The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนสาระความรู้ พื้นฐาน รายวิชา คณิตศาสตร์ (พค11001) ระดับประถมศึกษา (ฉบับปรับปรุง 2560)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสือเรียนสาระความรู้ พื้นฐาน รายวิชา คณิตศาสตร์ (พค11001) ระดับประถมศึกษา (ฉบับปรับปรุง 2560)

หนังสือเรียนสาระความรู้ พื้นฐาน รายวิชา คณิตศาสตร์ (พค11001) ระดับประถมศึกษา (ฉบับปรับปรุง 2560)

Keywords: หนังสือเรียนสาระความรู้ พื้นฐาน รายวิชา คณิตศาสตร์ (พค11001) ระดับประถมศึกษา (ฉบับปรับปรุง 2560)

94

(2) สวนกลบั ของ 4 คอื 1 แลวคณู กับ 8 ได 8
14 9 36

(3) ทาํ 8 ใหเ ปนเศษสว นอยา งต่ํา โดยนํา 4 ซง่ึ เปน ห.ร.ม. ของตัวเศษและตวั สวนมาหารได 2
36 9

6.3 การหารเศษสว นดว ยเศษสวน
การหารเศษสว นดว ยเศษสว น ทําไดโ ดย การคณู เศษสว นทเ่ี ปน ตวั ตงั้ กบั สวนกลบั ของเศษสว นที่

เปน ตัวหาร

ตวั อยาง 2  3 =  ตอบ 11
5 10 3

วิธีทาํ 2  3 = 2  10
5 10 5 3
= 2 10
53
= 20
15
= 20  5
15  5
=4
3
= 11
3

อธบิ าย (1) สวนกลบั ของ 3 คอื 10 แลวนาํ ไปคณู กับ 2 ได 20
10 3 5 15

(2) ทํา 20 ใหเ ปน เศษสวนอยางต่าํ โดยนาํ 5 ซึง่ เปน ห.ร.ม. ของทง้ั ตัวแปรและตวั สวนมาหารได 4
15 3

(3) ทํา 4 เปนเศษสว นจํานวนคละโดยใช 3 เปน ตวั หาร 4 ได 11
33

ตัวอยาง 3 4  3 3 = 
54

วิธที ํา =3 4  3 3 19  15
5 4 54
= 19  4
5 15
= 19  4
5 15
= 76
75
= 11
75

ตอบ 1 1
75

95

อธิบาย (1) ทาํ 3 4 และ 3 3 ใหเ ปน เศษเกินได 19 และ 15
54 54

(2) สว นกลบั ของ 15 คอื 4 แลวคูณกบั 19 ได 76
4 15 5 75

(3) ทํา 76 เปนเศษสว นจํานวนคละได 1 1
75 75

หมายเหตุ การหารจาํ นวนคละกบั เศษสวนหรือการหารจาํ นวนคละกบั จาํ นวนคละ อาศยั หลักการเดยี วกบั
การหารเศษสว นดว ยเศษสว น กลาวคอื ทําเศษสวนจํานวนคละใหเปน เศษเกินกอน แลว จงึ นาํ มา
หารกันเหมือนเศษสวนทวั่ ไป

6.4 โจทยป ญ หาการหารเศษสว น
โจทยปญหาการหารเศษสวนจะมีลักษณะเชน เดียวกับโจทยปญ หาการลบเศษสว น เพราะการหาร

เปนวธิ ลี ัดของการลบออกจาํ นวนท่ีเทา ๆ กนั เพอ่ื ใหก ารคดิ คํานวณรวดเร็วและสะดวกข้นึ

ตวั อยาง พอมที ด่ี นิ จาํ นวน 22 1 ไร แบง ใหล กู 3 คน เทา ๆ กนั ลกู จะไดทดี่ นิ คนละกีไ่ ร
2
ประโยคสัญลกั ษณ คือ 22 1  3 = 
2

