The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by arraya04145, 2021-05-18 11:56:52

อช11003

อช11003

หนงั สอื เรยี นสาระการประกอบอาชพี

รายวชิ า พัฒนาอาชพี ใหมอี ยมู ีกิน

(อช11003)

ระดับประถมศึกษา
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554)

หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
พุทธศักราช 2551

สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หา มจาํ หนา ย

หนงั สอื เรยี นเลม น้ีจัดพมิ พดวยเงินงบประมาณแผนดินเพ่ือการศึกษาตลอดชวี ิตสําหรบั ประชาชน
ลขิ สิทธ์ิเปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 30/2555

หนังสือเรยี นสาระการประกอบอาชีพ

รายวชิ า พฒั นาอาชีพใหมีอยูม กี นิ

(อช11003)

ระดบั ประถมศกึ ษา
ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554

ลิขสทิ ธ์ิเปน ของ สาํ นักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 30/2555



สารบญั หนา

คาํ นาํ 8
สารบญั 9
คาํ แนะนาํ การใชหนงั สือเรยี น 11
โครงสรางรายวชิ าพัฒนาอาชีพใหม ีอยูมีกนิ อช11003 ระดบั ประถมศกึ ษา 13
บทท่ี 1 ศกั ยภาพธุรกจิ 15
18
เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ ความจําเปนในการพัฒนาอาชีพใหม อี ยมู กี นิ 19
เรื่องท่ี 2 ความจําเปนและคุณคาของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ 21
เรื่องที่ 3 การวเิ คราะหตาํ แหนงธรุ กิจ 23
เรื่องที่ 4 การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลา 24
บทท่ี 2 การจดั ทาํ แผนพฒั นาการตลาด 25
เรื่องท่ี 1 การกาํ หนดทศิ ทางการตลาด 27
เรื่องท่ี 2 การกําหนดเปาหมายการตลาด 28
เร่ืองท่ี 3 การกําหนดกลยุทธสูเปาหมาย 31
เร่ืองท่ี 4 การวิเคราะหกลยุทธ 33
เรื่องท่ี 5 กิจกรรมและแผนการพัฒนาการตลาด 36
บทท่ี 3 การจัดทาํ แผนพฒั นาการผลิตหรือการบริการ 38
เรื่องที่ 1 การกาํ หนดคณุ ภาพผลผลติ หรือการบรกิ าร 40
เร่ืองที่ 2 การวิเคราะหท ุนปจจัยการผลติ หรอื การบริการ 41
เร่ืองท่ี 3 การกําหนดเปา หมายการผลติ หรือการบรกิ าร 43
เร่ืองท่ี 4 การกาํ หนดแผนกิจกรรมการผลติ หรอื การบรกิ าร 44
เรื่องที่ 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบรกิ าร 46
บทท่ี 4 การพัฒนาธุรกิจเชงิ รุก
เร่ืองที่ 1 ความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก
เร่ืองท่ี 2 การแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผบู ริโภค
เร่ืองที่ 3 การสรางรปู ลกั ษณค ุณภาพสนิ คาใหม
เรื่องที่ 4 การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

บทท่ี 5 โครงการพฒั นาอาชพี ใหม อี ยมู ีกนิ 50
เรื่องที่ 1 การวิเคราะหความเปนไปไดของแผน
เรื่องท่ี 2 การเขียนโครงการพัฒนาอาชีพใหมีอยมู กี นิ 51
เรื่องท่ี 3 การตรวจสอบความเปนไปไดของโครงการ 53
เร่ืองที่ 4 การปรับปรุงแกไขโครงการพัฒนาอาชีพ 57
58

คาํ แนะนําการใชห นงั สอื เรยี น

หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาพัฒนาอาชีพใหมีอยูม กี นิ ระดบั
ประถมศึกษาเปน หนงั สอื เรียนที่จดั ทําขึ้น สําหรับนักศึกษานอกระบบ

ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาพัฒนาอาชีพใหมีอยูมีกิน ผูเ รียนควร
ปฏบิ ัตดิ ังน้ี

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคญั ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวัง ขอบขาย
เนอื้ หาของรายวิชานนั้ ๆ โดยละเอียด

2. ศึกษารายละเอียดเนือ้ หาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามทีก่ ําหนด ถาผูเ รียน

ยังไมเขาใจควรกลบั ไปศกึ ษาและทาํ ความเขาใจในเนอ้ื หานั้นใหมใหเ ขาใจ กอนท่ีจะศกึ ษาเรือ่ งตอ ๆ ไป
3. หนังสือเรียนเลมนีเ้ นนการจัดการเรียนรูใ นลักษณะกระบวนการสวนใหญ สามารถนําไป

ประยุกตใชกับทุกอาชีพ
4. หนงั สอื เลมนีม้ ี 5 บท คอื
บทที่ 1 ศักยภาพธรุ กจิ
บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด
บทที่ 3 การจัดทาํ แผนพฒั นาการผลิตหรือบริการ
บทที่ 4 การพฒั นาธรุ กจิ เชงิ รกุ
บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมอี ยูมกี ิน

โครงสรา งรายวิชาพัฒนาอาชพี ใหมอี ยูมีกิน
ระดบั ประถมศกึ ษา (อช11003)

สาระสําคัญ
การพฒั นาอาชีพใหม อี ยมู ีกินจําเปนตองมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง เพือ่ ใหสามารถเขาสูต ลาดที่มี

การแขงขันได โดยมีการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด การทําแผนพัฒนาการ
ผลติ หรือการบริการ การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก และสามารถนําความรูดังกลาวมาจัดทําโครงการพัฒนาอาชีพ

ใหม ีอยูม กี ิน
ผลการเรยี นรูที่คาดหวงั

1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ ความจําเปนในการพัฒนาอาชีพใหมีสินคา หรืองานบริการ
สรางรายไดพอเพียงตอการดํารงชีวิต

2. วิเคราะหศกั ยภาพธุรกิจ การตลาด การผลิตหรือบรกิ ารแผนธรุ กิจเพอ่ื สรา งธุรกจิ ใหม อี ยมู กี ิน
3. ยอมรับและเห็นคุณคาในการพัฒนาอาชีพใหมีอยูมีกิน
4. ปฏบิ ตั ิการทาํ แผนและโครงการพฒั นาอาชพี ใหม ีอยมู ีกิน
ขอบขา ยเนอ้ื หา
บทที่ 1 ศกั ยภาพธรุ กจิ
บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด
บทที่ 3 การจัดทําแผนพฒั นาการผลิตหรอื การบรกิ าร
บทที่ 4 การพฒั นาธรุ กจิ เชิงรกุ
บทที่ 5 โครงการพฒั นาอาชพี ใหม ีอยูมกี นิ

8

บทท่ี 1
ศกั ยภาพธรุ กิจ

สาระสําคัญ
ศักยภาพธุรกิจมีความสําคัญและความจําเปนตอการพัฒนาอาชีพใหมีอยูมีกิน

ตัวชวี้ ัด
1. อธบิ ายเก่ียวกับ ความหมาย ความสําคัญ ความจําเปนของการพฒั นาอาชีเพอ่ื มีอยมู กี ิน
2. อธิบายความจําเปนและคุณคาของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ
3. วิเคราะหต ําแหนงธุรกิจ
4. วิเคราะหศักยภาพธุรกจิ บนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่

ขอบขายเนือ้ หา
เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ ความจําเปนในการพัฒนาอาชีพใหม ีอยมู ีกนิ
เรื่องที่ 2 ความจําเปนและคุณคาการวิเคราะหศักยภาพธรุ กิจ
เรอื่ งท่ี 3 การวเิ คราะหตาํ แหนง ธุรกิจ
เร่ืองที่ 4 การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่

9

เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ ความจําเปน ในการพัฒนาอาชพี
ศกั ยภาพของธุรกิจ หมายถึง ธุรกิจที่บุคคลที่มีความสามารถพัฒนาสนิ คา นั้น ๆ ใหส ามารถอยู

ในตลาดได
การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงอยางมีกระบวนการโดยมีจุดมุงหมาย
การพฒั นาอาชพี หมายถึง การประกอบอาชีพท่ีมีการพัฒนาสินคา หรือผลติ ภณั ฑใ หตรงกับ

ความตองการของลูกคาอยูตลอดเวลา โดยมีสวนครองตลาดไดตามความตองการของผูผลิต แสดงถงึ
ความม่นั คงในอาชีพ ซึ่งตองข้นึ อยกู ับศกั ยภาพของผผู ลติ

ดังนั้น การพัฒนาศักยภาพเปนความจําเปนและสําคัญมากในการพัฒนาอาชีพ หรือพัฒนาธุรกิจ
โดยการนําเอาความสามารถออกมาใชใหเกิดประโยชน เพื่อการประสบผลสําเร็จอยางงดงาม

การวิเคราะห หมายถึง การแยกแยะสิง่ ทีจ่ ะพิจารณาออกเปนสวนยอย ที่มีความสัมพันธกัน
รวมถึงสืบคนหาความสัมพนั ธนนั้

ตัวอยาง การวิเคราะหศักยภาพทางธุรกิจของนางสาวมาลี ชอประดิษฐ อาชีพประกอบการคา
รับจางทําบายศรี ขันหมาก ใบตอง จัดดอกไมสดและรอยมาลัย โดยเปดแผงรานคามุมตลาดสดประจํา
อาํ เภอ

1. มาลี มใี จรกั ในงานประดษิ ฐ มีจติ ใจพรอ มบรกิ าร บริการตรงเวลา
2. มาลี มีฝม ือในการจดั เย็บ ดอกไม ใบตอง ไดประณตี สวยงาม ออกแบบไดดี
3. ทําเล ยานการคาของรานมาลีเหมาะสม
4. มาลี มมี นษุ ยส ัมพนั ธด ี ยมิ้ แยมแจม ใส
5. มาลี มีความซ่อื สัตยต อการคา ไมเ อาเปรยี บลกู คา เลอื กวัสดเุ หมาะสมกับราคา
6. มาลี มเี งินทนุ สํารองหมุนเวียนพอเพียงในการประกอบกจิ การในระดบั พออยพู อกิน

