The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชากำลังสำรอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dfdmod4, 2022-12-18 21:18:27

วิชากำลังสำรอง

วิชากำลังสำรอง

วิชา

กำลงั สํารอง

บทบาทของกำลังสํารอง

การพิจารณาวา ประเทศใดมีศักยภาพมาก หรอื นอยเพียงใดจะพจิ ารณาไดจากพลงั อำนาจของชาติของ
ประเทศน้นั ซ่งึ ประกอบไปดว ย พลงั อำนาจทางการเมือง, เศรษฐกิจ, สงั คมจติ วทิ ยา, วิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี และพลังอำนาจทางทหารหรือที่เรียกวา “อำนาจกำลงั รบ” พลังอำนาจทางทหารเรอื อำนาจกำลงั
รบ ประกอบไปดว ยปจจยั หลายประการท่ีสำคัญประการหน่ึง คอื กำลังพล ซง่ึ หมายรวมถงึ กำลังประจำการ
และกำลังสํารอง

กำลงั สํารองเปรยี บเสมอื นกระดูก สนั หลังของกองทัพ เพราะเปนสวนคำ้ จุนใหกองทัพของชาตมิ ีกำลงั
ทเ่ี ขม็ แขง็ สดชน่ื สามารถทำการรบไดตอเน่ืองเปน ระยะเวลายาวนาน ชาตทิ ี่สามารถจัดระเบยี บกำลังสาํ รองได
เรยี บรอ ย มกี ารฝกซอมในยามปกตอิ ยา งสม่ำเสมอ จะสามารถเรยี กกำลงั สํารองมารับใชประเทศชาติไดอยา ง
ทันทวงที ดังตัวอยา งทเี่ ห็นเดนชัด คอื สงครามระยะส้ันระหวา งอสิ ราเอลกบั กลุมชาติอาหรบั เมื่อตน เดอื น
ม.ิ ย.2510 อิสราเอล ซงึ่ มีกำลงั ทหารประจำการนอยกวากลุมชาตอิ าหรบั มาก แตสามารถขยายกำลังรบทางบก
ของตนจากกำลงั พล 50,000 คน เปน 235,000 คน ไดภายในเวลา 48 ชว่ั โมง ซ่งึ นับวาเปน การขยายกำลงั รบ
ไดเกือบ 5 เทา ภายในเวลาสั้นทสี่ ดุ จนทำใหสามารถเอาชนะตอกลมุ ชาติอาหรบั ได ทัง้ น้ี เนอ่ื งจากอสิ ราเอลได
มีการวางระบบกำลังสํารองไวอยางดีเยี่ยม ต้งั แตยามปกติ โดยทำการฝกวชิ าทหารใหกับประชาชน เมื่อเรม่ิ ต
นเขาสูวัยหนุม สาวทกุ คน จนมคี วามพรอมท่จี ะตอสูเพื่อปอ งกันประเทศชาตไิ ดตลอดเวลา

ประเทศไทยของเรามีพลัง ในทางเศรษฐกิจจำกัด ความเจริญ กาวหนา ทางวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีไมเพียงพอที่จะสนับสนุนการผลิตและการบำรุงรักษายุทโธปกรณและพัสดุทางทหารดังน้ัน
การดำรงรักษากำลังทหารขนาดใหญในยามปกติ จึงเปนการลงทุนที่ไมคุมคาแตอยางไรก็ตาม การมีกำลัง
ทหารขนาดใหญ เพ่ือพรอมปองกันเอกราชอธิปไตยของชาติในยามสงครามนั้นยังมีความจำเปนอยู ซึ่ง
เปนหลักประกันความมั่นคงของชาติ ดังน้ันผบู ริหารประเทศจึงจำเปนตองช่ังใจเลือกใชนโยบายท่ี
เหมาะสม เพื่อใหสามารถแกปญหาดังกลาว ใหลุลวงไปใหได

การจัดวางระบบกำลังสํารองใหรัดกุมเสียตั้งแตยามปกติ เพ่ือใหมีความพรอมและสามารถออก
ปฏิบัติการรบไดทันทวงที ในยามสงคราม จึงเปนทางออกทางเดียวท่ีเหมาะสมที่สุดอยางไรก็ดี การจัดวาง
ระบบกำลังสํารองใหบรรลุผลดังกลาว ก็ตองมีการลงทุนเชนเดียวกัน แตเปนการใชทรัพยากรท่ีนอยกวา
การลงทุนเพื่อจัดต้ังหนวยกำลังประจำการ ใหมีจำนวนมากพอท่ีจะปองกันประเทศ ต้ังแตยามปกติจาก
เหตุผลและความคิดดังกลาว ปจจุบันกองทัพ จึงมีนโยบายท่ีจะลดการบรรจุกำลังประจำการลงและบรรจุ
กำลังพลสํารอง เขาทดแทนซ่ึงเช่ือวาจะสามารถสนองตอบตอสภาวะเศรษฐกิจ และสถานการณของ
ประเทศไทยในปจจุบันไดวิวัฒนาการการเตรียมพล และการกำลังสำรองของไทย

-2-

ประวัติความเปนมาของระบบกำลังสาํ รองของไทย

ชนชาติไทยไดตระหนกั ถึง หนาทค่ี วามรบั ผิดชอบในการป องกนั เผาพนั ธุ และประเทศชาตมิ า ตัง้ แต
โบราณ จะเหน็ ไดจากการเตรียมทหารของไทยในสมัยตาง ๆ ซงึ่ พอจะแบงไดเปน 5 สมัย ดงั นี้

1. สมัยกอนกรุงสุโขทัย
ในขณะท่ีชนชาวไทยยังอยูท่ีนานเจาจนกระท่ังเร่ิมอพยพหนีจากการรุกรานของจีนลงมาทางตอนใต

ระยะเวลาไมชัดเจน แตสามารถกำหนดรูปแบบการเตรยี มพลไวคือ ใชป ระเพณีเดิมที่วา “ชายฉกรรจไ ทยตอง
เปนทหารทุกคน” และวิธีการจัดหาคนเขาประจำหนวยน้ัน “ดเู หมือนชั้นเดมิ จะเอาสกุลวงศเปนหลัก เปนตน
วา ถาหัวหนาสกุลสังกัดเปนทหารหมูไหน ลูกหลานของผูน้ันที่มีตอมา ก็สังกัดอยูในหมูน้ันตามกัน” ท้ังน้ี
เพราะไทยขยายอาณาเขตแดนลงมาครัง้ น้ัน ความมุงหมายจะมาต้ังภูมลิ ำเนาเอาเปน ทีอ่ ยู มิใชจะต้ังหนาตง้ั ตา
มาเท่ียวปลนทรพั ยจับเชลยไปใชสอยเหมอื นอยางที่พมามาตีกรุงศรีอยธุ ยาเมื่อชั้นหลังพวกไทยที่ลงมาคร้ังนั้น
ยอมมาเปนพวก ๆ ท่ีรวมใจเปนอันหน่ึงอันเดียวกันในพวกหน่ึงคงรวมเชื้อสายวงศสกุลเดียวกันเปนพื้นมาต้ัง
ภูมิลำเนาท่ีไหนก็ตั้งบานเรือนอยูดวยกัน พวกท่ีมาดวยกันนั้น นับถือใครมากคนน้ันก็ไดเปน “เจาหมู”
รองลงมาใครเปนหัวหนาในเรอื นไหนก็ควบคุมลูกหลาน วาเปน “เครือของตน” เมื่อเกิดสงครามข้ึน “เจาหมู”
(ในเวลาตอมาเรียก “หวั หมู” ) กจ็ ะเรียกและรวบรวมคนภายในหมูบา นของตน ไปรว มกับกำลงั สวนใหญไดงาย
และรวดเรว็ เพราะตางกเ็ ปนลูกหลานท่ีคุนหนาตากันอยูแลว ไมจำเปนตอ งทำบัญชีพลควบคุมแตอยางใด และ
คนภายในหมูนั้นตางก็เต็มใจทำการรบ เพื่อปองกันครอบครัวของตนดวยกันท้ังน้ัน เพียงเคาะเกราะหรือตี
กลองตามทน่ี ัดหมายไวข นึ้ ครเู ดยี วลูกหมูของตนก็จะแตง ตวั ถืออาวุธมารวมกนั ท่ีลานบานเจาหมูครบทกุ คน

2. สมัยสุโขทัย
การจัดหากำลงั คนเขาประจำกองทพั คงถือเกณฑวา ในยามปกตบิ รรดาชายฉกรรจในเขตราชธานีคงมี

ฐานะเปน “พลเรอื น” ตองทำราชการฝายพลเรือน แตเม่ือเกิดสงครามขนึ้ ตองเปล่ียนสภาพเปน “ทหาร” เขา
ประจำการในกองทัพหลวงตาม กรม กอง ทต่ี นสงั กดั อยู ทั้งน้ีเพราะยงั คงใชประเพณีเดิมที่วา “ชายฉกรรจทุก
คนตอ งเปน ทหาร” ไมเปล่ียนแปลง แตใ นสมัยนี้กรงุ สุโขทยั มีคนตา งดาวบานใกลเรือนเคยี ง และคนตา งดาว
พ้นื เมืองเดิม (มอญ ขอม และลาว) ทอ่ี าศัยอยูด วยน้นั ทางราชการยงั ไมยอมรบั เขา เปน ทหาร ดวยยังไมไ วใจ
อธิบายเพมิ การปกครองสมยั สุโขทัย

สมยั กรงุ สโุ ขทยั เลอื กเอาระบบการปกครองของไทยด้งั เดมิ มาใชคือทรงถือเอาระบบการปกครองใน
สกลุ เปน หลกั ปฏิบตั ิโดยถอื วาประชาชนในครวั เรือนท้ังหลาย “ เปนลูกบา น ” หลายครัวเรือนยก ผอู าวุโสขึ้น
ปกครองเรยี กวา “ พอบาน “ หลายบานรวมกันเปน “ เมอื ง “ ข้นึ อยูใ นความปกครองของ พอเมือง” หลาย
เมืองรวมกนั เปนประเทศ ขึ้นอยูกบั “ พอขุน” ซ่งึ เปน ตำแหนงเปน เจา แผน ดนิ คือการ ปกครองแบบนีเ้ ปน การ
ปกครองแบบ “พอปกครองลูก” (PATERNAL GOVERNMENT) แมใ นระยะหลัง การปกครองจะไดแปรผนั ไป
ตามกาลสมยั แตวธิ ีการอันอะลุมอลว ยไมรนุ แรงรจู ักใหอภัย และถือเสมอื นญาตพิ นี่ อง ตามแบบโบราณของ
ไทย ยังคงปรากฎอยูในรปู ตา ง ๆ เสมอมามิไดเปล่ียนไปดว ย ก็เพราะนสิ ัยประจำชาติอยา งนม้ี ีสว นใหไทยรอด
พนจากอนั ตรายตาง ๆ เปน อิสระภาพมาจนตราบเทา ทุกวันน้ี

-3-

3. สมัยกรงุ ศรีอยุธยา
อำนาจในการเกณฑทหารนั้น แตเดิมขึ้นอยูกับสมุหพระกลาโหม เพราะมหี นาที่ควบคุม ฝายทหาร

อยูแลว สวนฝายพลเรือนอยูในความควบคุมของสมุหนายก แตในสมัยสมเด็จพระเพทราชา ทรงมีพระราช
ประสงคจะเฉล่ียอำนาจทั้งสองฝายใหเทากัน เพ่ือปองกันการคิดขบถ จึงแยกอำนาจการเกณฑออกเปน
2 ภาค คือ หัวเมืองภาคเหนือใหอยูในอำนาจของสมุหนายก (มหาดไทย) และหัวเมืองปกษใตใหอยูในอำนาจ
ของสมหุ พระกลาโหม

จนถึงสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2(ประมาณป พ.ศ.2034) ไดทรงต้ัง กรมพระสุรัสวดี ข้ึนเพื่อทำ
หนาท่ีจัดทำบัญชีกำลังพลที่ถูกตองท้ังประเทศแลวนำมาเก็บไวในราชธานี เม่อื เกิดสงครามก็จะเรียกกำลังมาจาก
เจา เมืองและขาหลวงเมืองตาง ๆ มาใชไดถูกตอ งและครบถวน

กรมพระสุรัสวดี เปนหัวหนาเตรียมพลมีหนาท่ีควบคุมการทำทะเบียนพลคัดคนเขาทำเนียบทหาร
หัวเมืองช้ันใน (คือออกใบ “สักเลข” นั่นเอง) แบงหนาที่ออกเปน 3 แผนก คือ พระสุรัสวดีกลาง มีหนาท่ี
บัญชาการทั่วไปและเปนผูทำบัญชีพลในเขตราชธานี (คือในเมืองหลวงและในเมืองช้ันในโดยเฉพาะ)
พระสุรัสวดีขวา ทำหนาท่ีเปนพนักงานบัญชีพลในเขตหัวเมืองฝายเหนือ และพระสุรัสวดีซาย ทำหนาที่
เปนพนักงานบัญชีพลในเขตหัวเมืองปกษใต ตอมาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 2 (พระเจาบรมโกษฐ)
เกิดวธิ ีจางคนเขาเวรรับราชการแทนได กรมพระสรุ สั วดีจึงตองมีหนาที่ เก็บเงินคาราชการดวย ในการเตรียมพล
แบบกรุงศรอี ยุธยานี้ไดใชม าราว 400 ป ตง้ั แต พ.ศ.2034–2442

การเกณฑพลเมืองเขาเปน ทหารในสมัยนไี้ ดว างหลกั ใหญไววา “ชายไทยทุกคนไมวา จะมีบรรดาศักดิ์
ช้ันใดหรือสกลุ ใด ตองเปน ทหารทกุ คน” แตไดม กี ารยกเวนใหแก

- นกั บวชทกุ ศาสนา ไมตองเขารับการเกณฑ
- ชายชาวตางชาตเิ ขามาคาขายไมตองเปนทหาร แตตองเสียเงนิ แทนคาแรง
สำหรับผูต งั้ ภูมิลําเนาในพระนครจะสมคั รเปนทหารอาสาก็ได สวนลกู หลานตา งชาติทีเ่ กิดในแผน ดิน
ไทยตองถูกเกณฑด วย
- คนไทยท่ีเปนทาส
- เวลาในการรบั ราชการ เร่มิ ตั้งแตอายุ 18 ป และปลดชราเม่อื อายคุ รบ 60 ป แตถา หากผใู ดมลี ูกชาย
เปนทหารครบ 3 คนแลว ก็มสี ทิ ธไิ ดร ับการปลดปลอยกอนกำหนด
ตอนปลายสมยั กรุงศรอี ยุธยา ในสมยั สมเด็จพระมหาธรรมราชาธราช (พระเจาบรมโกษฐ) ไดเกิดมีการ
ผอนผันยอมใหไพรท่ีถกู เกณฑเขารับราชการ (หรือเขาเวร) เสียเงิน “คาราชการ” แทนการเขารับราชการได
โดยคิดอัตราเดือนละ 6 บาท หรอื ถาเสียครั้งเดียว 18 บาท แลวก็ไมตองมาเขาเวรทั้งป กรมพระสุรัสวดี จึงมี
หนา ที่เก็บเงนิ คา ราชการสงคลงั อกี หนาท่ีหนงึ่ ดวย ซึง่ วธิ ีการเสยี เงนิ คาราชการนไ้ี ดปฏบิ ัติมาจนถึงสมัยรชั กาลที่
7 แหง กรงุ รตั นโกสินทร แตไ ดแ ปรสภาพไปเรยี กเปน “เงินคารัชชูปการ” แทน

สังคมในสมัยอยุธยา(อธิบายเพมิ่ )

สังคมไทยในสมัยอยุธยา ประกอบดวยบุคคล 6 กลุม ไดแก พระมหากษัตริย และเจานายช้ันสูง ขุน
นาง ไพร ทาสและผูท ไ่ี ดร บั การยกยองเลื่อมใสจากคนทกุ กลุมคือพระสงฆ

ลักษณะการแบงชนชัน้ ในสังคมไทยมีลักษณะไมตายตัวบุคคลอาจจะเสื่อมตำแหนงฐานะทางสังคมของตน
ได ทัง้ นี้ขึ้นอยกู บั ความรูความสามารถ และคณุ ประโยชนท่ีมีตอประเทศชาติ

-4-

1. พระมหากษัตรยิ  พระราชฐานะและอำนาจของพระมหากษตั ริย ในสมยั อยุธยา
ทรงมีฐานะเปนสมมติเทพ (ไทยไดรับแนวความคิดน้ี มาจากคติความเช่ือของศาสนาพราหมณ ทรงเปนประมุข
ของประเทศ มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง ทรงมีพระราชอำนาจในฐานะเปนเจาชีวิตและเจาแผนดิน ทรงเปนผู
อุปถมั ภพระพุทธศาสนา

2. เจานาย หมายถึง พระราชวงศของพระมหากษัตริย มีสกุลยศลดหล่ัน ตามลำดับ คือ เจา
ฟา พระองคเจา หมอมเจา ฯลฯ

