The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Unit_6_โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by areeyawat.th, 2022-07-09 12:14:08

Unit_6_โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

Unit_6_โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

คำนำ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท22101 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 เลม่ นี้ได้จดั ทำขึ้น
เพอื่ ใช้เปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นรู้โดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ใหน้ ักเรยี นมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมและ
กระบวนการเรยี นรู้ สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ทั้งเปน็ รายบคุ คลและรายกลมุ่ สรา้ งสถานการณ์
การเรยี นรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ทำให้นักเรียนสามารถเชือ่ มโยงความรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
อน่ื ๆ ไดใ้ นเชงิ บรู ณาการดว้ ยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และสรปุ ความรู้
ดว้ ยตนเอง ทำใหน้ ักเรียนได้รับการพฒั นาทงั้ ด้านความรู้ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ และด้านคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม และคา่ นิยมท่ีดี นำไปสู่การอย่รู ่วมกนั ในสังคมอย่างสนั ติสุข

การจดั ทำแผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชาท22101 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 เลม่ นี้
ไดจ้ ัดทำตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงครอบคลมุ ตัวช้วี ดั และมาตรฐาน
การเรียนรู้ โดยได้นำเสนอแผนการจดั การเรยี นรเู้ ป็นรายชว่ั โมงตามหน่วยการเรียนรู้ และในแต่ละหนว่ ยการ
เรยี นรู้มีการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรทู้ ้ัง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านพุทธิพิสัยหรือความรู้ Cognitive Domain (K),
ดา้ นจติ พสิ ยั หรือทกั ษะ Psychomotor Domain (P) และดา้ นทกั ษะพสิ ัยหรือเจตคติ Affective Domain (A)

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาภาษาไทย รหสั วิชาท22101 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 เล่มน้ีได้ออกแบบ
การเรียนรู้ด้วยเทคนิคและวิธีการสอนอยา่ งหลากหลาย เพ่ือการจดั การเรียนร้สู ำหรับนกั เรียนใหบ้ รรลุ
เปา้ หมายของหลกั สูตรต่อไป

นางสาวอารยี วัฒน์ พงษ์นิรันดร
ผ้จู ดั ทำ

สารบัญ

คำนำ.............................................................................................................................................. ก
สารบัญ.......................................................................................................................................... ข
บันทึกข้อความขออนุญาตใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้........................................................................ ค
คำอธิบายรายวิชา........................................................................................................................... 1
โครงสรา้ งการแบ่งเวลารายช่วั โมงในการจัดการเรียนรู้................................................................... 2
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร..........................................................................7

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 ความเป็นมาและประวัตผิ ู้แต่ง………......................................................7
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 วิเคราะห์เนือ้ เร่ือง ตอน พระสรุ ิโยทยั ขาดคอชา้ ง................................11
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 คุณคา่ และข้อคิด ตอน พระสุรโิ ยทัยขาดคอช้าง..................................15
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 วเิ คราะหเ์ น้อื เร่ือง ตอน พนั ท้ายนรสงิ หถ์ วายชีวติ ...............................19
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 คุณคา่ และข้อคิด ตอน พันทา้ ยนรสงิ หถ์ วายชีวติ .................................23
ภาคผนวก.......................................................................................................................................27

บนั ทกึ ขอ้ ความ

สว่ นราชการ โรงเรียนหนองกี่พทิ ยาคม อำเภอหนองก่ี จงั หวัดบุรรี มั ย์ โทร ๐๔๔-๖๔๑๓๒๔

ที่ /๒๕๖๕ วนั ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๕

เรอื่ ง ขออนุมัตใิ ช้แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาภาษาไทย ๓ (ท๒๒๑๐๑) ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕

---------------------------------------------------------------------------------------

เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองก่ีพิทยาคม

ตามทข่ี า้ พเจา้ นางสาวอารยี วฒั น์ พงษ์นริ นั ดร ตำแหนง่ ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

โรงเรยี นหนองก่ีพทิ ยาคม ได้รับมอบหมายให้ปฏบิ ัตหิ นา้ ทส่ี อน รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท๒๒๑๐๑

ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ในภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

ขา้ พเจ้าจึงได้วิเคราะห์ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชวี้ ดั คำอธบิ ายรายวิชา โครงสรา้ งรายวิชา

เพอ่ื จดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้วชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท๒๒๑๐๑ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ กล่มุ สาระการ

เรียนร้ภู าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ ซงึ่ สอดคลอ้ งกับหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นหนองก่ี

พทิ ยาคมกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย (ฉบับปรบั ปรงุ ) พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา

ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ

บัดนี้ ข้าพเจ้าไดด้ ำเนนิ การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรเู้ รยี บร้อยแลว้ จึงขออนุมัตใิ ช้แผนการจดั การ

เรียนรูด้ งั กลา่ ว เพ่ือใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนให้เกิดประสิทธภิ าพสูงสดุ และเพอื่ พฒั นาคุณภาพ

ผู้เรียนใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายของหลักสตู รฯ ตอ่ ไป

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดพิจารณาอนมุ ัติ

ลงชื่อ
(นางสาวอารยี วฒั น์ พงษน์ ิรนั ดร)
ตำแหน่ง ครู

ความเห็นของหวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

 อนมุ ัติ  ไม่อนุมตั ิ  อนื่ ๆ..........................................................................................

ลงช่ือ
(นางปนัดดา ยอดแกว้ )

หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
………/……………./………

ความคิดเห็นของผชู้ ว่ ยผอู้ ำนวยการฝ่ายบริหารงานวิชาการ

 อนุมัติ  ไมอ่ นุมัติ  อ่ืน ๆ..........................................................................................

ลงชื่อ
(นายสุเนตร บอกประโคน)

ผ้ชู ่วยผูอ้ ำนวยการฝา่ ยบริหารงานวิชาการ
………/……………/………..

ความคิดเห็นของรองผูอ้ ำนวยการฝ่ายบรหิ ารงานวชิ าการ

 อนุมตั ิ  ไมอ่ นุมตั ิ  อน่ื ๆ..........................................................................................

ลงช่อื
(นายเฉลิมพล คนชมุ )

รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยบริหารงานวชิ าการ
………/……………/………..

ความคดิ เหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี นหนองกพ่ี ทิ ยาคม

 อนมุ ตั ิ  ไมอ่ นุมัติ  อืน่ ๆ..........................................................................................

ลงช่ือ
(นายชาตรี อัครสขุ บตุ ร)

ผ้อู ำนวยการโรงเรียนหนองกพ่ี ทิ ยาคม
………/……………/………

1

คำอธิบายรายวชิ าภาษาไทย 3

รหสั วิชา ท 22101 เวลา 60 ช่วั โมง 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาหลักภาษาเก่ียวกบั ชนิดของประโยคสามญั ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน
การแต่งคำประพนั ธ์ ใช้คำราชาศพั ท์ได้ถกู ต้องเหมาะสมตามฐานะของบุคคล หลักการอ่านออกเสยี ง
รอ้ ยแกว้ ร้อยกรอง หลักการจับใจความ หลกั การพูด หลกั การเขียน เพื่อให้สามารถจับใจความสำคัญ
แยกข้อเทจ็ จรงิ จากข้อคดิ เหน็ แสดงความคดิ เหน็ วเิ คราะห์และประเมินคา่ สง่ิ ทไ่ี ด้อ่าน ฟัง พูด
และเขียนไดถ้ ูกตอ้ งชดั เจน

ฝึกการฟัง ดู พดู อ่าน เขียน โดยอ่านออกเสียงรอ้ ยแก้ว ร้อยกรอง อ่านจับใจความอา่ น
สรปุ ความ อา่ นวรรณคดี และวรรณกรรมท้องถ่นิ ท่องจำบทอาขยาน หรอื บทร้อยกรองทม่ี คี ณุ คา่
ตามความสนใจ คัดลายมือบรรจงครึ่งบรรทดั เขยี นเลขไทย เขียนบรรยาย พรรณนาย่อความ เรยี งความ
รายงานการศึกษาคน้ คว้า วเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความคดิ เห็น ข้อโตแ้ ย้งวิเคราะห์จำแนกขอ้ เทจ็ จรงิ
ขอ้ คิดเห็น และประเมินค่า พูดสรุปความ พดู อวยพรในโอกาสต่าง ๆ