10

ใบงานท่ี 1
อภปิ รายความสําคญั และความจาํ เปน ในการพฒั นาอาชพี

ประเดน็ การเรยี นรู ใหผ เู รียนรวมกลมุ จํานวน 3 – 5 คน รว มกันอภิปรายถึงความสําคัญและความจําเปน
ในการพัฒนาอาชีพ แลว สรุปเปนความรูลงในแบบบันทึก
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 2
ความหมาย ความสําคัญ ความจําเปนในการพัฒนาอาชีพ

คาํ สงั่ ใหผ ูเรียนพัฒนาอาชีพของตนเองหรืออาชีพที่มีความสนใจดานตางๆ ดังนี้
1. ทาํ เลท่ตี ้ัง........................................................................................................................................
2. ความตรงตอเวลาในการบริการ......................................................................................................
.......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. ความซือ่ สตั ยต อลกู คา การเลอื กใชว ัสดทุ ่เี หมาะสมกับราคา..........................................................
.......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
4. การพัฒนารูปแบบสินคา.................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
5. การใชเงินทุน.................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
6. การพัฒนาการตลาด.......................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
7. การพัฒนากระบวนการผลิต/หรอื การบรกิ าร.................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

11

เร่อื งท่ี 2 ความจําเปน และคณุ คา การวเิ คราะหศักยภาพธรุ กิจ
ความจาํ เปน ของการวเิ คราะหศกั ยภาพธุรกจิ มีดงั น้ี
1. เพื่อจะไดเห็นทศิ ทางเชงิ กลยทุ ธข องธุรกิจ
2. เพื่อสือ่ ทิศทางของธุรกิจใหบุคคล หรือองคกรจัดสรรเงินทุน เพือ่ การกูยืมหรือรวมลงทุน
และสรางความมั่นใจในการคา
3. เพื่อศึกษาความเปนไปไดของโครงการพัฒนาธุรกิจตนเอง
คณุ คาของการวิเคราะหศ ักยภาพธุรกิจ
1. ผปู ระกอบการรจู กั ตัวเอง ปจ จบุ นั และอนาคตอาชพี ของตนเอง
2. อาชีพของตนเองมีทิศทางเชนไร โดยอาศัยการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมายดาน
อาชีพของตน
3. การวางกลยุทธแตละระดับสําหรับผูประกอบการ สถานประกอบการ และเครือขาย
ผรู วมงาน แบงแยกหนาท่ชี ัดเจน
4. การวิเคราะหศักยภาพทําใหรูจ ักปจจัยภายนอก ปจจัยภายในทีเ่ กีย่ วของกับการประกอบ
อาชพี ตนเอง เชน
1. สินคา หรือบริการของตนเองคืออะไร ตอบสนองลูกคาระดับไหน
2. สวนแบงการตลาด สินคาของคุณเทยี บไดก เ่ี ปอรเ ซน็ ต
3. คุณคาของสินคาอาชีพของคุณใหประโยชนดานใดมากแคไหน

12

ใบงานท่ี 3
ความจาํ เปน และคณุ คาการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ
คําส่งั ใหผูเ รียนบอกความจาํ เปนและคุณคา ของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ
ท่ผี เู รยี นประกอบอยใู นปจ จบุ ันหรืออาชีพสนใจ ตามหวั ขอยอ ยตอ ไปน้ี
1. อาชีพของทานมีความสําคัญตอทองถิ่นคือ…………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
2. มีทิศทางความกาวหนาอาชีพของตนเองในทองถิ่น…………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
3. สินคาของทานมีสวนแบงการตลาดในทองถิ่นเทาใด
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
4. จากการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจอาชีพของทาน ทานคิดวามีประโยชนตอการพัฒนาอาชีพของ
ทานมากนอยแคไหน อยางไร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

13

เร่ืองที่ 3 การวิเคราะหต ําแหนงธุรกจิ
ตําแหนงธุรกจิ หมายถึงระยะเวลาในชวงการประกอบอาชีพหรือธุรกิจของผูป ระกอบการแตละ

ระดับขั้นตอนของการดําเนินกิจการโดยทั่วไปจะแบงเปนระยะดังนี้
1. ระยะเร่ิมตน
2. ระยะสรางตัว
3. ระยะทรงตัว
4. ระยะตกต่าํ หรอื สูงข้นึ

ผูประกอบการตองมีความรูสามารถวิเคราะหตําแหนงธุรกิจในอาชีพของตนเองไดวาอยูในระยะ
ใด ตองขยายตัวอีกมากนอยแคไหน และคูแขงขันเกิดขึ้นมากหรือยัง โดยอาศัยขอมูลการวิเคราะห
ศักยภาพทางธุรกิจของตนเอง ซึ่งไดอธบิ ายเปนกราฟวิเคราะหต ําแหนง วงจรธุรกจิ ไดด งั น้ี

มลู คา ธรุ กจิ 4.1 ธุรกจิ กา วหนา จะมีผูคนเขา มา
เรียนรูทําตาม ทําใหเ กดิ วิกฤตสว น
แบง ทางการตลาด

1. ระยะเรมิ่ ตน 2. ระยะสรางตวั 3.ระยะทรงตัว 4.2 ถา ไมม กี ารพัฒนาธรุ กจิ จะเปน ขาลง
จาํ เปน ตอ งขยายขอบขา ย จงึ มคี วาม
ตองการใชน วัตกรรมเทคโนยเี ขามาใชงาน

เวลา
4. ระยะสูงข้นึ หรอื ตกตาํ่

1.เปน ระยะท่ี 2- 3 ธุรกิจอยใู นชว งพัฒนา
อาชีพหรือธรุ กิจอยู ขยายตวั หรือยังทรงตวั จะมคี น
ในระยะฟก ตวั ของ จบั ตามองและพรอ มทาํ ตาม
การเขา สอู าชพี
(เริ่มมีคูแขงขนั )

กราฟวิเคราะหตําแหนงวงจรธรุ กจิ

14

ใบงานที่ 4
การวเิ คราะหต ําแหนงธุรกิจ
คําส่ัง ใหผูเรียนตอบคําถามตอไปนี้ ตามความเขาใจของตนเอง
ในปจจุบัน การประกอบอาชีพของทานอยูในระยะใด มีสภาพเปนอยางไร แกปญหาอยางไร
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

15

เร่อื งที่ 4 การวเิ คราะหศักยภาพธรุ กิจบนเสนทางของเวลาตามศกั ยภาพของแตละพน้ื ท่ี
เสน ทางเวลา หมายถึง วัฏจักรของการประกอบอาชีพธุรกิจสินคาหรือบริการในชวงระยะเวลา

หนง่ึ ของการดาํ เนนิ กจิ การ
ตวั อยาง ผังการไหลของอาชีพปลกู ผกั ในพน้ื ท่ี 5 ไร

วางแผน จดั เตรียม เตรียมดิน ปลูกผัก ดูแลรักษา เกบ็ ผกั สง
การปลูกผัก ปจจยั การ ปลูกผัก ตลาด
ปลกู ผัก
27 พ.ค. 54 11-14 ม.ิ ย. 54 15-19 ม.ิ ย. 54 20 ม.ิ ย. - 22-26 ส.ค. 54 22-26 ส.ค.54
6-10 มิ.ย. 54 20 ส.ค. 54

ในกระบวนการปลูกผักจะมีผังการไหลดังตัวอยาง ซึ่งเปนขั้นตอน มีการดําเนินงานตามลําดับ
กอ นหลงั เชน ตองมกี ารวางแผนกอนท่ีจะดาํ เนนิ การปลูกผัก และในแตละขัน้ ตอนตามเสนทางของ
เวลาในการปลกู ผกั เจา ของธุรกิจตองวเิ คราะหศกั ยภาพธุรกิจของทรพั ยากรธรรมชาติในแตล ะพ้ืนท่ีได
เชน
- การวางแผนการปลูกผัก ผูประกอบการจะสามารถวางแผนการใชทุนไดอยางเหมาะสม เชน
มีการลดตน ทุนได สามารถใชท นุ อน่ื มาทดแทนได
- การปลกู ผกั ผปู ระกอบการจัดการปลูกไดรวดเรว็ ตรงตามแผนทก่ี าํ หนดไว มีการคิดคนเคร่ือง
ทนุ แรงในการปลูกผกั

การวเิ คราะหศักยภาพธรุ กจิ บนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตล ะพ้ืนที่ คอื การแยกแยะ
กระบวนการทางธุรกิจตามเสนทางของเวลา เพื่อวิเคราะหหาศักยภาพธุรกิจของตนเองในแตล ะชว งของ
การผลิตสนิ คาใหม องเหน็ ความกา วหนา ความสาํ เร็จในแตละภารกิจ ดว ยการกําหนดกจิ กรรมพรอ ม
กาํ กบั เวลาท่ตี องใชจริง เขียนเนนถึงการไหลของงาน ไวเ ฝาระวังการดาํ เนินงาน การจัดทําผังการไหล

ของงานในแตละภารกิจ โดยกาํ หนดกจิ กรรมออกมาจดั ลาํ ดบั ขน้ั ตอนกอ นหลงั ดงั น้ี
1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาตใิ นแตละพน้ื ท่ี

ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งมนุษยสามารถนําไปใชใหเกิด
ประโยชนตอชีวิตประจําวัน และการประกอบอาชีพได เชน การวางแผนการปลูกผัก มีแหลงนํา้ เพียงพอ

ตอ ระยะเวลาการปลูกผกั ในพนื้ ท่ี 5 ไร หรอื ไม และความอดุ มสมบรู ณข องดินมมี ากนอยเพยี งใด ซึ่งจะ
สงผลตอการปรบั ปรงุ บํารงุ ดินและการใสปยุ

16

2. ศกั ยภาพของพน้ื ที่ตามลกั ษณะภูมิอากาศ
ลกั ษณะภมู อิ ากาศ หมายถึง ลกั ษณะอากาศประจําถิ่นในชวงระยะเวลาหนึ่ง ซ่งึ มีอทิ ธิพลตอการ