วธิ ีทาํ พอ มีท่ดี นิ จาํ นวน 22 1 ไร
2
แบงใหลกู 3 คน เทา ๆ กัน

ลกู จะไดท ดี่ นิ คนละ 22 1  3 = 45  3 ไร
2 21

= 451 ไร
23

= 45  3 ไร
6 3
อธิบาย ไพงาปอยลแกบบวองา ทอคก่ีดือจนิ วาจิธกาํ ตหี น2อาว2บรน12โด2จ7ย2นน121==2กาํ วไ31ไา72ร5จไร12ปใะหหหลมากูรดไ3ไ2ซรร2คง่ึ  ท12นาํ จเใทะหาไเสดๆียผกเลวันลลัพาถมาธทาทกาํ ันวเทรธิ าีลี จบึงใเรชาว จิธะลี ตดั อซงึง่นสําะ3ดวกและ

96

แบบฝกหดั ที่ 13 7. 2  5 = .
59
ตอนท่ี 1 ใหแ สดงวิธที ําและหาคาํ ตอบ
8. 4  1 = 
1. 4  1 =  5 10
4
9. 2 1  5 = 
2. 5  5 =  36
7
10. 3  2 1 = 
3. 8  8 =  10 15
9
11. 5 5  7 1 = 
4. 14  7 =  84
15
12. 21 3 15 3 = 
5. 1  1 =  57
44

6. 1  1 = 
22

ตอนที่ 2 ใหแ สดงวธิ ที ํา

1. เลข 2 จํานวนคณู กันได 54 ถา จํานวนแรก คือ 9 เลขจํานวนหลังคืออะไร
55 15

2. มีขา วสารอยู 36 3 กระสอบ เลยี้ งผอู พยพในคายแหง หนึง่ หมดในเวลา 6 วนั จะตอ งใช
4
ขาวสาร วนั ละเทา ไร

3. อาสาสมคั ร 30 คน ชว ยกันขุดบอนา้ํ ในเวลา 5 วนั ขดุ ได 5 บอ ดังนัน้ ถา ขุด 1 วัน จะได
6
เทาไร

4. ถังน้ํามนั ใบหนึ่งมนี ํ้ามันอยู 63 ถงั ถานาํ มาบรรจุกระปอ งซึ่งจกุ ระปอ งละ 3 ถัง จะได
112 16
ก่กี ระปอง

97

เรอื่ งที่ 7 การบวก ลบ คูณ หาร เศษสว นระคน และโจทยป ญ หา

ในบางครัง้ โจทยอาจกําหนดใหม กี ารบวก ลบ คณู หรือหาร อยใู นขอเดยี วกนั หรอื มเี ครอื่ งหมาย
วงเล็บ หรอื คาํ วา “ของ” อกี ดวย หลกั ในการคาํ นวณใหดําเนินการตามลําดับขน้ั ดังน้ี

(1) คาํ นวณจาํ นวนทอี่ ยใู นเคร่อื งหมายวงเล็บกอ น

(2) ถา มีคําวา “ของ” ใหเปลีย่ นเปน เครือ่ งหมายคูณ “” และคาํ นวณกอน
(3) คํานวณคณู และหารพรอมกัน
(4) คาํ นวณบวก และลบพรอ มกัน

ตวั อยา งท่ี 1  3  5  ÷ 7 1 = 

4 6 2

วธิ ที าํ  3  5  ÷ 7 1 = ÷ 3 3  5 2  15

4 6 2 43 62 2

=  9  10  ÷ 15
 12 12  2

= 19  15
12 2

= 19  2
12 15

= 38
180

= 38  2
180  2

= 19
90

อธบิ าย (1) ใหนําเศษตสอวบนใ1น9วงเลบ็ มาบวกกันกอ น
90

(1) คาํ นวณโดยบวกเศษสว นท่อี ยใู นวงเลบ็ กอ น คือ  35  จะได 19
 12

46

(2) เมื่อทาํ ในวงเลบ็ เปนจํานวนเดียวกันแลวจงึ นํา 7 1 ไปหาร โดยทํา 7 1 ใหเปน เศษเกนิ กอ น
22

98

ตัวอยา งท่ี 2 + 25  4  5 1  2 3  = 
 28 5   2 4 

วิธที ํา  25  4  + 11  11 = 100  11  4 

 28  5   2 4  140  2 11

= 5  11 4
7 2 11

= 5  44
7 22

= 52
7

= 25
7

ตอบ 2 5
7

อธบิ าย (1) ในวงเลบ็ แรก ตวั เศษ คอื 25  4 ได 100 ตวั สว นคือ 28  5 ได 140 แลวทําใหเปน
เศษสว นอยา งตาํ่ โดยให 20 ซงึ่ เปน ห.ร.ม. ของ 100 และ 140 มาหารทัง้ ตวั เศษและ