มีมารยาทและมนี ิสยั รักการอ่าน การฟงั การดู การพูด และการเขยี น ทอ่ งจำและอธบิ ายคุณคา่
บทอาขยาน ซาบซงึ้ ในบทอาขยาน นำไปใช้อ้างอิง สามารถนำไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้

รหสั ตัวช้ีวดั
ท1.1 ม. 2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/8
ท2.1 ม. 2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/8 ม.2/4 ม.2/5
ท3.1 ม. 2 ม.2/1 ม.2/6 ม.2/3 ม.2/2
ท4.1 ม. 2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3
ท5.1 ม. 2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/5

2

โครงสร้างรายวิชา

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ/ เวลา นำ้ หนัก
หนว่ ยที่ /มาตรฐานการ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ความคดิ รวบยอด (ชม.) คะแนน

เรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั 3 2

1 การอา่ นออกเสียง 1. อธบิ ายความรูเ้ ร่อื ง การอ่านออกเสียงบทร้อย 7 10

ตวั ชี้วดั ขอ้ ที่ 1,2 หลกั การอา่ นออกเสยี งบท แก้วและบทร้อยกรองเป็น

ร้อยแก้วและบทร้อยกรอง การอา่ นท่ีเปน็ เอกลักษณ์ของ

ได้ถูกตอ้ ง (K) ไทยที่ผู้อ่านจะต้องเข้าใจ

2. ปฏิบัติตามหลักการ ฉันทลักษณ์ในการอ่านและ

อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง

และบทร้อยกรองได้ รวมทั้งสามารถถ่ายทอด

ถูกต้อง (P) อารมณ์ของบทประพันธ์สู่

3. มมี ารยาทในการอา่ น ผู้ฟังได้อย่างลึกซึ้งและเห็น

และนำข้อคดิ ประโยชน์ คุณคา่

จากเรอ่ื งทีอ่ ่านมา

ประยุกต์ใช้ในชีวติ

ประจำวันได้ (A)

2 การอา่ นใน 1. อธิบายหลักการอา่ น การอา่ นจับใจความสำคัญ

ชวี ิตประจำวนั จับใจความสำคัญ สรปุ เปน็ ทกั ษะการอา่ นทคี่ วร

สรา้ งสรรค์ปัญญา ความและอธิบาย ฝึกฝนจะช่วยให้ผู้อ่าน

ตวั ช้วี ัดขอ้ ท่ี 3,4,5 รายละเอยี ดจากเรอ่ื ง สามารถเขา้ ใจเรอ่ื งราวท่ีอ่าน

ท่ีอ่านได้ (K) ได้อยา่ งรวดเรว็ ทำให้เขา้ ใจ

2. อธบิ ายหลกั การ หลักการอา่ นจับใจความ

อภปิ รายแสดงความ สำคญั จากสือ่ ต่าง ๆ ทงั้ บท

คดิ เห็นและข้อโต้แยง้ ได้ รอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง

(K) ตลอดจนสามารถอภปิ ราย

3. อธิบายหลกั การอ่าน แสดงความคิดเห็น จากสอื่

เพอื่ จบั ใจความสำคัญ ทอี่ ่านและสรปุ ความ

วิเคราะห์ ประเมินคา่ (K) เปน็ แผนผังความคิดได้อยา่ ง

4. ปฏิบตั ิตามหลักการ ถูกต้อง

อ่านจับใจความสำคัญ

สรุปความและอธิบาย

รายละเอียดจากเร่อื ง

ท่อี ่านได้ (P)

3

ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ สาระสำคัญ/ เวลา นำ้ หนัก
หน่วยท่ี /มาตรฐานการ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ความคดิ รวบยอด (ชม.) คะแนน

เรยี นร้/ู ตวั ช้ีวัด 2 2

5.อภิปรายแสดงความ

คิดเหน็ และขอ้ โตแ้ ยง้

เก่ียวกับเรอื่ งทีอ่ ่าน (P)

6. เขียนผังความคิดเพื่อ

แสดงความเข้าใจใน

บทเรียนทีอ่ า่ น (P)

7. ตระหนกั และเห็น

ความสำคัญของการอ่าน

(A)

8. มีนสิ ยั รกั การอ่าน (A)

3 การคัดลายมือ 1. อธิบายหลักการ ลายมอื ทใ่ี ช้ในการเขียน

ตัวช้ีวดั ข้อที่ 6 คดั ลายมอื ตัวบรรจง สอื่ สารคือลายมอื ตวั บรรจง

คร่ึงบรรทดั ตามรปู แบบ คร่ึงบรรทดั และคดั ตาม

การเขยี นตวั อักษรไทย รปู แบบการเขียนตัว

(K) อกั ษรไทย ซง่ึ การคัดลายมอื

2. คดั ลายมอื ตวั บรรจง ตามรปู แบบการเขียนตัว

ครง่ึ บรรทัดตามรูปแบบ อกั ษรไทยเพ่ือใชใ้ นการ

การเขยี นตัวอักษรไทย ส่ือสารจะต้องศึกษารูปแบบ

(P) ตัวอักษรเพื่อใหส้ ามารถคัด

3. มวี นิ ยั และรกั ความ ลายมอื ไดอ้ ย่างถูกต้องและ

เปน็ ไทย (A) สวยงาม

4 การเขยี น 1. อธบิ ายความรพู้ ื้นฐาน การเขียนเพอ่ื การสือ่ สารมี 9 6

เพ่อื การส่อื สาร เกย่ี วกับการเขยี น/ ความจำเปน็ ในชีวิตประจำวนั

ตัวช้ีวัดขอ้ ที่ หลักการเขยี นบรรยาย ผู้เขยี นควรศกึ ษาเรยี นรู้ทำ

7,8,9,10 และพรรณนาได้(K) ความเข้าใจรูปแบบการเขยี น

2. อธบิ ายหลกั การเขียน หลักการเขียนบรรยายการ

ยอ่ ความได้ (K) เขยี นพรรณนา การเขียน

3. อธิบายหลักการเขียน ย่อความ และการเขยี น

เรียงความได้ (K) เรยี งความอย่างถูกตอ้ ง

4. ปฏิบตั ติ ามหลกั การ อกี ทง้ั จะต้องมีมารยาทใน

เขียนบรรยายและ การเขียนและสามารถนำมา

พรรณนาได้ (P) ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน

4

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ/ เวลา นำ้ หนัก
หนว่ ยท่ี /มาตรฐานการ จุดประสงค์การเรียนรู้ ความคิดรวบยอด (ชม.) คะแนน

เรยี นร้/ู ตัวชวี้ ดั 4 2
5 4
6. ปฏิบัตติ ามหลักการ
5 4
เขียนเรียงความได้ (P)

7. ปฏิบตั ติ ามหลกั การ

เขียนย่อความได้ (P)

8. มีมารยาทในการ

เขียน และนำข้อคดิ

ประโยชน์มาประยุกต์ใช้

ในชีวติ ประจำวันได้ (A)

5 การพดู สรุปความ 1. อธิบายความรู้พื้นฐาน การพูดสรปุ ใจความสำคัญ

จากเร่ืองท่ีฟังและดู เร่อื งการพูด (K) จากส่ือต่าง ๆ ที่ฟังและดู

ตวั ชว้ี ดั ขอ้ ที่ 11 2. พดู สรุปใจความสำคัญ ผูพ้ ูดจะต้องมีพ้ืนฐานใน

ของเร่ืองท่ีฟงั และดู (P) การพดู เพ่อื นำไปใช้ได้อย่าง

3. มีความซื่อสตั ย์ (A) ถูกต้อง

6 โคลงภาพพระราช 1. มีความรคู้ วามเขา้ ใจ การศึกษาเรื่อง โคลงภาพ

พงศาวดาร เกยี่ วกับหลกั การ พระราชพงศาวดาร จะตอ้ ง

ตัวช้วี ดั ขอ้ ท่ี 12 วเิ คราะห์และวจิ ารณ์ วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์

วรรณคดีวรรณกรรมท่ี วรรณคดีจากเรื่องท่ีอ่านได้

อ่าน (K) พร้อมทงั้ ยกเหตุผลประกอบ

2. วเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์ เก่ียวกับเนอ้ื เร่ืองท่ีอา่ นได้

วรรณคดีเร่อื ง โคลงภาพ อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม

พระราชพงศาวดาร ตอน

พระสรุ โิ ยทยั ขาดคอชา้ ง

ได้ (P)

3. มีความซ่อื สตั ย์ (A)