ประกอบอาชีพในแตล ะพน้ื ท่ีมีสภาพอากาศทแ่ี ตกตา งกนั สําหรับการปลูกผกั จะอาศยั ลักษณะลมฟา
อากาศเขาชวย การจัดเตรยี มปจจยั การปลกู ผกั เกยี่ วกบั เมลด็ พันธุ ควรเลือกเมลด็ พนั ธุผ ักใหเหมาะสมกบั
ฤดกู าล เชน พชื ที่ปลูกในฤดูและพืชทป่ี ลูกในฤดรู อน
3. ศักยภาพของภมู ิประเทศ และทาํ เลที่ต้ังของแตละพ้ืนท่ี

ภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผนดิน ความสูงตาํ่ ท่รี าบลุม ที่ราบสงู ภูเขา
แมน ้าํ ทะเล เปนตน

สภาพภมู ิประเทศและทาํ เลท่ีต้ังของแตละพื้นท่ี จะแตกตางกัน เชน เปนภูเขา ท่ีราบสงู ท่ีราบลมุ
การเตรยี มดนิ ปลูกผกั จะตองเปนพ้ืนท่ที ีร่ าบ นํ้าไมท วมขัง
4. ศกั ยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ิตของแตละพืน้ ท่ี

ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี หมายถึง ความเช่อื การกระทาํ ทีม่ กี ารปฏิบตั ิสืบเนอ่ื งกันมาเปน
เอกลักษณ และมคี วามสาํ คัญตอ สงั คม

ในแตละภาคของประเทศไทยมศี ลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ การเปนอยแู ละการ
บริโภคที่แตกตางกัน การปลูกผักควรปลูกใหตรงกับความตองการของผบู ริโภคและตลาด
5. ศักยภาพของทรัพยากรมนุษยใ นแตละพ้ืนท่ี

ทรัพยากรมนษุ ยใ นแตล ะพืน้ ท่ี หมายถึง ความรู ความสามารถของมนุษยท่ีเปนภูมริ ู ภูมปิ ญ ญา
ทั้งในอดีตและปจจุบันในแตละภาคของประเทศไทย ในแตล ะทองถิ่นมีความถนัด และความชํานาญใน
การดแู ลรักษาและการเก็บผักสงตลาดทไ่ี มเหมอื นกัน สงผลใหผ ลผลติ และรายไดที่ตา งกัน

.

17

ใบงานท่ี 5
การวิเคราะหศักยภาพธุรกจิ บนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพ้ืนท่ี
คาํ ส่งั ใหผ เู รยี นจดั ทําผงั การไหลในอาชีพทป่ี ระกอบการอยหู รอื อาชีพทีส่ นใจ แลว วเิ คราะหแต
ละขั้นตอนของการประกอบอาชีพวาจะทําอยางไรใหธุรกิจมีศักยภาพ
1. ผังการไหลของอาชีพ

2. การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นท่ี

ที่ ขน้ั ตอนการปลกู ผกั ผลการวิเคราะหศ กั ยภาพท้ัง 5 ศกั ยภาพ

18

บทท่ี 2
การจัดทําแผนพฒั นาการตลาด
สาระสําคัญ
การจัดทําแผนพัฒนาการตลาดเพื่อใหสามารถแขงขันได โดยการกําหนดเปาหมายและกลยุทธ
ตางๆ เพื่อใหบรรลุเปาหมายทางการตลาดที่กําหนดไว
ตวั ชีว้ ัด
1. กําหนดทิศทางการตลาด
2. กาํ หนดเปาหมายการตลาด
3. กาํ หนดกลยุทธสูเปาหมาย
4. วิเคราะหก ลยทุ ธ
5. กาํ หนดกจิ กรรมและแผนการพฒั นาการตลาด
ขอบขายเนอื้ หา
เรือ่ งท่ี 1 การกาํ หนดทิศทางการตลาด
เรอื่ งท่ี 2 การกําหนดเปาหมายการตลาด
เรอื่ งที่ 3 การกําหนดกลยุทธสูเปาหมาย
เร่ืองท่ี 4 การวิเคราะหกลยุทธ
เรื่องท่ี 5 กจิ กรรมและแผนการพฒั นาการตลาด

19

เร่ืองที่ 1 การกาํ หนดทิศทางการตลาด
การกําหนดทิศทางการตลาดประกอบดวยองคประกอบที่สําคัญ 3 สว น คอื
1. ผูผลิต เนื่องจากปจจุบันมีการแขงขันในตลาดการคาสูงมากไมวาจะเปนสินคาในรูปลักษณ

ใด ประโยชนใชสอยอยางไรก็ตาม ราคาสินคา กําลังซือ้ ของผูบ ริโภค ก็เปนตัวปจจัยในการกําหนด
ทิศทางการตลาดนอกเหนือจากการใชวิธีการสงเสริมการตลาด เชน การลดราคา การแถม การแจก การ
แลก ผผู ลิตจําเปน ตอ งศึกษาพัฒนาสินคาใหไ ดต รงกบั ความตองการของผูบริโภค

2. สินคาหรือการบริการ ตัวสินคาหรือรูปแบบการใหบริการแกลูกคา มีความจําเปนอยางยิง่ ที่
จะตองมีการพัฒนาตลอดเวลา เพื่อใหทันสมัยทันตอความตองการของลูกคา

3. ผบู รโิ ภคหรือผูรับบรกิ าร สินคาจะครองอยูในตลาดไดน านเทาใดขึ้นอยูก ับคุณภาพของสินคา
สามารถผลิตไดโดนใจผูบ ริโภคไดเพียงใด จํานวนสินคาเพิ่มขึ้นหรือลดลง สามารถพิจารณาไดจาก
จํานวนความตองการของผูบ ริโภค หรือจํานวนยอดการสัง่ สินคา ถายอดการสัง่ สินคาลดลงก็แสดงให
เห็นวา แนวโนมความนิยมของผูบริโภคลดลง ซึง่ สาเหตุมาจากมีผูแขงขันมากขึน้ ทําใหสวนแบง
การตลาดของเรามแี นวโนม ลดลง

ดังน้ัน ผูผ ลิตก็จะตองพิจารณาวาในปจจุบันความตองการสินคาชนิดนั้นๆ เปลีย่ นแปลงไป
ในทางใด เชน

1. รปู ลักษณสนิ คาลา สมัยไมเ ปนท่ีถกู ใจของลูกคา
2. ผลิตภัณฑใชประโยชนไดนอย เชน แชมพูสระผมของยีห่ ออื่นใชไดทัง้ สระผมและนวดผม
ซง่ึ ดีกวาของเราใชสระผมไดอยางเดียว
3. สนิ คา ชนิดอน่ื ๆ ประหยัดเวลาไดด ีกวา เชน การตม น้าํ ไฟฟา ย่หี อ A ใชเ วลานอ ยกวา ยหี่ อ B
4. สินคาอื่นๆ สามารถใชไดสะดวกกวา เพราะสินคาของเขาวางขายตามรานสะดวกซือ้ ทีม่ ีอยู
ท่วั ไป
5. กลมุ ผซู อื้ สนิ คา ของเราแคบไปไหม ควรจะขยายไปยงั กลุม อ่ืน ๆ ไดอ ีกไดห รอื ไม
ในเรือ่ งนี้ผูเ รียนจะตองสรุปใหไดวาสินคาของเรามียอดขายคงเดิมลดลงหรือเพิม่ ขึน้ แลวศึกษา
วิเคราะหความตองการของลูกคา เชน เกษตรกรมีอาชีพปลูกผักขายในหมูบาน แตความนิยมของลูกคา
เปลย่ี นไป เชน ตองการดแู ลสุขภาพใหป ลอดภัยจากสารเคมี นอกจากนี้จะตองพิจารณาถึงประเด็นอืน่ อีก
เชน

1. ตลาดตองการซื้อผักที่ปลอดสารเคมี
2. กลมุ ลูกคา ตองการซือ้ ผักปลอดสารเคมเี พือ่ สขุ ภาพ
3. ผซู ้อื สว นใหญเ ปนบุคคลทม่ี ฐี านะเนอื่ งจากผักปลอดสารเคมจี ะมีราคาแพง
4. สถานท่ีซ้อื ควรจะอยูในเมืองใหญแ ละสามารถกระจายจดุ ขายไดห ลายๆ จดุ
5. ซื้ออยางไรจงึ จะสามารถซื้อรับประทานไดทุกวัน

20

สรุปไดวาจะปรับลักษณะของสินคาหรือบริการอยางไรตองพิจารณาถึงเหตุผลในการซือ้ ของ
ผูบ ริโภค กลุม ลูกคาเปนใครบาง มีกําลังซือ้ มากนอยเพียงใด ผูซือ้ สะดวกซือ้ ที่ใดและขั้นตอนการซือ้ ไม
ควรยงุ ยากแลวนาํ ขอมูลมาวิเคราะหวาสินคาหรืองานบริการจะมีสวนแบงของตลาดมากนอยเพียงใดแลว
กําหนดเปาหมายการตลาด สวนแบงของตลาดก็คือ สินคาของเราเปนสวนหนง่ึ ของตลาดสินคาชนิดนั้น

เรอ่ื งที่ 2 การกาํ หนดเปาหมายการตลาด
การกําหนดเปาหมายการตลาด หมายถึง ตามทิศทางการผลิตสินคาหรืองานบริการ การ

กําหนดเปาหมายที่มีความเปนไปได เชน การเพิ่มสินคาสูตลาดอีก 25 %
การกําหนดเปาหมายการตลาด มีองคประกอบทีส่ ําคัญทีจ่ ะทําใหบรรลุเปาหมาย

การตลาดอยู 3 ประการ คือ
1. กลยุทธสูเปา หมาย
2. แผนพฒั นาการตลาด
ซึ่งองคประกอบทั้ง 2 ดานนีจ้ ะตองมีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน เปนไปตามเปาหมาย

การตลาด ดงั แผนภมู ิขา งลา งนี้

เปาหมายการตลาด กลยุทธส ูเปา หมาย แผนการพฒั นา
การตลาด

21

ใบงานท่ี 1
การกาํ หนดทิศทางการตลาด

คําสัง่ ใหผูเรียนรวมกลุม กัน 5 คน กําหนดทิศทางการตลาดในสินคาของตนเองหรือสินคาทีส่ นใจเพือ่
พัฒนาใหตรงกับความตองการของตลาด

1. ศกึ ษาความตองการของตลาดเพื่อกําหนดทิศทางในการผลิตสินคาหรือบริการ
1.1 สินคา หรือบรกิ าร คอื ...............................................................................................
1.2 ลกู คา ซ้ือไปทาํ อะไร.................................................................................................
1.3 กลมุ ลูกคา เปนใคร...................................................................................................
1.4 ลุกคา จะซอ้ื อยางไร..................................................................................................
1.5 ลกู คา ใชสินคา เม่ือไร................................................................................................
1.6 ซอื้ สินคา ไดท ีใ่ ด......................................................................................................