3. ขุนนาง มีบทบาทสำคัญในการชวยเหลอื พระเจาแผน ดิน ในการปกครองประเทศ โดยพระเจาแผนดิน
พระราชทานศักดนิ า ใหเ ปนเครอื่ งตอบแทนอำนาจ และฐานะของขุนนาง มดี งั นี้

3.1 ขุนนางเปน ชนช้ันที่มอี ำนาจมากทง้ั ในดานการปกครองและการควบคุมพลเมือง
3.2 ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงออกกฎหมายศักดินา จัดทำเนียบขันนาง ขาราชการ ซึ่ง
ประกอบดว ย ตำแหนง ยศ ราชทินนาม
3.3 ขุนนางทีม่ ีไพรพลมาก จะเปนฐานแหง กำลังและอำนาจท่ีสำคัญ ปญหาความขัดแยงในกลุม ขุนนาง
และเจา นายจึงเกดิ ข้ึนบอยครง้ั
4. ไพร หมายถึงสามญั ชนท่วั ไป นบั วา เปนประชากรสวนใหญของประเทศ แบง เปน 3 ประเภท คือ
4.1 ไพรห ลวง หมายถึง ไพรท่ีขึ้นทะเบยี นสังกัดตอรัฐ คือ องคพระมหากษัตรยิ  ตองมาเขาเวรเพื่อรับ
ใชร าชการปละ 6 เดอื น
4.2 ไพรสม หมายถึง ไพรท่ีขน้ึ ทะเบียนตอ เจานายและขุนนาง
4.3 ไพรสว ย หมายถึง ไพรท ี่สงผลิตผลมาแทนการเขาเวร เพื่อใชแ รงงาน
5. ทาส เปนชนช้ันทีต่ ่ำทสี่ ุดในสงั คม แบง เปน 2 ประเภท คือ
5.1 ทาสท่ีไถถ อนตวั ได เรียกวา ทาสสินไถ
5.2 ทาสทีไ่ ถถอนตวั ไมได เชน ทาสเชลย ลูกทาสเชลย ฯลฯ
6. พระสงฆ พระสงฆไมจำกัดชนชั้นใดชนชั้นหนึ่ง แตเปนท่ีเคารพของคนทุกชนชั้น บทบาทและ
ความสำคญั ของพระสงฆ มีดงั นี้
6.1 เปน ทพ่ี ึ่งทางใจของคนทุกชนชัน้
6.2 เปน บุคคลท่เี ปรยี บเสมือนตวั เช่ือมของชนช้ันสงู กับชนชัน้ ต่ำ
6.3 เปน ผูใหการศกึ ษา เพราะวัดเปนศูนยก ลางของการศึกษา ในสมัยกอ น
ระยะท่ีชายฉกรรจจ ะตอ งมาขึน้ ทะเบียนและเขา รบั ราชการ แบง ออกไดดังนี้

1. ไพรสม หรือ สมสัก ชายไทยที่มีอายุครบ 18 ป จะตองมาขึ้นทะเบียนกับเจาหนาท่ี
กรมพระสุรัสวดี โดยจะไดรับการสักทองมือวาเปนคนสังกัดกรมใด ซ่ึงโดยปกติแลวจะตองสังกัดกรมเดียวกับ
บิดา เพ่ือประโยชนในทางปกครองและกำลังใจ และสะดวกในการเรียกระดมพลน่ันเอง และเม่ือรูกรม กอง
ของตนเองแลวก็กลบั ไปฝก หัดและรับใชเจานายของตนตอ ไป สำหรบั คนที่มีอายคุ รบแลว แตไ มมาข้ึนทะเบียน
ทั้ง ๆ ที่ตนไมไดรับการยกเวนเรียกวา “คนขอมือขาว” ถาจับไดจะมีโทษและจะถูกสักแลวสงตัวไปรบั ราชการ
ในกรมท่ีมีงานหนักตอไป อยางไรก็ตามสำหรับพลเมืองที่อยูในหัวเมืองช้ันกลาง ไมตอ งเดินทางมาข้ึนทะเบียน
ทร่ี าชธานีใหไปรายงานขอข้ึนทะเบียนเปนไพรส มของเมืองน้ันทีเ่ ดียว ซึ่งหากจะเทียบกันแลวไพรส มหรอื สมสัก
น้ีก็คือ ทหารกองเกินในปจจุบันน่ันเอง

2. ไพรหลวง ไพรสมที่มีอายุครบ 20 ปแลวสำหรับคนท่ีอยูในหัวเมืองช้ันในโดยรอบราชธานี
จะตองเขามารายงานตัวและเขารับราชการในราชธานี ตามกรมกองท่ีสกั สังกัดไวแลว (ชาวบานเรียก “เขาเวร”)
ปละ 6 เดือน โดยจะตอ งนำเสบียงอาหารของตนมากินเองดว ย ในตอนตนยงั ไมมเี งนิ เดอื นเบ้ียเลี้ยง ทั้งน้ีเพราะ

-5-

ถือวา“เปนราชการ” (เพิ่งจะมีการจายเบี้ยเลี้ยง เงินเดือนกันในรัชกาลที่ 4 แหงกรุงรตั นโกสินทรน่ีเอง แตก็
จายใหเฉพาะหนวยทหารเกณฑหัดเทานั้น) เมื่อถึงสมัยธนบุรี ไดลดเวลามารับราชการเหลือปละ 4 เดือน
และสมัยรัตนโกสินทรไดลดลงไปอีกเหลือปละ 3 เดือน เวลานอกน้ันคงปลอยใหกลับไปประกอบอาชีพตาม
ภูมิลำเนาของตน สวนไพรหลวงตามหัวเมืองช้ันกลางคงใหเขารับราชการในกรมทหารประจำเมืองน้ัน ๆ
ปล ะ 1 เดอื น

อธิบายระบบไพร
ในสังคมไทยสมยั โบราณ ไพร หมายถึง สามัญชนท่ัวไปที่ไมไ ดอยูในฐานะทาส หรือเจาขุนมูลนาย มี

อิสระในการประกอบอาชีพ การตั้งบานเรือน มีครอบครัว มีศักดินา 10-25 ไร และตองสังกัดมูลนาย จะ
โยกยายสังกัดไมไ ด ไพรทีข่ ้ึนสงั กัดหรอื สักเลกแลว จะปรากฏเครอ่ื งหมายสงั กัดท่ขี อ มอื หากสามัญชนผูใดไมไ ด
สงั กัดมลู นายจะไมไดรับการคุมครองจากกฎหมาย ไพรมีหนา ที่ในการถกู เกณฑแ รงงาน หรือเสีย "สวย" และถกู
เกณฑทหารในยามท่มี ีศึกสงคราม มีสามประเภทคอื ไพรห ลวง ไพรสม และไพรส วย

1. ไพรหลวง คือไพรที่สังกัดกรมกองตางๆ เปนไพรของพระมหากษัตริยโดยตรง ประเภทที่ตองถูก
เกณฑมาทำงานตามราชการกำหนด และประเภทที่ตองเสียเงินหรือสิ่งของมาแทนการเกณฑแรงงานหรือที่
เรียกวา "ไพรส ว ย" การสง เงนิ มาแทนการเกณฑแ รงงาน เงนิ ทส่ี งมาเรียกวา "เงินคา ราชการ"

2. ไพรสม เปนไพรท่ีพระมหากษัตริยพระราชทานใหมูลนายและขุนนางที่มีตำแหนงทางราชการเพื่อ
ผลประโยชนตอบแทน มูลนายจะมีไพรมากนอยขึ้นอยูกับ ยศ ตำแหนง ศักดินา ไพรสมตองทำงานใหราช
สำนักปละ 1 เดือน สวนเวลาที่เหลือรับใชมูลนายหรือสงเงินแทน เมื่อถึงยามสงครามทุกคนตองเปนทหาร
ปองกันอาณาจักร เมื่อมูลนายถึงแกกรรมไพรสมจะถูกโอนมาเปนไพรห ลวง นอกจากบตุ รจะขอควบคุมไพรสม
ตอจากบิดา

3. ไพรสว ย พวกที่ประสบความยากลำบากในการเดินทาง เพราะต้งั ภูมิลำเนาอยหู างไกลจากสถานที่
รับราชการ จึงตองจัดหาสิ่งของ ท่ีตองการใชในราชการ สงมาทดแทนแกทางราชการ เม่ือมีศึกสงครามมา
ประชิดบานเมอื ง มีการระดมไพรเขารับราชการพวกไพรส วย จะตองปฏิบัติตามคำสั่งระดมพล เขา ประจำการ
ในกองทัพอยา งพรกั พรอม

ระบบไพรดำรงอยูจนกระท่ังถึงกลางสมัยรัตนโกสินทร จนในรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัวท่ีมกี ารเลิกไพรอยางเปนทางการ เม่ือมกี ารนำระบบภาษีอากร และระบบเกณฑทหารสมัยใหมมาใช
แทน

ยังมีการผอนผันการเขารับราชการอีกวิธีหน่ึงท่ีเรียกวาการ “เสียสวย” แตวิธีนี้มักจะใชกับคน
ที่อยูใ นพน้ื ที่หางไกลมาก ๆ การเดนิ ทางไมสะดวก จึงใหเกณฑเอาสงิ่ ของท่ีเกิดในทองถ่ินที่อยู และทางราชการ
ประสงค เชน ดินประสิว ตะก่ัวดำ โดยคิดเปนราคาเงินใหเทากับที่จะตองเสียเปนคาราชการแทนได
แตการเสียคาเงินราชการและเสียสวยน้ี ยอมใหใชไดเฉพาะในยามปกติเทานั้นเมื่อเกิดศึกสงครามข้ึนก็จะตอง
เขารับราชการทหารทุกคน

นอกจากน้ีในสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 2 ยังไดเกิดระบบทหารอาสาสมัครข้ึนเปนครั้ง
แรกในประเทศไทย กลาวคือไดมีชาวโปตุเกตที่เขามาต้ังบานเรือนอยูในกรุงศรีอยุธยามาสมัครเขาเปนทหาร
แลว รวมกนั ต้ังเปน “กองทหารอาสาโปตเุ กต”

-6-

4. สมัยกรงุ รัตนโกสินทร
กองทัพไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร นับต้ังแตรัชกาลท่ี 1-3 ยังคงมีภารกิจท่ีสำคัญ คือ การ ปองกัน

ประเทศและการปราบปรามอริราชศตั รู ซึ่งก็คือ ประเทศรอบบานเชนเดียวกับสมยั กรุงศรีอยุธยาและกรุงธนบรุ ี
น่ันเอง ซึ่งโดยท่ัวไปแลวหลักการทางทหารก็ยังคงเปนไปตามหลักการที่เคยใชในสมัยกรุงศรีอยุธยาแตได
มีการปรับปรุงใหมคี วามเหมาะสมและดีขึ้นโดยท่ียงั คงใชประเพณเี ดิมคือ “ชายฉกรรจท ี่เปนคนไทยทุกคนตอง
เปนทหาร” และการจัดกำลังปองกันประเทศจะแบงเปนการจัดกำลังในยามปกติและยามสงคราม นอกจากนี้
ยังไดมีการนำเอาระบบศักดินาและระบบไพรม าใชเชนเดิม แตลดระยะเวลาในการเขารับราชการเหลือเพียง
ปละ 3 เดอื น

ตั้งแตปลายรัชกาลที่ 3 เปนตนมา ภัยคุกคามของประเทศไทยไดเปลี่ยนจากประเทศรอบบานไปเปน
ประเทศมหาอำนาจ นักลาอาณานิคมจากตะวันตก ซึ่งมีระบบการทหารท่ีมีประสิทธิภาพทั้งตัวทหารและอาวุธ
ตลอดจนมีความเชย่ี วชาญในยทุ ธวิธีการรบ

ตอมาในสมัยรัชกาลท่ี 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ไดเร่ิมมีการจัดหนวยทหารและ
ทำการฝกหัดตามแบบอยางยุโรป แตใชเปนหนวยทหารสำหรับรักษาพระองคและแหนำตามเสด็จ
สว นการเกณฑท หารก็ยังคงใชว ธิ ีการเกณฑเลขแบบโบราณ

คร้ันถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 5 ประเทศไทยถูกคุกคาม
จากประเทศตะวันตกเพ่ิมมากขึ้น ทั้งจากประเทศฝรั่งเศสและอังกฤษ จนตองเสียดินแดนถึง 5 คร้ัง การจัด
เตรียมกำลังไวปองกันประเทศจึงเปนเรื่องสำคัญ ทรงใชหลัก การจัดการทหารโดยคำนึงถึง “ทุน”
ซึ่งไดแก กำลังคนและกำลังทางเศรษฐกิจของประเทศเปนหลักเชนเดียวกับนานาอารยประเทศ โดยในป
พ.ศ.2446 พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช ผูบัญชาการ
ทหารบกในขณะนั้นไดทรงเสนอใหออกขอบังคับลักษณะการเกณฑทหารตามแบบอยางที่ทำกันในยุโรป
โดยทดลองใชเกณฑทหารเปนครั้งแรกท่ีมณฑลนครราชสีมา เพื่อศึกษาขอบกพรองตาง ๆ แลวนำมาแกไข
ปรับปรุงและไดนำไปทดลองใชท่ีมณฑลนครสวรรค มณฑลพิษณุโลก และมณฑลราชบุรีอีกในปตอ ๆ
เม่ือทรงเห็นวาไดผลเปนท่ีนาพอพระทัยแลว ไดทรงตราเปนพระราชบัญญัติลักษณะการเกณฑทหาร
ออกใชบังคับทั่วประเทศเม่ือ 29 สิงหาคม 2448 โดยมีหลักการที่สำคัญคือ ชายไทยท่ีมีอายุฉกรรจ (21 ป)
ตองเขารับราชการเปนทหารประจำการอยู 2 ป ครบกำหนดแลวปลดเปนทหารกองหนนุ ช้ันท่ี 1 ซ่งึ จะตองเขา
รับการฝกซอมอีกปละ 2 เดือน เปนเวลา 5 ป (เวลานอกนั้นปลอยใหไปทำมาหากิน) จากนั้นจะถูกปลดเปน
กองหนุนช้ันที่ 2 ซ่ึงจะตองเขารับการฝกซอมอีกปละ 15 วัน จนกระทั่งครบ 10 ป ก็จะปลดพนราชการ
โดยรวมแลว แตล ะคนจะตองเปน ทหารจนกวาจะอายุ 37 ป จงึ จะพน ราชการ

ผลที่เกิดจากการใชพระราชบัญญัติเกณฑทหารก็คือ การควบคุมบังคับบัญชา การฝกหัด
ความพรอมเพรียงและประสิทธิภาพของทหารดีข้ึน และยังชวยแกปญหาการขาดคนเขารับราชการทหาร
อีกดวย นอกจากน้ันยังเปนการยกเลิกระบบการควบคุมและการใชแรงงานพลเมืองโดยเจาหมูมูลนายที่เคย
ถอื ปฏบิ ตั ิกันมาต้งั แตสมยั กรงุ ศรีอยุธยาทีเ่ รยี กกนั วา “ระบบไพร” น่นั เอง

จะเห็นไดวากำลังสำรองหรือทหารกองหนุนที่ไดจากพระราชบัญญัติลักษณะการเกณฑทหาร
พ.ศ. 2448 น้ันจะมีเฉพาะพลทหารแตเพียงอยางเดียวเทาน้ัน ทำใหขาดนายทหารและนายสิบท่ีจะมาควบคุม
บังคับบัญชากำลังพลเหลานี้ในเวลาเรียกระดมพล กรมยุทธนาธิการจึงไดจัดตั้งระบบการผลิตกำลังสำรองข้ึน

-7-

ในป 2447 เรียกวา “นักเรียนนายทหารกองสมทบ” ซ่งึ ตอมาไดเปล่ียนช่ือเปน “นักเรียนนายดาบ” เริ่มท่ีมณฑล
ราชบุรีและมณฑลนครราชสีมากอน ระยะเวลาในการศึกษามีกำหนด 1 ป โดยจะศึกษาเฉพาะวิชาทหารแบง
การสอบออกเปน 2 ระยะคือการสอบคัดเลือกเขารับการศึกษาและเลื่อนเปนนายสิบ กับการสอบไล
คร้ังสุดทายเพื่อจบออกเปนนายทหาร รับสมัครผูท่ีมีอายุไมต่ำกวา 17 ป และไมเกิน 25 ป บุคคลท่ีสมัคร
เขารับการศึกษาสวนใหญจะประกอบดวยนายสิบประจำกองท่ีปรารถนาจะเปนนายทหารสัญญาบัตร
และผูมีฐานะดีและมีความรูพอที่จะเปนนักเรียนนายดาบได ที่ไมอยากจะเขารับราชการเปนพลทหารตาม
พระราชบัญญัติลกั ษณะการเกณฑท หาร โดยไดกำหนดเวลาเรยี นไวไ มเกิน 3 ป หากสอบไมผา นจะตอ งถูกปลด
เปนนายทหารกองหนุนช้ันท่ี 2 เวนแตจะสมัครใจเขารับราชการและหนวยทหารพอใจจะรับไว นายดาบจะมี
ช้ันยศสูงกวาจานายสิบแตต่ำกวานายรอยตรี มีหนาท่ีบังคับหมวด เม่ือรับราชการครบ 2 ป (นับตั้งแตวันท่เี ขา
เปนนักเรยี น) ก็จะถูกปลดเปนนายดาบกองหนุนรับเบ้ยี หวัดตามสวนแบงเชนเดียวกับนายรอยตรชี ้ัน 3 นักเรียน
นายดาบรุนสดุ ทายสำเรจ็ การศกึ ษาเมื่อ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2475

ในสมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจาอยูหัว มเี หตุการณสำคัญทางทหารเกิดขึ้น คือ
การเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในทวีปยุโรปในป พ.ศ.2457 จึงไดทรงปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติลักษณะ
การเกณฑทหาร พ.ศ.2448 เพื่อใหความเปนธรรมแกผูเปนทหารมากย่ิงข้ึน โดยไดกำหนดหลักเกณฑใหญ
ไววา ชายฉกรรจไทยที่มีอายุ 21-22 ป ตองเขารับการเกณฑทหารทุกคน มียกเวนใหกับบุคคลเทาท่ีจำเปน
ซง่ึ เปนสว นนอ ยทีส่ ดุ

และยังไดทรงตระหนักถึงภัยคุกคามจากภายนอกประเทศนานาประการ จึงทรงมีพระราชดำริ
ที่จะใหมีการฝกอบรม ขาราชการพลเรือน พอคา และประชาชนใหมีระเบียบวินัยมีสุขภาพรางกายสมบูรณ
แขง็ แรงและมีความรูในทางการทหาร เพ่ือเตรียมไวเปนกำลังสำรองของชาติ สนับสนุนกองทัพในยามสงคราม
จึงไดโปรดเกลา ฯ ใหจัดตั้งกิจการ “เสือปา” ขึ้นเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2454 โดยแบงเปน เสอื ปาเสนาหลวง
รกั ษาพระองค และเสือปารักษาดนิ แดน มีหนาที่ชวยเหลอื ทางราชการในการแจงขา ว ระงบั เหตุจลาจลท่ีเกดิ ข้ึน
ภายในราชอาณาจักรและการปองประเทศในภาวะสงคราม ภายหลังการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จ
พระมงกฎุ เกลาเจาอยูหัวในป พ.ศ.2468 กิจการเสอื ปา ก็เริม่ ซบเซาและสนิ้ สดุ ลงไป

ในสมัยรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงมีแนวพระราชดำริวา กองทัพน้ัน
นอกจากจะเปนสิง่ จำเปนอยางยิ่งสำหรับการปองกันอิสรภาพและเอกราชของประเทศแลว ยังเปนเคร่ืองค้ำจุน
พระราชอำนาจและราชบัลลังกอกี ดวย ดังน้นั จึงควรท่ีจะทำนุบำรุงกองทัพใหเขมแข็งยิ่งข้ึน ในป พ.ศ.2470
ไดทรงปรับปรุงสภาปองกันพระราชอาณาจักรดวยการกำหนดหนาที่ใหกระทรวงฝายทหารและกระทรวง
ทบวง ฝายพลเรือนประสานงานเปนน้ำหน่ึงใจเดียวกัน ในการกำหนดนโยบายการปองกันพระราชอาณาจักร
แตอยางไรก็ตามภายหลังจากสงครามโลกคร้งั ที่ 1 ส้ินสุดลง ไดเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำขึ้นท่ัวโลก ซึง่ รวมท้ัง
ประเทศไทยดวย จึงเปนเหตุใหทางราชการมีความจำเปนตองปลดขาราชการทง้ั ทหารและพลเรือนออกเปน
จำนวนมาก รวมถึงการควบรวมโรงเรียนนายรอยปฐมและมัธยมเขาเปนโรงเรียนนายรอยทหารบกในป
พ.ศ.2468 โดยตัดชั้นเตรียมและช้ันปฐมซึ่งอายุยังนอยออกทั้งหมดและรับนักเรียนที่มีอายุไมเกิน 17 ป จัดแบง
การศึกษาออกเปน 6 ชน้ั และยบุ เหลือเพียง 5 ชัน้ ในป พ.ศ.2469

ในป พ.ศ.2470 ไดป รบั ปรงุ ระบบกำลงั สำรองดวยการกำหนดระเบยี บการศึกษาในโรงเรยี นนายดาบ
ซ่ึงจัดต้ังมาตั้งแตป พ.ศ.2447 เสียใหม โดยกำหนดใหนักเรียนนายดาบท่ีศึกษาครบตามหลักสูตร 1 ปแลว
เมอื่ เริม่ เขา ปท ี่ 2 ใหรบั ตำแหนง ผูบงั คบั หมูในกรมกองทหารอัตราสิบเอก 1 ป ถาไมสมคั รใจรับราชการตอ
ใหปลดเปน นายสิบ แตถาสมัครใจรับราชการตอ ไปในปท ่ี 3 ใหร ับยศเปนนายดาบ ทำหนาท่ีผชู ว ยผบู ังคบั หมวด
หรือผูบังคับหมวด ครบ 3 ปแลวจึงปลดเปนนายดาบกองหนุน สวนผูท่ีมีความประพฤติดีและตั้งใจเรียนดี

-8-

ใหแมทัพคัดเลือกสงเขาศึกษาตอในโรงเรียนเหลาทหาร เมื่อสอบไลไดแลวใหไดรับยศเปนรอยตรีประจำการ
ตอไป

งานท่ีเกี่ยวกับกำลังสำรองที่สำคัญอีกอยางหน่ึงในสมัยรัชกาลที่ 7 คือการจัดใหมีการฝก วิชาทหาร
ในโรงเรียนสามัญข้ึนเปนครั้งแรกในประเทศไทย โดยกรมเสนาธิการทหารบกไดเสนอตอท่ีประชุมใหญ
กระทรวงกลาโหมเม่ือป พ.ศ.2472 โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือจัดเตรียมกำลังสำรองเฉพาะเหลาทหารราบไวใช
ในยามศึกสงคราม ดว ยการกำหนดหลักสตู รการสอนวิชาทหารในโรงเรียนสามัญไว 4 ระดับคอื

ชั้นท่ี 1 ระยะเวลาเรียน 1 ป ใหส ามารถทำหนาทีล่ ูกแถวได
ชน้ั ที่ 2 ระยะเวลาเรียน 2 ป ใหสามารถทำหนา ทผ่ี ูบังคบั หมู
ชั้นที่ 3 ระยะเวลาเรยี น 2 ป ใหส ามารถทำหนาที่ผบู ังคับหมวด
ชั้นท่ี 4 ระยะเวลาเรยี น 1 ป ใหสามารถทำหนาทผ่ี บู งั คับหมวดไดผ ลดยี ง่ิ ขึน้
การฝกศึกษา จะแบงเปนการเรียนในหองเรียนปละ 80 ชั่วโมง และการฝกหัดนอกหองเรียน อีกปละ
160 ชั่วโมง โดยเร่มิ ทดลองเฉพาะในจังหวัดพระนครกอนจำนวน 20 โรงเรียน ตั้งแตป พ.ศ.2473 เปนตนไป
และกรมยุทธศึกษาทหารบกจะเปนผูจัดหาครฝู กสำหรับฝกครใู นโรงเรียนซ่ึงก็เปนนายทหารกองหนุนอยูแลว
เพื่อใหทำหนาที่เปนผูชวยทำการฝกนักเรียนตอไป ผูสมัครเรียนวิชาทหารในโรงเรียนจะตองผานการคัดเลือก
กวาเปนผูที่มีรา งกายแข็งแรงและมีอายุไมต ่ำกวา 16 ป สว นผูท่ีอายุนอยหรอื รา งกายไมแข็งแรง กใ็ หงดการฝก
การใชอาวุธปนเล็ก สิทธิของผูสำเร็จหลักสูตรวิชาทหารชั้นท่ี 1 จะไดรับการลดเวลารับราชการทหาร 6 เดอื น
ช้ันท่ี 2 ไดล ด 12 เดือน ชั้นท่ี 3 ไดลด 15 เดือนและชนั้ ที่ 4 ไดล ด 18 เดอื น โดยสรุปแลวหากนักเรียนศึกษา
วิชาทหารครบ 4 ระดับ เม่ือถึงเวลาเกณฑทหารก็จะถกู เรียกเขาประจำการเพียง 6 เดือนเทาน้ัน เปนการรน
ระยะเวลารับราชการทำใหมีเวลาออกไปประกอบสัมมาอาชีพอ่ืนไดเร็วยิ่งขึ้น เปนประโยชนท้ังกับตัวผูเรียน
และทางราชการ จะเห็นไดวาถึงแมจ ะเรียนวิชาทหารจบถึงระดับ 4 ซึ่งตองใชเวลาเรียนถึง 6 ปก็ตาม แตก็
จะไดรับสทิ ธิลดเวลาเขา รับราชการทหารเพียงแค 18 เดอื นเทา นนั้ ไมไดรับการยกเวนการเขารบั ราชการทหาร
เหมือนอยางเชนในปจ จุบนั
ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง เมื่อ 24 มิถุนายน 2475 กระทรวงกลาโหมไดกลับมาเริ่ม
จัดการฝกวิชาทหารใหแกนักเรียน นักศึกษาอีกครั้งหน่ึง โดยมวี ัตถุประสงคเพ่ือทีจ่ ะฝกอบรมใหเยาวชนมีวินัย
มีความรูในวิชาทหาร มีความสำนึกในหนาที่และความรับผิดชอบตอประเทศชาติบานเมืองอยางจริงจังเหมือ
เชนหนวยยุวชนของเยอรมัน นอกจากนี้ยังเปนการจัดเตรียมกำลังสำรองประเภทนายทหารและนายสิบไวใ ช
สนับสนุนกองทัพในยามศกึ สงครามอีกประการหน่ึงดวย
ในป พ.ศ.2480 ไดจัดตั้งเปนกรมยุวชนทหารบกโดยมีพันเอก ประยูร ภมรมนตรี เปนผูบังคับบัญชา
ซึ่งไดนำเอาการวิธีการฝกแบบ ROTC (reserve officer training corps)และ OTC (officer training corps) มาเปน
แนวทาง แบงเปน ยุวชนนายทหารยุวชนนายสิบ ยุวชนทหาร ยุวนารพี ยาบาล ฯลฯ มีหลักเกณฑการคัดเลือกในสวน
ของยุวชนทหารดังน้ี มีอายุ 15 – 17 ป เปนลูกเสือเอก และตองเปนนักเรียนชั้นมัธยมปลาย ผูที่สำเร็จการฝก
และสอบไลไดตามหลักสูตร มีสิทธิลดเวลารับราชการทหารและไดรับพระราชทานยศตามท่ีบัญญัติไวใน
กฎกระทรวงกลาโหม ในชั้นแรกมีจำนวน 315 นายอยูในความอำนวยการของมณฑลทหารบกท่ี 1 ตอมาได
ขยายออกไปยังตางจังหวัด

-9-

5. ในระหวางสงครามโลก ครั้งที่ 2 (พ.ศ.2483 – 2488) ถงึ ปจจบุ ัน
ในป พ.ศ.2485 -2486 ซ่ึงอยูในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 มีกำลังยุวชนทหารทุกประเภททุกเหลา

รวม 3 กองพล (27 กองพัน) โดยไดประกอบวีรกรรมท่ีสำคัญดวยการเขารวมตอ ตานการบุกของฝายกองทัพ
ญ่ีปนุ ท่ีบริเวณสะพานคลองทานางสังข จังหวัดชุมพร ภายใตก ารนำของ รอ ยเอกถวิล นิยมแสน หัวหนาหนวย
ยุวชนทหารชุมพร รว มกบั ทหาร ตำรวจ และพี่นองประชาชนชาวชมุ พร

เม่ือวันท่ี 8 ธันวาคม พ.ศ.2484 ภายหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 ส้ินสุดลงในป พ.ศ.2490 กิจการยุวชน
ทหารกไ็ ดส ลายตัวไปตามพระราชบญั ญัติยกเลิกพระราชบญั ญัติ ยุวชนทหาร พุทธศกั ราช 2490

จนกระทั่งถงึ ป พ.ศ.2491 จงึ ไดเ ริ่มการฝก วชิ าทหารใหกับนักเรียน นักศกึ ษาในประเทศไทยอีกเปน
ครั้งท่ี 3 ทเ่ี รยี กกนั วา “นักศึกษาวิชาทหารหรอื รด.” โดยแนวคิดของ พลโท หลวงชาตนิ ักรบ รัฐมนตรวี า การ
กระทรวงกลาโหมในขณะน้ัน ดวยการจัดตั้งกรมการรักษาดนิ แดนข้ึนในกระทรวงกลาโหม ตามความในมาตรา
6 แหง พระราชบัญญัติจดั ระเบียบปองกันราชอาณาจกั ร พุทธศกั ราช 2491 โดยกำหนดใหเปน หนวยขน้ึ ตรงกับ
กระทรวง กลาโหมตามคำสั่งกระทรวงกลาโหมที่ 54/2477 ลงวนั ที่ 13 กุมภาพันธ 2491 มที ต่ี ง้ั อยูในมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร ในป พ.ศ.2495 ไดโอนการบังคับบัญชามาขึน้ ตรงตอกองทพั บก และยายมาเขาที่ตั้งใหม
ในสวนเจา เชตุ จนถึงปจจบุ นั การดำเนนิ การในหวงระยะเวลาดงั กลาว ไดยดึ ถือตามมลู ฐานกำหนดไวในขอบงั
ครบั ทหาร วาดวยการเตรยี มพล พ.ศ.2481 ซึ่งไดประกาศเมอ่ื 27 ก.ย.2481

สรุปหลักการท่ัวไปวา กำลงั กองทพั ยามปกตนิ ั้น จะจดั ไวเพียงพอสมควรกบั ฐานะการเงินของประเทศ
แลวเรียกพลเมอื งผลัดเปล่ียนหมนุ เวยี นกันเขารบั ราชการเพือ่ ฝกหัดอบรมตามกฎหมาย และจะปลดปลอ ย
ออกไปเปน กองหนุน สำหรบั ใชขยายกำลังยามสงคราม ในระหวางที่ปลดปลอยไปนั้นตองเรียกเขา มาฝกซอม
เปนครง้ั คราวใหเกิดความชํานาญ และเขาใจในวธิ ปี ฏิบัตอิ ยูเสมอ ในยามสงครามนน้ั จะตองมีการระดมกำลังซึ่ง
ไดแ ก การระดมกำลังพลและการระดมยุทโธปกรณ ซึง่ จะปฏิบัติตามแผนระดมสรรพกำลังท่ีเตรียมไว

การดำเนินการตามขอบังคับทหารบกวาดวยการเตรียมพล พ.ศ.2481 ระยะที่ 1 (พ.ศ.2483 –
2488) ซ่ึงสรปุ หลักการท่ีสำคัญคือ การกำหนดใหกองทัพบกจัดกำลังในยามปกติใหเหมาะสมกับสภาวะทาง
เศรษฐกิจและการเงนิ ของประเทศแลวออกกฎหมายเพ่ือทำการเรยี กพลเมอื งผลดั เปลย่ี นหมุนเวียนกันเขามารับ
ราชการและฝกอบรมวิชาทหาร จากนั้นใหปลดปลอยออกไปเปนกองหนุนสำหรับเรียกใชในยามศึกสงคราม
โดยในระหวางทเี่ ปนกองหนุนจะถกู เรียกเขารับการฝกทบทวนวชิ าทหารเปนครง้ั คราวเพ่ือใหพรอมทจ่ี ะถูกเรยี ก
ระดมพลไดตลอดเวลา ซ่ึงไดมีการเรียกระดมพลกองหนุนตามเหตุการณและความจำเปนในการปองกัน
ประเทศมาแลวหลายคร้ัง โดยในป พ.ศ.2483 รัฐบาลไทยมีนโยบายจะเรียกรองดินแดนคืนจากฝร่ังเศส
จึงไดมีการเตรียมกำลัง โดยกำลังทางบกไดเตรียมการขยายกำลัง เพ่ือเผชิญกับสถานการณดวยการกำหนด
อัตราการจัดกองทัพบกสนาม แลวทำบัญชีบรรจุกำลังในสวนที่มีการขยายหนวยน้ันจะเปนการเรียกกำลังพล
กองหนุนเขารับการฝก และบรรจุเขาหนวยตาง ๆ ตามแผน ซงึ่ ผลการปฏิบัตสิ ามารถขยายหนว ยจากเดิม 44 กอง
พันเปน 75 กองพัน และขยายกำลังพลจาก 35,000 นาย เปน 60,000 นาย ตอมาป พ.ศ.2484-2486
ไดสงกำลังออกปฏิบัติการ 1 กองทัพสนาม จำนวน 71 กองพัน กำลังพล 70,000 นาย ป พ.ศ.2486-2488
ขยายกำลงั เปน 106 กองพนั มกี ำลังพล 100,000 นาย ป พ.ศ.2488– จนถงึ สิน้ สดุ สงครามมหาเอเชยี บูรพา
ขยายกำลังเพิ่มเปน 117 กองพัน กำลังพล 120,000 นาย ระยะเวลาที่ใชในการฝกทหารกองหนุนท่ีเรียก
ระดมพล ตองใชเวลา 3-6 เดือน จึงจะมคี วามพรอมสามารถทำการรบได

