The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยทางการศึกษา ปี2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายณัฏฐชัย มาตา, 2021-03-16 07:55:39

วิจัยทางการศึกษา ปี2563

วิจัยทางการศึกษา ปี2563

งานวิจยั ในช้ันเรียน

การพัฒนาบทเรยี นออนไลนร์ ายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ
สาหรับนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔

จงั หวดั พะเยา สงั กดั สานักบริหารงานการศึกษา

นายณัฏฐชยั มาตา

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา

สงั กัดสานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

2

บทที่ 1

บทนา

ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา

การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ัง ร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา ความรู้ และคณุ ธรรม มจี ริยธรรมและวฒั นธรรมในการดารงชวี ติ สามารถอยรู่ ว่ มกับผูอ้ ่นื ได้
อย่างมีความสุข ในกระบวนการเรียนรูต้ ้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่
เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจใน
ความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมท้ังส่งเสริมศาสนา ศิลปะ
วัฒนธรรม ของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจน
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพ่ึงตนเอง มี
ความริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง ดังนั้นผู้สอนจะต้องศึกษาเป้าหมายและ
ปรัชญาของการจัดการเรียนรใู้ ห้เข้าใจอย่างถ่องแท้ ทาความเข้าใจเก่ียวกับหลักการ ทฤษฎีการเรียนรู้
ตา่ งๆ ตลอดจนกระบวนการเรยี นการสอนทเี่ น้นกระบวนการและผเู้ รียนเปน็ สาคญั แลว้ พิจารณาเลอื ก
นาไปใช้ออกแบบกิจกรรมที่หลากหลายให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ เหมาะกับสภาพแวดล้อมของ
โรงเรยี นและแหล่งความร้ทู ้องถน่ิ ซ่ึงสอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน ที่โรงเรียนจะต้องจัดการเรียนรู้
ของโรงเรียน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึ งประสงค์ เทียบเคียงมาตรฐานสากล
(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒. 2542: 3)

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลังของชาติให้
เป็นมนุษย์ท่ีมีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและ
เป็นพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มี
ความรแู้ ละทักษะพ้ืนฐาน รวมท้งั เจตคติ ท่ีจาเป็นตอ่ การศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษา
ตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ (หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. 2551: 4)

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนน้ันสามารถทาได้โดยเร่ิมจากการ
พิจารณาและกาหนดเป้าหมายเบื้องต้น ท่ีสาคัญของหลักสูตรว่าหลักสูตรที่จัดทานั้น มีเป้าหมายเพ่ือ
อะไร ทัง้ โดยสว่ นรวมและส่วนย่อยของหลักสตู รนน้ั ๆ อยา่ งชัดเจน แลว้ จงึ เลอื กกจิ กรรมการเรียนการ

3

สอนและวัสดุประกอบการเรียนการสอน การเลือกสรรเนื้อหาสาระเพื่อการอ่าน การเขียน การทา
แบบฝึกหัด หัวข้อสาหรับการอภิปราย กิจกรรมท้ังในและนอกห้องเรียน และประการสุดท้ายคือการ
กาหนดระบบการจัดวัสดุอุปกรณ์และการจัดการเรียนการสอน ตลอดท้ังการทดลองที่เป็นประโยชน์
และเหมาะสมกับการเรียนการสอนแต่ละวิชาและแต่ละช้นั เรียน (วิชัย ดิสสระ. 2535: 31) ซึ่งเม่ือได้
จัดทาหลักสูตรแล้วกระบวนการต่อมาคือการนาหลักสูตรไปใช้ให้บรรลุผลตามท่ีวัตถุประสงค์ของ
หลักสตู รกาหนดน้นั จะต้องอาศัยความรว่ มมอื รว่ มใจจากหลาย ๆ ฝ่าย โดยเฉพาะอย่างย่ิงบุคลากรใน
ในโรงเรียน ครูผู้สอนจะเป็นตัวจักรสาคัญท่ีจะทาให้การพัฒนาหลักสูตรบรรลุจุดมุ่งหมาย
(ใจทิพย์ เชอื้ รตั นพงษ.์ 2539: 147)

จากการที่สถานศึกษาต้องจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติดังกล่าว
สถานศึกษายังมีข้อจากัดในด้านบุคลากรและงบประมาณในการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามความ
ต้องการของสังคม การใช้สื่อการสอนเป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถแก้ปัญหานี้ได้ และในบรรดาสื่อ
ทั้งหลาย บทเรียนออนไลน์เป็นทางเลือกที่มีผลงานวิจัยจานวนมากว่าสามารถสร้างมโนทัศน์ให้กับ
ผู้เรียนได้เป็นอย่างดี และแก้ไขปัญหาการเรียนการสอนได้ ประกอบกับปัจจุบันข้อจากัดในการสร้าง
และใช้บทเรียนออนไลน์มีน้อยลง ด้วยเหตุผลด้านอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องมีราคาถูกลง โปรแกรมสาหรับ
การพัฒนาบทเรียนออนไลน์มมี ากขน้ึ และแพร่หลาย ครผู ู้สอนเองสามารถพัฒนาปรับปรงุ ตนเองให้ใช้
ความสามารถทางด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มขนึ้