ตัวสว นได 5
7

(2) ในวงเลบ็ หลงั ทาํ ใหเปนเศษเกนิ กอนได 11 กับ 11 แลวกลบั ตวั หาร คอื 11 เปน 4
24 4 11

นาํ มาคูณกับ 11 ได 44 และ 22 หาร 44 ไดเปน 2
2 22

(3) นาํ 5 บวกกบั 2 ไดเปน 2 5
77

ตวั อยางท่ี 3 ชาวสวนเก็บมะมว งตน แรกได 122 1 กโิ ลกรัม และตนที่สองได 134 1 กโิ ลกรัม ถา
24
นํามารวมกัน แลว แบงเปน 3 กองเทา ๆ กนั จะไดก องละกก่ี ิโลกรมั

ประโยคสญั ลักษณ คือ (122 1 134 1 ) ÷ 3 = 
24

วิธที ํา ชาวสวนเกบ็ มะมว งตนแรกได 122 1 กิโลกรมั
2

เกบ็ มะมวงตน ที่สองได 134 1 กิโลกรมั
2

รวมมะมว งทัง้ สองตน ได = 122 1 134 1 กิโลกรมั
24

= 245  537 กโิ ลกรมั
24

= 245 2  537 กโิ ลกรัม
22 4

= 490  537 กโิ ลกรัม
44

= 1027 กโิ ลกรัม
4

99

แลวนาํ มาแบง เปน 3 กองเทา ๆ กัน

ดงั นน้ั จะไดก องละ = 1027  3 กิโลกรัม
41 กโิ ลกรัม
กิโลกรัม
= 1027  3 กโิ ลกรมั
41

= 1027
12

= 85 7
12

ตอบ 85 7 กโิ ลกรัม
12

แบบฝก หดั ที่ 14

ตอนท่ี 1 ใหแ สดงวิธที าํ

1. 1 5  2  1 =

 8 3 4

2.  3  2   1 = 
4 5 5

3. 7   4  2  = 
 7 14 

4. 2 3  10 2  6 = 
5 7 

5. 5 1  2 3   7 1 = 
 2 4 3

6.  1  7    2 4  1  = 
 8 8   5 14 

7.  35  4    2  10  = 
 36 5   3 12 

8. 15 5  12 1  25 ของ 9 = 
6 3 54 100

ตอนท่ี 2 ใหเ ขียนเปน ประโยคสัญลกั ษณแ ละหาผลลัพธ

1. ซอ้ื ทุเรียน มังคดุ และเงาะ หนกั รวมกนั 10 1 กโิ ลกรัม ถา เงาะหนัก 3 1 กิโลกรมั มงั คุดหนกั
42

3 2 กโิ ลกรมั ทุเรยี นหนกั กก่ี โิ ลกรมั
3
2. เชอื กเสน ที่หนึง่ ยาว 12 9 เมตร เสน ทส่ี องยาว 25 1 เมตร นาํ มาผกู ตดิ กันจะยาวกี่เมตร
93
3. ถนนสายหนึ่งยาว 60 1 กิโลเมตร ถา ขี่จกั รยานดวยความเรว็ 15 1 กิโลเมตรตอชวั่ โมง จะตอ งใชเ วลานานเทา ไร
28
4. ที่ดนิ แปลงหน่งึ มพี น้ื ท่ี 50 ไร ถา จะทาํ เปน ทจี่ ัดสรรแบง ขายแปลงละ 11 ไร จะจัดสรรไดกแ่ี ปลง
4
5. วนั แรกกรรมกรทาํ ถนนได 1 ของระยะทางท้ังหมด วันทสี่ องทําถนนไดอ กี 1 ของระยะทาง
32

ทัง้ หมด เหลอื ท่ียงั ไมไ ดทําคิดเปนระยะทาง 5 กิโลเมตร อยากทราบวา ถนนสายน้ียาวกก่ี ิโลเมตร

100

6. บญุ ยอดมีรายไดเดอื นละ 5,400 บาท จา ยคาเชาบา นไป 1 ของรายได และจา ยคา อาหารอกี 1 ของ
93