การดำเนินการตามขอบังคับทหารบกวาดวยการเตรียมพล พ.ศ.2481 ระยะที่ 2 (พ.ศ.2488 –2499)
หลังสงครามโลก ครั้งท่ี 2 กิจการทางทหารลดความสำคัญลงทำใหตองปลดกำลังพลจำนวนมาก
อยางเรงรีบ โดยมีนายทหารและนายสิบท่ีถูกปลดประจำการในป พ.ศ.2489 เปนจำนวนถึง 6,404 นาย

- 10 -

คิดเปนรอยละ 20 ทำใหเกิดปญหาในเรื่องการควบคุมทางบัญชี เปนผลใหการเตรียมพลในหวงระยะเวลานี้
กระทำไดเ พียงหนงึ่ คร้ังคือ ในป พ.ศ.2496 เม่อื ฝายตรงขามรุกเขาจนถึงรมิ ฝงแมน้ำโขง กองทพั ไทย จึงไดเรยี ก
ทหารกองหนุนเขารบั การฝกระยะเวลา 45 วัน จำนวนกำลงั พล 4,177 นาย ผลการเรยี กพลคิดเปนรอ ยละ 79

การดำเนินการตามขอบังคับทหารบกวาดวยการเตรียมพล พ.ศ.2481 ระยะที่ 3 (พ.ศ.2499 –2514)
รัฐบาลไดตกลงรับความชวยเหลือทางทหารจากสหรัฐอเมริกา จึงตองปฏิรูปการจัดกองทัพใหม
เปนแบบสหรัฐอเมริกา เพื่อใหสอดคลองกับการใชยุทโธปกรณซ่ึงไดรับความชวยเหลือ สำหรับระบบกำลัง
สำรองนั้น คงใชแบบเดิมตลอดมา และไดทำการตรวจสอบบัญชี ตลอดจนหลักฐานเก่ียวกับทหารกองหนุน
ใหมีความเปนระเบียบมากยิ่งข้ึนพรอมกับการออกพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ.2497 และเร่ิมใช
ต้ังแต พ.ศ.2500 จนถงึ ปจ จุบนั

พ.ศ.2500 ทำการฝกทดลองความพร่ังพรอมระยะเวลา 1 วัน ในพ้ืนที่ทหารบกจังหวัดลพบุรี
โดยใชขอบังคับทหารบกวา ดวยการเตรยี มพล พ.ศ.2481

พ.ศ.2506-2508 ฝกเรียกพลตามแผนปองกันประเทศ (3 ป) เพื่อหาบทเรียนจากการปฏิบัติ
ซึ่งผลการปฏิบัติมีดังนี้ป พ.ศ.2506 ผลการเรียกพลประมาณรอยละ 80 ป พ.ศ.2507 รอยละ 90 และ
ป พ.ศ.2508 รอยละ 95 นบั วา ไดผลดีข้นึ

พ.ศ.2510 เรียกพลเพื่อทดสอบแผน 22 โดยกระทำในพื้นที่ชายแดน จำนวนกองหนุนท่ีถูกเรียก
2,985 นาย ผลการเรยี กพลประมาณรอยละ 95

พ.ศ.2512-2514 (3ป) เปนการทดสอบแผนปองกันประเทศ (แผนตากสิน 1) ใหสมบูรณ และ
หาบทเรียนในการขยายกำลังจัดต้ังหนวยใหม จำนวนกองหนุนที่เรียกรวม 19,424 นาย ผลการเรียกพล
ประมาณรอ ยละ 93

จากผลการเรียกพลท่ีผานมาทำใหทราบขอบกพรองของระบบการควบคมุ และขอบังคับทหารบก
วาดวยการเตรียมพล พ.ศ.2481 จึงไดยกเลิกและปรบั ปรุงเปน ขอบังคบั กระทรวงกลาโหมวาดวยการเตรียม
พล พ.ศ.2515 ทั้งน้ีเพือ่ ใหมกี ารประสานงานระหวางกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวของใหกวางขวางย่ิงข้ึน อัน
จะเปนประโยชนตอกองทัพ และประเทศชาติสืบไป ดังน้ัน การเรียกพลต้ังแตป พ.ศ.2516 เปนตนไป จึงเปน
การปฏิบัติตาม ขอบังคับกระทรวงกลาโหมวา ดวยการเตรยี มพล พ.ศ.2515 จนถงึ ปจจุบัน

การเตรียมพลของกองทัพไทยในปจจุบนั : ยึดถือและปฏิบัติตามพระราชบัญญัติรับราชการทหาร
พ.ศ.2497 และขอบงั คบั กระทรวงกลาโหมวาดวยการเตรียมพล พ.ศ.2515 มสี าระสำคญั ดงั นี้.

การเตรียมพล หมายถึง การเตรียมกำลังพลสำรองเพ่ือการทหาร และการปองกันประเทศ
ใหมีความพรอมรบ ต้ังแตยามปกติการดำเนินการเตรียมพลนั้นมีงานที่จะตองดำเนินการโดยตอเนื่อง 3 งานใหญๆ
คือ การควบคมุ , การเรยี กกำลังพลสำรองมาเขารับราชการทหารช่วั คราว และการฝกศกึ ษาของกำลงั พลสำรอง
ซึ่งการเตรยี มพล แบงออกเปน 4 ประเภท คอื

ก) การเรยี กพลเพ่ือตรวจสอบ
ข) การเรียกพลเพ่ือฝกวิชาทหาร
ค) การเรียกพลเพ่ือทดลองความพร่ังพรอม
ง) การระดมพล
1) การเรียกพลเพ่อื ตรวจสอบ หมายถงึ การเรยี กนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน, นายทหาร
สัญญาบัตรนอกราชการ, นายทหารประทวนกองหนุน, พลทหารกองหนุนประเภทท่ี 1, พลทหารกองหนุน
ประเภทท่ี 2 ซ่ึงเคยเขารับราชการกองประจำการหรือเคยเขารับการเรียกพลเพ่ือฝกวิชาทหารมาแลว

- 11 -

และทหารกองเกินซึ่งเคยเขารับการเรียกพลเพ่ือฝกวชิ าทหารแลว เขารับการตรวจสอบสภาพ ตรวจสอบบัญชี
และซักซอมระเบียบการ ท้ังนี้เพ่ือกอใหเกิดผลสมบูรณในการท่ีจะปฏิบัติการเรียกพลเพื่อฝกวิชาทหาร/
เพอื่ ทดลองความพรัง่ พรอม/การระดมพล

การเรยี กพล ฯ นี้โดยธรรมดากระทำในยามปกติ
ผบ.มทบ./ ผบ.จทบ. เปนผูม อี ำนาจในการสง่ั การเรยี กพล ฯ และเปนผวู างแผนโดยตลอด
2) การเรียกพลเพื่อฝกวิชาทหาร หมายถึง การเรียกนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน,
นายทหารสัญญาบัตรนอกราชการ, นายทหารประทวนกองหนุน, พลทหารกองหนุนประเภทท่ี 1, ทหาร
กองหนุนประเภทท่ี 2 และทหารกองเกิน เขารับการฝก หรือทบทวนวิชาทหาร เพ่ือใหมีความรูความสามารถ
พรอ มท่ีจะปฏบิ ตั ิหนาท่ีอยางมปี ระสิทธิภาพ
การเรยี กพล ฯ นโ้ี ดยธรรมดากระทำในยามปกติ
ผบู ญั ชาการทหารบก เปน ผูมีอำนาจสั่งการเรียกพล ฯ และเปน ผูวางแผนโดยตลอด
3) การเรียกพลเพื่อทดลองความพร่ังพรอม หมายถึง การเรียกนายทหารสัญญาบัตร
กองหนุน, นายทหารสัญญาบัตรนอกราชการ, นายทหารสัญญาบัตรนอกกอง, นายทหารประทวนกองหนุน
และพลทหารกองหนุนประเภทที่ 1, ทหารกองหนุนประเภทที่ 2 ซ่ึงเคยเขารับการเรียกพลเพื่อฝกวิชาทหาร
หรือไมเคยเขารับการเรียกพลเพื่อฝก วิชาทหาร และทหารกองเกินซ่ึงยังไมเ คยเขารับการเรียกพลเพ่ือฝกวิชาทหาร
หรือเคยเขารับการเรียกพลเพ่ือฝกวิชาทหาร เขามาทดสอบแผนหรือเตรียมรับสถานการณ เพื่อใหสามารถ
ปฏิบตั หิ นาท่ตี ามแผนที่กำหนด
ผบู ัญชาการทหารบก เปนผมู ีอำนาจสั่งการเรยี กพล ฯ และเปน ผวู างแผนโดยตลอด
4) การระดมพล หมายถึง การเรียกนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน, นายทหารสัญญาบัตร
นอกราชการ, นายทหารสัญญาบตั รนอกกอง, นายทหารประทวนกองหนนุ และพลทหารกองหนุนประเภทท่ี 1,
ทหารกองหนุนประเภทที่ 2 และทหารกองเกิน เขาบรรจุหนวยทหารในเมื่อประเทศชาติอยูในสถานการณคับขัน
เพอื่ ขยายกำลงั ตามอตั ราสงคราม
การระดมพล จะกระทำเมื่อ มีพระบรมราชโองการใหตราเปนพระราชกฤษฎีกาวาดวย
การระดมพล แลวรฐั มนตรวี า การกระทรวงกลาโหมจะสั่งดำเนินการตอ ไป

วิธีเรยี กบุคคลเพ่อื การเตรยี มพล
การเรียกกำลังพลสำรองเขารับราชการทหาร เปนการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. รับราชการทหาร

พ.ศ.2497 ซึ่งกำหนดให กห.เปนผูจดั เตรียมและอำนวยการ สว น มท.เปน ผูดำเนินการเรียกและสงพล เขา
รับราชการทหารตามความประสงคข อง กห. ตามขอบังคับ กห.วาดวยการเตรียมพล พ.ศ.2515 กำหนดวิธี
เรียกบุคคลเพ่ือการเตรยี มพล กระทำได 4 วธิ ี คอื

ก) วิธีเรียกอยางทหารใหม มีวิธีการเชนเดียวกับการตรวจเลือกทหารกองเกินเขารับราชการ
เปนทหารกองประจำการ โดยจะตองปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร และแบบธรรมเนียม
ทหารโดยอนโุ ลม

ข) วิธีประกาศ กระทำโดย ผบ.จทบ.ท่ีมีหนาท่ีในการเรียกพลทำหนังสือแจงวัตถุประสงค
ในการเรียกพลไปยัง ผวจ.ในเขตพื้นท่ีพรอมท้ังบัญชี และเอกสาร แลวสงไปยัง นอภ.เพ่ือลงช่ือในประกาศ
เรียกพล ( ตพ.9 ) ตอจากนั้นเปนการดำเนินกรรมวิธีตามขั้นตอนไปตามลำดับถึง กำนัน/นายกเทศมนตรี
ผใู หญบา น ตามลำดับจนถึงตัวกำลังพลสำรองเปนรายบุคคล

- 12 -

ค) วิธีออกหมายเรียก วิธีการปฏิบัติโดยสวนรวมเชนเดียวกับวิธีประกาศเพียงแตใชหมาย
เรยี กพล (ตพ.13) แทน ประกาศเรียกพล (ตพ.9) สง ใหผูถูกเรียกพลเปนรายบุคคล สวนบัญชีและเอกสารอ่ืนๆ
คงมีลักษณะเหมอื นกัน

ง) วิธีออกคำสั่งเรียก วิธีน้ีใช คำสั่งเรียกพล ( ตพ.17 ) เปนเอกสารที่ ผบ.จทบ./ ผบ.ทร./
ผบ.ทอ. เปนผูสั่งให นายทหารสัญญาบัตรกองหนุน, นอกราชการและนอกกองตั้งแต พ.อ. ลงมา ที่ถูกเรียก
เปน รายบุคคลใหท ราบการเรยี กตลอดจนทราบ วนั เวลาและสถานท่ี ท่กี ำหนดใหรายงานตัว

การแบง ประเภทกำลงั พลสำรองในการเตรยี มพล
กำลังสำรอง หมายถึง กำลังท่ีมิใชประจำการและกองประจำการท่เี ตรียมไวสำหรับใชในยามสงคราม

ยามประกาศกฎอัยการศึก ยามประกาศสถานการณฉุกเฉิน หรือในยามปฏิบัติการดวยการใชกำลังทหาร
ขนาดใหญ เพ่ือปกปองคุมครองรักษาเอกราชอธิปไตยของชาติ หรือเพ่ือรักษาความสงบ เรียบรอยและ
ความม่นั คงภายในประเทศ ประกอบดว ย :-

1) กำลังพลสำรอง หมายถึง นายทหารสัญญาบัตรกองหนุน นายทหารสัญญาบัตรนอกราชการ
นายทหารสัญญาบัตรนอกกอง นายทหารประทวนกองหนุน พลทหารกองหนุนประเภทท่ี 1 ทหารกองหนุน
ประเภทที่ 2 และทหารกองเกนิ

2) กำลังกึ่งทหาร หมายถึง กำลังในสวนท่ีบรรจุในหนวยตามอัตราการจัดและยุทธภัณฑ
ในลักษณะคลายคลึงกับหนวยประจำการมีขีดความสามารถเขาทำการรบไดในระดับหนึ่ง เชน หนวยทหาร
พราน หนว ยกองรอ ยอาสารกั ษาดินแดน ตำรวจตระเวนชายแดน ฯลฯ เปนตน

2.1 อาสาสมัครทหารพราน (อส.ทพ.) โครงการ อส.ทพ. ไดจัดต้ังขึ้นเมื่อป 22 ซ่ึงมีศูนย
ปฏิบัติการกองทัพบก เปนผูร ับผิดชอบดำเนินการจัดต้ังใหท ้ัง 4 กองทัพภาค, โดยมีภารกิจปราบปราม
ผูกอการราย ตอ มากองทัพบก ไดมอบใหกองทพั ภาคตาง ๆ เปนผูควบคุมกำกับดูแล อส.ทพ. ในเขตพื้นท่ีของ
แตละกองทัพภาค ซ่ึงจะทำใหเกิดประสิทธภิ าพในการปฏิบัติงานมากข้นึ

2.2 อาสารักษาดนิ แดน (อส.) อส.น้ี เปนสวนหนง่ึ ของกจิ การอาสารักษาดนิ แดนข้ึนอยูกับ
กระทรวงมหาดไทย โดยเจาหนา ท่ีฝายทหารเปนเจา หนาท่ีโครง กิจการอาสารักษาดินแดนนี้เดิมมีความมุง
หมายเพ่ือฝกอบรมคนไทยใหรูจ ักหนา ท่ใี นการปองกันรักษาประเทศชาติในเวลาสงคราม ซึ่งไดเร่มิ ดำเนินการ
มาตั้งแตป 2484 ในข้ันแรกตอ งการใหเปนกองกำลงั ใชตอตา นขาศกึ แตต อมาเกิดการขาดแคลนอาวุธยทุ โธปก
รณ และเกรงวา อาจจะเปนภัยแกราษฎรมากเกินไป จึงเปลี่ยนความมุงหมายใหม าทำหนาทีช่ ว ยรบปฏิบัติการ
รวมกับทหารและยกเลิกไปเมื่อส้ินสงครามโลก คร้ังที่ 2 ภายหลังกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงกลาโหม
ไดร้ือฟ นกิ จการ อส.ขึ้นให ม โดยออกเปน พ .ร.บ . กองอาสารักษ าดิน แดน พ .ศ.2497 และให
กระทรวงมหาดไทยดาํ เนนิ กิจการกองอาสารกั ษาดินแดนมาจนถึงทุกวนั น้ี

2.3 ตาํ รวจตระเวนชายแดน (ตชด.)
3) กลุมพลังมวลชนจัดต้ัง หมายถึง กลุมกำลังมวลชนที่มีการจัดตั้งแลวโดยมีกฎหมายรองรับ
ไดแก กองหนุนเพื่อความม่ันคงแหง ชาติ (กนช.), ไทยอาสาปองกันชาติ (ทส.ปช.) ,อาสาพัฒนาและปอ งกัน
ตนเอง (อพป)
4) กลุมพลังมวลชนอ่ืน ๆ หมายถึง กลมุ พลงั มวลชนทม่ี กี ารจดั ตั้ง โดยไมมีกฎหมายรองรบั
ไดแก กลุมลกู เสอื ชาวบาน กลุม อาสาสมัครสตรีรักษาดินแดน

- 13 -

ท่ีมาของกำลังพลสำรองเพอ่ื การเตรียมพล
พระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ.2497 ชายท่ีมีสัญชาติเปนไทยตามกฎหมายมีหนาที่รับ

ราชการทหารดว ยตนเองทุกคน หมวด 1 มาตรา 7
กำลังพลสำรอง ของกองทัพไทย เปนกำลังพลท่ีกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ

ไดจัดเตรียมไวใชในยามสงครามหรือในยามสถานการณคับขันการที่จะใหไดมาซ่ึงกำลังสำรองเหลาน้ี
จำเปนตองอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัตริ ับราชการทหาร พ.ศ.2497 และระบบการจัดใหไ ดมา ซง่ึ กำลังพล
สำรองดงั นี้

1) ทหารกองเกิน หมายถึง กำลังพลสำรองท่ีไดมาจากผูซ่ึงมีอายุตั้งแต 18 ปบริบูรณและยังไมถึง
30 ปบรบิ ูรณ ซง่ึ ไดลงบญั ชีทหารกองเกนิ ตามกฎหมายวาดว ยการรบั ราชการทหารแลว

ปเกดิ + 17 = ลงบัญชปี  น้ัน
2) ทหารกองหนุนประเภทที่ 1 ประกอบดวย.-

ก) สิบตรกี องประจำการและพลทหารกองหนุน หมายถงึ ผูที่มาจากทหารกองประจำการท่ี
รับราชการตาม พ.ร.บ.รับราชการทหาร พ.ศ.2497 ครบ 2 ป แลวปลดเปน ทหารกองหนุน มีฐานะเปน ส.ต./
พลทหารกองหนุนประเภทท่ี 1 ชั้นที่ 1 ระยะเวลา 7 ป, ช้นั ท่ี 2 ระยะเวลา 10 ป และช้นั ที่ 3 ระยะเวลา 6 ป
เม่ือครบ 3 ชั้นแลว ปลดเปนพนราช การทหารประเภทที่ 1

ข) นายทหารประทวนกองหนนุ หมายถงึ
(1) นายทหารประทวนท่ีออกจากประจำการและอายุ ไมเกิน 46 ป
(2) ทหารกองเกินซึ่งสมัครเขาเปนนักศึกษาวิชาทหารที่กระทรวงกลาโหมกำหนดตาม

กฎหมายวาดวยการสงเสริมการฝกวิชาทหารและเม่ือสอบวิชาทหารไดตามหลักสูตรจึงนำตัวข้ึนทะเบียน
กองประจำการ แลวปลดเปนทหารกองหนุนและจะไดรับการแตงตั้งยศใหเปน นายทหารประทวนกองหนุน
โดยอยใู นประเภททหารกองหนุนช้นั ตาง ๆ รวม 23 ป

3) ทหารกองหนนุ ประเภทท่ี 2 หมายถึง
ก) พลทหารที่ปลดออกจากกองประจำการ โดยตองจำขังหรือจำคุก มกี ำหนดวันที่จะตอง

ลงทัณฑห รอื ตองโทษรวมไดไมน อ ยกวา 1 ป หรือกระทำความเสื่อมเสยี ใหแ กราชการทหาร แลว ถูกปลดเปน
ทหารกองหนนุ ประเภทที่ 2

ข) ผูไมถูกคัดเลอื กเขารับราชการในกองประจำการและมีอายุครบ 29 ปบริบรู ณ กำลังพลสำรอง
ประเภทนม้ี จี ำนวนมากและไมพ รอ มท่ีจะนำมาใช เนอ่ื งจากไมเ คยผานการฝก มากอ น

4) นายทหารสัญญาบัตรกองหนุน หมายถึง นายทหารสัญญาบัตรซ่งึ ไมมีตำแหนงราชการประจำ
ในกระทรวงกลาโหมและกระทรวงกลาโหม สง่ั ใหเ ปนนายทหารสัญญาบัตรประเภทนี้ โดยถอื อายเุ ปน เกณฑ คือ .-

ก) ยศ ร.ต. ถึง ร.อ. อายุไมเ กนิ 45 ป
ข) ยศ พ.ต. ถึง พ.ท. อายุไมเกนิ 50 ป
ค) ยศ พ.อ. ถึง นายพล อายุไมเ กนิ 55 ป
5) นายทหารสัญญาบัตรนอกราชการ หมายถึง นายทหารสัญญาบัตรซึ่งไมมีตำแหนงราชการประจำ
ในกระทรวงกลาโหมและกระทรวงกลาโหมสง่ั ใหเปนนายทหารสัญญาบัตรประเภทนี้ โดยมอี ายุพน เกณฑท หาร
สญั ญาบัตรกองหนุนแลว เปนนายทหารสญั ญาบตั รประเภทนี้ คอื
ก) ยศ ร.ต. ถงึ ร.อ. อายไุ มเ กนิ 55 ป
ข) ยศ พ.ต. ถึง พ.ท. อายไุ มเกนิ 60 ป
ค) ยศ พ.อ. ถึง นายพล อายไุ มเ กนิ 65 ป

- 14 -

6) นายทหารสัญญาบัตรนอกกอง หมายถึง นายทหารสัญญาบัตรซ่ึงไมมีตำแหนงราชการประจำ
ในกระทรวงกลาโหมและกระทรวงกลาโหมส่ังใหเปน นายทหารสัญญาบัตรประเภทนี้ หรือในทางปฏิบัติ
ไดแก นายทหารสัญญาบัตรซง่ึ โอนไปรับราชการในกระทรวงอน่ื

แหลงกำเนิดกำลังพลสาํ รอง
กำลังพลสํารองเปนกำลังท่ีกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ เตรียมไวใชใ นยามสงครามหรือใน

ยามที่ประเทศชาติอยูในภาวะคับขัน การที่จะไดมาซึ่งกำลังพลสํารองเหลานี้ อาศัยอํานาจพระราชบัญญัติรับ
ราชการทหาร พ.ศ.2497 และระบบการจัดการ ซงึ่ กำลงั พลสํารองเหลานี้ ไดแก

- ชายฉกรรจ เม่อื อายุครบ 18 ปบริบูรณ ท่ีเปนทหารกองเกนิ
- ส.ต.กองประจำการ และพลทหาร เมือ่ ปลดจากประจำการเปน กองหนุน
- นายทหารสญั ญาบตั ร , นายทหารประทวน และพลทหารอาสาสมคั รท่ปี ลดจากประจำการเปนกองหนนุ
- นักศึกษาวิชาทหารสำเร็จการศึกษาวิชาทหารช้ันปที่ 3 ขึ้นไป เปนนายทหารประทวนกองหนุนหรือเปน
นายทหารสญั ญาบัตรกองหนนุ แลวแตคุณวฒุ ิ และช้นั ปท่ีสำเร็จการศกึ ษาวิชาทหาร

1. แหลง กำเนิดกำลังพลสํารองประเภทพลทหาร
1.1 ทหารกองเกนิ กำลงั พลสาํ รองจำพวกทหารกองเกิน เปนกำลงั พลสํารองที่ไดมาตามพระราชบัญญัติรับ

ราชการทหาร พ.ศ.2497โดยตรงซ่ึงไดแกผูไ มถ ูกคดั เลอื กเขารับราชการในกองประจำการ
อายุ 30 ปบริบูรณถ งึ 39 ปบ รบิ รู ณ เปนทหารกองหนนุ ช้ันท่ี 2
อายุ 40 ปถึง 46 ปบริบูรณ เปนทหารกองหนนุ ชั้นท่ี 3
อายเุ กินกวา 46 ปบริบูรณขน้ึ ไป เปนพน ราชการทหารประเภทที่ 2

1.2 ส.ต.กองประจำการและพลทหารเมอ่ื ปลดประจำการ
กำลังพลสํารองประเภทนี้ ไดมาจากหนว ยทหารตาง ๆ ทั่วประเทศ ทหารกองประจำการท่ีเขา รับ

ราชการตาม พ.ร.บ. รับราชการทหาร พ.ศ.2497 ครบ 2 ป แลว ปลดเปนกองหนุนมีฐานะเปนพลทหาร
กองหนุนประเภทท่ี 1 โดยใหอยูในชั้นกองหนุนตาง ๆ รวม 3 ช้นั คือ ชน้ั ท่ี 1 จำนวน 7 ป , ชั้นท่ี 2 จำนวน 10
ป , ชนั้ ท่ี 3 จำนวน 6 ป เม่ือครบ 3 ช้ันปแลว ปลดเปนพน ราชการทหารประเภทที่ 1 กำลังพลสาํ รองประเภท
นี้ กองทัพถือวาเปนกำลังพลสํารองหลักประเภทพลทหาร ซ่ึงจะบรรจุไวในแผนปองกันประเทศ และจะเรียก
เขารับการฝกทบทวนเปน คร้งั คราว

2. แหลงกำเนดิ กำลังพลสาํ รองประเภทนายทหารประทวน
2.1 นายทหารประทวนกองหนนุ ทวั่ ไป กำลงั พลสำรองประเภทนี้ ไดมาจากนายทหารประทวนประจำการท่ี

ออกจากราชการซ่ึง ถือเปนกำลังพลสํารองประเภทผลพลอยได มิไดถือเปนกำลังพลสํารองหลักที่ผลิตขึ้น
โดยเฉพาะ การจะนํากำลังพลประเภทนมี้ าใช ตอ งพิจารณาคดั เลือกดวยความรอบคอบ เพราะบางคนลาออก
จากราชการดวยความสมัครใจ แตบางคนลาออกเพราะมีความผิด หรอื มีสภาพรางกายผิดปกติ หรือเปนโรค
ขัดตอ การรับราชการทหาร นอกจากน้ัน ยังมจี ำนวนนอยและสวนใหญอยูในหวงอายุท่ีไมเหมาะสมที่จะนํามา
ใชงาน

2.2 นายทหารประทวนกองหนนุ ประเภท นศท.

- 15 -

นายทหารกองหนุนประเภทนี้ จะเปนกำลังพลสาํ รองหลัก ท่ีกองทพั บกผลิตข้ึนมา เพ่ือเตรียมไวเปน
กำลังพลสาํ รองโดยเฉพาะ ซึ่งหลังจากปลดเปนกองหนุนและไดรับการแตงตง้ั ยศแลว จะอยูในชน้ั กองหนุนตาง
ๆ เชนเดียวกบั ส.ต.กองประจำการ และพลทหารกองหนุน
3. แหลง กำเนดิ กำลังพลสาํ รองประเภทนายทหารสญั ญาบัตร

3.1 นายทหารสัญญาบัตรกองหนนุ มีท่มี าเชนเดียวกับประเภทนายทหารกองหนนุ ประทวนกองหนุนซงึ่ แบ
งเปนนายทหารสญั ญาบัตรกองหนุนท่ัวไป และนายทหารสญั ญาบัตรกองหนุนประเภท นศท.

3.2 นายทหารสญั ญาบตั รนอกราชการ
3.3 นายทหารสญั ญาบัตรนอกกอง

การพฒั นาระบบกำลังสำรองของ ทบ., ทร. และ ทอ. ต้งั แต พ.ศ.2515 - ปจจบุ ัน
กองทัพบก : ไดดำเนินการพัฒนาระบบกำลังสำรองมาอยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2516 จนถึงปจจุบัน

ตามลำดับดงั น้ี
การพฒั นาระบบกำลังสำรองระยะแรก ป 2515 – ป 2533

- 16 -

- ป 2515 ไดออกขอบังคบั กห. วา การเตรียมพล พ.ศ.2515 นับเปน จุดเรมิ่ ตนของการพัฒนาระบบฯ
จากนัน้ จึงวางแผนทำการเรยี กพลฯ ต้ังแตป  2516 เปน ตนมา

- ป 2516 – 2519 (4 ป) ทำการเรียกพลเพ่ือฝกวิชาทหาร ตามโครงการขยายกำลังจัดต้ังหนวยใหม
ของ ทบ. (พล.ร.20)

- ป 2520 – 2524 (5 ป) ทำการเรียกพลเพื่อฝกวิชาทหารเพื่อพัฒนาการฝก และเสริมกำลัง
ประจำการ (รอ ยฝก พนั .ร., ม., ป.)

- ป 2522 เกิดสถานการณดานกัมพูชา (โนนหมากมุน) ใน ม.ค.2523 จึงมีการเรียกพลเพ่ือตรวจสอบ
และใน ต.ค.2523 ไดทำการเรียกพลเพอื่ ทดลองความพร่ังพรอม สำหรบั พล.หนุน 1 และ 2 ตามแผนยอดฟา
กำหนด 2 เดือน จากเหตุการณในป 2522 ทบ. จึงจัดต้ัง พล.ร.หนุน ข้ึน ในป 2524 ตามคำสั่ง ทบ. (เฉพาะ)
ท่ี 102/24 ลง 29 ม.ิ ย.24 เรือ่ ง การจัดต้ัง พล.ร.หนนุ

- ป 2527 ทบ. มีคำสั่ง (เฉพาะ) ลับ ที่ 90/27 ลง 17 เม.ย.27 เรื่อง นโยบายในการพัฒนากองพลหนุน
ค ว า ม มุ ง ห ม า ย เพื่ อ ให เ ป น พื้ น ฐ า น ส ำ ห รั บ กา ร พั ฒ น าร ะ บ บ ก ำ ลั ง ส ำร อง ให เป น ร ะ บ บ ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
สามารถปฏิบัตไิ ดจ ริงต้งั แตยามปกติ ซึง่ ไดก ำหนดนโยบายการพฒั นากองพลหนนุ (พล.ร.11, 12, 15, 16)
ใหมีลักษณะเปนกองพลทหารราบมาตรฐานอัตราโครง ตอมา ทบ. ไดมีคำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการฯ
ตามหนังสือ ยก.ทบ. ลับ ท่ี กห 0403/1788 ลง 22 ส.ค.27 เรื่อง แตงต้ังคณะกรรมการ พิจารณาปรับปรุง
และพัฒนากองพลหนุน โดยมี ผช.เสธ.ทบ.ฝยก. เปนประธาน และคณะกรรมการฯ ชุดนี้ ไดแตงตั้ง
คณะอนุกรรมการฯ ขึ้นมา 3 คณะ ไดแก คณะท่ี 1 รับผิดชอบดานการจัดหนวย กำลังพลและยุทโธปกรณ
คณะที่ 2 รับผดิ ชอบดานการศกึ ษา คณะท่ี 3 รับผิดชอบดานการพัฒนาระบบกำลงั สำรอง ผลการดำเนินการ
ของคณะที่ 1 และ 2 ทไี่ ดน ำเสนอ และ ผบ.ทบ. อนุมัตหิ ลักการแลว คือ การจัดตงั้ หนวย พล.ร.11, 12, 15 และ 16
ตามโครงสรางการจัดหนวย รวมทั้งการกำหนดการฝกตั้งแตป 2528 - 2530 สวนคณะที่ 3 ไดนำเสนอการ
พัฒนาระบบกำลงั สำรอง ทั้ง 5 ระบบข้นึ ซึ่ง ผบ.ทบ. ไดอนมุ ัติหลักการ เมื่อวันท่ี 7 พ.ค.29 โดยไดดำเนนิ การ
ตั้งแตป  2528 - 2530 เชนกัน สรุปได ดงั นี้

- ระบบการผลิตกำลังพลสำรอง กำหนดการผลิต นศท. ใหมปี ริมาณเหมาะสม, ให
นศท. มีสวนรบั ผิดชอบคา ใชจา ย เชน เบย้ี เล้ยี ง, คา วัสดุ เปน ตน

- ระบบการควบคุมกำลังพลสำรอง แบงกำลังพลสำรองเปน 3 ประเภท คือ
กำลังพลสำรองพรอ มรบ, กำลังพลสำรองเตรยี มพรอ ม และกำลังพลสำรองท่ัวไป เพอ่ื งายในการควบคมุ

- ระบบการเตรียมพลหรือระดมพล มอบหมายความรับผิดชอบในการเรียกพล/
ระดมพล ใหแ กหนวย มทบ./จทบ. และหนว ยรับการบรรจุ

- ระบบการฝกศึกษากำลังพลสำรอง กำหนดนโยบายการฝก กำลังพลสำรอง
พรอมรบ, กำลังพลสำรองเตรยี มพรอม สวนกำลงั พลสำรองทวั่ ไปใหมกี ารพบปะเยยี่ มเยอื น

- ระบบการบรรจุและการใชกำลังพลสำรอง กำหนดตำแหนงในการบรรจุ
กำลงั พลสำรองในหนวยตา งๆ ใหแนช ดั เปน แนวทางเดยี วกนั

- ป 2528 ไดเริ่มใหมีการฝกระดมพล (ทางเอกสาร) เปนครั้งแรก โดยฝกรวมกับการฝก
แกปญหาของโรงเรียนเสนาธิการเหลาทัพ ต้ังแต 25 ก.ย.28 ความมุงหมายเพื่อตรวจสอบขอมูล และปญหา
ขอขดั ของตางๆ สำหรบั จดั ทำระเบียบปฏบิ ตั ปิ ระจำของกองทพั บก

- ป 2530 ทบ. ไดกำหนด การพัฒนาระบบกำลังสำรองวงรอบทศวรรษ (ป 2530 - 2539) โดย ผบ.ทบ.
อนุมัตหิ ลกั การเม่ือวันที่ 25 ธ.ค.30 นบั เปน การกำหนดปรบั นโยบายวงรอบทศวรรษ ครง้ั ท่ี 1 สรปุ ไดดงั นี้

- 17 -

- มอบภารกิจให พล.ร.11, 12, 15 และ 16 และหนวยท่ีใชอัตราโครง
ท่ีมีกำลังพลสำรองบรรจจุ ะตอ งเก่ยี วขอ งกับกิจการกำลงั สำรองของหนวยเปนหลัก