บทเรียนออนไลน์สามารถแกป้ ญั หาความแตกตา่ งระหว่างบุคคล เพราะบทเรียนออนไลน์
สามารถให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถ ความสนใจ และความพร้อมโดยไม่ต้องกังวลขณะเรียน
บทเรียนออนไลน์เป็นส่ือสาเร็จรูปท่ีสร้างขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการและแก้ปัญหาความ
แตกต่างระหว่างบุคคลได้ ช่วยใหผ้ เู้ รียนสามารถเรียนได้ตามความถนดั และความสามารถของตนเอง

อินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมต่อกันท่ัวโลกมีมาตรฐานการรับส่งข้อมูล
ระหว่างกันเป็นหน่ึงเดียว ซึ่งคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถรับส่งข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ได้หลาย
รูปแบบ ความสามารถของอินเตอร์เน็ตในด้านการค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลด้านวิชาการ
ด้านความก้าวหน้าทางวิทยาการ หรือด้านต่างๆ ล้วนทาได้อย่างรวดเร็วในเวลาไม่ก่ีวินาที จาก
แหล่งข้อมูลทั่วทุกมุมโลก ซึ่งข้อมูลเหล่าน้ีอาจเป็นได้ท้ังข้อความ รูปภาพ เสียง หรอื แม้แต่ข้อมูลแบบ
มลั ติมีเดีย

ปัจจุบันมีการวิจัยและผลิตสื่อท่ีใช้ประกอบการเรียนการสอนบนเว็บไซต์กันมากข้ึน ดังนั้น
ผ้วู ิจัยจึงได้สร้างบทเรียนออนไลน์ รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ข้ึน เพื่อใช้
ประกอบการเรียนการสอนในเรื่องดังกล่าว โดยภายในบทเรียน ผู้วิจัยมีความคาดหวังว่าผู้เรียนจะได้
เห็นความเป็นรูปธรรมมากข้ึน โดยใช้คุณสมบัติของบทเรียนออนไลน์ช่วยในการทาให้บทเรียน

4

ออนไลน์น้ี มีความน่าสนใจ เพราะประกอบด้วยรูปภาพ เสียง ภาพเคล่ือนไหว ตลอดจนมีความ
ยืดหยุน่ สามารถปรบั เปล่ียนเนอื้ หาใหท้ ันสมัยได้

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา มีภารกิจในด้านการจัดการศึกษาให้กับ
นกั เรียนตง้ั แต่ระดับประถมศึกษาปที ่ี 1 ถึงมัธยมศึกษาช้ันปีที่ 6 ซึ่งปัจจุบันประสบปัญหาดา้ นการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน และการใช้ส่ือการสอนท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน คือ ผู้เรียนไม่สนใจฟังครู
บรรยาย ไม่มีความเข้าใจในการใช้งานอินเตอร์เน็ต และมีการเปิดใช้งานโซเซียลเน็ตเวิร์คในห้องเรียน
ทาให้การเรียนการสอนไม่เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ ผู้วิจัยในฐานะผู้สอนตระหนักในปัญหา
ดังกล่าว จึงมีความสนใจที่จะพัฒนาบทเรียนออนไลน์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับนักเรียน
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา สังกัดสานักบริหารงานการศกึ ษา
พิเศษโดยประยุกต์ส่ือบทเรียนออนไลน์ เพื่อพัฒนาระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
เทคโนโลยสี ารสนเทศของนักเรยี นตอ่ ไป

วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษา

1. เพ่ือพัฒนาบทเรียนออนไลน์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับนักเรียน
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๔จงั หวัดพะเยา สงั กดั สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ

2. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนหลังการใช้สอ่ื การเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ สงู กว่า
กอ่ นการใชส้ อ่ื การเรยี นการสอนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์

สมมตฐิ านของการศึกษา

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้สื่อการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ สูงกว่าก่อน
การใช้ส่ือการเรยี นการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์

ขอบเขตของการศกึ ษา

1. ในการศึกษาและพัฒนาคร้ังน้ีเป็นการสร้างและพัฒนาสอ่ื การเรียนการสอนท่ีเป็นบทเรียน
ออนไลน์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานุ
เคราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา สังกัดสานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

5

2. ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ีคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ห้อง 1 ของโรงเรียน5
โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔จงั หวัดพะเยา ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 จานวน 45 คน

นยิ ามศพั ท์เฉพาะ

บทเรียนออนไลน์ หมายถึง บทเรยี นรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นสื่อการเรียนการ
สอน โดยใช้ WordPress ซึ่งเป็น CMS (Content Management System) คือระบบท่ีนามาช่วยใน
การสรา้ งและบริหารเว็บไซต์แบบสาเร็จรูปชนิดหนึ่ง ในบทเรียนประกอบด้วยเน้ือหา แบบฝึกหัดก่อน
เรียน-หลังเรยี น ทผ่ี ูเ้ รยี นสามารถเรยี นไดด้ ้วยตนเอง

การจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนด้วย
บทเรียนออนไลนท์ ่ีสรา้ งขน้ึ โดยมีการทาแบบทดสอบก่อน แล้วรับฟังการอธิบายของครูไปพรอ้ มๆ กับ
การเปิดบทเรียนออนไลน์เพื่อศึกษาของผู้เรียน หลังจากจบการบรรยาย ผู้เรียนจะได้ทาแบบทดสอบ
หลังเรยี น

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรียนท่ีได้จากการทดสอบก่อนและ
หลงั เรียน เป็นแบบทดสอบที่ผสู้ อนสรา้ งขนึ้ และได้รบั การตรวจสอบคณุ ภาพแลว้

ผูเ้ รียน หมายถงึ นักเรยี น/ผ้เู รยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔
จังหวดั พะเยา สังกดั สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากการศึกษา

1. ช่วยให้ครูผู้สอนรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีสื่อบทเรียนออนไลน์รายวิชา
เทคโนโลยสี ารสนเทศ สาหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้สื่อการเรียนการสอนดว้ ยบทเรียนออนไลน์ สูงกว่า
ก่อนการใช้สอื่ การเรยี นการสอนดว้ ยบทเรียนออนไลน์

6

บทท่ี 2

แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวิจัยท่เี ก่ยี วข้อง

การศึกษาการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ระหวา่ งการจัดการ
เรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์กับ การเรียนการสอนแบบปกติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนราช
ประชานุเคราะห์ ๒๔จังหวัดพะเยาสังกดั สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษผู้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและ
งานวิจัยที่เกย่ี วขอ้ งมาเปน็ แนวทางในการศึกษาดังนี้

1. หลกั สูตร กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2. แนวคิดและทฤษฎเี ก่ียวกับบทเรยี นออนไลน์
3. แนวคิดและทฤษฎเี กย่ี วกบั การสอน
4. งานวิจยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

1. หลักสตู ร กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี

ทาไมต้องเรยี นการงานอาชพี และเทคโนโลยี
ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เรี ย น รู้ ก า ร ง า น อ า ชี พ แ ล ะ เท ค โน โล ยี เป็ น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ท่ี ช่ ว ย พั ฒ น า ให้ ผู้ เรี ย น
มีความรู้ ความเข้าใจ มีทกั ษะพื้นฐานท่ีจาเปน็ ต่อการดารงชีวติ และร้เู ทา่ ทนั การเปลี่ยนแปลง สามารถนาความรู้
เก่ียวกับการดารงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยีมาใชป้ ระโยชนใ์ นการทางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ และแขง่ ขัน
ในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทางาน และมีเจตคติท่ีดีต่อการทางาน สามารถ
ดารงชวี ิตอย่ใู นสงั คมไดอ้ ยา่ งพอเพยี ง และมีความสขุ

เรียนรู้อะไรในการงานอาชีพและเทคโนโลยี

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพื่อให้มีความรู้

ความสามารถ มีทักษะในการทางาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ ได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ โดยมสี าระสาคัญ ดังนี้

• การดารงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเก่ียวกับการทางานในชีวิตประจาวัน ช่วยเหลือตนเอง

ครอบครัว และสงั คมได้ในสภาพเศรษฐกจิ ทพ่ี อเพยี ง ไมท่ าลายสงิ่ แวดล้อม เน้นการปฏบิ ตั ิจริงจนเกดิ ความมัน่ ใจและ

ภมู ิใจในผลสาเรจ็ ของงาน เพ่ือใหค้ ้นพบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของตนเอง

• การออกแบบและเทคโนโลยี เป็นสาระการเรียนรู้ท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถของมนุษย์

อย่างสร้างสรรค์ โดยนาความรู้มาใช้กับกระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่งของ เคร่ืองใช้ วิธีการ หรือเพิ่ม

ประสิทธภิ าพในการดารงชีวิต

• เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เป็นสาระเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศ การ

ติดต่อส่ือสาร การค้นหาข้อมูล การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรือการสร้างงาน คุณค่าและผลกระทบ

ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร

7

• การอาชพี เปน็ สาระท่ีเก่ยี วขอ้ งกับทกั ษะที่จาเปน็ ต่ออาชีพ เหน็ ความสาคัญของคุณธรรม จริยธรรม
และเจตคตทิ ่ีดีตอ่ อาชีพ ใช้เทคโนโลยไี ด้เหมาะสม เห็นคุณคา่ ของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเพ่อื การดารงชีวิตในสงั คมทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลง
อย่างรวดเรว็ ใชค้ วามรู้และทกั ษะทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อน่ื ๆ เพ่ือแกป้ ัญหาหรอื พฒั นางาน
อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึง
ผลกระทบต่อชีวิต สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น
ขั้นตอนและเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแกป้ ัญหาได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ รูเ้ ท่าทัน และมจี ริยธรรม