7 บทเสภา 1. อธบิ ายหลักการพดู การศกึ ษาเรื่อง บทเสภา

สามคั คีเสวก วิเคราะห์ วิจารณจ์ ากส่ือ สามคั คเี สวก ตอน

ตัวชี้วดั ขอ้ ที่ 13,14 ทฟ่ี ังและดู (K) วิศวกรรมาและสามคั คีเสวก

2. มารยาทในการฟัง จะตอ้ งวเิ คราะห์วิจารณเ์ รื่อง

การดู และการพูด (K) ได้ รวมทง้ั มีมารยาทในการ

3. วเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์ ฟังและดู

เรอ่ื งที่ฟงั และดู

อยา่ งมวี ิจารณญาณ (P)

5

ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สาระสำคัญ/ เวลา นำ้ หนัก
หนว่ ยที่ /มาตรฐานการ ความคิดรวบยอด (ชม.) คะแนน
3
เรยี นรู้/ตวั ชี้วดั 6 5
5
4. มมี ารยาทในการฟัง 4
4
การดู และการพดู นำ

ขอ้ คิดมาประยกุ ต์ใชใ้ นการ

ดำเนนิ ชีวติ (A)

5. มคี วามซอื่ สตั ย์ (A)

8 สรา้ งคำในภาษาไทย 1. อธิบายหลกั การ การศกึ ษาเร่ือง สรา้ งคำใน

ตวั ช้วี ัดขอ้ ที่ 15 สรา้ งคำในภาษาไทย (K) ภาษาไทย จะต้องมีความรู้

2. สามารถสรา้ งคำ พนื้ ฐานในการสร้างคำ ทงั้

ในภาษาไทยได้ (P) หลักเกณฑว์ ธิ ีการสรา้ งคำ

3. มีความกระตือรือร้นใน ในภาษาไทย เพื่อใหม้ ี

การทำงาน (A) ความเขา้ ใจและสามารถ

ใช้ไดอ้ ย่างถูกต้อง

9 ประโยคในภาษาไทย 1. อธิบายโครงสรา้ ง การศึกษาเรื่องประโยคใน

ตวั ชว้ี ดั ข้อท่ี 16 ประโยคสามัญ ประโยค ภาษาไทย ต้องวเิ คราะห์

รวม และประโยคซ้อนได้ โครงสร้างประโยคให้

(K) ถูกต้อง

2. วเิ คราะหโ์ ครงสร้าง

ประโยคสามัญประโยค

รวม และประโยคซ้อนได้

(P)

3. มีความกระตือรือรน้ ใน

การทำงาน (A)

10 รามเกยี รติ์ ตอน 1. หลกั การสรปุ เนื้อหา การศึกษาเร่ืองรามเกยี รติ์

นารายณ์ปราบน วรรณคดีและวรรณกรรมที่ ตอน นารายณป์ ราบนนทก

นทก อา่ นในระดบั ทย่ี ากข้นึ (K) จะต้องจับใจความสำคัญ

ตวั ชีว้ ัดข้อท่ี 17 2. สรปุ เนื้อหาวรรณคดี สรปุ ความ อธิบาย

และวรรณกรรมจาก รายละเอียดจากเรอื่ งท่ี

บทเรียนในวรรณคดี (P) อา่ น และยงั ต้องรู้ความ

3. ตระหนกั และเห็นคณุ คา่ เปน็ มาและประวตั ิผู้แตง่

ของวรรณคดีและนำมา

ประยกุ ต์ใชใ้ น

ชีวิตประจำวันได้ (A)

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระสำคัญ/ เวลา 6
หนว่ ยที่ /มาตรฐานการ ความคิดรวบยอด (ชม.) น้ำหนัก
4 คะแนน
เรียนรู้/ตวั ชี้วัด
2 4
11 ศิลาจารึกพอ่ ขุน 1. หลกั การวเิ คราะห์และ การศึกษาเร่ืองศิลาจารึก
2
รามคำแหงมหาราช วิจารณ์วรรณคดี พ่อขนุ รามคำแหง จะต้อง

ตัวช้ีวัดขอ้ ท่ี 18 วรรณกรรม และ สามารถวเิ คราะห์วจิ ารณ์

วรรณกรรมท้องถ่ิน (K) เร่อื งที่อา่ นพร้อมอธบิ าย

2. วเิ คราะห์และวิจารณ์ เน้อื หาและยกเหตุผล

วรรณคดีวรรณกรรมจาก ประกอบเรอื่ งได้อยา่ ง

เร่ือง บทเรยี นในวรรณคดี ถกู ต้อง

และวรรณกรรมทอ้ งถ่ิน

ทอ่ี ่าน พร้อมยกเหตผุ ล

ประกอบ (P)

3. รักชาตศิ าสน์ กษัตริย์

ซอ่ื สตั ย์และมีจิตสาธารณะ

(A)

12 ทอ่ งจำบทอาขยาน 1. หลกั การท่องบท บทอาขยานเปน็ บททมี่ ี

ตัวชว้ี ัดข้อท่ี 19 อาขยาน (K) คุณค่า ให้ข้อคิด จงึ ควรนำ

2. ท่องจำบทอาขยาน บทอาขยานตามทกี่ ำหนด

ตามท่ีกำหนดและบทร้อย มาทอ่ งจำ

กรองท่ีมีคุณคา่ ตามความ

สนใจ (P)

3. มีความซื่อสัตย์ (A)

7

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 1

รหัสวชิ า ท22101 รายวชิ าภาษาไทย 3 กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เวลา 5 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง ความเป็นมาและประวตั ผิ ู้แต่ง เวลา 1 ชัว่ โมง

สอนวนั ที่………....……เดือน……………………………….พ.ศ…….....…. ผ้สู อน นางสาวอารยี วฒั น์ พงษน์ ิรันดร

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วดั
1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทย

อย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง
1.2 ตวั ชี้วัด
มาตรฐาน ท 5.1 ม.2/1 สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี ่านในระดับทีย่ ากข้ึน

2. สาระสำคัญ
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เปน็ มรดกที่มคี ุณคา่ ทั้งดา้ นประวตั ิศาสตร์ ซ่งึ โคลงภาพ

พระสุริโยทัยขาดคอช้างและโคลงภาพพันทา้ ยนรสิงหถ์ วายชวี ิตแสดงใหเ้ หน็ ถึงบทบาทและหน้าที่
ของบุคคลที่เป็นตัวอยา่ งท่ีดี การศกึ ษาเรอ่ื งโคลงภาพพระราชพงศาวดาร จะต้องจบั ใจความสำคญั
สรุปความ อธิบายรายละเอียดจากเรื่องทอี่ ่าน และยังต้องรู้ความเป็นมาและประวตั ิผแู้ ต่ง
และจำเป็นต้องรูค้ ำศพั ท์ทีป่ รากฏอยใู่ นเร่ือง เพื่อจะได้เข้าใจเนอื้ หาของเรอื่ งได้อย่างถูกต้อง

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 อธิบายประวตั ิความเปน็ มา ผูพ้ ระราชนิพนธ์ จุดประสงคก์ ารประพันธ์

ลักษณะการประพันธ์ของวรรณคดีเร่ืองโคลงภาพพระราชพงศาวดารได้ (K)
3.2 สรุปเนอ้ื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมจากบทเรยี นในวรรณคดี (P)
3.3 มีเจตคตทิ ดี่ ีตอ่ การอ่านและมีนสิ ัยการอ่าน และนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ (A)

4. สาระการเรียนรู้
4.1 ความเปน็ มาของเร่ือง เร่ืองยอ่ และประวตั ิของผู้ประพันธ์
4.2 จุดประสงค์การประพนั ธ์ และลักษณะการประพันธข์ องวรรณคดี

5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
5.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
5.2 ซอ่ื สตั ย์
5.3 มจี ติ สาธารณะ

8

6. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน
6.1 ความสามารถในการคิด
6.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
6.3 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. การจัดกระบวนการเรยี นรู้
ขน้ั การตั้งคำถาม/สมมติฐาน (Learning to Question)
7.1 นกั เรียนสแกน QR CODE จากสไลดอ์ ิเล็กทรอนิกส์ ในชุดกิจกรรมที่ 26

เร่อื ง ความรู้พืน้ ฐานในการพดู สรุปความ เพ่อื ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นประจำหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6
เรอ่ื ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร จำนวน 10 ข้อ จากโปรแกรมประยกุ ต์การทำแบบทดสอบออนไลน์
เพือ่ วดั ความรพู้ ้นื ฐานของนักเรยี น (ให้เวลา 10 นาท)ี