- กำหนดใหกำลังพลสำรองอยใู นระบบกำลังสำรองเปน เวลา 10 ป
- กำหนดเปาหมายการพัฒนาระบบกำลังสำรอง (ป 2530 – 2539) อยางชัดเจน
ใหแก พล.ร.หนุน

- ข้ันท่ี 1 (ป 2531 – 2532) ใหมีความพรอ มรบระดับ กองพนั
- ข้ันที่ 2 (ป 2535 – 2539) ใหมีความพรอมรบระดับ กรมผสม ภายในป
2536 และระดบั กองพลมาตรฐาน ภายในป 2539

- ป 2532 ทบ. ไดจัดต้ังโรงเรียนการกำลังสำรอง กรมการกำลังสำรองทหารบก ข้ึน มีที่ต้ังปกติถาวร
อยู ณ ทต่ี ้ัง รร.นส.ทบ. (เดิม) ในคา ยธนะรัชต อ.ปราณบุรี จว.ประจวบคีรขี ันธ และทำการเรียกพลเพ่ือฝก วิชาทหาร
เพื่อใหการฝกศึกษาแกกำลังพลสำรองในการเล่ือนฐานะ และเลื่อนยศตามแนวทางการรับราชการทหาร
ของกำลังพลสำรอง ในหลักสูตรระดับผูบังคับหมู, ผูบังคับหมวด, ผบู ังคับกองพัน เหลา ร., ม., ป. เปนหลัก
รวมท้ังเหลา อ่นื ๆ ดวย

- ป 2532 เน่ืองจากมีความจำกัดในเร่ืองตา งๆ ไมสามารถดำเนนิ การไดค รบตามเปา หมาย โดยเฉพาะอยา ง
ยิ่งในเร่ืองงบประมาณ ทบ. จึงไดกำหนดความเรงดวนในการพัฒนาระบบกำลังสำรองขึ้น ซึ่ง ผบ.ทบ. ได
อนุมัติหลกั การเมื่อ 4 พ.ย.32 กำหนดความเรงดวนในการฝกศกึ ษาอยางตอเน่ืองเปนลำดับแรกใหกับหนวย 3
ประเภท คือ พัน.ร. โครง ที่จัดตั้งแลวของ พล.ร.หนุน, ร.29 และ พัน.ร.สำรอง ของกรม ร.หนุน ท่ีจัดตั้งแลว
สวนหนวยอื่นๆ แบงเฉลี่ยไปตามความเหมาะสมทางยุทธการ งบประมาณ และปจจัยอ่ืนๆ และทำการฝก
หนวยในระบบกำลังสำรองโดยใชระบบการฝก 3 : 3 : 4 ต้ังแตป 2534 เปนตน มา

การพัฒนาระบบกำลังสำรอง ป 2534 – 2539
เป นการพั ฒนาในวงรอบทศวรรษ ป 2534 - 2543 นับเป นการปรับปรุงนโยบายการพัฒนาฯ

ป 2530 – 2539 เดิมซึ่งไดปฏิ บั ติมาแลวเปนเวลา 3 ป ถือเปนการปรับนโยบายวงรอบทศวรรษ ครั้งที่ 2
ของ ทบ. ท้ังน้ี เน่ืองจากที่ผานมาการฝกกำลังพลสำรองท่ีบรรจุในบัญชีบรรจุกำลังของหนวยตางๆ ไดรับ
การฝก อยางตอ เนื่อง จนสามารถปฏิบัติหนา ท่ีรวมกับกำลงั พลประจำการไดใ นระดบั หน่ึง ตลอดจนไดกำหนด
ความเรงดวนในการเรยี กพลฯ เขารบั การฝก ศึกษาแลว โดยมีผลกระทบกระเทือนตออาชพี ของกำลังพลสำรอง
ทำใหเกิดปญหาการหลีกเลี่ยง การขาดการเรียกพลฯ ของกำลังพลสำรอง ทบ. จึงปรับนโยบายการเรยี กพล
เพ่ือฝกวิชาทหารวงรอบ 10 ปเสียใหม โดยแบงวงรอบ 10 ปเดิม ออกเปน 3 ชวง คือ 3 ป : 3 ป : 4 ป
(ระบบการ 3 : 3 : 4) กำลังพลสำรองจะอยใู นบญั ชีบรรจุกำลัง 10 ป และมหี นาท่ี ดงั นี้

- ชวงท่ี 1 (3 ปแรก) จะเปนชวงฝกเพ่ือความพรอมรบ (ฝก หมู ตอน หมวด
กองรอ ย และกองพนั ตามลำดบั ) จะทำการเรยี กพลเพอื่ ฝก เปน หนวยปล ะ 1 คร้ังๆ ละ 21 วัน ตดิ ตอ กัน 3 ป

- ชวงที่ 2 (3 ปตอมา) กำลังพลสำรองจะเปนกำลังพลสำรองพรอมรบ จะทำการ
เรียกพลฯ เพ่อื ทบทวนและพัฒนาสัมพนั ธปละ 1 ครง้ั ๆ ละ 2 - 3 วนั

- ชวงที่ 3 (4 ป สุดทาย) กำลังพลสำรอง จะเปนกำลังพลสำรองเตรียมพรอม
และจะไมท ำการเรียกพลฯ อีกเวนประเทศเขาสภู าวะสงครามหรอื ภาวะคับขัน

การพฒั นาระบบกำลังสำรอง ป 2543 – 2545

- 18 -

ทบ. ไดยึดระยะเวลาในการพัฒนาระบบกำลังสำรอง ระบบการฝก 3 : 3 : 4 ไปอีก 1 บัญชี คือ บัญชี ก.
รุนที่ 2 เพ่ือใหหนวยท่ีเก่ียวของมีเวลาดำเนินการตามแนวความคิดในการพัฒนาระบบกำลังสำรองใหม คือ
ระบบ 1 : 1 : 1 : 3 ซึ่งไดร ับอนมุ ัติหลกั การเม่อื ป 2539

การพัฒนาระบบกำลงั สำรอง ป 2546 เปนตนไป
เปนการพัฒนาในวงรอบทศวรรษ ป 2540 –2549 นับเปนการปรับปรุงนโยบายวงรอบทศวรรษ ครั้งที่ 3

ของ ทบ. โดยในป 2539 ทบ. ไดอ นุมัตแิ นวความคดิ ในการปรับปรุงระบบกำลงั สำรอง เพ่ือใหเปนขอบเขตแนวทาง
ในการจัดทำแผนแมบ ทการพัฒนาระบบกำลงั สำรอง สรปุ สาระสำคัญ มีดังนี้

- กำหนดเปาหมายการดำเนนิ การ เพื่อสนองตอบวตั ถปุ ระสงคใ นการใชก ำลังพลสำรอง 2
ประการ คือ การใชกำลังพลสำรองเพื่อความพรอมรบ และเพื่อทดแทนการสูญเสีย สำหรับการใชกำลังพล
สำรองเพื่อขยายกำลงั จดั ต้งั หนวยใหม จะดำเนินการเมื่อวัตถุประสงค 2 ประการแรก บรรลผุ ลเปนท่นี า พอใจ

- การจัดเตรียมกำลังพลสำรอง ใชระบบ 1 : 1 : 1 : 3 เปนแนวทาง และมีโครงสรางของ
ระบบกำลังพลสำรอง ทั้ง 5 ระบบยอยเชนเดิม แตจะมุงเนนในระบบการบรรจุและการใช กำลังพลสำรอง
เปนหลักสำคญั กอ นทีจ่ ะพิจารณาในระบบยอ ยอืน่ ๆ

การดำเนนิ การตามแผนแมบ ทการพัฒนาระบบกำลงั สำรองของกองทัพบก (ตั้งแตป 2547 – 2549)
เปนหวงระยะเวลาท่ีดำเนินการ ตามแผนแมบทการพัฒนาระบบกำลังสำรองของ ทบ.

ในข้นั ท่ี 2 ขน้ั การปฏบิ ตั ิตามแผน (ป 2547 – 2549) และข้ันที่ 3 ข้ันการทดสอบระบบและประเมนิ ผล (ป 2549)
การดำเนินการตามแผนแมบ ทการพฒั นาระบบกำลังสำรองของกองทพั บก (ต้ังแตป  2550 – 2554)
1. ป 2552 นสร. ไดเ ปล่ียนนามหนวยเปน นรด. รับผิดชอบงานเกี่ยวกับกิจการกำลังสำรอง

กิจการอาสารักษาดินแดน กจิ การสัสดี และกิจการรกั ษาดนิ แดน
2. แนวความคิดในการปฏิบัติ :เปาหมายสุดทายท่ีตองการคือ การใหกำลังพลสำรองสามารถทดแทน

กำลังประจำการไดในสัดสวน 1 : 3 (กำลังประจำการ : กำลังพลสำรอง) ซึ่งจะดำเนินการพัฒนาระบบกำลังสำรอง
เพอ่ื ใหหนวยในระบบกำลงั สำรองมคี วามพรอ มทางดานบญั ชีอยา งแทจริง (ครบตามอตั ราเต็ม) และสามารถเรียกพล/
ระดมพลไดตามระยะเวลาท่ีตองการ ตลอดจนใหมีการพัฒนาขีดความสามารถของกำลังพลสำรอง โดยจัดการ
ฝกศึกษาตามระบบ 1 : 1 : 1 : 3 ตอไปใหครบทุกหนวย (โดยเฉพาะหนวยระดับ พัน.ร./ม./ป./ช./ส. ซ่ึงเปนหนวย
ในระบบกำลงั สำรอง) การจัดทำและปรบั ปรุงอตั ราของหนว ยกำลงั ทดแทนตางๆ โดยเฉพาะ รอ ย.กทท.พล.ร./ม./
ป./ช. ใหมีความชัดเจนและสอดรับกับลักษณะเฉพาะของเหลา เพ่ือพัฒนาไปสูการใชกำลังพลสำรองเพื่อทดแทน
การสูญเสียตอไป โดยไดกำหนดแนวทางการพัฒนาระบบกำลังสำรอง ท้ัง 5 ระบบยอย (ระบบการบรรจุและการใช
กำลงั พลสำรอง, ระบบการผลิตกำลงั พลสำรอง, ระบบการฝกศึกษากำลังพลสำรอง, ระบบการควบคมุ กำลังพลสำรอง
และระบบการเรียกพลหรือระดมพล) ใหสามารถประกันความตอเน่ืองในการรบ ตามขั้นตอนการใชกำลัง
ในยามสงครามไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังการพัฒนาระบบกำลังสำรองอาสาสมัคร ใหนำไปสูการใช
กำลังพลสำรองทดแทนกำลังประจำการไดต ามเปาหมายในระยะสุดทาย โดยนำผลจาก โครงการนำรอ งทดลอง
จัดตั้งหนวยในระบบกำลังสำรองของ ทบ. ในบางสวนท่ีมีความเหมาะสมมาพิจารณาดำเนินการทั้งนี้ จะแยกการ
ดำเนนิ การทง้ั 5 ระบบยอยใหช ดั เจน และไมใ หเกิดความสบั สนกบั การดำเนนิ การในระบบ 1 : 1 :1 : 3

กองทัพเรือ : การดำเนินการเกี่ยวกับกำลังพลสำรองของกองทัพเรือไดเริ่ม ตั้งแตป 2515 เปนตนมา
การดำเนินการในระยะแรกน้ันจะเปนการเรียกพลตามภูมิลำเนาทหารเปนหลักและทำการเรียกพลในลักษณะ
ปเวน ป โดยแยกเปนการเรียกพลเพอื่ ตรวจสอบ จำนวน 3 ครงั้ เรียกพลเพอื่ ฝกวิชาทหาร จำนวน 8 คร้งั และเรยี กพล

- 19 -

เพื่อฝกและตรวจสอบ จำนวน 1 คร้ัง รวมท้ังส้ิน เปนการเรียกพล จำนวน 12 คร้ัง ซ่ึงการเรียกพลทุกคร้งั ตามที่กลาวน้ี
ยังมไิ ดเ ปน การดำเนินการตามระบบกำลงั สำรองท่ีสมบรู ณ

ระบบกำลังสำรองไดเริ่มมีการพัฒนาขึ้นต้ังแตป 2520 เปนตนมา ซ่ึงในขณะนั้น กองทัพเรือ
ไดมีการประชุมชี้แจงการจัดทำบัญชีบรรจุกำลังและไดดำเนินการจนถึงข้ันตอนที่กรมกำลังพลทหารเรือ ไดจัดสง
รายช่ือกองหนุนใหกับหนวยในสวนกำลังรบ คือ กองเรือยุทธการ และหนวยบัญชาการนาวิกโยธิน
แตการดำเนินการยังมิไดเปนไปโดยตอเน่ือง ซ่ึงในภายหลังตั้งแตป 2523 – 2532 ก็ไมปรากฏหลักฐานการ
ดำเนินการเรอื่ งนีต้ อไปอีก

ตอมาในป 2535 กองทัพเรือไดกำหนดใหดำเนินการเรียกพลเพ่ือตรวจสอบเพียงอยางเดียวปเวนป
และใหเรงรัดพัฒนาระบบกำลังสำรองใหสำเร็จบรรลุผลเปนรูปธรรม และสามารถนำไปใชเรียกพลเพ่ือฝกวิชา
ทหารไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุดอยางแทจริง ดังนั้นในป 2537 กรมกำลังพลทหารเรือ และ
กรมยทุ ธการทหารเรอื จึงไดป ระสานงานรวมกันในการพัฒนาระบบกำลังสำรองใหมีความสมบูรณข ึ้น ซึ่งตอ มา
กองทัพเรือ ไดอนุมัติในหลักการ ในการจัดทำระบบกำลังสำรอง โดยกำหนดให กร. นย. และ สอ.รฝ. รับผิดชอบการ
เรยี กพลเพ่ือฝกวชิ าทหาร สลบั หมุนเวียนการฝก หนว ยละ ๑ ป ซ่งึ ไดถ อื ปฏิบัติมาจนปจจุบัน

หลักการเก่ียวกับระบบกำลงั สำรองของกองทัพเรือ ที่ไดรับอนุมัติแลว เมอื่ ป 2537 ไดน ำไปสู
การออกระเบียบกองทัพเรอื วาดวยการจัดทำบัญชบี รรจุกำลัง พ.ศ.2539 โดยในระหวางป 2538 – 2539 กองทพั เรือ
ไดใ หความสำคญั ในการพัฒนาและทดสอบระบบนี้เปน อยา งมาก โดยไดก ำหนดเปนนโยบายเรงดวน ใหนำไป
ฝกทดสอบระบบฯ กับ กองเรือยุทธการ หนวยบัญชาการนาวิกโยธิน และหนว ยบญั ชาการตอสูอากาศยานและ
รักษาฝง ซึ่งไดดำเนินการใชในชวงการฝกยุทธวิธีรวมกองเรือของกองเรือยุทธการ และหนวยบัญชาการตอสู
อากาศยานและรักษาฝง รวมท้ังการฝกยุทธวิธี กรมทหารปนใหญ กองพลนาวิกโยธิน โดยเนนกำลังพล
ประจำการเสริมเปนหลักกอ น สำหรับระบบกำลังสำรองในภาพรวมได วางแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา
ระบบกำลังสำรองของกองทัพเรือใหครอบคลมุ 5 ระบบยอย

ในปจจุบัน ทร. จะไดรับโอน นศท.ทร. มาผลิตเอง และ ดำเนินการจัดตั้ง ศฝ.นศท.ทร. (ใน
ลักษณะศูนยฝกยอยของมณฑลทหารบกที่ ๑๔) รวมทั้งดำเนินการ ฝก นศท.ทร. ดวยหลักสูตรท่ีไดรับอนุมัติ
จาก กห. เพื่อแกไขปญหาดานความรูความชำนาญในวิชาชีพทหารเรอื ของ นศท.ทร. ท่ีผลิตไดเรยี บรอยแลว
แตเนอื่ งจากการดำเนินงานดานธุรการท้ังหมดตั้งแตก ารรับสมัครจนถงึ การเลื่อนช้ันปของ นศท.ทร. ยังคงเปน
หนาท่ีรบั ผิดชอบของ ทบ.(นรด.) ตามกฎหมาย ทำให ทร. ขาดการมีสว นรวมในกระบวนการตา ง ๆ ดังกลาว
อีกท้ังจำนวน นศท.ทร. ท่ีสำเร็จการฝกวิชาทหาร ท้ังในชั้นปท่ี ๓ และชั้นปท่ี ๕ ในแตละปยังคงไมครบตาม
ความตองการท่ีกำหนดเนื่องจากการรบั สมัคร การเลอ่ื นช้ันปและการยายสถานศึกษาของ นศท.ทร. ประกอบ
กับระยะเวลาในการฝก นศท. แตละช้ันป มีเพียง ๘๐ ชั่วโมง จึงสงผลใหเกิดความเส่ียงในดานจำนวนและ
คุณภาพของกำลงั พลสำรองที่ ทร. มีความตองการตามโครงสรา งท่ีกำหนด ทั้งน้ี การผลิตหรือกรรมวิธีใหไดมา
ซ่ึงกำลังพลสำรองของ ทร. ในปจจุบันนั้น เปนการดำเนินการดวยรูปแบบของการใช กฎหมายบังคับใหเปน
กำลังพลสำรองของกองทัพ มิไดเกิดจากความสมัครใจเขาสูระบบ ซ่ึงเปนอีกสาเหตุหนึ่งท่ีกอใหเกิดปญหาท่ี
เก่ียวเน่อื งกบั ระบบการเรียกพลหรอื ระดมพล

