชวั่ โมง ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน สาระการเรียนรู้ กจิ กรร
ท่ี ท่ี การสอ
การประยุกต์ ตัวช้วี ัด/
16 61-62 ใชง้ าน ศึกษาคน้ ค
63-64 ผลการ สาธติ ปฏ
การประยกุ ต์ ศึกษาค้นค
17 65-66 ใช้งาน เรียนรู้ สาธติ ปฏ
67-68 ศึกษาค้นค
การประยกุ ต์ 10 ภาพเคล่ือนไหวแบบเฟรม สาธิต ปฏ
18 69-70 ใช้งาน ศึกษาคน้ ค
71-72 10 ภาพเคลอื่ นไหวทีละเฟรม สาธติ ปฏ
การประยุกต์ ศกึ ษาคน้ ค
ใช้งาน 10 ภาพเคลอ่ื นไหวแบบ Tween สาธติ ปฏ
ศกึ ษาคน้ ค
การประยุกต์ 11 การออกแบบหนา้ โฮมเพจ สาธติ ปฏ
ใช้งาน
11 การสรา้ งหน้าโฮมเพจ ศึกษาคน้ ค
การประยกุ ต์ สาธิต ปฏ
ใช้งาน 11 การปรบั แตง่ โฮมเพจ ศึกษาคน้ ค
สาธติ ปฏ
19 73-74 การประยกุ ต์ 11 การปรับแต่งภาพโฮมเพจ
11 การถอดบทเรียน
ใชง้ าน
75-76 การประยกุ ต์

ใช้งาน
77-78

รม เคร่อื งมอื ชนิ้ งาน/ การวัดผล/ สือ่ นา้ หนัก
อน สอนคดิ ภาระงาน ประเมินผล คะแนน

คว้า PMI ภาพเคลื่อนไหว ตรวจชน้ิ งาน - สิ่งแวดลอ้ ม 1

ฏิบตั ิ สังเกตพฤติกรรม ทางการเรยี นรบู้ น

ควา้ PMI ภาพเคลื่อนไหว ตรวจชิ้นงาน เครือข่าย 2

ฏิบัติ สงั เกตพฤติกรรม - Google
classroom
คว้า PMI ภาพเคลอื่ นไหว ตรวจชน้ิ งาน - PowerPoint 2
ฏิบตั ิ PMI สังเกตพฤตกิ รรม - วดิ ีทัศน์ 2

ควา้ ภาพเคลอ่ื นไหว ตรวจช้นิ งาน

ฏิบตั ิ สังเกตพฤติกรรม

ควา้ PMI หนา้ โฮมเพจ ตรวจชน้ิ งาน 2
ฏิบัติ สังเกตพฤตกิ รรม

คว้า PMI หนา้ โฮมเพจ ตรวจชน้ิ งาน 2
ฏิบตั ิ สงั เกตพฤตกิ รรม

ควา้ PMI หนา้ โฮมเพจ ตรวจชน้ิ งาน 2
ฏิบตั ิ สงั เกตพฤตกิ รรม 2
30
ควา้ PMI ถอดบทเรยี น ตรวจชิ้นงาน
ฏิบัติ สังเกตพฤติกรรม

๑๗

๑๘

วิธกี ารวดั ผลประเมนิ ผล

สัดสว่ นคะแนนการวดั ผลประเมนิ ผล

= คะแนนประเมินตามสภาพจริง (70 คะแนน) : คะแนนสอบ (30 คะแนน)

การวดั ผลการเรยี นรู้รายภาค

ภาคเรยี นท่ี ตวั ชวี้ ัดรายภาค/ผลการเรียนรทู้ ่ีต้องการวัด (ข้อท่ี)