2. เมื่อศึกษาทิศทางการตลาดแลวใหกําหนดเปาหมายการตลาดในการผลิตสินคา

แบบบันทึก
สมาชกิ กลุม 1........................................................................................................................................

2........................................................................................................................................
3........................................................................................................................................
4........................................................................................................................................
5........................................................................................................................................
ทิศทางการตลาด..........................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
เปาหมายการตลาด.......................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

22

เรอ่ื งท่ี 3 การกําหนดกลยุทธสเู ปาหมาย
การกําหนดกลยทุ ธ

กลยุทธ เปนการหาวิธีการที่จะทําใหจํานวนลูกคาที่มีอยูก อนแลวเพิม่ จํานวนซือ้ ใหมากกวาเดิม
โดยการวิเคราะหปจ จยั ตา งๆ ท่เี ก่ียวของกับการขายสนิ คาใหก ลุม ลกู คา เปาหมายทมี่ ศี กั ยภาพในการซื้อมา
ใชเ ปน บรรทดั ฐานในการกาํ หนดวธิ กี ารเพม่ิ ปริมาณลูกคาหรือเพิ่มยอดขาย ดังนัน้ การวางแผนกลยุทธจะ
มีประโยชนต อการพัฒนาตลาด ดังน้ี คอื

1. เปนการขยายปริมาณลูกคาไดอยางชัดเจน
2. นาํ ไปจดั ทาํ แผนใหเ หมาะสมกับเวลาและเปนการจัดลําดับงานที่ปฏิบัติได
3. สามารถทําใหบรรลุผลการขายตามเปาหมายที่ไดกําหนดไว
กลยุทธจะตองเกีย่ วของกับสินคาหรืองานบริการชนิดนั้นวามี “จุดขาย” หรือ “จุดครองใจ”
ผูบ ริโภคอยางไรบาง โดยปกติแลวผลิตภัณฑแตละอยางมักจะมีจุดขายหรือจุดเดนแตกตางกัน ผูผลิตจึง
ควรเลือกจุดครองใจหรือจุดเดนที่สุดของสินคาที่ควรยกขึน้ มาใชสงเสริมการขาย เปนจุดที่ใชย้าํ ในการ
ขายสนิ คาจากการโฆษณาหรอื การประชาสัมพนั ธอ นื่ ๆ เพอ่ื ใหสินคา น้ันอยูใ นใจของผบู รโิ ภคตลอดกาล
การกําหนดกลยุทธ ควรคาํ นงึ ถงึ สิง่ ตางๆ ดังน้ี

1. ลงทุนต่ําที่สุด มีความเปนไปไดทางการเงิน
2. ทําในสงิ่ ท่ีทาํ ไดด ี ซงึ่ มคี วามเปนไปไดในการผลิต
3. ทาํ จํานวนนอยแลว คอยเพิม่ ไปสูจํานวนมาก
4. เพ่ิมธรุ กิจท่มี ีความเปน ไปไดในระยะยาว
การกําหนดกลยุทธจะตองสอดคลองกับเปาหมายการตลาด เชน พัฒนาสินคาอีก 25% โดย
วิเคราะหเปาหมายการตลาดกลยุทธการตลาดได เชน
1. ปลูกผักปลอดสารเคมี
2. ประชาสัมพันธใหผ บู รโิ ภครูจกั สนิ คา หรอื บริการดว ยวิธีการทห่ี ลากหลาย
3. เพ่ิมจดุ ขายใหม ากกวา เดมิ อีก 20 จุด โดยเฉพาะในเมืองท่ผี ูบรโิ ภคมกี ําลังซอื้
4. ในการผลิตผักปลอดสารเคมีควรมีการรวมกลุม กนั ผลติ เพือ่ ใหมผี กั ขายไดอยา งตอเนือ่ ง
และมชี นิดของผักหลากหลาย

23

เร่อื งที่ 4 การวิเคราะหกลยุทธ
การวิเคราะหก ลยุทธเปน กระบวนการคิดวเิ คราะหอ ยา งเปนระบบ เพ่ือยกระดับความรูใหส ูงขึ้น

ใหสอดคลองกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สังคม ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว
การวเิ คราะหก ลยทุ ธม กี รอบแนวคดิ ดงั น้ี

ภารกจิ กิจกรรม เทคนคิ สารสนเทศ
ข้ันตอน วิธีการ ความรูที่
ของระบบ จําเปน
การทํางาน

ใบงานท่ี 2
การกาํ หนดกลยุทธส ูเปาหมาย

คําส่ัง ใหผูเรยี นรวมกลุมกันกําหนดกลยทุ ธ แลว วเิ คราะหกลยทุ ธใหสอดคลองกบั เปา หมาย
การตลาดทไ่ี ดก าํ หนดไว

1. กลยุทธการตลาดมีอะไรบาง
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

2. มีกระบวนการวิเคราะหกลยุทธอยางไร
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

24

เรือ่ งที่ 5 กิจกรรมและแผนพัฒนาการตลาด
การตลาด เปนกจิ กรรมทางการตลาด ท่เี ริ่มตั้งแตการวางแผนไปสกู ารตลาด ท่มี ลี ักษณะที่

เหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของลูกคา ซึ่งองคประกอบของตลาดประกอบดวย ผลิตภัณฑ
ราคา และการจําหนาย

การพัฒนาการตลาด เปนกระบวนการพัฒนาตลาดของสินคาหรือบริการใหยอดขายคงอยูห รือ
มากข้ึนกวาเดิม การกําหนดกลยุทธที่มีความเปนไปไดในแตละกลยุทธจะตองกําหนดกิจกรรมและจัดทํา
แผนพฒั นาการตลาด เชน

กลยุทธ ดานการประชาสัมพันธใหผูบริโภครูจ ักสินคาหรือบริการดวยวิธีการที่หลากหลาย
จะตอ งกาํ หนดวามีกิจกรรมอะไรบาง เชน การประชาสัมพันธโ ดยใชว ธิ กี ารหลากหลาย เชน การโฆษณา

ในทวี ี การแจกตัวอยางสินคาใหลูกคากลุม เปาหมายทดลองใช การทําแผนปลิวแจก สามารถนํากิจกรรม
เหลานี้มาวางแผนการตลาดเพื่อใหผูผลิตสามารถควบคุมกระบวนการการพัฒนาการตลาดได

ใบงานท่ี 3
กจิ กรรมและแผนการพัฒนาการตลาด

คําสั่ง ใหผูเ รียนรวมกลุมกันกําหนดกิจกรรมและวางแผนการตลาดตามกลยุทธที่กําหนด แลวบันทึกลง

ในแบบบันทึก

กลยทุ ธท ี่ 1 ประกอบดวยกิจกรรม

1.....................................................................................................................................................

2.....................................................................................................................................................

3.....................................................................................................................................................

กลยุทธท ี่ 2 ประกอบดว ย

1.....................................................................................................................................................

2.....................................................................................................................................................

3.....................................................................................................................................................
แผนการพฒั นาการตลาด

กลยุทธ กิจกรรม แผนการพฒั นาการตลาดป 2554

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

25

ใบงานท่ี 4
กจิ กรรมและแผนพัฒนาการตลาด
คาํ ส่ัง ใหผ ูเ รียนนาํ แผนการพัฒนาการตลาด ไปใหผรู ูพิจารณาความเปนไปไดของแผนแลวจดบันทึกการ
แสดงความคดิ เหน็ ของผูรู และกําหนดแนวทางแกไขทางกลุมเรียนลงในแบบบันทึก

สรุปความคิดเหน็ จากผูรู
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
แนวทางการดําเนินงานตามความคิดเห็นของผูรู
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

26

บทที่ 3
การจัดทาํ แผนพฒั นาการผลติ หรอื การบริการ

สาระสําคัญ
การประกอบการธุรกิจ ไมวาจะเปนธุรกิจทีเ่ นนในการผลิตผลผลิตหรือการบริการ ตางมีปจจัยที่

จะสงผลตอ การดําเนนิ งานใหด าํ รงอยไู ด ไดแก คุณภาพ ทนุ ปจจัย เปาหมาย แผนกิจกรรมและการพัฒนา
ระบบการผลติ หรอื การบริการ
ตัวชว้ี ดั

1. อธบิ ายการกําหนดคณุ ภาพผลผลิตหรอื การบริการ
2. วิเคราะหทุนปจ จยั การผลติ หรอื การบริการ
3. กําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ
4. กาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลติ
5. พัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ
ขอบขา ยเน้ือหา
เรือ่ งที่ 1 การกาํ หนดคณุ ภาพผลผลิตหรอื การบริการ
เร่ืองท่ี 2 การวเิ คราะหทนุ ปจ จยั การผลติ หรอื การบรกิ าร
เรือ่ งที่ 3 การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ
เร่ืองที่ 4 การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลติ หรอื การบรกิ าร
เรอ่ื งท่ี 5 การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ

27

เรอ่ื งท่ี 1 การกาํ หนดคณุ ภาพผลผลิตหรือการบริการ
การดํารงชีวิตของมนุษยทีม่ ีความสุข ตองดําเนินไปใหสอดคลองกับธรรมชาติ มนุษยตองมีงาน

ทํา มอี าชีพ มหี นาที่ทตี่ องปฏบิ ตั ิ ไมว าจะเปน งานอาชพี ในลักษณะการผลติ หรือการใหบริการ เพ่ือใหเกิด
การหมุนเวียนทางเศรษฐกิจทั้งในระดับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ

ลักษณะการประกอบอาชีพสามารถแบงได 2 ลักษณะใหญ ๆ ดงั น้ี
1. ลักษณะงานอาชพี ในการผลิต
2. ลักษณะงานอาชีพการใหบริการ
1. ลักษณะงานอาชีพในการผลิต งานอาชีพในการผลิตนัน้ มีอยูท ัง้ ในภาคเกษตรกรรม และ
ภาคอุตสาหกรรม เชน