ระบบการเรียกพลระดมพล การเรียกพลของ ทร. ที่ผานมา เปนการเรียกพลเพ่อื ตรวจสอบ และ
การเรียกพลเพ่ือฝกวิชาทหารใหแกกำลังพลสำรองท้ังประเภทนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน และนายทหาร
ประทวนกองหนุน แมวากำลังพลสำรองที่ ทร. ทำการเรียกพลในแตละปจะมีคอนขางนอยมากเม่ือ
เปรียบเทียบกับจำนวนกำลังพลสำรองทั้งหมด และมีระยะเวลาการฝกเพียง ๑๐ วันอกี ท้ังการเรียกพลเพ่ือฝก

- 20 -

วชิ าทหารในแตละปย ังเปนการสลับหมนุ เวียนกำลังพลสำรองในสงั กัด กร. นย. และ สอ.รฝ. (วงรอบการฝก ๓
ปตอครงั้ ) และมบี ทลงโทษตามกฎหมายกรณที ี่กำลงั พลสำรอง หลกี เลีย่ งหรอื ขัดขืนการเรยี กพล แต ทร. ยังคง
ประสบปญหาเกี่ยวกับการขาดหรือหลีกเลี่ยงการเรียกพล อยูเสมอโดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับนายทหาร
ประทวนกองหนุน ซึ่งอาจเปนผลสืบเนอ่ื งมาจากการใช ระบบกำลงั สำรองแบบใชก ฎหมายบังคบั หรือแบบเรียก
เกณฑ ประกอบกับความมุงประสงคเดิมในการเขามาฝก นศท. ก็เพียงพอใหไดรับสิทธิไมต องเขารับการตรวจ
เลือกทหารกองเกินเขากองประจำการเทาน้ันมิไดตองการมาเปนกำลังพลสำรองของกองทัพแตอยางใด จึง
พยายามหลีกเล่ียงทุกวิถีทางท่ีจะไมเขามาสูระบบกำลังสำรอง ดังน้ัน เม่ือพิจารณาจากเปาหมายตามแผน
แมบทฯ และแนวความคิดในการใชกำลังพลสำรองตามแผนปองกันประเทศ ซึ่งกำหนดใหตองสามารถ
ดำเนินการเรียกพลเพื่อเสริมกำลงั ใหแกหนวยประจำการตามบัญชบี รรจุกำลังไดภ ายใน ๗๒ ชั่วโมง(วัน ร.+๓)
เมื่อมีคำส่ังเรียกพลหรือระดมพลตามท่ีกลาวไวขางตนแลว จึงถือวาระบบการเรยี กพลของ ทร. มีความเส่ียง
และสงผลกระทบตอ การดำเนินการท่จี ะมาเปน ไปตามแผนและนโยบายท่ีกำหนด

กองทัพอากาศ : ทอ. มกี ำลังพลเหลานักบินที่เปนนักบินประจำกองพรอมรบสังกัดหนวยบินและนักบิน
ประจำกองพรอมรบไมสังกัดหนวยบิน (นักบินสวนกลาง) ช้ันยศนาวาอากาศเอก ลงมามีจำนวนเพียงพอ
สามารถรองรับสถานการณใ นภาวะไมป กติได โดยนักบินสวนกลางของกองทัพอากาศไดรักษาสภาพความพรอ มรบ
กับเครื่องบินแตละแบบท่ีไดทำการบินมาตามที่กองทัพอากาศกำหนด แตกำลังพลสำรองจำพวกสนับสนุน
การปฏิบัติทางอากาศมีจำนวนนอย ซึง่ ปจจบุ ันไดจากขาราชการสังกัดกองทพั อากาศที่ลาออกจากราชการแลว
มีสภาพเปนกองหนุนช้ันที่ 1 (อายุไมเกิน 46 ป) ไมสอดคลองตอความตองการ ดังน้ันกองทัพอากาศ
จึงจำเปนตองมีการพัฒนาระบบกำลังพลสำรองของกองทัพอากาศใหมีจำนวนกำลังพลท่ีเพียงพอ และมีขีดความสามารถ
ตรงตอ ความตองการของกองทัพอากาศ ตลอดจนสามารถใชงานรว มกบั กำลังประจำการไดต ้ังแตภาวะปกติ

กองทัพอากาศไดม ีการดำเนินการในกิจการระบบกำลงั พลสำรองภายใตข อ บังคบั กห. วาดว ย
การเตรียมพล พ.ศ.2515 โดยเร่ิมต้ังแตป พ.ศ.2516 จนถึงปจจุบัน เปนการเรียกพลเพื่อตรวจสอบ และ
ทบทวนการฝกวิชาทหาร โดยกำลังพลท่ีเรียกมาฝกนั้นเปนกำลังพลสำรองท่ีไดจากขาราชการสังกัด
กองทัพอากาศที่ลาออกจากราชการไปเปนนายทหารสัญญาบัตรกองหนุนและนายทหารประทวนกองหนุน
ซึ่งมจี ำนวนไมมากนัก สำหรับพลทหารกองหนนุ ทปี่ ลดจากการเปนทหารกองประจำการนั้น ท่ีผานมาไมคอ ยมี
การเรียกพลมาฝกเน่ืองจากมิไดปฏิบัติในภารกิจการสนับสนุนการปฏิบัติการทางอากาศ ซ่งึ ตลอดระยะเวลา
33 ป ทผ่ี านมากองทัพอากาศยังไมไดมีการปรับปรุงแผนการพัฒนาระบบกำลังพลสำรองของกองทัพอยางเปน
รูปธรรม ท้ัง 5 ระบบ ที่ตรงตอความตองการของกองทัพอากาศ เพ่ือสนับสนุนภารกิจการปฏิบัติการทางอากาศ
กลาวคือ ระบบผลิตกำลังพลสำรอง ปจจุบันไดจากขาราชการสังกัดกองทัพอากาศที่ลาออกเปนนายทหาร
ประทวนกองหนุนประเภทที่ 1 สำหรับการผลิตจากนักศึกษาวิชาทหารนั้น เดิมกองทัพอากาศไมสามารถ
ดำเนินการฝกเองไดเนื่องจาก พ.ร.บ.การสงเสริมการฝกวิชาทหาร พ.ศ.2503 กำหนดใหกองทัพบก
เปนผดู ำเนินการ โดยหากแบงจำนวนนกั ศึกษาวิชาทหารท่ีกองทพั บกฝกสำเรจ็ แลว แตงตงั้ ยศเปน จาอากาศเอก
ก็จะมีความสามารถไมตรงตอความตองการของกองทพั อากาศ เนื่องจากกองทัพมิไดตอ งการกำลังพลเหลาทหารราบ
หรือเหลารบอ่ืนแตอยางใด กองทัพอากาศตองการกำลังพลสำรองท่ีมีความรูความสามารถในดานเทคนิค
เพื่อสนับสนนุ ภารกิจการปฏิบัตกิ ารทางอากาศ จึงไดเร่ิมทำการฝก นักศึกษาวิชาทหารในสวนของกองทัพอากาศเอง
ตั้งแตป 2549 เปนตนมา ระบบควบคุมกำลังพลสำรอง กองกำลังพลสำรอง กรมกำลังพลทหารอากาศ ไดมีการ
จัดเก็บขอมูลกำลังพลสำรองกองทัพอากาศไว แตมีจำนวนนอย ระบบเรียกพลและระดมพลท่ีผานมาหากเปน
นายทหารสัญญาบัตรกองหนนุ กองทัพอากาศสามารถออกคำส่งั เรยี กพลไดเอง แตหากเปนนายทหารประทวน
กองหนุน หรือพลทหารกองหนุนนั้น ตองดำเนินการผานกองทัพบก และกระทรวงมหาดไทยเปนผูออก

- 21 -

หมายเรียกพลให ระบบฝกศึกษากำลังพลสำรอง ยังไมเปนระบบเทาที่ควร สวนระบบการบรรจุและการใช
กำลังพลสำรอง กองทัพอากาศยังไมมีการบรรจุและการใชงาน ปจจุบันกองทัพอากาศไดมีการพัฒนาระบบ
กำลังสำรองของ ทอ. ตามลำดับดังน้ี

(1) แตงตั้งคณะทำงานจัดทำนโยบายการพัฒนาระบบกำลังสำรองของ ทอ. โดยมี จก.กพ.ทอ.
เปน ประธานฯ

(2) แตงต้ัง คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลการพัฒนาระบบกำลังพลสำรองของ ทอ.
โดยมี ผช.เสธ.ทอ.ฝกพ. เปนประธานฯ

(3) แตงตงั้ คณะกรรมการพจิ ารณาสทิ ธิประโยชนแ ละการสวสั ดิการของกำลังพลสำรองของ ทอ.
โดยมี จก.กพ.ทอ. เปน ประธานฯ

(4) จัดตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาและกำหนดแนวทางการรับสมัครกำลังพลสำรอง
เขารับราชการทหารเปนการชั่วคราว และมีแผนการพัฒนาระบบกำลังพลสำรองอาสาสมคั รของ ทอ. โดยมี จก.กพ.ทอ.
เปน ประธานฯ

(5) ไดดำเนินการปรบั ปรุงและพัฒนาระบบกำลังสำรองของ ทอ. ให นขต. จดั ทำแผนรองรับ
การฝก กำลงั สำรองของ ทอ.

(6) ไดจัดทำแผนแมบทการพัฒนาระบบกำลังพลสำรองใหเปนไปตามหลักนิยมและแนวทาง
การบรรจแุ ละการใชก ำลังพลสำรองของ ทอ.

(7) ไดปรับปรุงโครงสรางการจัดหนวยท่ีเกี่ยวของกับการกำลังพลสำรองใหเหมาะสม
ตามแนวทางการบรรจุและการใชก ำลังสำรอง

(8) ไดจดั ทำแผนแมบทการพัฒนาระบบกำลังพลสำรองของ ทอ. พ.ศ.2553 – 2554
(9) มีการประชาสัมพันธกิจการกำลังพลสำรองของ ทอ. อยางตอเน่ืองและครอบคลุม
ในกลุมเปาหมาย
(10) มกี ารพฒั นาปรับปรงุ กฎหมาย ระเบียบ ขอบงั คบั แผน และคูมือทเี่ กย่ี วขอ ง

สทิ ธขิ องกำลงั พลสำรองในการเขารับการเรยี กพล (ระเบียบเกา ใชก ับกำลงั พลสำรองทบ่ี รรจุ
ลงบัญชกี อนป 2558) ซอนขอความไว

สรปุ สาระสำคญั ของพระราชบัญญตั กิ ำลังพลสำรอง พ.ศ.2558
1. ความสำคญั ของกำลงั พลสำรองและความจำเปนของกระทรวงกลาโหม

กำลงั พลสำรองเปน กำลังทางยุทธศาสตรท่ีมคี วามสำคญั ในการรกั ษาความมนั่ คงและอธิปไตย ของชาติ
ในยามปกตกิ ำลงั พลสำรองเปนกำลงั สำคญั ในการชวยเหลอื และแกไขปญหาภัยพบิ ัติสาธารณะในรปู แบบตางๆ
เมอ่ื ประเทศเขา สภู าวะสงคราม กำลังพลสำรองจะเขา รบั ราชการทหาร ในการปฏิบัติหนาทีร่ ว มกบั กำลงั ทหาร
ประจำการในการปองกันประเทศ กำลังพลสำรองจึงเปนเคร่อื งชว้ี ดั อยา งหน่ึงวาประเทศมีความม่นั คงมากนอ ย
เพียงใด หากกำลังพลสำรองมีความเขมแข็งทัง้ ทางดานรางกายและจิตใจ พรอมที่จะเสียสละ เพ่อื ความมัน่ คง
ของประเทศ ประชาชนทกุ คนในชาติจะอยรู วมกันอยางมคี วามปกตสิ ขุ ยงั คงรกั ษาเอกราชของชาตไิ ทยไวได
ตลอดไป

ในปจ จุบนั โอกาสท่จี ะเกิดภยั สงครามขนาดใหญจ ะเกิดขน้ึ ไดไ มงา ยนัก แตไ มใ ชจะไมม โี อกาสเกดิ ขึ้น
แตภยั อกี ประเภท คือ ภัยคุกคามรปู แบบใหม โดยเฉพาะปญหาภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ ซึ่งจะทวีความรุนแรง
มากยง่ิ ขึ้น มีผลกระทบตอประชาชนเปน จำนวนมาก กระทรวงกลาโหมเปน หนว ยงานท่ไี ดร บั มอบหมายภารกจิ

- 22 -

ในการพิทกั ษร กั ษาเอกราชและความม่นั คงแหงราชอาณาจักร พัฒนาประเทศ ปองกันและแกไขปญ หาจากภัย
พบิ ัติ และชวยเหลอื ประชาชน จากภารกจิ ดังกลา ว กระทรวงกลาโหมจงึ จำเปน ตองจัดกำลงั พลใหพรอ มทจี่ ะ
ปฏบิ ตั ิหนา ที่ แตก ารดำรงสภาพกำลังทหารประจำการไวเ ปนจำนวนมากในภาวะปกตเิ ปน การสนิ้ เปลือง
งบประมาณของประเทศ จึงตองจดั ใหมีกำลงั พลสำรองท่ีเขม แข็ง โดยกำลังเหลา นเ้ี คยไดร บั การฝกจากกองทัพ
มาแลว มีการหมนุ เวียนเขามารบั ราชการทหารเสรมิ กำลังทหารประจำการ ใหเ ปนสวนหน่งึ ของกำลัง
กองทพั ซง่ึ กฎหมายฉบบั นี้จะมงุ ไปสูร ะบบอาสาสมัคร ใชการจูงใจใหสมัครมารับใชช าตใิ หมากท่สี ุด

2. เจตนารมณแ ละเปาหมายสำคัญ

เพ่ือใหมีกฎหมายวาดว ยกำลงั พลสำรอง โดยเปน การนำบทบญั ญัตขิ องกฎหมายที่มอี ยูเ ดิม ซง่ึ ไดแ ก
พระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ.2497 พระราชบัญญัติคุม ครองแรงงาน พ.ศ.2541 และขอบงั คบั ทหารวา
ดว ยการแบงประเภทนายทหารสญั ญาบัตร พ.ศ.2482 ในสวนท่ีกลาวถึงหนาท่ีของนายทหารกองหนนุ ทหาร
กองหนุน หรือทหารกองเกินท่ีมีหนาทีเ่ ขา รบั ราชการทหารในการเรยี กพลประเภทตางๆ มารวมอยูใน
กฎหมายฉบบั เดยี วโดยพระราชบญั ญัติกำลงั พลสำรอง พ.ศ.2558 จะใชเ ปน เคร่ืองมือในการบรหิ ารจัดการ
กำลงั พลสำรองและกจิ การกำลังพลสำรองใหมีความเหมาะสม เกดิ ประสิทธิภาพเปน ที่ยอมรับของทุกภาคสวน
กลมุ บคุ คลท่พี ระราชบญั ญัตฉิ บบั นี้ บรหิ ารจดั การ ประกอบดวย นายทหารสัญญาบตั รกองหนนุ นายทหาร
สัญญาบัตรนอกราชการ นายทหารสัญญาบตั รนอกกอง ทหารกองหนนุ ประเภทท่ี 1, 2 และทหารกองเกิน ที่
กระทรวงกลาโหมจดั เกบ็ รายชื่อไวในรปู บัญชตี างๆ ปจจบุ ันมปี ระมาณ 13 ลา นนายเศษ กระทรวงกลาโหมจะ
รับสมคั รหรือคดั เลือกจากกลุมบคุ คลดังกลาวขา งตน เพ่ือบรรจลุ งในบัญชบี รรจกุ ำลังของหนวยทหาร และเรียก
บคุ คลเหลานีว้ า “กำลังพลสำรอง” กำหนดเวลาที่กำลังพลสำรองมรี ายชื่อบรรจุอยูในบญั ชีบรรจุกำลังของ
หนวยทหาร กำหนดไว 6 ป เมอ่ื ครบ 6 ป กำลังพลสำรองสามารถสมคั รเขาเปนกำลังพลสำรองตอได อีกครง้ั
ละ 6 ป ขอเนน ย้ำวา กำลังพลสำรองน้นั จะอยูในบัญชีบรรจกุ ำลงั ของหนว ยทหารเพียงรายชื่อเทานนั้ ยงั คง
ปฏบิ ัติงานตามปกติในโรงงาน บริษัท หรอื หางราน หรือประกอบอาชีพอิสระได เมอ่ื มีการเรยี กกำลังพลสำรอง
เขา รับราชการทหาร กำลงั พลสำรองจึงจะมาปฏิบัติหนาทใ่ี นหนวยทหารท่ตี นมรี ายช่ือสงั กดั อยู ซึ่ง
กระทรวงกลาโหมจะเรยี กกำลงั พลสำรองเขา รับราชการทหารหมนุ เวียนเขาทำการฝกทบทวนความรู ปละไม
เกนิ 60 วัน คร้ังละไมเกนิ 10 วัน