รายได อยากทราบวา เขาจะมีเงนิ เหลือเทา ไร

101

บทที่ 3
ทศนยิ ม

สาระสาํ คญั

การอานและเขยี นทศนยิ ม การเขียนในรูปกระจาย การเปรยี บเทียบทศนิยม การเรยี งลําดับ การ
ประมาณคา ความสมั พันธร ะหวางทศนิยมกับเศษสวน การบวก ลบ คณู หาร ทศนยิ ม และการแกโจทย
ปญ หาตามสถานการณ

ผลการเรียนรูท่คี าดหวัง

1. บอกความหมายเขียนและอานทศนยิ มได
2. บอกคาประจาํ หลักและคาของตวั เลขในแตล ะหลักของทศนยิ มได
3. เขยี นทศนยิ มในรูปการกระจายได
4. เปรยี บเทยี บและเรียงลําดบั ทศนยิ มได
5. แปลงทศนยิ มใหอยูในรปู เศษสวน และแปลงเศษสวนจาํ นวนนับใหอ ยใู นรปู ทศนิยมได
6. ประมาณคาทศนิยมหน่งึ ตาํ แหนง สองตําแหนง และสามตาํ แหนง ได
7. บวก ลบ ทศนิยม และนาํ ความรไู ปใชแกโ จทยป ญ หาได
8. คณู หาร ทศนิยมและนําความรูไปใชแ กโจทยป ญหาได

ขอบขา ยเน้อื หา

เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ของทศนยิ ม การอา น และการเขยี นทศนิยม
เรอ่ื งที่ 2 คา ประจําหลักและคา ของตัวเลขในแตล ะหลักของทศนิยม
เร่ืองท่ี 3 การเขยี นทศนยิ มในรูปการกระจาย
เรื่องท่ี 4 การเปรียบเทียบและเรียงลาํ ดับทศนิยม
เรอ่ื งที่ 5 ความสัมพนั ธร ะหวา งทศนยิ มและเศษสว น
เรอ่ื งท่ี 6 การประมาณคาใกลเคียงทศนยิ ม
เร่ืองท่ี 7 การบวก ลบ ทศนิยม และ โจทยปญ หา
เรอ่ื งที่ 8 การคูณ หาร ทศนยิ มและโจทยปญ หา

102

เรื่องท่ี 1 ความหมาย การอา นและการเขียนทศนยิ ม

1.1 ทศนยิ มหนง่ึ ตําแหนง
ทศนยิ มหมายถึง การเขียนจาํ นวนในรูปเศษสว น ท่มี ตี ัวสว นเปน 10, 100, 1,000 และ

10,000 ,… โดยใชจ ุด (.) แสดงคา ตาํ แหนง เชน

รูปสเ่ี หลยี่ มผนื ผา ถกู แบง พ้ืนที่ออกเปน 10 สว น เทา ๆกัน สว นทแ่ี รเงามี 7 สวน เขียนแทน
ดวยเศษสวนเทากับ 7 เขยี นเปนทศนยิ มได 0.7

10

1.2. การอา นทศนยิ ม ใหอานตวั เลขจาํ นวนนบั หนาจุดทศนยิ มกอ น แลว อานตวั เลขที่อยูห ลัง
ทศนยิ มเรียงไปทางขวาจนหมดทกุ ตวั เชน

0.2 อา นวา ศนู ยจ ดุ สอง
0.53 อา นวา ศนู ยจ ดุ หาสาม
3.48 อานวา สามจุดส่ีแปด
72.316 อา นวา เจด็ สิบสองจดุ สามหน่ึงหก

1.3 การเขียนทศนิยม จาํ นวนที่เขยี นหนาจุดทศนิยมแทนจาํ นวนนับ สว นหลงั จุดทศนยิ มตําแหนง
ทห่ี น่งึ เรียกวา “ทศนิยมตําแหนงท่หี นง่ึ ” เปนตัวเลขท่แี สดงวา มีก่ีสว นในสบิ สองสว น
เทา ๆ กัน เชน

จากรูปสว นทแ่ี รเงา มีคา เทากับ 4 สว นใน 10 สว นเทา ๆ กนั หรือ 4 เขยี นแทนดว ยทศนยิ ม 0.4