2 1,2,3,4,5,6,7,8,9,10 และ 11

5) รายละเอียดการเก็บคะแนน

ภาคเรยี นที่ 2

การเกบ็ คะแนนกอ่ นสอบกลางภาค (ประเมินตามสภาพจรงิ ) : 30 คะแนน

ผลการเรียนรู้ วธิ ีการวดั คะแนน
2
1 ตรวจใบงาน Mind mapping เรอื่ ง ความรเู้ บื้องต้นเก่ยี วกับ
2
ภาพกราฟกิ
5
สงั เกตพฤติกรรม 5
2
2 ตรวจใบงาน Mind mapping เรอื่ ง การประยุกตใ์ ชง้ านกราฟิก 6

ในดา้ นตา่ งๆ 2
6
สงั เกตพฤตกิ รรม
คะแนน
3 ตรวจใบงานที่ 3 องค์ประกอบของโปรแกรม Photoshop cs6 2
2
สงั เกตพฤตกิ รรม 3

4 ประเมนิ ภาพวาด, ภาพกราฟิกพน้ื หลัง,เทมเพลท,ปกหนังสอื

สงั เกตพฤติกรรม

5 ใบงานการปรับแตง่ รปู ภาพ

สังเกตพฤติกรรม

6 ประเมินการตกแตง่ ภาพถ่าย

ประเมินการปรับแต่งใบหนา้ คน

ประเมนิ การปรบั แตง่ ภาพทิวทัศน์

ประเมนิ การเปลย่ี นภาพถา่ ยเป็นภาพกราฟกิ

สังเกตพฤติกรรม

7 ประเมนิ การสร้างตวั อกั ษร

สงั เกตพฤติกรรม

8 ประเมนิ การตกแต่งภาพด้วย Filter

สังเกตพฤตกิ รรม

การเก็บคะแนนสอบกลางภาค (ประเมินตามสภาพจริง) : 10 คะแนน

ผลการเรียนรู้ วิธกี ารวัด

1 แบบทดสอบเรอ่ื ง ความรูเ้ บื้องต้นเกยี่ วกับงานกราฟิก

2 แบบทดสอบเรอื่ ง ความหมายและการประยุกตใ์ ช้งานกราฟกิ

3 แบบทดสอบเรือ่ ง องคป์ ระกอบของโปรแกรม Photoshop cs6

๑๙

5 แบบทดสอบเรื่อง การปรบั แตง่ รูปภาพ 3

การเกบ็ คะแนนหลงั สอบกลางภาค (ประเมินตามสภาพจริง) : 30 คะแนน คะแนน
5
ผลการเรียนรู้ วิธกี ารวดั 10

9 ชน้ิ งานการสร้างแฟม้ สะสมงาน 5
10
ช้ินงานการสร้าง infographic

สงั เกตพฤตกิ รรม

10 การสรา้ งภาพเคลื่อนไหวแบบเฟรม

11 การภาพเคลื่อนไหวสาหรับเวบ็ เพจ

การเก็บคะแนนสอบปลายภาค (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) : 30 คะแนน

ผลการเรียนรู้ วิธีการวดั คะแนน
2
1 แบบทดสอบเรื่อง ความร้เู บ้ืองต้นเกยี่ วกบั งานกราฟิก 5
2
2 แบบทดสอบเร่อื ง ความหมายและการประยกุ ตใ์ ช้งานกราฟกิ 2
5
3 แบบทดสอบเรอ่ื ง องคป์ ระกอบของโปรแกรม Photoshop cs6 3
2
5 แบบทดสอบเรือ่ ง การปรบั แตง่ รปู ภาพ

7 แบบทดสอบเร่อื ง การสรา้ งตัวอักษรและการปรบั แตง่ รปู ภาพด้วย Filter

9 ประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมสรา้ งงานกราฟิก สร้างช้นิ งานได้อยา่ งเหมาะสม

10 แบบทดสอบเรื่องการสร้างภาพเคล่อื นไหวแบบเฟรม และเคลอื่ นไหวไหวที

ละเฟรม

๒๐

แผนการประเมนิ ผลทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาเพม่ิ เตมิ
รหัสวิชา ว30284 งานกราฟกิ พื้นฐาน ช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ช่ัวโมง
กิต จานวน 2 หนว่ ย