คณุ ภาพผู้เรยี น

จบช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

• เข้าใจกระบวนการทางานท่ีมีประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางาน มีทักษะการ

แสวงหาความรู้ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาและทักษะการจัดการ มีลักษณะนิสัยการทางานท่เี สียสละ มีคุณธรรม

ตัดสินใจอย่างมีเหตุผลและถูกต้อง และมีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างประหยัดและ

คมุ้ คา่

• เข้าใจกระบวนการเทคโนโลยีและระดับของเทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์ ใน

การแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ สร้างส่ิงของเคร่ืองใช้หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่างถูกต้อง

และปลอดภัย โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพฉายเพ่ือนาไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือแบบจาลองความคิดและการ

รายงานผล เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรคต์ อ่ ชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม

2. แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ียวกับบทเรียนออนไลน์

ไพฑูรย์ ศรีฟ้า (อินเตอร์เน็ต, 2544) กล่าวว่า e-Learning คือการเรียนการสอนทางไกลท่ีใช้สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ผ่านทาง เวิลด์ ไวด์ เว็บ (www) ซ่ึงผู้เรียนและผู้สอนใช้เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน
ผ้เู รยี นสามารถเข้าถึงแหลง่ ข้อมูลมากมายที่มอี ยทู่ ั่วโลกอย่างไรข้ อบเขตจากดั ผ้เู รียนสามารถทากจิ กรรมหรอื แบบฝึก
ปฏิบัติต่างๆ แบบออนไลน์โดยใช้เคร่ืองมือที่ช่วยอานวยความสะดวกอยู่ใน เวิลด์ ไวด์ เว็บ เป็นการเรียนการสอน
แบบออนไลน์ที่ได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน เพราะไม่มีขีดจากัดเร่ืองระยะทาง เวลา และสถานที่ อีกท้ังยัง
สนองตอบต่อศกั ยภาพและความสามารถของผูเ้ รียนไดเ้ ปน็ อย่างดี

ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545, หน้า 15-16) ได้ให้คาจากัดความบทเรียนออนไลน์ไว้ 2 ความหมาย
ความหมายแรกบทเรียนออนไลน์ หมายถึง การเรียนเน้ือหา หรือสารสนเทศสาหรับการสอน หรือการอบรม ซึ่งใช้
การนาเสนอด้วยตัวอักษร ภาพนิ่ง ผสมผสานกับการใชภ้ าพเคล่ือนไหว วดิ ีทัศน์ และเสียง โดยอาศัยเทคโนโลยีของ

8

เว็บ (Web Technology) ในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมท้ังใชเ้ ทคโนโลยีการจัดคอร์สในการบริหารจดั การงานสอนต่างๆ
ความหมายท่ีสองคือการเรียนในลักษณะใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น
คอมพิวเตอร์ เครือขา่ ยอินทราเน็ต อนิ เทอร์เนต็ เอ็กซทราเนต็ หรือสัญญาณโทรศัพทด์ าวเทยี ม

บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ (2547, หน้า 32) กล่าวว่า อีเลิร์นน่ิง คือ การใช้ทรัพยากรต่างๆ ในระบบ
อินเทอร์เน็ตมาออกแบบและจัดระบบ เพื่อสร้างระบบการเรียนการสอน โดยการสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการ
เรียนรอู้ ยา่ งมคี วามหมาย ตรงกับความต้องการของผู้สอนและผู้เรียนเชอื่ มโยงระบบเปน็ เครอื ข่ายที่สามารถเรยี นรูไ้ ด้
ทุกท่ี ทุกเวลา และทกุ คน

รสริน พิมลบรรยงก์ (2551, หนา้ 364) ได้ใหค้ าจากัดความบทเรียนออนไลน์ ว่า การนาคอมพิวเตอร์ชว่ ย
สอนที่กาหนดเน้ือหาเฉพาะในหน่วยการเรียนการสอนตามหลักสูตรมาผนวกกับเครื่องมือต่างๆ ในเครือข่าย
อินเทอรเ์ น็ต เพ่ือชว่ ยในการจดั การเรียนการสอนโดยใชเ้ วบ็ บราวเซอรเ์ ป็นตวั จัดการ กระบวนการในการจดั การเรยี น
การสอนจะประกอบดว้ ยวธิ สี อน สื่อในการใชเ้ พื่อเป็นตวั กลาง และวสั ดอุ ุปกรณ์ประกอบการสอน

จากแนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับบทเรียนออนไลน์ข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า เป็นการเรียนการสอนท่ีใช้สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ผ่านทาง เวิลด์ ไวด์ เว็บ (www) ซึ่งผู้เรียนและผู้สอนใช้เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน
ผเู้ รียนสามารถเขา้ ถึงแหลง่ ขอ้ มูลมากมายท่ีมอี ยทู่ ่วั โลกอย่างไรข้ อบเขตจากดั สามารถทากจิ กรรมหรือแบบฝกึ ปฏิบัติ
ต่างๆ แบบออนไลน์โดยใชเ้ ครอ่ื งมือทีช่ ว่ ยอานวยความสะดวกอยู่ใน เวลิ ด์ ไวด์ เวบ็