10

อา นวาศนู ยจ ดุ ส่ี ในทาํ นองเดียวกัน ถา รปู สเี่ หลีย่ มผืนผา ถูกแบง เปน 100 สว นเทาๆ กนั ถา มีสวนทแี่ รเงา
79 สว นใน 100 สวน เขยี นเปน เศษสว นได 79 เขียนแทนดว ยทศนยิ มได 0.79 อานวา ศูนยจดุ เจ็ดเกา

100

103

แบบฝกหดั ที่ 1 (2)
ก. จงเขียนทศนยิ มแสดงสว นทแ่ี รเงา

(1)

(3) (4)

ข. จงเขยี นคําอา นของทศนิยม

(1) 0.64 อา นวา ____________________________________________________________________

(2) 0.80 อานวา ____________________________________________________________________

(3) 0.09 อา นวา ____________________________________________________________________

(4) 0.82 อา นวา ____________________________________________________________________

(5) 0.49 อานวา ____________________________________________________________________

ค. จงเขียนเปน ตวั เลขแสดงทศนิยม (2) ศนู ยจ ุดเจด็ ศนู ย = ____________________
(1) ศูนยจ ุดแปดเกา = ____________________ (4) ศูนยจ ุดส่แี ปด = ____________________
(3) ศนู ยจ ุดศนู ยสอง = ____________________ (6) ศนู ยจ ดุ แปดแปด = ____________________
(5) ศูนยจ ดุ เกาหา = ____________________

104

เรื่องที่ 2 คา ประจาํ หลกั และคา ของตวั เลขในแตล ะหลกั ของทศนยิ ม

ใหผเู รยี นศกึ ษาจากภาพตอ ไปนี้

0.40 จากรูปสวนที่แรเงาเขยี นแทนดวย 0.46
0.46
ทศนยิ มตําแหนงที่ 1

0.06 มคี า ประจาํ ตาํ แหนง เปน หรือ 0.4

ทศนยิ มตําแหนงท่ี 2

มคี า ประจาํ ตําแหนงเปน หรอื 0.06

เราสามารถเขยี น 0.46 ไดด ังน้ี
0.46 = 0.40 + 0.06 หรือ = 0.4 + 0.06

แบบฝก หดั ที่ 2 (2) 0.75 =  + 0.05
ก. จงเติมจํานวนใน  ใหถูกตอ ง (4) 0.66 = 0.6 + 
(1) 0.53 = 0.5 + 
(3) 0.84 = 0.8 +  (2) 0.3 + 0.01 = 
(5) 0.67 =  + 0.07 (4) 0.2 + 0.09 = 
ข. จงเตมิ ตวั เลขลงใน  ใหถ ูกตอ ง (6) 0.4 + 0.08 = 
(1) 0.8 + 0.04 = 
(3) 0.6 + 0.05 = 
(5) 0.1 + 0.02 = 

105

เรื่องท่ี 3 การเขยี นทศนยิ มในรปู การกระจาย

การเขยี นทศนิยมในรปู การกระจายนน้ั เปน การเขยี นในรปู การบวกคาตัวเลขในแตล ะหลกั เชน

56.37 เขยี นในรปู การกระจายได

หลักสบิ หลักหนว ย หลกั สวนสบิ หลกั สวนรอ ย

5637

ดังนั้นเขยี น 56.37 = 50 + 6 + 0.3 + 0.07
ตัวอยาง การเขียนในรูปการกระจาย

1) 0.84 = ………………………
2) 56.08 =………………………
3) 5.32 =………………………
4) 79.503 =………………………

เรื่องท่ี 4 การเปรยี บเทียบทศนยิ มและเรยี งลําดบั ทศนยิ ม

การเปรยี บเทียบทศนิยม ทําไดโ ดยเปรยี บเทียบจํานวนท่ีอยขู า งหนา ของจดุ ทศนิยมกอ น แลวจงึ
เปรียบเทยี บจํานวนท่อี ยูข า งหลงั จดุ ทศนยิ ม โดยพจิ ารณาตวั เลขของทศนยิ ม ตําแหนง แรก