7.2 ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับพระราชกรณียกจิ ของพระบาทสมเดจ็
พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว รวมถึงงานพระราชนิพนธ์ของพระองค์

7.3 ครูใหน้ ักเรยี นรว่ มกันยกตัวอยา่ งและแสดงความคดิ เห็นอย่างอิสระ จากนนั้ ครู
อธิบายเพิ่มเติม

ขั้นการสืบค้นความรแู้ ละสารสนเทศ (Learning to Search)
7.4 ครูให้นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันศกึ ษาความรู้เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

จากหนงั สือเรยี น ในประเด็นต่อไปนี้
1) ความเป็นมา
2) ประวตั ผิ แู้ ตง่
3) ลกั ษณะคำประพันธ์
4) เรื่องย่อ

แลว้ บนั ทึกความรู้ที่ได้จากการศกึ ษาลงในแบบบนั ทึกการอ่าน
ข้นั การสร้างความรู้ (Learning to Construct)
7.5 นกั เรียนทำใบงานที่ 1 เร่ือง ความเปน็ มาและประวัติผู้แตง่
ข้ันการสอื่ สารและนำเสนออย่างมีประสทิ ธิภาพ (Learning to Communication)
7.6 นักเรยี นนำเสนอใบงาน และเฉลยใบงานพรอ้ มกัน
7.7 นักเรยี นร่วมกันอภิปรายเกี่ยวเน้อื เน่อื งและความเป็นมาของเร่ือง
ข้ันการบรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ (Learning to Serve)
7.8 นกั เรียนนำความรู้ความเข้าใจของตนเองท่ีไดจ้ ากการเรียนในชัว่ โมงนี้ปรกึ ษา

กบั สมาชกิ ในกลมุ่ เพือ่ ทำงานในช่วั โมงต่อไป

9

8. การวัดผลประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวดั ผล เครื่องมอื เกณฑ์
ผ่านเกณฑร์ ้อยละ
8.1 อธบิ ายประวัติความ แบบสังเกต 1. ตอบคำถามเกย่ี วกับ 60
เป็นมา ผ้พู ระราชนิพนธ์ ประวัติความเป็นมา
จุดประสงค์การประพันธ์ ผู้พระราชนพิ นธ์ ระดบั คุณภาพ 3
ลักษณะการประพันธ์ ของ จดุ ประสงค์การประพันธ์ ผ่านเกณฑ์
วรรณคดีเร่อื งโคลงภาพ ลักษณะการประพนั ธ์
พระราชพงศาวดารได้ ของวรรณคดี
8.2 สรุปเน้ือหาวรรณคดี ตรวจใบงาน 2. ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง ความ
และวรรณกรรมจากบทเรียน เป็นมาและประวัติผู้แต่ง
ในวรรณคดี
8.3 มีเจตคติท่ีดีตอ่ การอ่าน แบบสังเกต 3. แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 3
และมนี สิ ัยการอ่าน และนำไป คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ อันพึงประสงค์

9. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
9.1 ชุดกิจกรรมท่ี 22 เร่อื ง ความเปน็ มาและประวัติผูแ้ ตง่ โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
9.2 หนังสือเรยี นวรรณกรรมและวรรณคดี ม.2
9.3 เวบ็ เบราว์เซอร์/อนิ เทอรเ์ น็ต
9.4 โปรแกรมประยุกต์การทำแบบทดสอบออนไลน์

10

10. บนั ทกึ หลงั สอน
10.1 ผลการจดั การเรียนรู้
 สอนได้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้ มีจุดประสงค์  K  P  A
 มีการบูรณาการ คณุ ธรรม/การตา้ นการทจุ รติ /หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 มีกระบวนการทำงานกลุ่ม/การสืบคน้ ข้อมลู /การใชเ้ ทคโนโลยี
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เน่ืองจาก....................................................................
 ............................................................................................................................. ...................
 อ่นื ๆ ....................................................................................................................................
10.2 ผลการเรียนรูต้ ามจุดประสงค์
 จำนวนนักเรียนทผี่ า่ นการประเมนิ ................... คน คดิ เปน็ ร้อยละ .................................
 จำนวนนกั เรยี นที่ไม่ผ่านการประเมิน .................. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ...............................
สาเหตุ....................................................................................................... ...........................
แนวทางแก้ปญั หา................................................................................................................
 อน่ื ๆ ...................................................................................................................................

10.3 ปัญหาและอุปสรรค
 กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 นักเรยี นทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไม่ทนั ตามกำหนดเวลา
 นักเรยี นทไ่ี ม่สนใจเรยี น
 อ่นื ๆ ...................................................................................................................... .............

10.4 ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรุง เรื่อง ..............................................................................................
 ............................................................................................................................. ...................
 ................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนกั เรยี นท่ีไมผ่ ่านการประเมิน/ไม่สนใจเรียน ................................................
 ............................................................................................................................. ...................
 ................................................................................................................................................
 อื่น ๆ ...................................................................................................................... .............

ลงช่อื ................................................... ผ้บู นั ทกึ
(นางสาวอารียวฒั น์ พงษ์นิรนั ดร)
ครผู สู้ อน

11

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2

รหสั วชิ า ท22101 รายวชิ าภาษาไทย 3 กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย

ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เวลา 5 ช่วั โมง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง วิเคราะห์เนื้อเร่ือง ตอน พระสรุ ิโยทยั ขาดคอช้าง เวลา 1 ช่วั โมง

สอนวันท่ี………....……เดือน……………………………….พ.ศ…….....…. ผู้สอน นางสาวอารียวัฒน์ พงษน์ ิรนั ดร

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วดั
1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทย

อยา่ งเหน็ คุณคา่ และนำมาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จริง
1.2 ตวั ชว้ี ัด
มาตรฐาน ท 5.1 ม.2/2 วิเคราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดวี รรณกรรม และวรรณกรรมท้องถ่นิ
ทอ่ี ่าน พร้อมยกเหตผุ ลประกอบ

2. สาระสำคัญ
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เปน็ มรดกที่มีคุณค่าทั้งด้านประวัตศิ าสตร์ ซ่ึงโคลงภาพ

พระสุรโิ ยทัยขาดคอชา้ งและโคลงภาพพนั ทา้ ยนรสงิ ห์ถวายชีวิตแสดงให้เหน็ ถงึ บทบาทและหน้าที่
ของบุคคลที่เปน็ ตัวอยา่ งท่ีดี โคลงภาพพระสุริโยทยั ขาดคอชา้ ง เปน็ โคลงภาพทบี่ รรยายเหตกุ ารณ์
อนั สำคญั ทางประวัติศาสตร์ซ่ึงแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความกลา้ หาญของพระสรุ โิ ยทัยทีย่ อมเสยี สละชีวิต
เพ่อื ปกป้องแผ่นดิน

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
3.1 อธบิ ายหลักการวเิ คราะห์และวิจารณว์ รรณคดีวรรณกรรมท่ีอ่าน (K)
3.2 วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์วรรณคดีเรอ่ื ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ตอน พระสุริโยทยั

ขาดคอช้างได้ (P)
3.3 มเี จตคตทิ ีด่ ีต่อการอ่านและมีนิสัยการอา่ น และนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ (A)

4. สาระการเรียนรู้
4.1 หลกั การวิเคราะห์และวิจารณว์ รรณคดีวรรณกรรมที่อา่ น
4.2 การวเิ คราะหค์ ุณคา่ และขอ้ คดิ จากวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถ่นิ
4.3 วเิ คราะหแ์ ละสรุปเนื้อเรือ่ งโคลงพระราชพงศาวดาร

5. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
5.1 รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
5.2 ซอื่ สัตย์
5.3 มีจิตสาธารณะ

12

6. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
6.1 ความสามารถในการคิด
6.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
6.3 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. การจดั กระบวนการเรียนรู้
ขั้นการตัง้ คำถาม/สมมตฐิ าน (Learning to Question)
7.1 ครูใชค้ ำถามกระต้นุ ความสนใจถามนักเรียน (นกั เรียนคิดว่า ผทู้ ่ีจะเปน็ วรี บุรุษ

และวีรสตรีตอ้ งมีคุณสมบัตอิ ย่างไรบ้าง
7.2 นักเรยี นรว่ มกันตอบคำถาม
7.3 ครใู หน้ ักเรยี นยกตวั อยา่ งวรี บุรษุ และวรี สตรไี ทยที่นักเรียนช่นื ชอบ พร้อมบอกเหตผุ ล