ภาคเกษตรกรรม ไดแ ก
- เกษตรกรที่ประกอบอาชพี ทํานา ผลผลติ ไดแ ก ขาว

- เกษตรกรทีป่ ระกอบอาชีพทําสวนผลไม ผลผลิตไดแก ผลไมประเภทตางๆ ที่ปลูก
เชน สวนสม

- ชาวประมงทีป่ ระกอบอาชีพจบั สัตวนาํ้ ผลผลติ ไดแ ก สัตวน ํา้ ทีจ่ ับมาได เชน กงุ ปลา
ภาคอตุ สาหกรรม ไดแ ก

- ผปู ระกอบอาชพี ตดั เยบ็ เส้ือผาสําเรจ็ รูป ผลผลิตไดแก เสื้อผา สาํ เร็จรูป
- ผปู ระกอบอาชพี ผลิตโทรศพั ทม อื ถือ ผลผลิตไดแ ก โทรศัพทมอื ถอื
- ผปู ระกอบอาชีพผลติ รถยนต ผลผลติ ไดแก รถยนต
สรุปไดวา การผลิต หมายถึง การสรางสรรคหรือการแปรสภาพสิง่ หนึง่ สิง่ ใด ใหเปน
สนิ คา ออกมาเพอ่ื จําหนาย เรยี กวา “ผลผลิต”
การผลิตทีด่ ี ตองใหตรงกับความตองการของผูใ ชหรือผูซ ือ้ ใหมากที่สุด โดยการจะได
ผลผลติ ทดี่ นี น้ั ผผู ลิตตองมคี ุณลักษณะทดี่ ีตอกระบวนการผลติ ดวย ไดแ ก
1. ซ่ือสัตยต อ ผบู ริโภค
2. รักษาคณุ ภาพของผลผลติ ใหคงที่และปรับปรงุ ใหดีขนึ้
3. ไมปลอมปนผลผลิต
4. ลดตน ทนุ การผลิต
5. ยนระยะเวลาในการผลิต
6. มีความรู ความชํานาญในงานอาชีพที่ดําเนินการเปนอยางดี
7. ใชวัสดทุ ม่ี คี ณุ ภาพ
8. สนิ คา ใชง านไดส ะดวก
9. มีความคดิ รเิ ร่ิม และมมี นุษยส ัมพนั ธท ดี่ ี

28

2. ลักษณะงานอาชพี การใหบ รกิ าร
การบริการ เปนกิจกรรมหรือการกระทําทีผ่ ูใหบริการทําขึน้ เพือ่ สงมอบการบริการใหแก

ผรู ับบรกิ าร การบรกิ ารจะเกิดขน้ึ โดยทนั ที เมื่อผรู บั บริการมีความตอ งการรบั บริการ
ในการบริการนั้น ผูร ับบริการจะใหความสําคัญกับ “กิจกรรม” หรือ “กระบวนการบริการ” ของ

ผูใ หบ รกิ ารมากกวา ส่ิงอื่น และจะรับรูไ ดดวยความรูส ึกทางใจ หรือเรียกวา “ความประทับใจ” โดยความ
ประทบั ใจจะเกดิ ข้ึนในขณะทผี่ ูรบั บรกิ ารสัมผัสไดกับการไดรับบริการน้ัน ๆ

คุณภาพของการบริการ จะเกดิ ขนึ้ ขณะทผี่ รู ับบรกิ ารไดสัมผัสหรือรับการบริการ โดยสามารถ
กําหนดคุณลกั ษณะคณุ ภาพการบริการทด่ี ีได 7 ประการ ดงั น้ี

1. การยม้ิ แยม เอาใจใส เหน็ อกเห็นใจตอความลําบากยุงยากของลูกคา
2. การตอบสนองตอความประสงคของลูกคาอยางรวดเร็วทันใจ
3. การแสดงออกถึงความนบั ถอื ใหเกยี รตลิ ูกคา
4. การบริการเปนแบบสมัครใจและเต็มใจทํา
5. การแสดงออกถึงการรักษาภาพลักษณของการใหบ รกิ าร
6. การบริการเปน ไปดว ยกริ ิยาท่ีสภุ าพ และมมี ารยาทดี ออ นนอ มถอ มตน
7. การบริการมีความกระฉับกระเฉง กระตือรือรน
การบริการ จึงมีความแตกตางจาก สินคาหรือผลิตภัณฑ อยางมาก โดยเฉพาะในสวนทีเ่ กี่ยวของ
กับการบริโภค แตทั้งนี้ในลักษณะงานอาชีพดานการบริโภค จะมีลักษณะงานอาชีพรวมกันทัง้ การผลิต
และการบริการ เชน ผูประกอบการอาชีพรานอาหาร ตองมีผลผลิต เชน อาหารประเภทตางๆ ควบคูก ับ
การใหบริการเสิฟอาหาร เปนตน

29

ใบงานท่ี 1
การกาํ หนดคุณภาพผลผลิตหรอื การบริการ

คาํ สง่ั ใหผเู รยี นเขยี นบรรยายขอมลู เกยี่ วกับการกําหนดคณุ ภาพผลผลติ หรือบริการ ในงานอาชีพที่
ผเู รยี น
ดาํ เนนิ การเองหรอื อาชีพท่สี นใจทผ่ี ลติ หรือการบรกิ ารน้ันมกี ารดําเนินงานท่มี ี
คุณภาพเปน อยา งไร

1. ลักษณะงานอาชีพ……………………………………………………………………………...
2. ประเภทของผลผลติ หรือการบรกิ าร…………………………………………………………...
3. ชอ่ื เจาของธรุ กิจ………………………………………………………………………………..
4. ทต่ี ้ังของธุรกิจ…………………………………………………………………………………
5. คุณภาพของการผลิตหรอื การบริการที่ปรากฏ ไดแ ก
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

30

เร่ืองท่ี 2 การวิเคราะหทนุ ปจ จยั การผลิตหรือการบริการ
ทุน หมายถึง ปจจัยการผลิตรวมถึงเงินลงทุนดวย ทุนถือวาเปนปจจัยสําคัญในการประกอบ

กิจการธุรกจิ ใหดําเนนิ งานไปอยางมีประสทิ ธภิ าพ และมีความเจริญเติบโตทางธุรกิจ
ตนทนุ การผลติ หมายถึง ทนุ ในการดําเนินธรุ กจิ แบง ออกเปน 2 ประเภท คอื
1. ทุนคงท่ี คือทุนทีผ่ ูประกอบการธุรกิจจัดหามา เชน ดอกเบี้ยเงินกู ทีด่ ิน อาคาร

เครือ่ งจกั ร เปนตน ทนุ คงที่ สามารถแบงได 2 ลักษณะ คอื
1) ทุนคงที่ที่เปนเงินสด เปนจํานวนเงินที่ตองจายเปนคาดอกเบี้ยเงินกู เพื่อ

นํามาใช
ในการดาํ เนนิ งานธรุ กจิ

2) ทุนคงที่ที่ไมเปนเงินสด ไดแก พื้นที่ อาคารสถานที่ โรงเรือน รวมถึงคาเสื่อม
ราคา
ของเครื่องจักร
2. ทนุ หมนุ เวยี น คอื ทุนที่ใช ในการดําเนินธุรกิจเปนครัง้ คราว เชน วัตถุดิบในการผลิต
หรือการบริการ วัสดุสิ้นเปลือง คาแรงงาน คาขนสง คาไฟฟา คาโทรศัพท เปนตน ทุนหมุนเวียนแบง
ออกเปน 2 ลกั ษณะ คอื

1. คาวัสดุ อุปกรณใ นการประกอบอาชีพ ดงั นี้
1.1) วสั ดุ อปุ กรณในกลมุ การผลิต เชน คาปุย พนั ธุพืช พนั ธุสัตว คานาํ้ มนั เปนตน
1.2) วสั ดุ อุปกรณอาชพี ในกลุม บรกิ าร เชน คาผงซักฟอก คา นํา้ ยาซักผา เปนตน

2. คาจางแรงงาน เปนคาจางแรงงานในการผลิตหรือบริการ เชน คาแรงงานในการ
ไถดิน คาจางลูกจางในรานอาหาร

3. คา เชาทด่ี นิ /สถานที่ เปนคาเชา ทด่ี ิน/สถานที่ในการประกอบธุรกิจ
4. คาใชจายอืน่ ๆ เปนคาใชจายในกรณีอื่นทีน่ อกเหนือจากรายการ จายตามขอ 1.1 –
1.3
5. คาแรงงานในครัวเรือนสวนใหญ ในการประกอบการธุรกิจจะไมนํามาคิดเปน
ตนทุน จึงไมทราบขอมูลการลงทุนที่ชัดเจน โดยการคิดคาแรงในครัวเรือน กําหนดคิดในอัตราคาแรงขั้น
ต่ําของทองถิ่นนน้ั ๆ
6. คาเสียโอกาสทีด่ ิน กรณีเจาของธุรกิจมีทีด่ ินเปนของตนเอง การคิดตนทุนใหคิด
ตามอัตราคาเชา ท่ีดินในทอ งถนิ่ หรือบริเวณใกลเ คียง
ในการดาํ เนนิ ธรุ กจิ การบรหิ ารเงินทุนหรอื ดา นการเงินนั้น เปนสิ่งท่ีผูประกอบการธุรกิจ ตองให
ความสําคัญเปนอยางมาก เพราะมีผลตอความมัน่ คงของธุรกิจวาจะกาวหนาหรือลมเหลวได ดังนัน้ การ
ใชทนุ ตอ งวิเคราะห เชน ความคมุ ทนุ ความปลอดภัย ความแข็งแรง ความทนทาน ประโยชนในการใช
งาน ความสะดวก ความเหมาะสม

31

ใบงานท่ี 2
การวเิ คราะหทนุ ปจจัยการผลิตหรือการบริการ

คาํ สง่ั ใหผเู รยี นรวมกันกําหนดทุนและวิเคราะหทุนในงานอาชีพ ทีผ่ ูเรียนดําเนินการ หรืออาชีพทีส่ นใจ
ในการดาํ เนนิ การพัฒนาอาชีพในรอบ 6 เดอื น วามอี ะไรบาง และเหตุผลการใชท ุน