3. แนวคิดและทฤษฎเี กี่ยวกบั การสอน

รองศาสตราจารย์ อนงค์ศิริ วิชาลัย (อินเตอร์เน็ต, 2555) กล่าวว่า คาว่า"ส่ังสอน" เป็นคาศัพท์ท่ี
สงั คมไทยใช้มานาน มีความหมายตามพจนานุกรมหมายถึงชี้แจงให้เข้าใจและบอกให้ทา โปรดพจิ ารณาให้ดีว่าคาว่า
สั่งสอนประกอบด้วยคา "ส่ัง"และ"สอน" น่ันหมายความว่า คาสั่ง เป็นส่ิงท่ีผเู้ รยี นต้องทา ตอ้ งปฏิบัติตาม ส่วนคาสอน
เป็นข้อแนะนาให้ไตร่ตรอง ใคร่ครวญให้ดีแล้วจึงทา แสดงถึงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษของไทย ใช้ในการอบรม
ฝึกฝน กุลบุตรกุลธิดา ด้วยวิธีคิดที่แยบยล นอกจากคาว่าส่ังสอนแล้วสังคมไทยของเรายังมีคาว่า ฝึกฝน ฝึกหัด
ฝกึ ปรือ เช่น การฝกึ ฝนของครูไทยนิยมใช"้ น้าใส ใบยอ กอไผ่" เปน็ ตน้

ตอ่ มาเรารบั การศึกษาจากตะวนั ตกและ มีคาว่า "การสอน"(Teach) การเรยี นการสอน(Instruction) และการ
เรียนรู้(Learning) เลยลืมคาว่าส่ังสอนของเดิมและที่รับมายังมีความเข้าใจสับสน เนื่องจากคาศัพท์ภาษาไทยอาจดู
คลา้ ยๆกัน แต่ภาษาองั กฤษเข้าใจชัดเจนยง่ิ กว่า

การสอน หมายความว่าอยา่ งไร คาวา่ "สอน" หมายถึง บอกวชิ าความรู้ให้ แสดงให้เข้าใจโดยบอกวิธีหรอื ให้
ทาให้เห็นเป็นตัวอย่าง คนส่วนใหญ่จึงเข้าใจว่าการสอน คือการถ่ายทอดความรู้โดยการบอก อธิบายขยายความให้
เขา้ ใจ ครจู ึงเปน็ ผู้รู้ เป็นผู้มีประสบการณ์เหนือกว้าผูเ้ รียน แต่นักวิชาการ อธิบายความหมายของการสอนไวว้ ่า เป็น
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งผ้สู อนและผู้เรียน เพื่อทาให้เกิดการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมตามท่คี าดหวัง จากไม่รู้
เปน็ ผู้มคี วามรู้ มคี วามเข้าใจ จากที่ทาไมไ่ ดห้ รือทาไมเ่ ปน็ เปน็ ผ้ทู าได้ทาเปน็ เป็นต้น

9

สรุปได้ว่า การสอนเป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมท่ีต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เกิดทักษะ
และเจตคติท่ีดี มี 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) เป็นการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติที่คนทุกคนศึกษาเรียนรู้ได้จากธรรมชาติ
สิง่ แวดล้อมและผคู้ นในสังคมเป็นครู ดังสานวนไทยท่ีว่า ผิดเป็นครู ธรรมชาติสอนให้รู้ หรือ ครูพักลักจา เป็นต้น 2)
เป็นการเปลี่ยนแปลงดดยมีผู้วางเง่ือนไข เจตนาถ่ายทอดแต่ยงั ไม่เป็นระบบ เช่น พ่อ แม่ ปู่ย่า ตายาย สอนอาชีพให้
ลูกหลาน หรืออบรมส่ังสอนความประพฤติ 3) เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยมีผู้วางเงื่อนไขให้เกิดอย่างเป็น
ระบบ แบบแผนชัดเจน โดยกาหนดหลักสูตร เน้ือหาสาระ กิจกรรม การวัดผลและประเมินผล เช่นการสอนใน
โรงเรยี น เป็นต้น

การเรยี นการสอน หมายความ เป็นกจิ กรรมท่ผี สู้ อนและผู้เรียนร่วมมือกันดาเนนิ กิจกรรมเพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นเกิด
ความรู้ ทักษะเจตคติ โดยมีการวางแผนการจัดกจิ กรรมเปน็ ลาดับข้นั ตอน

การเรียนการสอนตา่ งจากการสอนเพราะ 1) การเรยี นการสอนคานงึ ถึงการเรียนรขู้ องผู้เรยี น ผู้เรยี นมสี ่วน
ร่วมกิจกรรมมากกว่า 2) การเรียนการสอนเป็นการถ่ายทอดความรู้ ทักษะและเจตคติอย่างมีข้ันตอนหรือเป็น
กระบวนการมากกว่าการสอน 3) การเรียนการสอนกว้างกว่าการสอนเพราะครอบคลุมปฏิสัมพันธ์มากยิ่งกว่า
ระหว่างบุคคลต่อบคุ คล เชน่ บคุ คลกบั ส่อื อุปกรณ์ สถานที่ต่างๆ มากกว่าครูกับนกั เรยี น 4) การเรียนการสอนจัดข้ึน
โดยต้ังใจจะให้เกดิ สถานการณ์ แต่การสอนเกิดข้นึ ไดท้ ุกเวลาและสถานที่

การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลงั จากได้รับประสบการณ์ ปรากฏเป็นพฤตกิ รรมทม่ีสงั เกตได้
จากสิ่งท่ีไมร่ ้หู รือไม่เคยทามาก่อน เปน็ ความรูแ้ ละทักษะหรอื ความสามารถทปี่ ฏิบตั ิได้

การเรียนรเู้ ป็นการเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมทค่ี ่อนข้างถาวร หมายความว่า ผลทีไ่ ด้รับจากการเรียนรูจ้ ะตอ้ ง
ปรากฏเป็นพฤติกรรมในระยะส้นั ๆ แตก่ ไ็ ม่ใชไ่ มม่ กี ารเปล่ยี นแปลงอกี ตอ่ ไป

การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอันเนื่องมาจากการเรียนรู้น้ัน ไม่จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงทันทีทันใด อาจเป็น
การเปลยี่ นแปลงศกั ยภาพทจี่ ะกระทาในอนาคตกไ็ ด้

ประสบการณห์ รอื การฝึกปฏิบัตทิ ่ีทาใหเ้ กดิ การเรยี นรนู้ ั้น ผเู้ รยี นต้องไดร้ บั การเสริมแรง

จากแนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับการสอน สามารถสรุปได้ว่า การสอนเป็นกระบวนการเปล่ียนแปลง
พฤตกิ รรมทตี่ อ้ งการใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ เกิดทกั ษะและเจตคติทีด่ ี

10

4. งานวจิ ัยท่เี ก่ียวขอ้ ง

รจุ โรจน์ แก้วอไุ ร (2543, หนา้ 40) ได้ทาการศกึ ษาเร่ือง การพฒั นาระบบการเรยี นการสอนผ่านเครอื ขา่ ย
ใยแมงมุง โดยศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนิสิตท่ีเรียนผ่านเครือข่ายใยแมงมุมกับนิ สิตท่ีเรียน
ตามปกติ พบวา่

1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตที่เรียนผ่านเครือข่ายใยแมงมุมสูงกว่านิสิตท่ีเรียนโดยวิธีปกติ
อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .01

2) นิสิตท่ีเรียนผ่านระบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายใยแมงมุมมีเจตคติท่ีดีต่อการเรยี นการสอน
เครือข่ายใยแมงมมุ อยใู่ นระดับมาก

อนวุ ัติ คูณแกว้ (2547, หน้า 26) จากการเปรยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น วิชาหลักการวดั และประเมินผล
การศึกษาก่อนและหลังการเรียนรผู้ ่านสื่ออิเล็กทรอนิกสโ์ ดยใชบ้ ทเรียนออนไลน์ พบวา่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ า
หลักการวัด และประเมนิ ผลการศึกษา หลงั เรยี นสงู กว่าก่อนการเรียนรู้ผา่ นสอ่ื อิเล็กทรอนกิ สโ์ ดยใช้บทเรยี นออนไลน์
อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติทรี่ ะดับ .01 แสดงว่าการเรยี นรผู้ ่านสื่ออิเล็กทรอนิกสโ์ ดยใช้บทเรียนออนไลน์ ทาใหผ้ ู้เรียน
ก้าวหน้าในการเรียนรู้จริง ซึ่งผลการวิจัยครั้งน้ีสอดคล้องกับงานวิจัยของวรนุช เนตรพิศาลวนิช (2544, บทคัดย่อ)
จากการศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้บทเรียนออนไลน์วิชาหลักการวัด และ
ประเมินผลการศกึ ษา พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจมาก เพราะมีความอสิ ระในการเรียนรู้ สามารถศึกษาค้นคว้า
ได้ตลอดเวลา ฝึกนิสัยให้นักศึกษารู้จักรับผิดชอบในการเรียนรู้จากการค้นคว้า และศึกษาด้วยตนเอง ได้เรียนรู้
คอมพวิ เตอร์และอนิ เตอร์เน็ตไปด้วย

กนกวรรณ เฟ่ืองวิจารณ์ (2549, หน้า 107) ได้ศึกษาเร่ืองการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ระหว่างการจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์
กับการเรียนการสอนแบบปกติ ผลปรากฏว่า ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์เรื่องอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นสาหรับ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 มีค่าเท่ากับ 80.20/87.85 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นสาหรับ
นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 กลมุ่ ทีไ่ ด้รบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ บบออนไลนส์ งู กว่ากลุ่มทไ่ี ดร้ ับการเรียนรู้แบบ
ปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นสาหรับนักเรียนชั้น
มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ทไ่ี ดร้ ับการจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบออนไลน์หลงั เรียนสงู กวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ
ท่รี ะดับ .01