ประกอบ
ขั้นการสบื คน้ ความรแู้ ละสารสนเทศ (Learning to Search)
7.4 นักเรียนกลมุ่ เดิม (จากแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 26) รว่ มกันศึกษาความรเู้ รอื่ ง

การการเขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ จากหนงั สือวรรณกรรมและวรรณคดี ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2
โดยครูให้เวลาในการศึกษา 10 นาที

7.5 นักเรยี นแต่ละกลมุ่ รู้หลักการเขยี นวเิ คราะหว์ จิ ารณ์เรื่องแล้ว ครใู หอ้ ่านวรรณคดี
เรอื่ ง โคลงภาพพระราชศาวดาร ตอน พระสุรโิ ยทัยขาดคอช้าง โดยใหเ้ วลา 10 นาที เพื่อทำงานรว่ มกนั

ขนั้ การสร้างความรู้ (Learning to Construct)
7.6 ครแู จกใบงานท่ี 2 เรือ่ ง วิเคราะหเ์ นื้อเรอ่ื ง ตอน พระสรุ ิโยทยั ขาดคอชา้ ง

ให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกนั หาคำตอบ
7.7 นกั เรียนแต่ละกลุ่มทำใบงาน

ขน้ั การสอื่ สารและนำเสนออยา่ งมีประสทิ ธิภาพ (Learning to Communication)
7.8 นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ สง่ ใบงานและตรวจสอบความเรยี บร้อยก่อนนำส่งครู
7.9 ครูอธบิ ายเน้อื หาให้นกั เรียนเขา้ ใจและสมุ่ เรียกผลงานของนักเรยี นบางกลุ่ม

มานำเสนอเน้ือหาให้เพือ่ นในห้องร่วมกันฟงั และอภิปรายร่วมกัน
ขนั้ การบรกิ ารสังคมและจติ สาธารณะ (Learning to Serve)
7.10 นกั เรยี นนำความรู้ความเขา้ ใจของตนเองที่ได้จากการเรยี นในชว่ั โมงน้ีปรึกษา

กับสมาชิกในกลมุ่ เพือ่ ทำงานในช่ัวโมงตอ่ ไป

13

8. การวดั ผลประเมินผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวดั ผล เคร่ืองมอื เกณฑ์
แบบสงั เกต ระดับคุณภาพ 3
8.1 อธิบายหลักการวิเคราะห์ 1. ตอบคำถามเกย่ี วกับ ผ่านเกณฑ์
และวิจารณว์ รรณคดี หลกั การวิเคราะหแ์ ละ
วรรณกรรมท่ีอ่าน วจิ ารณ์วรรณคดี ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60
วรรณกรรมท่ีอา่ น
8.2 วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์ ตรวจใบงาน 2. ใบงานที่ 2 เรื่อง ระดบั คุณภาพ 3
วรรณคดเี ร่ือง โคลงภาพ วเิ คราะห์เนือ้ เร่ือง ตอน ผ่านเกณฑ์
พระราชพงศาวดาร ตอน พระสรุ ิโยทยั ขาดคอช้าง
พระสุริโยทัยขาดคอช้างได้
3. แบบประเมนิ
8.3 มเี จตคติท่ดี ีต่อการอา่ น แบบสงั เกต คุณลกั ษณะ
และมีนิสัยการอ่าน และนำไป อนั พงึ ประสงค์
ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวันได้

9. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้
9.1 ชดุ กจิ กรรมท่ี 23 เรอื่ ง วเิ คราะหเ์ นื้อเรอ่ื ง ตอน พระสุริโยทยั ขาดคอช้าง
9.2 ใบงานท่ี 2 เรื่อง วเิ คราะห์เนื้อเร่ือง ตอน พระสุริโยทัยขาดคอชา้ ง
9.3 หนังสอื เรียนวรรณกรรมและวรรณคดี ม.2
9.4 เวบ็ เบราวเ์ ซอร/์ อนิ เทอรเ์ น็ต

14

10. บนั ทึกหลงั สอน
10.1 ผลการจัดการเรียนรู้
 สอนได้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้ มีจดุ ประสงค์  K  P  A
 มกี ารบูรณาการ คณุ ธรรม/การตา้ นการทจุ ริต/หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 มีกระบวนการทำงานกลุ่ม/การสบื ค้นขอ้ มลู /การใชเ้ ทคโนโลยี
 สอนไมไ่ ด้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก....................................................................
 .............................................................................................................................................. ..
 อ่นื ๆ ....................................................................................................................................
10.2 ผลการเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงค์
 จำนวนนักเรยี นท่ีผา่ นการประเมิน ................... คน คดิ เปน็ ร้อยละ .................................
 จำนวนนักเรยี นที่ไม่ผ่านการประเมนิ .................. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ...............................
สาเหตุ....................................................................................................................... ...........
แนวทางแก้ปญั หา................................................................................................................
 อน่ื ๆ ...................................................................................................................... .............

10.3 ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจดั การเรียนรู้ ไมเ่ หมาะสมกับเวลา
 นกั เรียนทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไมท่ นั ตามกำหนดเวลา
 นักเรียนท่ไี ม่สนใจเรยี น
 อ่นื ๆ ...................................................................................................................... .............

10.4 ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรุง เร่ือง ..............................................................................................
 ............................................................................................................................. ...................
 ................................................................................................................................................
 แนวทางแกไ้ ขนกั เรียนที่ไมผ่ า่ นการประเมิน/ไม่สนใจเรยี น ................................................
 ................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................. ...................
 อื่น ๆ ...................................................................................................................................

ลงชอ่ื ................................................... ผ้บู ันทกึ
(นางสาวอารยี วฒั น์ พงษ์นิรนั ดร)
ครผู ู้สอน

15

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3

รหัสวิชา ท22101 รายวชิ าภาษาไทย 3 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 6 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เวลา 5 ชัว่ โมง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง คุณคา่ และข้อคดิ ตอน พระสรุ โิ ยทยั ขาดคอช้าง เวลา 1 ช่วั โมง

สอนวนั ที่………....……เดือน……………………………….พ.ศ…….....…. ผู้สอน นางสาวอารียวัฒน์ พงษ์นิรนั ดร

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด
1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย

อย่างเห็นคุณคา่ และนำมาประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จรงิ
1.2 ตวั ชี้วัด
มาตรฐาน ท 5.1 ม.2/3 อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น

2. สาระสำคญั
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เปน็ มรดกที่มีคุณค่าทั้งดา้ นประวัติศาสตร์ ซึ่งโคลงภาพ

พระสรุ โิ ยทยั ขาดคอช้างและโคลงภาพพนั ท้ายนรสงิ หถ์ วายชีวิตแสดงใหเ้ ห็นถงึ บทบาทและหนา้ ท่ี
ของบุคคลท่ีเปน็ ตัวอย่างท่ีดี โคลงภาพพระสุริโยทัยขาดคอชา้ ง เป็นโคลงภาพทบี่ รรยายเหตุการณ์
อันสำคญั ทางประวัติศาสตร์ซ่ึงแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความกล้าหาญของพระสรุ ิโยทยั ทีย่ อมเสียสละชีวิต
เพื่อปกปอ้ งแผ่นดนิ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 อธบิ ายคุณคา่ ดา้ นตา่ ง ๆ ของโคลงพระราชพงศาวดาร ตอน พระสุริโยทัยขาดคอชา้ งได้ (K)
3.2 สรปุ คุณค่าและข้อคิดโคลงพระราชพงศาวดาร ตอน พระสรุ โิ ยทยั ขาดคอชา้ งได้ (P)
3.3 เหน็ ความสำคญั ของการศกึ ษาวรรณคดไี ทย และนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้
4.1 คณุ ค่าของวรรณคดีดา้ นเนอ้ื หา ดา้ นวรรณศลิ ป์ และด้านสังคม
4.2 สรปุ คณุ คา่ และข้อคิดโคลงพระราชพงศาวดาร ตอน พระสรุ โิ ยทัยขาดคอชา้ ง

5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
5.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
5.2 ซ่ือสัตย์
5.3 มีจิตสาธารณะ

6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น
6.1 ความสามารถในการคิด
6.2 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
6.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

16

7. การจดั กระบวนการเรียนรู้
ขั้นการตั้งคำถาม/สมมตฐิ าน (Learning to Question)
7.1 ครใู ช้คำถามกระตุน้ ความสนใจถามนกั เรยี น (นักเรียนคิดว่าวรรณคดเี รอ่ื งโคลงภาพ