ทนุ คงท่ี/ทนุ หมนุ เวียน จาํ นวน เหตุผลในการใชท ุนเพื่อพัฒนาอาชีพ
รายการ

32

เร่อื งที่ 3 การกําหนดเปา หมายการผลิตหรือการบริการ
เปาหมายการผลิตหรือการบริการ เปนเสมือนธงที่ผูป ระกอบการธุรกิจมุง ที่จะไปใหถึง เกิด

ผลลัพธตามที่ตองการ ดวยวิธีการตาง ๆ เปาหมายจึงเปนตัวบงชีป้ ริมาณทีจ่ ะตองผลิตหรือบริการใหได
ตามระยะเวลาที่กําหนดดวยความพึงพอใจของลูกคา

ปจ จยั ทส่ี ง ผลใหการดําเนนิ งานธรุ กิจไมวา จะเปนธุรกิจประเภทใด ใหประสบความสําเร็จไดน้ัน
ตอ งประกอบดว ยปจ จัยตอไปนี้

1. การกําหนดกลุมลูกคาเปาหมายใหชัดเจน
2. เสริมสรางสวนประสมทางการตลาด
3. คํานึงถึงสภาวะแวดลอมที่ควบคุมไมได
4. สามารถตอบคําถามตอไปนี้ไดทุกขอ
ในสว นของลูกคา ประกอบดวย
1. ใครคอื กลุมลูกคาเปาหมายสําหรับผลผลติ ที่ผลิตขึน้ หรือการบรกิ าร
2. ลกู คา เปา หมายดงั กลา วอยู ณ ทใ่ี ด
3. ในปจจุบันลกู คา เหลานีซ้ ือ้ ผลผลติ หรอื การบรกิ ารไดจากทีใ่ ด
4. ลูกคา ซ้ือผลผลติ หรือการบริการบอยแคไหน
5. อะไรคอื ส่งิ จูงใจทท่ี าํ ใหลูกคา เหลานนั้ ตัดสนิ ใจใชบรกิ าร
6. ลูกคาใชอะไร หรือทําไมลูกคาถึงใชสินคาหรอื บรกิ ารของเรา
7. ลกู คา เหลา น้ันชอบและไมช อบผลผลติ หรอื บรกิ ารอะไรทเี่ รามอี ยูบาง
ในสวนของผลผลิตหรือการบริการ ประกอบดว ย
1. ลูกคา ตอ งการผลผลิตหรอื บริการอะไร
2. ลูกคา อยากจะใหมีผลผลิตหรือบรกิ ารในเวลาใด
3. เฉพาะการบรกิ าร ควรตัง้ ชอื่ วา อะไร เพื่อเปน สิ่งดงึ ดดู ใจไดม ากที่สุด
นอกจากขอมูลดานลูกคา ดานผลผลิตหรือบริการแลว ในการกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการ
บริการใหสอดคลองกับความเปนจริงและความเปนไปได ผูป ระกอบการธุรกิจตองคํานึงและพิจารณาถึง
องคป ระกอบดา นผปู ระกอบการธรุ กจิ ที่เก่ยี วขอ งตา งๆ ดว ย
องคประกอบดานผูประกอบการธุรกจิ ท่ตี อ งพิจารณาประเดน็ สาํ คญั ๆ ดังนี้
1. แรงงาน ตองใชแรงงานมากนอยเทาไร ปจจุบันมีแรงงานเพียงพอตอการดําเนินงาน เพื่อ
ไปสูเปาหมายไดหรือไม ถาไมเพียงพอจะทําอยางไร
2. เงินทุน ตองใชเงินทุนมากนอยเพียงไร ปจจุบันมีเงินทุนเพียงพอตอการดําเนินงาน เพื่อ
ไปสูเปาหมายไดหรือไม ถาไมเพียงพอจะทําอยางไร
3. เครือ่ งมือ/อุปกรณ ตองใชเครื่องมือ/อุปกรณอะไร จํานวนเทาไร เพียงพอหรือไม ถาไม
เพียงพอจะทําอยางไร

33

4. วตั ถดุ ิบ เปนสิ่งสําคัญมากขาดไมได เพราะไมวาจะเปนการดําเนินธุรกิจในดานการผลิต
หรือการบริการก็ตองใชวัตถุดิบเปนวัตถุในการดําเนินงานทั้งสิ้นผูผลิตจะ ตองพิจารณาวาจะ
จัดหาจดั ซื้อวตั ถดุ บิ จากทใ่ี ด ราคาเทา ไร จะหาไดจ ากแหลง ไหน และโดยวธิ ใี ด

5. สถานที่ หากเปนธรุ กจิ ดา นการผลิต ตอ งกําหนดสถานที่ทใี่ กลแหลงวตั ถุดบิ ถาเปนธุรกิจ
ดานการบริการ ตองจัดสถานที่ใหมีความเหมาะสม สะอาด และเดนิ ทางสะดวก เปน หลกั

34

ใบงานที่ 3
การกําหนดเปา หมายการผลิตหรือการบริการ

คําสั่ง เมื่อผูเรียนผานการเรียนเกีย่ วกับการกําหนดคุณภาพการผลิตหรือการบริการ ใหวิเคราะหทุนทีจ่ ะ
ใชกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการในอาชีพ ทีผ่ ูเรียนดําเนินการเอง หรืออาชีพที่สนใจ วามี
รายละเอียดและกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการอยางไร

1. ลักษณะงานอาชพี …………………………………….………………………………………
2. ประเภทของผลผลติ หรอื การบรกิ าร…………………………………………………………
3. ชือ่ เจา ของธุรกิจ…………………………………………………………………………
4. ทตี่ ง้ั ของธุรกจิ …………………………………………………………………………
5. เปาหมายการผลิตหรือการบริการ………………………………………………………
6. เหตุผลในการกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ เพราะ
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

35

เรือ่ งที่ 4 การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลติ หรือการบรกิ าร
การกําหนดกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ ก็คือข้ันตอนการประกอบธุรกิจเปนสิง่ ทีส่ ําคัญยิง่ ตอ

การประกอบอาชีพ เพราะเปนการกําหนดเปาหมายในสิ่งที่ตองการใหเกิด รายละเอียดที่ตองปฏิบัติ ผาน
กระบวนการตัดสินใจอยางมีระบบและขอมูล เพื่อใหเกิดผลการปฏิบัติบรรลุผลตามเปาหมายที่กําหนดไว
โดยมขี น้ั ตอนการกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลติ หรอื การบรกิ าร ดงั น้ี

1. ตรวจสอบตัวเองเพื่อใหรูถ ึงสถานภาพในปจจุบันของงานอาชีพ เปนการตรวจสอบขอมูลธุรกิจ
ของผูประกอบการธุรกิจเก่ียวกับ แรงงาน เงินทุน เคร่ืองมือ/อุปกรณ วัตถุดิบ และสถานที่วา มีสภาพความ
พรอมหรอื มีปญ หาอยางไร รวมถึง ผลผลิตหรอื บรกิ ารของผปู ระกอบการธุรกิจวามีอะไรบกพรองหรือไม

2. สาํ รวจสภาพแวดลอ ม เปนการตรวจสอบขอมูลภายนอกเก่ียวกับสภาพธุรกิจประเภทเดียวกันใน
ชมุ ชน ความตอ งการของลกู คา

การดําเนินงานตามข้ันตอนท่ี 1 และ 2 เปนการศึกษาขอมูลเพือ่ ระบุถึงปญหาที่เกิดขึ้นและควร
แกไ ข

3. กาํ หนดวตั ถปุ ระสงค เปน การกาํ หนดเปา หมายของการดาํ เนนิ งานวา ตอ งการใหเ กดิ อะไร
4. พยากรณสภาพการณในอนาคต เปนการคิดผลบรรลุลวงหนาวา หากดําเนินการตามแผน
กจิ กรรมการผลติ หรือการบรกิ ารแลว ธุรกจิ ทด่ี าํ เนินงานจะเกดิ อะไรข้ึน
5. กําหนดแนวทางการปฏิบัติ เปนการกําหนดรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติวาจะทําอยางไร
เมื่อไร เพอื่ ใหเ กิดผลตามวัตถุประสงคท กี่ าํ หนดไว
6. ประเมินแนวทางการปฏิบัติท่ีวางไว เปนการตรวจสอบความสมบูรณของแผนกิจกรรมการผลิต
หรือการบริการวา มีความสอดคลองกันหรือไมอยางไร สามารถท่ีจะปฏิบัติตามข้ันตอน วิธีการท่ีกําหนดไว
ไดหรือไมอยางไร หากพบวาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการทีจ่ ัดทําขึน้ ยังไมมีความสอดคลอง หรือมี
ข้ันตอนวิธีการใดท่ีไมม่ันใจ ใหจัดการปรับปรุงใหมใหมีความสอดคลองและเหมาะสม เชน แผนกิจกรรม
การผลิตผักบงุ

1-2 เม.ย. 54 3 เม.ย. 54 4-23 เม.ย. 54 24-26 เม.ย. 54 24-26 เม.ย. 54

การเตรยี ม การปลกู การดูแล การเก็บ การสง
ปจจยั การ ผกั รักษาแปลง ผกั ผกั ขาย
ปลูกผกั

ใหตรวจสอบความเปนไปไดของกิจกรรมการปลูกผักแตละขั้นตอน หากพบปญหาตองรีบแกไข

ไวล ว งหนา

7. ทบทวนและปรับแผน เมื่อสถานการณเปลี่ยนแปลงไป และผลลัพธไมเปนไปตามทีก่ ําหนด

เปนการพัฒนาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการในระหวางการปฏิบัติตามแผน เมื่อมีสถานการณ

เปลย่ี นแปลงไป หรอื มีขอ มลู ใหมท่ีสาํ คัญ

36

ใบงานที่ 4
การกาํ หนดกิจกรรมการผลติ หรอื การบริการ

คําสั่ง ใหผูเรียนกําหนดกิจกรรมการผลิตหรือการบริการในอาชีพที่ผูเ รียนดําเนินการเอง หรืออาชีพที่
สนใจ