ศศิวิมล แสงสวุ รรณ (อินเตอรเ์ น็ต, 2551) ได้ศึกษาผลการสร้างบทเรียนออนไลนเ์ พ่ือสอนซอ่ มเสริมวิชา
คณิตศาสตร์ เร่ืองทฤษฎีพีทากอรัส สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผ่านระบบ อีเลิร์นนิ่งของโรงเรียนปรินส์
รอยแยลวิทยาลัย ผลการศึกษาจะเหน็ ว่านักเรียนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริมผ่านระบบ อีเลิร์นน่ิงของโรงเรียนปรินส์
รอยแยลวทิ ยาลัย สามารถสอบผ่านเกณฑ์การประเมินได้จานวนมากกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนซ่อมเสรมิ จากครู
เพียงอย่างเดียว รูปแบบการเรียนซ่อมเสริมผ่านอีเลิร์นน่ิงในลักษณะน้ีเป็นรูปแบบใหม่สาหรับผู้เรียน ทาให้ผู้เรียน
สนใจและมีความรบั ผิดชอบต่อตนเองมากย่ิงข้ึน จงึ เหมาะทีจ่ ะนาไปพัฒนาในเรื่องอืน่ ๆ อกี ตอ่ ไป

11

ชุลมี าดร บรรณจงส์ (2553, หน้า 62) ได้ศกึ ษาผลการใช้บทเรยี นออนไลน์ตามแนวคดิ ทฤษฎีการสร้างองค์
ความร้ดู ว้ ยตนเอง เร่อื งความน่าจะเป็น วชิ าคณติ ศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธภิ าพของ
บทเรียนออนไลน์ตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่องความน่าจะเป็น วิชาคณิตศาสตร์ ช้ัน
มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 มคี ่า E1/E2 เทา่ กบั 84.75/76.11 เปน็ ไปตามเกณฑท์ ี่ตั้งไวท้ ่ี 75/75 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นหลงั เรียน
เรอื่ งความน่าจะเป็น วิชาคณิตศาสตร์ กลุม่ ที่สอนโดยใชบ้ ทเรียนออนไลน์ตามแนวคดิ ทฤษฎีการสรา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ย
ตนเอง สูงกว่ากลุ่มท่ีสอนแบบปกติ อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดับ .05 ความพึงพอใจต่อการเรยี นของนักเรียนชั้น
มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ท่ีสอนโดยใช้บทเรยี นออนไลน์ตามแนวคดิ ทฤษฎีการสรา้ งองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง อยใู่ นระดบั มาก

12

บทท่ี 3

วิธีดาเนนิ การศกึ ษา

การศึกษาการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับนักเรียน
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา สังกัดสานักบริหารงาน
การศึกษาเป็นการศึกษาเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลน้ัน ผู้ศึกษาใช้แบบทดสอบก่อนเรียน
หลังเรียน ท่ีผู้ศึกษาสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยรายละเอียดเก่ียวกับวิธี
การศกึ ษามีดังน้ี

1. ขน้ั ตอนการดาเนนิ การศกึ ษา
2. ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง
3. เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการศึกษา
4. วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
6. สถิติทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู

ขัน้ ตอนการดาเนนิ การศกึ ษา

การศึกษาครั้งน้ีผู้ศึกษาได้กาหนดขั้นตอนการดาเนินการศกึ ษา โดยทาตามลาดับข้นั ตอน
การศกึ ษาไว้ 3 ขั้นตอน ดังนี้

ข้ันตอนที่ 1 การจัดเตรยี มวางแผนดาเนนิ การ
ข้ันตอนนี้ผู้ศึกษาได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบทเรียน
ออนไลน์รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานุ
เคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา สังกัดสานักบริหารงานการศึกษา โดยกาหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ขอบเขตการศึกษา กรอบแนวคิดของการศึกษา คานิยามศัพท์เฉพาะ ขั้นตอนการดาเนินการศึกษา
ประชากรและเครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการศึกษา

13

ขน้ั ตอนท่ี 2 การดาเนินงาน
ผู้ศึกษาสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาซึ่งเป็นบทเรียนออนไลน์ท่ีมีแบบทดสอบก่อน
เรียน-หลังเรียน กาหนดวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล การวเิ คราะหข์ ้อมูลและการกาหนดสถิตทิ ่ีใช้ในการ
วเิ คราะหข์ ้อมลู และการสรปุ ผล

ข้ันตอนท่ี 3 การรายงานผลการศึกษา
ขั้นตอนนี้เป็นข้ันตอนการจัดทาการรายงานผลการศึกษา จากการสรุปผลการศึกษา
อภิปรายผลและการจดั ทาข้อเสนอแนะ การจัดพมิ พร์ ูปเล่มและการนาเสนอ

ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง

ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาครงั้ น้ี สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ โรงเรียนราชประชา
นุเคราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา สังกดั สานกั บริหารงานการศกึ ษา จานวน 45 คน

เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการศกึ ษา

1. การสรา้ งเครอื่ งมอื
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ี เป็นบทเรียนออนไลน์ท่ีมีแบบทดสอบก่อนเรียน-หลัง
เรียนสร้างจากตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลาง 2551 ลักษณะเป็นแบบทดสอบปรนัยเลือกตอบ 4
ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ ครอบคลุมเน้ือหาสาระตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังท่ีกาหนดไว้ในแผนการ
จัดการเรียนรู้ ผู้วิจัยได้ตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ ได้แก่ ความตรง ความเป็นปรนัย ความ
เชอื่ มน่ั อานาจจาแนก และความยากง่าย

2. การพัฒนาเครื่องมือ
ศกึ ษาหลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

14

วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

การศึกษาครั้งน้ี ผู้ศึกษาให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ศึกษาเน้ือหา แล้วจึงทา
แบบทดสอบหลังเรียน โดยเน้ือหาและแบบทดสอบเปน็ แบบออนไลน์ท้งั หมด โดยมวี ิธีการเกบ็ รวบรวม
ข้อมลู ดงั นี้

1. ผู้เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนย่อยในบทท่ี 1
3. ผเู้ รยี นศึกษาเนอื้ หาทผี่ ูศ้ ึกษาเตรยี มไว้ในบทเรยี นออนไลน์ บทที่ 1
4. ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบหลังเรียนย่อยในบทที่ 1 และดาเนินการตามข้อ 1-4 ไปเรือ่ ย ๆ
จนครบ 11 บทเรีย่ น
5. ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
6. นาผลการทาแบบทดสอบทไ่ี ด้ไปวเิ คราะห์ตามวิธีทางสถิติ

การวิเคราะหข์ อ้ มลู

การวิเคราะห์ข้อมูลคร้ังนี้ ผู้ศึกษานาข้อมูลท่ีได้จากแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียนมา
เปรยี บเทียบคะแนน เพอ่ื หาค่าสถติ ิ

สถิติทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู

ผู้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพ้ืนฐานคือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean)
และคา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ดังต่อไปน้ี

1. คา่ เฉลยี่ () โดยใช้สตู ร (นศิ ารัตน์ ศิลปเดช. 2542: 144)

 = x
N

เมือ่  แทน ค่าเฉลยี่ ของประชากร
N แทน จานวนประชากร

 x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด

2. สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน () โดยใชส้ ตู ร (นิศารตั น์ ศิลปเดช. 2542: 144

15

 = Nx 2 x) 2

(

N (N 1)

เมือ่ x2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะประชากรยกดว้ ยกาลงั สอง
(x)2 แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดยกกาลังสอง
N แทน จานวนประชากร

 แทน ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

3. ค่าสมั ประสิทธิก์ ารกระจาย (C.V.) ใช้ตรวจสอบคุณภาพและประสทิ ธภิ าพการสอนของ

ครผู ู้สอน

C.V. = 


หลังจากได้ค่า C.V. แล้วใหน้ าไปเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์ ดงั นี้

C.V. ตา่ กว่า 10% หมายถงึ ระดับคุณภาพการสอนดี

C.V. ระหวา่ ง 10 – 15% หมายถงึ ระดบั คุณภาพการสอนปานกลาง

C.V. สงู กวา่ 15% หมายถงึ ระดบั คุณภาพการสอนต้องปรับปรงุ

4. คา่ t-test (Dependent) ใช้ในการทดสอบความแตกต่างของคะแนนก่อนเรยี นและหลัง
เรยี น

D
T = N D2   D2

N 1

Df = n-1
สญั ลักษณใ์ นสตู ร t-test (Dependent) มีความหมายดงั น้ี
T = การทดสอบความแตกตา่ งของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรยี น
D = ความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรยี นของนักเรียนแต่ละคนคานวณโดยนา
คะแนนกอ่ นเรียนของแตล่ ะคนตงั้ แลว้ ลบดว้ ยคะแนนหลงั เรยี นของแตล่ ะคนหรือจะใช้
คะแนนหลังเรียนตั้ง แล้วลบด้วยคะแนนก่อนเรียนก็ได้

 D= ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนกอ่ นเรียนและหลังเรยี นของนักเรยี นทกุ คน

D2 = ความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรยี นแตล่ ะคนยกกาลังสอง

16

 D2 = ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนก่อนเรยี นและหลังเรยี นของนักเรียนแต่ละ

คนยกกาลังสอง

D2 = ผลรวมของความแตกตา่ งของคะแนนกอ่ นเรียนและหลงั เรยี นของนักเรียนทกุ คน

ยกกาลังสอง

ND2 = จานวนนักเรียนคูณผลรวมของความแตกตา่ งของคะแนนก่อนเรยี นและหลงั เรยี น

ของนักเรยี นแตล่ ะคนยกกาลงั สอง
N 1 = จานวนคู่ (คะแนนกอ่ นเรยี นกบั หลงั เรยี น) หรือจานวนนักเรียนทั้งหมดลบดว้ ย 1

17


Click to View FlipBook Version