พระราชพงศาวดารมีเนอ้ื หาท่ีนา่ สนใจและมีคณุ ค่าแก่การศึกษาหรือไม่ อย่างไร)
7.2 นักเรยี นรว่ มกันตอบคำถาม

ข้ันการสืบคน้ ความรูแ้ ละสารสนเทศ (Learning to Search)
7.3 นักเรยี นกลุม่ เดมิ (จากแผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 26) สบื ค้นข้อมลู จากอนิ เทอร์เนต็

เกย่ี วกับวรรณคดเี ร่ืองโคลงภาพพระราชพงศาวดารตอน พระสรุ ิโยทัยขาดคอช้าง โดยใหเ้ วลาในสบื ค้น
10 นาที

7.4 ครเู ปดิ วีดทิ ัศน์ วรรณคดีเร่ืองโคลงภาพพระราชพงศาวดาร ให้นักเรียนดูอีกคร้งั
เพอ่ื พิจารณาเนื้อเรื่อง

7.5 ครูอธิบายเนื้อหาและแนวทางการทำงานเพิ่มเติม
ข้นั การสร้างความรู้ (Learning to Construct)

7.6 ครแู จกใบงานท่ี 3 เรอื่ ง คุณคา่ และขอ้ คิด ตอน พระสุรโิ ยทัยขาดคอช้าง
ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ช่วยกันหาคำตอบ

7.7 นักเรียนแต่ละกลุ่มทำใบงาน
ข้ันการส่ือสารและนำเสนออยา่ งมีประสิทธภิ าพ (Learning to Communication)

7.8 นักเรยี นแต่ละกลุม่ ส่งใบงานและตรวจสอบความเรยี บร้อยก่อนนำสง่ ครู
7.9 ครอู ธิบายเน้อื หาให้นกั เรียนเขา้ ใจและส่มุ เรียกผลงานของนกั เรยี นบางกล่มุ
มานำเสนอเนื้อหาใหเ้ พื่อนในห้องร่วมกนั ฟังและอภิปรายร่วมกัน
ข้นั การบรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ (Learning to Serve)
7.10 นักเรียนนำความรู้ความเข้าใจของตนเองท่ีไดจ้ ากการเรยี นในช่ัวโมงนีป้ รกึ ษา
กบั สมาชกิ ในกลุ่มเพือ่ ทำงานในชั่วโมงต่อไป

8. การวัดผลประเมนิ ผล

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวัดผล เคร่อื งมือ เกณฑ์
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ
8.1 อธิบายคณุ ค่าด้านตา่ ง ๆ แบบสงั เกต 1. ตอบคำถามเกี่ยวกับ 60
ของโคลงพระราชพงศาวดาร คุณค่าและข้อคิด ตอน
พระสุรโิ ยทยั ขาดคอช้าง ระดับคุณภาพ 3
ตอน พระสุริโยทยั ขาดคอช้าง 2. ใบงานท่ี 3 คุณค่าและ ผา่ นเกณฑ์
ข้อคิด ตอน พระสรุ โิ ยทยั
8.2 สรปุ คณุ ค่าและข้อคิดโคลง ตรวจใบงาน ขาดคอช้าง ระดบั คุณภาพ 3
3. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
พระราชพงศาวดาร ตอน พระ คณุ ลกั ษณะ
สรุ โิ ยทัยขาดคอช้างได้ อันพงึ ประสงค์

8.3 เห็นความสำคัญ แบบสังเกต
ของการศึกษาวรรณคดีไทย
และนำไปประยุกตใ์ ช้

ในชวี ิตประจำวันได้

17

9. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้
9.1 ชุดกิจกรรมที่ 24 เร่อื ง คุณคา่ และข้อคิด ตอน พระสุรโิ ยทัยขาดคอช้าง
9.2 ใบงานท่ี 3 คุณคา่ และข้อคดิ ตอน พระสรุ โิ ยทัยขาดคอช้าง
9.3 หนังสอื เรียนวรรณกรรมและวรรณคดี ม.2
9.4 เว็บเบราวเ์ ซอร์/อินเทอร์เน็ต

18

10. บนั ทึกหลงั สอน
10.1 ผลการจัดการเรียนรู้
 สอนได้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้ มีจดุ ประสงค์  K  P  A
 มกี ารบูรณาการ คณุ ธรรม/การตา้ นการทจุ ริต/หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 มีกระบวนการทำงานกลุ่ม/การสบื ค้นขอ้ มลู /การใชเ้ ทคโนโลยี
 สอนไมไ่ ด้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก....................................................................
 .............................................................................................................................................. ..
 อ่นื ๆ ....................................................................................................................................
10.2 ผลการเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงค์
 จำนวนนักเรยี นท่ีผา่ นการประเมิน ................... คน คดิ เปน็ ร้อยละ .................................
 จำนวนนักเรยี นที่ไม่ผ่านการประเมนิ .................. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ...............................
สาเหตุ....................................................................................................................... ...........
แนวทางแก้ปญั หา................................................................................................................
 อน่ื ๆ ...................................................................................................................... .............

10.3 ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจดั การเรียนรู้ ไมเ่ หมาะสมกับเวลา
 นกั เรียนทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไมท่ นั ตามกำหนดเวลา
 นักเรียนท่ไี ม่สนใจเรยี น
 อ่นื ๆ ...................................................................................................................... .............

10.4 ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรุง เร่ือง ..............................................................................................
 ............................................................................................................................. ...................
 ................................................................................................................................................
 แนวทางแกไ้ ขนกั เรียนที่ไมผ่ า่ นการประเมิน/ไม่สนใจเรยี น ................................................
 ................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................. ...................
 อื่น ๆ ...................................................................................................................................

ลงชอ่ื ................................................... ผ้บู ันทกึ
(นางสาวอารยี วฒั น์ พงษ์นิรนั ดร)
ครผู ู้สอน

19

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4

รหัสวิชา ท22101 รายวิชาภาษาไทย 3 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เวลา 5 ชั่วโมง

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 เรอ่ื ง วเิ คราะห์เน้ือเรื่อง ตอน พันทา้ ยนรสงิ ห์ถวายชีวิต เวลา 1 ชั่วโมง

สอนวันที่………....……เดอื น……………………………….พ.ศ…….....…. ผสู้ อน นางสาวอารยี วฒั น์ พงษน์ ริ ันดร

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด
1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทย

อยา่ งเหน็ คุณคา่ และนำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ
1.2 ตัวชว้ี ดั
มาตรฐาน ท 5.1 ม.2/1 สรุปเนอื้ หาวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่านในระดบั ทยี่ ากข้ึน

2. สาระสำคัญ
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เปน็ เร่ืองราวเกยี่ วกับเหตกุ ารณป์ ระวตั ิศาสตร์ที่แต่งดว้ ย

โคลงสี่สุภาพ จะตอ้ งอา่ นอยา่ งถูกต้อง สรปุ ใจความสำคัญ เรอื่ งที่อ่าน พร้อมกับสรปุ ความรู้และข้อคิด
เพ่ือนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ จรงิ โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ภาพที่ 56 พนั ทา้ ยนรสงิ ห์ถวายชวี ิต
เปน็ วรี บุรุษทป่ี ระกอบคณุ งามความดี ภาพที่ 56 จัดทำขึ้นเพอื่ สดดุ วี ีรกรรมของพันท้ายนรสิงห์ท่ยี อม
เสียสละชีวติ ของตนเองเพ่ือรักษาพระราชกำหนดทีม่ ีมาทุกสมยั มิใช่เสือ่ มเสยี และสญู หายไป เพราะตน
เพียงคนเดียว ถือได้ว่าเป็นวีรชนท่ีควรแก่การนำเป็นต้นแบบในการดำเนนิ ชวี ิต

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 อธิบายหลกั การวิเคราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดีวรรณกรรมท่ีอ่าน (K)
3.2 วเิ คราะห์และวิจารณ์วรรณคดีเรอ่ื ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ตอน พันท้ายนรสงิ ห์

ถวายชีวติ ได้ (P)
3.3 มเี จตคตทิ ด่ี ีต่อการอา่ นและมนี ิสยั การอา่ น และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้
4.1 หลกั การวิเคราะหแ์ ละวิจารณ์วรรณคดวี รรณกรรมท่ีอ่าน
4.2 การวเิ คราะหค์ ณุ ค่าและข้อคดิ จากวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถ่ิน
4.3 วเิ คราะห์และสรปุ เนอื้ เรอื่ งโคลงพระราชพงศาวดาร