1. ลักษณะงานอาชีพ……………………………………………………………………………
2. ประเภทของผลผลิตหรือการบริการ…………………………………………………………
3. ช่อื เจา ของธรุ กจิ ………………………………………………………………………………
4. ที่ตง้ั ของธรุ กจิ ………………………………………………………………………………….
5. แผนกิจกรรมการผลติ หรือการบริการ คือ
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

37

เร่ืองท่ี 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรือการบริการ
การเนินธุรกิจทั้งการผลิตและการบริการ ถึงแมวาธุรกิจทีด่ ําเนินการอยูจ ะสามารถดําเนินธุรกิจ

ไปไดดวยดีแลวก็ตาม แตเพื่อใหธุรกิจมีความกาวหนาและมัน่ คง ผูป ระกอบการธุรกิจตองคํานึงถึงการ
พัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการอยางตอเนอ่ื ง

คณุ ภาพของการผลติ หรอื การบริการเปนสง่ิ สาํ คัญที่ผูประกอบการธุรกิจตองรักษาระดับคุณภาพ
และพัฒนาระดับคุณภาพการผลิตหรือการบริการใหเหนือกวาคูแขงขัน โดยเสนอคุณภาพการผลิตหรือ
การใหบริการตามลูกคาคาดหวัง หรือเกินกวาสิง่ ทีล่ ูกคาคาดหวังไวเสมอ ดังนัน้ สิ่งทีจ่ ะทําใหการผลิต
สินคาเปนไปตามคุณภาพและเปาหมายทีก่ ําหนด เมือ่ มีการกําหนดกิจกรรมการผลิตแลว ผูประกอบการ
ตองพัฒนากระบวนการผลิตอยางตอเนื่อง ทั้งกอนการผลิต ระหวางการผลิต และหลังการผลิต เชน
การใหน าํ้ ตน พชื อาจจะพฒั นาการใหน าํ้ เปน แบบหยดบรเิ วณโคนตนพชื เพื่อการประหยัดนํ้า

38

ใบงานท่ี 5
การพฒั นาระบบการผลิตหรือการบริการ

คําส่ัง ใหผูเรียนกําหนด การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการในอาชีพทีผ่ ูเรียนดําเนินการเอง หรือ
อาชีพท่ีสนใจ วา มีการพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการอยางไร ตามกจิ กรรมการผลิตทีก่ าํ หนดไว

1.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
2.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
3.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
4.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
5.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
6.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

39

บทท่ี 4
การพัฒนาธรุ กจิ เชิงรุก

สาระสําคัญ
การพัฒนาอาชีพใหม อี ยมู กี นิ จะตอ งเหน็ ความจําเปน และคณุ คาของธุรกจิ เชงิ รุก การแทรก

ความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค การสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหม และการพัฒนาอาชีพ
ใหมีความมัน่ คง คอื พออยูพอกนิ มีรายได
ตัวชี้วดั

1. อธิบายความจําเปน และคุณคาของธุรกิจเชิงรุก
2. อธิบายการแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภคไดอยางแทจริง
3. อธิบายการสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหม
4. อธิบายการพัฒนอาชีพใหมีความมั่นคง
ขอบขา ยเน้ือหา
เร่ืองท่ี 1 ความจําเปนและคุณคา ของธุรกจิ เชงิ รกุ
เรื่องที่ 2 การแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค
เรื่องที่ 3 การสรา งรูปลักษณค ุณภาพสินคา ใหม
เรื่องท่ี 4 การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

40

เร่อื งท่ี 1 ความจาํ เปนและคุณคาของธรุ กจิ เชงิ รุก
1. ความหมายของธุรกจิ เชงิ รกุ
ธรุ กจิ เชงิ รุก หมายถงึ การบริหารจัดการธุรกิจแบบมีแบบแผน เปนระบบการพัฒนางานที่ดี

อาํ นวยประโยชนใ หก บั ผปู ระกอบการ สามารถวางแผนติดตามและควบคุมใหการดําเนินงานในทุกดาน
ไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ

2. ความจาํ เปน และคณุ คา ของธุรกจิ เชงิ รุก
ธรุ กจิ เชิงรุก เปนความพยายามที่จะหาวิธีการใหไดเปรียบทางการแขงขันทางธรุ กิจ เปนการ
พฒั นาสนิ คาไดต รงตามความตองการของผบู รโิ ภค สนิ คาไดร บั การพัฒนาอยูตลอดเวลา ผบู รโิ ภคมี
โอกาสเลือกซื้อไดหลากหลาย

ปจ จยั ทีส่ งผลใหเกิดการเปลีย่ นแปลงของธรุ กิจอยางรุนแรงและรวดเร็ว ไดแก
1. การแขงขันที่ไรพรมแดน
2. การเปลี่ยนแปลงทางนวัตกรรมเทคโนโลยี

41

ใบงานท่ี 1
ความจาํ เปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก

คําสั่ง ใหผ ูเ รียนแบง กลุม ๆละ 3 - 5 คน อภปิ รายรวมกันวา “ธรุ กิจเชิงรกุ มีความจําเปนและมคี ณุ คา
อยางไร”
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

42

เร่ืองที่ 2 การแทรกความนิยมเขา สูความตองการของผูบรโิ ภค
การแทรกความนิยมเขา สคู วามตองการของผบู ริโภค

การแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค ซึ่งผูประกอบการตองมีขอมูลความตองการ
ของผบู ริโภค เพอ่ื จะไดนาํ ขอมูลน้นั มาพัฒนาสินคาใหตรงกบั ความตองการของผบู ริโภค เชน ทราบวา
ในปจ จุบนั ผูบรโิ ภคตองการรับประทานผักปลอดจากสารเคมี ดังนั้น ในการพัฒนาอาชีพปลูกผักควรไม
ใชสารเคมี

43

เร่ืองท่ี 3 การสรา งรูปลกั ษณคุณภาพสินคาใหม

การสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหม เปนการพัฒนาสินคาใหตรงกับความตองการของ
ผบู รโิ ภค เชน ใหมีความสวยงาม ใชงานสะดวก มีความทนทาน การพฒั นาผลิตภณั ฑข องธุรกจิ มี
หลายรปู แบบ ซ่งึ การพฒั นาผลิตภัณฑ อาจมีสาเหตุมาจากความมั่นคงของธุรกิจ หรือการเติบโตของ
ธรุ กิจจงึ ตองมกี ารพฒั นาผลติ ภัณฑใหมีคุณภาพ แตกตา งกนั ไป แตล ะธุรกิจจะพัฒนาไดต อเมอ่ื
ผปู ระกอบการรบั รูความตองการในการตัดสินใจซื้อสินคาและบริการ จึงกําหนดทิศทางวิธกี ารพัฒนา
ผลิตภัณฑไดเ หมาะสมสอดคลอ งกบั ความตอ งการของผปู ระกอบการ

แนวทางพิจารณาของผลิตภัณฑไมหมายถงึ เฉพาะรูปแบบหรือวตั ถสุ งิ่ ของทเ่ี ปนรปู รางเทา นน้ั
แตยังรวมไปถึงคุณคาของผลิตภัณฑแ ละการบรกิ ารดว ย ดังน้นั ผลิตภณั ฑจงึ หมายถงึ สินคาที่สามารถ
ตอบสนองความพอใจที่จับตองไดและจับตองไมได

สวนประกอบทสี่ ําคญั ในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ มี 2 ประการ คือ
1. ผลิตภัณฑนัน้ ตองมีคณุ คา และตอบสนองความตองการผูบริโภคไดมากที่สดุ
2. สว นประกอบของผลติ ภณั ฑตอ งมีอยางครบถว น

หนาที่ในการพัฒนาผลิตภัณฑ ในการคิดคนผลิตภัณฑใหมออกสูต ลาด ผผู ลิตควรดําเนินการดังน้ี
1. รวบรวมขอมูลสําหรับปรับปรุงและวิธีการดําเนินการพัฒนาผลติ ภัณฑ
2. กาํ หนดแผนการพฒั นาผลิตภัณฑ
3. ดาํ เนนิ การและตดิ ตามผลพัฒนาผลิตภณั ฑใหมปี ระสิทธิภาพ
4. วางแผนกลยทุ ธการขายผลติ ภัณฑ

44

ใบงานที่ 2
การพฒั นาธุรกจิ เชงิ รุก

คาํ สั่ง ใหผ ูเรียนแบงกลุม 3 คน ดาํ เนินการพัฒนาธรุ กิจเชิงรุกในสนิ คา ของผูเรียนหรือสินคาทส่ี นใจ ตาม
หวั ขอ ดงั น้ี
1. ชอื่ สินคา …………………………………………….……..
2. แทรกความนิยมใดบางเขาสูความตองการของผูบริโภค………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………..
3. รปู ลกั ษณคุณภาพสินคาที่พฒั นาขึ้นใหมเปน อยางไร………………………………………………......
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………….