น้าหนักคะแนน

หนว่ ยการ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้ ระหวา่ งภาค
เรยี นรู้
ก่อน กลาง หลัง ปลาย
กลาง ภาค กลาง ภาค
ภาค ภาค

หนว่ ยท่ี 1 1. อธิบายความรู้เบอื้ งตน้ เกย่ี วกบั ภาพกราฟิก การแทนค่าสี และชนิด 2 2 2
งานกราฟิก ของไฟล์ภาพได้ 2 2 3
พื้นฐาน 2. บอกความหมายและการประยกุ ต์ใช้งานกราฟิกในดา้ นตา่ งๆ ได้

หน่วยที่ 2 3. อธิบายองคป์ ระกอบของโปรแกรม Photoshop cs6 ได้ 53 5
การใช้โปรแกรม 4. ประยุกตใ์ ช้งานเครื่องมอื Photoshop cs6 ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 5

โฟโตช้ อ็ ป

หนว่ ยที่ 3 5. อธบิ ายการปรับแต่งรูปภาพในรปู แบบต่าง ๆ ได้ 23 5
การปรบั ภาพ 6. ปรับแต่งรูปภาพเบ้ืองต้นได้อยา่ งเหมาะสม 6 5
และตวั อักษร 7. อธิบายการสรา้ งตัวอกั ษรและการปรบั แต่งรูปภาพดว้ ย Filter ใน 2
รูปแบบต่างๆ ได้
หน่วยท่ี 4 8. สร้างตวั อักษรกราฟิกและปรับแตง่ รปู ภาพด้วย Filter ได้ 6
การประยกุ ต์ 15 5
ใช้งานกราฟิก 9. ประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมสรา้ งงานกราฟิก สร้างช้ินงานอินโฟกราฟกิ
แหล่งเรยี นรู้ในโรงเรียนได้อยา่ งเหมาะสม 55
10. ประยกุ ตใ์ ชง้ านการสร้างภาพเคลอื่ นไหวแบบเฟรม และ
เคลอื่ นไหวทลี ะเฟรมได้ 10
11. ออกแบบตกแตง่ หนา้ โฮมเพจได้อยา่ งเหมาะสม 30 10 30 30

รวม 11 ผลการเรียนรู้

หลักฐานการวเิ คร

รหัสวชิ า ว30284 งานกราฟกิ พน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิท

พฤตกิ รรม ความรู้ ความ การ
ความจา เข้าใจ นาไป
เนอ้ื หา

1. ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ียวกบั ภาพกราฟกิ

- สีในงานคอมพิวเตอรก์ ราฟิก √√√

2. การประยกุ ตใ์ ชง้ านกราฟิกในดา้ นต่างๆ

1. องค์ประกอบของโปรแกรม Photoshop cs6 √ √
2. การประยุกต์ใชง้ านเครอ่ื งมือ Photoshop cs6

3. การปรบั แต่งรูปภาพในรปู แบบต่าง ๆ

- การสรา้ งตัวอักษร √√√
- การปรับแต่งรปู ภาพด้วย Filter ในรปู แบบ

ตา่ งๆ

4. การสรา้ งภาพอินโฟกราฟกิ

5. การสรา้ งแฟ้มสะสมงาน

6. การสร้างภาพเคลอ่ื นไหวแบบเฟรม และ √√√

เคลอื่ นไหวทลี ะเฟรม

7. การสรา้ งหนา้ โฮมเพจ

รวม 4 3 4

อันดับความสาคญั 552

ราะห์หลกั สตู ร

ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

พทุ ธพิ ิสยั อนั ดบั

ร การ การ การคิด ทักษะ จติ พสิ ัย รวม ความ จานวน
ปใช้ วเิ คราะห์ ประเมิน สร้างสรรค์ พิสัย สาคัญ ชวั่ โมง

คา่

√ √ √ √7 3 4

√ √ √ 5 4 12

√ √ √ √ √ 8 1 16

√ √ √ √ √ 8 2 30

3 2 4 3 4 26 70
6 7 1 34


Click to View FlipBook Version