5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
5.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
5.2 ซ่ือสัตย์
5.3 มจี ติ สาธารณะ

20

6. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น
6.1 ความสามารถในการคิด
6.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
6.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. การจดั กระบวนการเรยี นรู้
ข้นั การตั้งคำถาม/สมมติฐาน (Learning to Question)
7.1 ครใู ช้คำถามกระต้นุ ความสนใจถามนกั เรยี น (นกั เรยี นคิดว่า การเสียสละทำได้

โดยวธิ ใี ดบ้าง)
7.2 นกั เรียนร่วมกันตอบคำถาม
7.3 ครูใหน้ กั เรยี นยกตัวอยา่ งเหตุการณก์ ารกระทำผดิ กฎระเบยี บตา่ ง ๆ แตเ่ กิดผลดี

ทเ่ี คยผา่ นมา
ข้นั การสบื ค้นความร้แู ละสารสนเทศ (Learning to Search)
7.4 ให้นักเรยี นแบง่ เป็นกลมุ่ กลุ่มละ 4-5 คน จากน้ันรว่ มกนั ศึกษาวิดที ัศน์เรื่อง

โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ตอน พนั ท้ายนรสิงห์ถวายชีวิตจากสไลด์อิเลก็ ทรอนกิ สใ์ นชุดกจิ กรรมที่ 29
เร่ือง วเิ คราะห์เนื้อเร่ือง ตอน พันท้ายนรสิงห์ถวายชีวติ

7.5 นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันถอดความ (แปลความหมาย) โคลงภาพพระราช
พงศาวดาร ตอน พันทา้ ยนรสิงหถ์ วายชวี ติ โดยสามารถศกึ ษาเนอื้ หาเพ่มิ เติมจากหนังสือวรรณกรรมและ
วรรณคดี ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โดยให้เวลา 10 นาที

ขน้ั การสร้างความรู้ (Learning to Construct)
7.6 ครแู จกใบงานที่ 4 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ตอน พันท้ายนรสงิ ห์ถวายชีวิต

ใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั หาคำตอบ
7.7 นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มทำใบงาน

ขน้ั การส่ือสารและนำเสนออยา่ งมีประสิทธภิ าพ (Learning to Communication)
7.8 นักเรียนแตล่ ะกลุ่มส่งใบงานและตรวจสอบความเรยี บร้อยก่อนนำส่งครู
7.9 ครอู ธิบายเนอ้ื หาใหน้ กั เรียนเข้าใจและสมุ่ เรยี กผลงานของนกั เรยี นบางกลุ่ม

มานำเสนอเนื้อหาใหเ้ พือ่ นในหอ้ งร่วมกนั ฟังและอภิปรายร่วมกนั
ขน้ั การบรกิ ารสังคมและจิตสาธารณะ (Learning to Serve)
7.10 นักเรยี นนำความรู้ความเข้าใจของตนเองท่ีไดจ้ ากการเรียนในช่ัวโมงนีป้ รึกษา

กับสมาชิกในกลุ่มเพอื่ ทำงานในชวั่ โมงต่อไป

21

8. การวัดผลประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวดั ผล เคร่อื งมอื เกณฑ์
แบบสังเกต ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ
8.1 อธบิ ายหลักการวเิ คราะห์ 1. ตอบคำถามเกี่ยวกับ 60
และวจิ ารณว์ รรณคดี เนอ้ื หาโคลงภาพพระราช
วรรณกรรมท่ีอา่ น พงศาวดาร ตอน พนั ระดบั คุณภาพ 3
ท้ายนรสงิ หถ์ วายชวี ติ ผ่านเกณฑ์
8.2 วิเคราะห์และวิจารณ์ ตรวจใบงาน 2. ใบงานท่ี 4 โคลงภาพ
วรรณคดีเรื่อง โคลงภาพ พระราชพงศาวดารตอน ระดบั คุณภาพ 3
พระราชพงศาวดาร ตอน พนั ท้ายนรสิงห์ถวายชวี ิต ผา่ นเกณฑ์
พนั ท้ายนรสิงหถ์ วายชวี ติ ได้
3. แบบประเมนิ
8.3 มีเจตคติที่ดีต่อการอา่ น แบบสงั เกต คุณลักษณะ
และมนี ิสัยการอา่ น และนำไป อนั พึงประสงค์
ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้

9. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้
9.1 ชุดกิจกรรมท่ี 25 เรอ่ื ง วิเคราะห์เนื้อเรื่อง ตอน พันทา้ ยนรสงิ หถ์ วายชวี ิต
9.2 ใบงานท่ี 4 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ตอน พันทา้ ยนรสิงหถ์ วายชีวติ
9.3 หนงั สอื เรยี นวรรณกรรมและวรรณคดี ม.2
9.4 เวบ็ เบราว์เซอร์/อนิ เทอรเ์ น็ต

22

10. บนั ทกึ หลงั สอน
10.1 ผลการจดั การเรียนรู้
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ มีจดุ ประสงค์  K  P  A
 มีการบูรณาการ คุณธรรม/การตา้ นการทจุ ริต/หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
 มกี ระบวนการทำงานกลุ่ม/การสบื ค้นขอ้ มูล/การใชเ้ ทคโนโลยี
 สอนไมไ่ ด้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนอ่ื งจาก....................................................................
 ................................................................................................................................................
 อ่นื ๆ ...................................................................................................................... ..............
10.2 ผลการเรยี นรตู้ ามจุดประสงค์
 จำนวนนักเรยี นท่ผี ่านการประเมนิ ................... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ .................................
 จำนวนนักเรยี นท่ีไม่ผา่ นการประเมนิ .................. คน คิดเป็นรอ้ ยละ ...............................
สาเหต.ุ .................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา................................................................................................................
 อน่ื ๆ ...................................................................................................................................

10.3 ปัญหาและอปุ สรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไมเ่ หมาะสมกับเวลา
 นกั เรียนทำใบงาน/ใบกิจกรรมไมท่ ันตามกำหนดเวลา
 นักเรียนท่ีไมส่ นใจเรยี น
 อ่นื ๆ ...................................................................................................................... .............

10.4 ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรบั ปรงุ เรอ่ื ง ..............................................................................................
 ............................................................................................................................. ...................
 ................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรยี นท่ีไม่ผา่ นการประเมนิ /ไม่สนใจเรยี น ................................................
 ............................................................................................................................. ...................
 ................................................................................................................................................
 อื่น ๆ ...................................................................................................................... .............

ลงชอื่ ................................................... ผบู้ นั ทึก
(นางสาวอารยี วฒั น์ พงษน์ ริ นั ดร)
ครูผสู้ อน

23

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5

รหัสวชิ า ท22101 รายวิชาภาษาไทย 3 กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เวลา 5 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรอื่ ง คุณค่าและข้อคดิ ตอน พันท้ายนรสิงห์ถวายชวี ิต เวลา 1 ช่วั โมง

สอนวันที่………....……เดอื น……………………………….พ.ศ…….....…. ผู้สอน นางสาวอารยี วัฒน์ พงษน์ ิรนั ดร

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วัด
1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทย

อยา่ งเหน็ คุณคา่ และนำมาประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจริง
1.2 ตัวชว้ี ัด
มาตรฐาน ท 5.1 ม.2/3 อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน

2. สาระสำคัญ
การอ่านมคี วามสำคัญและจะเกิดประโยชนเ์ มอ่ื ผอู้ ่านสามารถประเมนิ คุณคา่ หรือแนวคิดที่ได้

จากการอา่ นและนำไปใช้ในการดำเนินชวี ิต โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ภาพที่ ๕๖ พนั ท้ายนรสิงห์
ถวายชวี ติ แสดงให้เหน็ ถึงบทบาทและหน้าทีข่ องบุคคลทเ่ี ป็นข้าราชบรพาลทีด่ ีที่มคี วามซ่ือสตั ย์ โคลง
ภาพพันท้ายนรสิงห์ถวายชวี ิต เปน็ โคลงภาพทบ่ี รรยายเหตุการณ์อันสำคญั ทางประวตั ิศาสตรซ์ ่งึ แสดงให้
เห็นถงึ ความซื่อสตั ย์กลา้ หาญ ของพนั ทา้ ยนรสิงห์ทย่ี อมเสียสละชีวิตเพ่ือปกป้องแผ่นดนิ พระมหากษตั รยิ ์
พระราชประเพณี