45

เรอ่ื งท่ี 4 การพฒั นาอาชีพใหม คี วามมน่ั คง
การพัฒนาอาชีพเขาสูความมั่นคงของผูประสบความสําเร็จมีมากมาย จะมีลักษณะการกระทําที่

สอดคลองกันเปนสวนใหญวา ความมั่นคงของอาชีพขึ้นอยูกับองคประกอบอยางนอย 3 ประการ คอื (1)
การลดความเสี่ยงในผลผลิต (2) ความมุงมั่นพัฒนาอาชีพ และ (3) การยดึ หลักคุณธรรม

ลดความเสี่ยงผลผลติ

มงุ มั่นพฒั นาอาชีพ สคู วามมนั่ คงยง่ั ยืน
ยึดหลกั คณุ ธรรม

จากแผนภูมิ จะพบวา องคประกอบรวมทั้ง 3 องคประกอบเปนตัวสงผลตอความมั่นคงยั่งยืนใน
อาชีพที่เราจะตองนํามาบูรณาการใหเปนองครวมเดียวกัน

การลดความเสีย่ ง
การประกอบอาชีพมักจะประสบกับความเสีย่ ง เชน

- เส่ยี งตอการขาดทนุ ตองจดั การโดยการหาตลาดไวลว งหนา เชน มกี ารประกนั ราคาผลผลิต
- เสีย่ งตอการไมม เี งนิ ทนุ ในการดาํ เนินการ แกปญหาความเสี่ยงดว ยการจัดหาแหลงเงินทนุ หรอื
พยายามที่จะลดตนทุนการผลิต

การพฒั นาอาชีพ
เปน กระบวนการทเ่ี นน ความสําคัญการพัฒนาระบบการจัดการทั้งการผลิตและการตลาดใหตรง

กับความตองการของลูกคา ดังนี้

คณุ ภาพผลผลิต

ลดตนทนุ การผลิต การพัฒนาอาชีพ
การสงมอบ

ความปลอดภัย

46

ปจจัยรว มท้ัง 4 ดา น เปนปจจยั ท่สี ง ผลตอการพัฒนาอาชีพ โดยมีลักษณะความสําคัญ ดังนี้
1. คุณภาพผลผลิต เปนเรือ่ งทีเ่ ราจะตองจัดการใหคุณภาพตรงตามความตองการของลูกคาให
มากทส่ี ุด เพอ่ื ใหล กู คา มั่นใจไดวา จะไดร บั สินคา/บริการที่ดีเปนไปตามความคาดหวัง
2. ลดตนทุนการผลิต เกีย่ วของกับการกําหนดราคาผลผลิตทีจ่ ะตองเปนราคาทีล่ ูกคาสามารถ
ซือ้ ผลผลิตของเราได แตไมใชกําหนดราคาต่าํ จนกระทัง่ รายไดไมพอเพียง ดังนั้น การลดตนทุนจึงเปน
เรือ่ งสําคัญที่เราจะตองศึกษาเรียนรูห าวิธีลดตนทุนที่ทําใหมีรายไดเพียงพอ ไมใชปลดตนทุนกับ
คาแรงงาน แตเปนการบริหารจัดการใหลดความเสียหายในปจจัยการผลิต และการจัดการใหไดผลผลิต
สูง
3. การสงมอบผลิตผล ใหลูกคาตองเปนไปตามขอตกลงทัง้ เวลานัดหมายและจํานวนผลผลิต
ตวั อยางเชน อาชพี รา นตดั เย็บเส้อื ผา ชาย สวนใหญมกั จะผิดนัดทําใหเสียหายกับลูกคาที่มีกําหนดการจะ
ใชเสือ้ ผา จึงหันไปใชบริการเสือ้ ผาสําเร็จรูปที่มีความสะดวกมองเห็นสินคา และตัดสินใจเลือกซือ้ ได
ทันที ทาํ ใหปจ จบุ นั รา นเย็บเสื้อผาชายเกือบหายไปจากสังคมไทย
4. ความปลอดภัย ทง้ั ผผู ลติ และผูบรโิ ภคผลผลติ เชน อาชีพเกษตรอินทรีย คนงานไมมีโอกาส
สัมผัสกับสารพิษ ทําใหการทํางานปลอดภัย ขณะเดียวกัน ผลผลิตจากเกาตรอินทรียเปนอาหารที่
ปลอดภัย

การยดึ หลักคณุ ธรรม
การยึดหลักคุณธรรม เปนพฤติกรรมภายในของผูประกอบอาชีพ ทีส่ ําคัญสงผลตอการความ

มั่นคงของอาชีพ ดังนี้

การขยัน

ความประหยัด คุณธรรมประกอบอาชีพ
ความซือ่ สัตย

ความอดทน

คณุ ธรรมทัง้ 4 ประการดังกลาว หลายคนบอกวา เปนเร่อื งท่ตี องปลูกฝงมาแตเยาวว ัยจงึ จะ
เกดิ ขนึ้ ได ความเช่ือนเี้ ปน จริง แตมนษุ ยเราสามารถเรียนรู สรางความเขา ใจ มองเห็นคุณคา ปรบั เปลีย่ น

และตกแตงพฤติกรรมเพื่อใชเปนเครื่องมือสรางความสําเร็จใหกับตนเองได

47

1. การขยัน มีลักษณะพฤติกรรมของการทําอะไรอยางเอาจริงเอาจัง แข็งขันไมเกียจคราน ถาผู
ประกอบอาชีพเปนอยางนี้ เขาจะมองเห็นงานอยางทะลุไปขางหนา มุง มั่นเอาจริงเอาจังยกระดับ
ความสําเร็จไปอยางตอเนื่อง ความมั่นคงก็จะเกิดขึ้น

2. ความประหยัด เปนพฤติกรรมของการยับยัง้ ระมัดระวังการใชจายใหพอ สรางความคุม คา
ใหมีความเสียหายนอยที่สุด พฤติกรรมเชนนี้เปนเรื่องของความรอบคอบในการทํางาน

3. ความซื่อสตั ย เปนลักษณะการประพฤติตรงและจริงใจตอลูกคา ทีมงานไมคิดทรยศ คดโกง
หลอกลวง คคู า ผรู ว มทุนเปน พฤติกรรมท่สี รางความภกั ดี ความไววางใจตอ ลกู คา ทีมงานและหนุ สวน

4. ความอดทน มีลักษณะพฤติกรรมที่สามารถอดกลัน้ งดเวน ทนอยูไ ดกับความยากลําบาก ไม
ทิ้งงาน ไมยกเลกิ ขอ ตกลงงาย ๆ

48

ใบงานที่ 3
การพัฒนาอาชีพใหมีความม่ันคง

คาํ สัง่ ใหผ ูเรยี นแบง กลุม ๆ ละ 5 คน อภิปรายวาการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ตองอาศัยปจจัยใดบาง
อยางไร
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………….……..……………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

49

บทท่ี 5
โครงการพัฒนาอาชีพใหมอี ยูมกี นิ
สาระสําคัญ
โครงการพัฒนาอาชีพใหม ีอยูมีกิน เปนการวิเคราะหความเปนไปไดของแผนการเขียนโครงการ
และการปรับปรุงแกไขโครงการพฒั นาอาชีพใหมอี ยมู กี นิ
ตวั ช้ีวัด
1. วิเคราะหความเปนไปไดของแผนตาง ๆ
2. เขียนโครงการพัฒนาอาชีพ
3. ตรวจสอบความเปนไปไดของโครงการพัฒนาอาชีพ
4. ปรับปรุงโครงการพัฒนาอาชีพ
ขอบขา ยเน้ือหา
เรื่องท่ี 1 การวิเคราะหความเปนไปไดของแผน
เรื่องท่ี 2 การเขียนโครงการการพัฒนาอาชพี ใหม ีอยมู กี นิ
เร่ืองที่ 3 การตรวจสอบความเปนไปไดของโครงการพัฒนาอาชีพ
เร่ืองที่ 4 การปรับปรงุ แกไขโครงการพฒั นาอาชีพใหมอี ยูมีกิน

50

เร่อื งท่ี 1 การวเิ คราะหความเปนไปไดของแผน
การปฏิบัติงานขององคกรกอนที่จะทํางานในเรื่องใด ไมวาจะเปนชวงเวลาที่สั้นหรือยาวตอง

กาํ หนดลว งหนา วา อนาคตทง้ั ใกลแ ละไกล ตามสภาพความจําเปนตางๆเราจะทําอะไรบาง มี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพ่อื ใหง านที่ทาํ บรรลุวตั ถุประสงคเกิดประโยชนส งู สดุ ตอ องคก รและ
ประชาชนทุกดานขององคกรจึงถูกกําหนด และออกแบบไวล ว งหนา โดย “แผน”ขององคก ร แผนจงึ ตอง
ผานการวิเคราะห การประเมินอนาคต และกําหนดวัตถุประสงคที่พึงปรารถนา เพ่ือเตรียมรับสถานการณ
ทไ่ี มแ นน อน และเพ่อื ใหบ ุคคลใชเ ปน แนวทางในการปฏิบัติงานวาจะทําอะไร เพื่อใคร เพราะเหตุใดจึง
ตองทํา และจะทําเมื่อใด

1. ความหมายของการวเิ คราะหแ ผน
แผน หมายถึง งานทุกดานขององคกรทถี่ กู กําหนดข้ึนอยางมีเหตผุ ล เปนระเบียบวธิ ี หรอื

ขั้นตอนที่เปนระบบที่บุคลากรใชเปนคูมือหรือแนวทางการดําเนินงานขององคกร
การวเิ คราะห หมายถึง การแยกแยะรายละเอียด ความเปนไปไดแลว สงั เคราะหใ หเหน็

ความสัมพันธและเกิดกิจกรรมที่มีเปาหมายทิศทางไปสูความสําเร็จ
2. ประเภทของแผน
1. แผนระยะยาว เปน แผนท่มี ีขอบขายกวางมีความยืดหยุนสูง มีระยะเวลาตั้งแต 10 - 20 ป
2. แผนระยะปานกลาง เปนแผนที่มีความแนนอนและเฉพาะเจาะจงมากกวาแผนระยะยาว
มีระยะเวลา 4 - 6 ป
3. แผนระยะสน้ั เปน แผนที่สามารถดาํ เนินการใหส าํ เร็จไดใ นเวลาอันส้นั อยูทีอ่ งคกร
กาํ หนด
การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนในเรื่องน้ี เปนการนําแผนตา ง ๆ ท่ไี ดจัดทําไวในบท

กอ นหนา นี้ ไดแก แผนการพัฒนาการตลาด แผนพัฒนาการผลติ หรอื การบริการ การพัฒนาธรุ กจิ เชงิ รกุ
นํามาวเิ คราะหอ ีกครั้งหนง่ึ เพ่ือตรวจสอบความเปน ไปไดกอ นท่จี ะเขียนเปน โครงการ เชน แผนพัฒนา
การผลติ ในการปลูกผักเกษตรอินทรีย มีตรวจสอบความเปนไปไดจากการทําปุยหมัก มาเปนการปลูกปุย
พืชสดแลว ไถกลบ เนอ่ื งจากมคี วามเปนไปไดม ากกวา เพราะไมต อ งจัดหาวสั ดุทาํ ปยุ หมักทไี่ มม ีใน
ทอ งถิน่ ทัง้ ยงั ตองเสยี คาขนสงทําใหตนทนุ สูงขึน้


Click to View FlipBook Version