เปาหมายสงู สดุ คอื หากเกิดภัยพิบตั สิ าธารณะ เชน อุทกภัย วาตภัย กระทรวงกลาโหมตอ งสามารถเรยี กกำลัง
พลสำรองเขามาสนบั สนุน เพอ่ื ชว ยเหลอื และบรรเทาภัยพิบตั ิท่ีเกดิ ขนึ้ ไดทันเวลา ซง่ึ เปนรูปแบบการใชกำลัง
พลสำรองที่ประเทศตา งๆ ไดบ ญั ญัติหนาที่ไวในกฎหมาย หรอื หากเกิดภยั คุกคามทางทหารทต่ี องใชก ำลงั
ทหารขนาดใหญเ พ่ือการปองกันประเทศ กระทรวงกลาโหมตองสามารถเรียกกำลังพลสำรองเขา มาปฏิบัติ
หนาท่รี วมกบั กำลังทหารประจำการไดด วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

3. ประโยชนที่ชัดเจนเมือ่ พระราชบญั ญัติมีผลใชบงั คับ

3.1 เปน การกำหนดแนวทางทช่ี ดั เจน เหมาะสม เพอื่ จดั เตรยี ม และสรางความพรอ มใหกบั ประชากร
ไทยที่อยใู นวัยหนมุ สาว ใหม ีความพรอมทัง้ ทางรางกาย จิตใจ มีความรู ความสามารถ พรอ มทีจ่ ะสนบั สนุน
ชว ยเหลอื การแกไขปญ หาซึง่ เกิดจากภยั ทางธรรมชาติ และภัยท่ีมนษุ ยสรางขึน้

- 23 -

3.2 เปน การยกระดับกิจการกำลงั พลสำรอง ใหเ ปนงานระดับชาติโดยทุกภาคสวนเขา มามสี วนรว มใน
รูปของคณะกรรมการกำลังพลสำรอง เรยี กโดยยอ “คกส.” เพอ่ื ใหเกิดผลดตี อการดำเนินงานและพัฒนา
กจิ การกำลังพลสำรอง

3.3 ทำใหกระทรวงกลาโหม มีความพรอมในดานกำลังพลมากยง่ิ ข้นึ สามารถใหการสนับสนนุ สว น
ราชการพลเรอื น องคกรปกครองสว นทอ งถิ่น ภาคประชาชน ในการปองกนั และแกไขบญั หาภัยพิบตั ิสาธารณะ
ในรปู แบบตางๆ เมอ่ื ไดรับการรอ งขอ อาทเิ ชน กระทรวงกลาโหม สามารถเรยี กกำลังพลสำรองมาปฏิบตั ิ
ภารกิจเพ่ือบรรเทาภัยพิบัตสิ าธารณะ และชวยเหลอื ประชาชนไดต ง้ั แตในยามปกติ

3.4 ทำใหมีกฎหมายใชบรหิ ารจดั การบุคคลท่ีมีสถานะเปนกำลงั พลสำรองเปนการเฉพาะ โดยมอบ
อำนาจใหก ระทรวงกลาโหม จัดเตรียม อำนวยการ ในการเรยี กกำลงั พลสำรองเขารับราชการทหารอยางเปน
เอกภาพ ซ่ึงสามารถตอบสนองและสนับสนุนการแกไขบัญหาภยั พิบตั สิ าธารณะที่เกิดขน้ึ ไดดวยความรวดเร็ว
ทนั เวลา เกิดประโยชนต อ ประเทศในภาพรวม

3.5 เปน การเปดโอกาสใหบุคคลผูมคี วามเชยี่ วชาญดานตา งๆ ทก่ี องทัพขาดแคลน สามารถสมคั รเขา
รบั ใชช าตใิ นสถานะกำลงั พลสำรอง และยงั ใหหนวยทหารท่มี กี ำลังพลสำรองบรรจุอยใู นหนวย สามารถรบั
สมคั รกำลังพลสำรองเขาทำหนาที่ทหารประจำการเปน การชวั่ คราวได

3.6 ทำใหก ำลังพลสำรองและนายจาง หรือผูใหการสนับสนนุ ไดร ับสิทธปิ ระโยชนตา งๆ อยาง
เหมาะสม ซึ่งสามารถแกไขปญหาการไมไดร บั ความรวมมือของกำลงั พลสำรองและนายจาง

4. สาระสำคัญของพระราชบัญญัติกำลังพลสำรอง พ.ศ.2558

พระราชบัญญัติฉบับนีม้ ีทัง้ ส้ิน 43 มาตรา ประกอบดวย 5 หมวด และ 1 บทเฉพาะกาล ดงั น้ี

บททว่ั ไป : มี 5 มาตรา กลา วถึง คำนิยามตางๆ และกำหนดให รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม
เปน ผูรกั ษาการตามพระราชบัญญัตฉิ บับนี้

หมวด 1 : วา ดว ย คณะกรรมการกำลังพลสำรอง มี 9 มาตรา กำหนดใหมีคณะกรรมการกำลังพล
สำรอง เรยี กโดยยอ “คกส.” มีนายกรฐั มนตรีหรอื รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรฐั มนตรมี อบหมายเปน ประธาน
กรรมการ รัฐมนตรีวา การกระทรวงกลาโหม เปน รองประธานกรรมการ กรณีทีม่ รี ัฐมนตรชี วยวาการ
กระทรวงกลาโหม ใหรฐั มนตรชี ว ยวาการกระทรวงกลาโหม เปน รองประธานกรรมการคนทีส่ อง กรรมการโดย
ตำแหนง จำนวน 19 คน ไดแ ก ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงการคลงั ปลัดกระทรวงคมนาคม
ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลดั กระทรวงแรงงาน ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการ
พลเรือน เลขาธิการสภาความมนั่ คงแหงชาติ ผบู ญั ชาการทหารสูงสุด ผูบ ญั ชาการทหารบก ผบู ัญชาการ
ทหารเรือ ผูบ ญั ชาการทหารอากาศ ผบู ญั ชาการตำรวจแหงชาติ ผอู ำนวยการสำนกั นโยบายและแผนกลาโหม
เจากรมเสมยี นตรา เจากรมพระธรรมนญู เจากรมกำลังพลทหาร เจากรมยุทธการทหาร และผูบ ญั ชาการหนวย
บัญชาการรกั ษาดินแดน กรรมการผทู รงคุณวฒุ ิ ซง่ึ คณะรฐั มนตรี แตงตัง้ ตามขอเสนอแนะของกรรมการโดย
ตำแหนงจำนวนไมเ กิน 5 คน โดยใหเจา กรมการสรรพกำลังกลาโหม เปน กรรมการและเลขานุการ ใหเ จากรม
กำลังพลทหารบก เจา กรมกำลังพลทหารเรอื เจากรมกำลงั พลทหารอากาศ เปนกรรมการและผชู วยเลขานกุ าร

- 24 -

โดย คกส. มหี นา ท่ีเสนอแนะนโยบายเกีย่ วกบั กิจการกำลงั พลสำรอง และการปรับปรุงแกไ ขกฎหมายท่เี กยี่ วกบั
กำลังพลสำรอง กำหนดแนวทางการปฏบิ ตั ิและการแกไ ขปญหาเกย่ี วกับกจิ การกำลังพลสำรอง เสนอแนะ
แผนการพฒั นากิจการกำลังพลสำรองและกำลงั สำรองอน่ื ๆ ตลอดจนเสนอแนะการกำหนดสทิ ธิประโยชนตางๆ
ใหแกกำลังพลสำรองและนายจา งที่ใหความรว มมือและสนับสนนุ ใหลกู จา งซ่ึงเปน กำลงั พลสำรองเขารบั
ราชการทหาร

หมวด 2 : วาดวย กิจการกำลังพลสำรอง มี 20 มาตรา กลาวถงึ การรับบคุ คลเขาเปนกำลงั พล
สำรองและหนาที่ของกำลังพลสำรอง

การรับบุคคลเขาเปน กำลังพลสำรอง ดำเนนิ การได 2 วธิ ี คอื วิธีแรก รับสมัครจากบุคคลซ่งึ มี
คุณสมบตั ิและไมมลี กั ษณะตอ งหามตามทกี่ ำหนด อาทิเชน ตอ งเปน ผทู ่ีไมม ีโรคซึง่ ขัดตอการรับราชการทหาร
วธิ ีท่ีสอง คดั เลือกจากทหารกองหนนุ ประเภทที่ 1, 2 หรือทหารกองเกิน ตามพระราชบัญญตั ิรบั ราชการทหาร
พ.ศ.2497 และคดั เลือกจากนายทหารสัญญาบัตรกองหนนุ นายทหารสญั ญาบตั รนอกราชการ นายทหาร
สัญญาบัตรนอกกอง ตามขอ บงั คบั ทหารวา ดวย การแบงประเภทนายทหารสัญญาบัตร พ.ศ.2482 ผูทผ่ี า น
การตรวจสอบคุณสมบตั แิ ละไดร บั การคัดเลือกบรรจุรายช่อื ลงในบัญชบี รรจุกำลงั ของหนวยทหารแลว
กระทรวงกลาโหมจะแจงใหก ำลงั พลสำรองทราบถงึ ตำแหนง และหนว ยที่ตนสังกัด รวมถงึ จะแจง ใหน ายจา ง
ทราบดว ย กรณีกำลงั พลสำรองเปนลูกจา งของหนวยงานนนั้ ๆ

- 25 -

หนาที่ของกำลังพลสำรอง กำลงั พลสำรองมหี นา ทีเ่ ขารับราชการทหาร รวม 5 ประเภท ไดแ ก 1) การ
เรยี กกำลงั พลสำรองเพอื่ ตรวจสอบ 2) เพื่อฝกวิชาทหาร 3) เพ่อื ปฏบิ ัตริ าชการ 4) เพอื่ ทดลองความพรง่ั พรอ ม
และ5) การระดมพล โดยกำหนดใหก ำลงั พลสำรองมีอำนาจหนา ท่ตี ามช้ันยศและตำแหนงเชน เดยี วกับทหาร
ประจำการหรือทหารกองประจำการ การเรียกกำลงั พลสำรองเขารับราชการทหารทุกประเภท จะอยภู ายใต
กรอบที่กฎหมายกำหนด อาทเิ ชน กรณเี กดิ ภัยพบิ ัติสาธารณะ เม่ือกระทรวงกลาโหมไดรบั การรองขอจาก
กระทรวงมหาดไทยหรอื หนว ยงานอืน่ ๆ กระทรวงกลาโหมจะทำการเรยี กกำลงั พลสำรองเพื่อปฏบิ ัติราชการ
โดยนำกำลงั พลสำรองเขา ปฏิบัติหนาทรี่ ว มกบั ทหารประจำการเพ่ือแกไขปญ หาภัยพบิ ตั สิ าธารณะทเี่ กิดขึ้น
และหากเกดิ การสูร บขนาดใหญ จะทำการเรยี กระดมพล โดยเรยี กกำลังพลสำรองมาปฏิบัตหิ นา ที่รวมกับทหาร
ประจำการเขาทำการสรู บเพ่ือปองกันประเทศ ในเวลาปกติจะทำการเรียกกำลังพลสำรอง เพ่อื ตรวจสอบ เพ่ือ
ฝกวชิ าทหาร ตามหว งระยะเวลาท่ีกำหนด

หมวด 3 - 4 : วาดว ย วินยั และสทิ ธิประโยชน มี 2 มาตรา กลา วคือ กำลงั พลสำรองทีเ่ ขารบั
ราชการทหารตามพระราชบัญญตั ิน้ี ตองอยใู นวนิ ยั ทหาร และจะไดรับสิทธิประโยชนหลายประการ เชน
คาตอบแทน คาเบี้ยเล้ยี ง คา อาหาร คาพาหนะ คา เชา ทพี่ ัก การรักษาพยาบาล การแตงต้ังยศ และสทิ ธิ
ประโยชนอ ื่น ตามระเบยี บท่กี ำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลงั สำหรบั สิทธปิ ระโยชนข อง
นายจา งซ่ึงเดมิ ไมมีกำหนดไวในกฎหมายใด กำหนดใหเปนหนา ทข่ี องคณะกรรมการกำลังพลสำรอง (คกส.)
เปนผพู จิ ารณา

หมวด 5 : บทกำหนดโทษ มี 4 มาตรา กำหนดวา กำลงั พลสำรองท่ีหลีกเลย่ี ง ขัดขืนไมเขารับราชการ
ทหารประเภทตางๆ จะมโี ทษทางอาญา มที ั้งจำท้ังปรับ

- 26 -

บทเฉพาะกาล มี 3 มาตรา กำหนดใหการรบั บคุ คลเขา เปนกำลังพลสำรองใหกระทำไดเ มื่อพน
กำหนดสองรอยสสี่ บิ วัน นับแตวันท่ีพระราชบญั ญตั ฉิ บับน้มี ีผลบงั คบั ใช และการดำเนนิ การออกกฎกระทรวง
ขอบงั คบั หรือระเบียบใหด ำเนินการใหแ ลวเสรจ็ ภายในสองรอยส่ีสิบวันนับแตว ันทพี่ ระราชบญั ญตั นิ ใี้ ชบ งั คบั

ในปจ จบุ ัน เม่อื พระราชบัญญัติกำลงั พลสำรอง พ.ศ.2558 ไดป ระกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลวเม่ือ
30 ธนั วาคม 2558 กรมการสรรพกำลงั กลาโหม สำนกั งานปลดั ประทรวงกลาโหม ในฐานะสำนักงาน
เลขานกุ ารของ คกส. ไดจัดชดุ เจา หนาทไ่ี ปอบรม สัมมนา บรรยายพิเศษ เพือ่ เผยแพรป ระชาสัมพนั ธ
เสรมิ สรางความรคู วามเขาใจใหแกสว นราชการทหาร สวนราชการพลเรอื น หนว ยงานเอกชน สถาน
ประกอบการ นายจาง และลกู จาง เพ่ือใหท ุกภาคสวนเขา ใจถึงบทบาทหนา ท่ี และการมสี วนรว มตาม
พระราชบญั ญัติฉบับน้ี

ระเบียบกระทรวงกลาโหม วาดวยสิทธปิ ระโยชนข องกำลังพลสาํ รอง พ.ศ. 2559 (ใหม)

1. การจายเบี้ยเล้ียงใหกำลงั พลสํารอง หลักเกณฑ ใหจา ยในอตั รา 240 บาทตอเทยี่ วตอคน
2. การจายคา อาหารใหกำลังพลสํารอง หลกั เกณฑ ใหจ ายในอัตรา 240 บาทตอวันตอ คน
3. การจายคาพาหนะใหกำลงั พลสาํ รอง หลักเกณฑ ใหจายในอัตรา 500 บาทตอเท่ียวตอ คน
4. การจา ยคา เชาท่ีพักใหกำลงั พลสํารอง หลักเกณฑ ใหจายตามอตั ราของทหารประจำการ หรอื

ทหารกองประจำการ ตามพระราชกฤษฎีกาคา ใชจายในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แกไข
เพิ่มเตมิ โดยอนุโลม
5. กำลงั พลสํารองพรอ มใชง าน และกำลังพลสํารองเตรียมพรอ ม ท่เี ขา รบั ราชการทหาร ใหไดรบั การ
รกั ษาพยาบาลตามขอบังคบั กระทรวงกลาโหมวาดว ยการตรวจและรกั ษาพยาบาล พ.ศ. 2502 และท่ี
แกไ ขเพิ่มเติม นอกเหนือจากสิทธกิ ารรกั ษาพยาบาลท่ีกำลังพลสํารองมสี ทิ ธอิ ยเู ดิม
6. กำลงั พลสาํ รองอาจไดรบั สทิ ธิประโยชนอื่น อยางหนึ่งอยางใดตามกฎหมาย หรือระเบียบ
กระทรวงกลาโหมวาดวยการนั้น แลวแตกรณี ดังน้ี
6.1. เคร่อื งแตง กาย
6.2. การแตงต้งั ยศ การเล่ือนยศ และการเล่อื นฐานะ
6.3. การขอใชสวัสดกิ ารของสวนราชการ
6.4. ทนุ การศกึ ษา
6.5. การขอกองทหารเกียรตยิ ศ
6.6. คะแนนเพิม่ พิเศษ กรณสี อบบรรจุเขาเปน ทหารประจำการ
6.7. การรบั เงินชวยเหลือกรณีเสียชีวิต พกิ าร หรือทุพพลภาพ

ประกาศ ณ วนั ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2559 พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ รัฐมนตรวี าการ
กระทรวงกลาโหม

หมายเหตุ

ปรับปรุงแกไขคร้งั ท่ี 2 โดย น.ท.ปวชิ บำรุงศรี ร.น. หน.กำลังสำรอง กสร.สลส.กกส.กห.
เมอ่ื 21 ก.พ.2564


Click to View FlipBook Version