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 อธิบายคณุ คา่ ข้อคดิ ของโคลงพระราชพงศาวดาร ตอน พันทา้ ยนรสิงห์ถวายชีวิตได้ (K)
3.2 สรปุ คุณคา่ และข้อคิดโคลงพระราชพงศาวดาร ตอน พันทา้ ยนรสงิ หถ์ วายชีวติ (P)
3.3 เหน็ ความสำคญั ของการศึกษาวรรณคดไี ทย และนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั ได้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้
4.1 คณุ ค่าของวรรณคดีดา้ นเนื้อหา ด้านวรรณศิลป์ และด้านสังคม
4.2 สรปุ คณุ คา่ และข้อคดิ โคลงพระราชพงศาวดาร ตอน พนั ท้ายนรสิงหถ์ วายชีวิต

5. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
5.1 รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
5.2 ซอื่ สตั ย์
5.3 มจี ติ สาธารณะ

6. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน
6.1 ความสามารถในการคิด
6.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
6.3 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

24

7. การจดั กระบวนการเรยี นรู้
ขน้ั การตั้งคำถาม/สมมตฐิ าน (Learning to Question)
7.1 ครูใช้คำถามกระตุ้นความสนใจถามนกั เรียน (นักเรยี นคิดวา่ พระราชประเพณี

หรอื ประเพณีมีความสำคัญและควรค่าแกก่ ารอนรุ ักษ์หรือไม่ อย่างไร)
7.2 นกั เรยี นร่วมกนั ตอบคำถาม

ขน้ั การสบื ค้นความรแู้ ละสารสนเทศ (Learning to Search)
7.3 นกั เรียนกลมุ่ เดมิ (จากแผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 29) สบื ค้นข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ นต็

เกยี่ วกับวรรณคดีเรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร ตอน พันทา้ ยนรสงิ หถ์ วายชวี ิต
โดยใหเ้ วลาในสบื คน้ 10 นาที

7.4 ครเู ปดิ วดี ทิ ศั น์ วรรณคดเี ร่ืองโคลงภาพพระราชพงศาวดาร ตอน พันทา้ ยนรสิงห์
ถวายชวี ิต ใหน้ กั เรยี นดอู ีกครั้งเพือ่ พิจารณาเนอื้ เรื่อง

7.5 ครูอธิบายเนอื้ หาและแนวทางการทำงานเพ่ิมเติม
ขัน้ การสร้างความรู้ (Learning to Construct)

7.6 ครูแจกใบงานท่ี 5 เรอ่ื ง คณุ ค่าและขอ้ คดิ ตอน พันท้ายนรสิงหถ์ วายชีวติ
ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั หาคำตอบ

7.7 นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มทำใบงาน
ขั้นการส่ือสารและนำเสนออยา่ งมีประสิทธิภาพ (Learning to Communication)

7.8 นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ส่งใบงานและตรวจสอบความเรยี บร้อยก่อนนำสง่ ครู
7.9 ครอู ธบิ ายเนอื้ หาใหน้ ักเรียนเข้าใจและส่มุ เรียกผลงานของนกั เรียนบางกลุ่ม
มานำเสนอเนื้อหาใหเ้ พอ่ื นในหอ้ งร่วมกนั ฟงั และอภปิ รายร่วมกนั
ขน้ั การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Learning to Serve)
7.10 ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรุปบทเรยี น และหาแนวทางเพ่อื นำความร้จู ากบทเรียน
ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน โดยครูอธิบายเนื้อหาเพ่มิ เติมในส่วนทข่ี าด
7.11 ให้นกั เรียนสแกน QR CODE บนสไลดอ์ ิเล็กทรอนิกส์ ในชดุ กิจกรรมที่ 30 เรอ่ื ง
คณุ คา่ และข้อคิด ตอน พันท้ายนรสิงห์ถวายชวี ติ เพอ่ื บนั ทึกการเรยี นรขู้ องตนเองในกิจกรรม learning
logs โดยการบนั ทกึ ผ่านโปรแกรมประยุกตบ์ ันทึกการเรยี นรูอ้ อนไลน์

1) สง่ิ ท่ีฉันไมแ่ นใ่ จ/ไม่เข้าใจในบทเรียนคอื .....
2) ฉันจะนำความรู้จากบทเรียนไปประยุกต์ใชใ้ นเรื่อง.....

7.12 นกั เรยี นสแกน QR CODE บนสไลด์อิเล็กทรอนกิ ส์ ในชดุ กิจกรรมที่ 30 เร่อื ง
คณุ คา่ และข้อคิด ตอน พันทา้ ยนรสิงห์ถวายชีวิต เพื่อทำแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6
การพดู สรุปความจากเร่ืองที่ฟังและดู จำนวน 10 ข้อ จากโปรแกรมประยกุ ต์การทำแบบทดสอบ
ออนไลน์ เพ่ือตดิ ตามความก้าวหนา้ ในการเรียนรู้ของนกั เรยี น

25

8. การวดั ผลประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวัดผล เครอื่ งมอื เกณฑ์

8.1 อธิบายคณุ คา่ ข้อคดิ ของ แบบสงั เกต 1. ตอบคำถามเกยี่ วกบั ระดับคุณภาพ 3
โคลงพระราชพงศาวดาร ตอน
พนั ท้ายนรสงิ ห์ถวายชีวติ ได้ คุณคา่ และข้อคิด ตอน พัน ผ่านเกณฑ์
8.2 สรุปคุณค่าและข้อคิดโคลง ตรวจใบงาน
พระราชพงศาวดาร ตอน ทา้ ยนรสิงห์ถวายชวี ติ
พันท้ายนรสงิ ห์ถวายชีวิต
8.3 เหน็ ความสำคญั ของ แบบสังเกต 2. ใบงานท่ี 5 เรอื่ ง คณุ ค่า ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60
การศึกษาวรรณคดีไทย
และนำไปประยุกตใ์ ช้ และข้อคิด ตอน
ในชวี ติ ประจำวันได้
พนั ท้ายนรสิงห์ถวายชวี ิต

3. แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 3

คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์

อันพงึ ประสงค์

9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้
9.1 ชดุ กจิ กรรมที่ 26 เร่ือง คุณค่าและข้อคิด ตอน พระสุริโยทัยขาดคอชา้ ง
9.2 ใบงานที่ 5 คุณค่าและข้อคิด ตอน พันทา้ ยนรสิงห์ถวายชวี ติ
9.3 หนงั สือเรยี นวรรณกรรมและวรรณคดี ม.2
9.4 เว็บเบราว์เซอร์/อนิ เทอร์เน็ต
9.5 โปรแกรมประยกุ ตบ์ ันทึกการเรยี นรู้ออนไลน์
9.6 โปรแกรมประยกุ ตก์ ารทำแบบทดสอบออนไลน์

26

10. บนั ทกึ หลงั สอน
10.1 ผลการจดั การเรียนรู้
 สอนได้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้ มีจุดประสงค์  K  P  A
 มีการบูรณาการ คณุ ธรรม/การตา้ นการทจุ รติ /หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
 มีกระบวนการทำงานกลุ่ม/การสบื คน้ ข้อมลู /การใชเ้ ทคโนโลยี
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เน่ืองจาก....................................................................
 ............................................................................................................................. ...................
 อ่นื ๆ ....................................................................................................................................
10.2 ผลการเรียนรูต้ ามจุดประสงค์
 จำนวนนักเรียนทผี่ า่ นการประเมนิ ................... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ .................................
 จำนวนนกั เรยี นที่ไม่ผา่ นการประเมิน .................. คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ...............................
สาเหตุ....................................................................................................................... ...........
แนวทางแก้ปญั หา................................................................................................................
 อน่ื ๆ ...................................................................................................................................

10.3 ปัญหาและอุปสรรค
 กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 นักเรยี นทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไม่ทนั ตามกำหนดเวลา
 นักเรยี นทไ่ี ม่สนใจเรยี น
 อ่นื ๆ ...................................................................................................................... .............

10.4 ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรุง เรื่อง ..............................................................................................
 ............................................................................................................................. ...................
 ................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนกั เรยี นท่ีไมผ่ ่านการประเมิน/ไมส่ นใจเรียน ................................................
 ................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................. ...................
 อื่น ๆ ...................................................................................................................................

ลงช่อื ................................................... ผบู้ ันทกึ
(นางสาวอารยี วฒั น์ พงษ์นิรันดร)
ครูผูส้ อน

27

ภาคผนวก

28


Click to View FlipBook Version