4.1 การเปรียบเทยี บทศนยิ มหนงึ่ ตาํ แหนง

0.4 0.5
จากรปู สว นท่ีแรเงาแสดงทศนยิ ม 0.4 และ 0.5 ตามลําดบั
0.4 หมายถงึ 4 สวนใน 10 สวน
0.5 หมายถึง 5 สวนใน 10 สวน
ดังน้นั 0.4 < 0.5 หรือ 0.5 > 0.4

0.6 > 0.4

106

แบบฝก หดั ท่ี 3 (2) 0.5
จงเตมิ เคร่อื งหมาย < หรอื > ใน  0.9
(1) 0.3

0.4

0.3  0.4 0.5  0.9

(3) 0.4  0.3 (4) 0.8  0.9

(5) 0.3  0.7 (6) 0.6  0.3

4.2 การเปรยี บเทยี บทศนิยมสองตําแหนง

0.30 0.32

จากรปู แสดงทศนยิ ม 0.30 กับ 0.32 0.84
0.30 หมายถงึ 30 สว นใน 100 สวน
0.32 หมายถึง 32 สวนใน 100 สว น
ดังนัน้ 0.30 < 0.32 หรอื 0.32 > 0.30

0.74

0.74 < 0.84

107

แบบฝก หดั ที่ 4
จงเติมเครอ่ื งหมาย < หรอื > ลงใน  ใหถูกตอ ง
(1)

0.90  0.50

(2)

0.51  0.48
(3)

0.75  0.60

(4) 0.28  0.18
(5) 0.50  0.55

108

4.3 การเปรียบเทยี บทศนิยม 1 ตําแหนง กบั ทศนยิ ม 2 ตําแหนง ขน้ึ ไป

ใหน ักศกึ ษานาํ กระดาษมา 1 แผนกวา ง 5 เซนติเมตร ยาว 5 เซนติเมตร

แบงกระดาษออกเปน 10 สว นเทา ๆ กัน ดงั รปู
แลว แรเงา 5 สวนใน 10 สวน
สว นที่แรเงาแสดงทศนิยม 0.5

รปู ที่ 1

นาํ กระดาษแผน เดมิ แบงตามแนวขวางออกเปน 10 สวน
เทา ๆ กัน จะเห็นวา กระดาษแผน เดมิ ถูกแบง เปน
100 สวน เทา ๆ กนั สวนทแี่ รเงา 50 สวนใน 100 สว น
เขียนแทนดว ย 0.50
ดงั นั้น 0.5 = 0.50
รูปที่ 2

แบบฝก หดั ที่ 5

ก. จงเติมทศนยิ ม 1 ตําแหนงท่ีมคี าเทากับทศนิยมทกี่ าํ หนดให

(1) 0.30 = (2) 0.70 = (3) 0.80 =
(6) 0.20 =
(4) 0.40 = (5) 0.10 =

ข. จงเตมิ ทศนิยม 2 ตาํ แหนง ท่มี ีคา เทากบั ทศนยิ มทกี่ าํ หนดให

(1) 0.9 = (2) 0.8 = (3) 0.5 =

(4) 0.7 = (5) 0.4 = (6) 0.3 =

ค. จงเรียงลําดับทศนิยมดงั ตอไปนจี้ ากมากไปหานอย (4) 57.468
(1) 0.80 (2) 3.108 (3) 16.09 (4) 0.04

ง. จงเรียงลาํ ดบั ทศนิยมดังตอไปนจ้ี ากนอ ยไปหามาก
(1) 6.024 (2) 26.44 (3) 108.009

109

เรอ่ื งท่ี 5 ความสัมพนั ธระหวางทศนิยมและเศษสวน

ตามทไี่ ดเรียนรมู าแลว วาทศนิยมคือตัวเลขทแ่ี ปลงรูปมาจากเศษสวน นั่นคือ สามารถแปลงเศษสว น

ใหเ ปน ทศนยิ ม และแปลงทศนิยมใหเ ปน เศษสว นไดโดยที่คา ไมเปลยี่ นแปลง เชน

5.1 ถาตองการแปลงเศษสวนใหเ ปน ทศนิยม เชน
5
10 = 0.5 (5 อยูในหลักสวนสบิ เขียนใหอ ยใู นทศนิยมตําแหนงท่ี 1)

6 = 0.06 (6 อยูในหลกั สวนรอ ยจึงเขียนใหอยใู นทศนิยมตาํ แหนง ที่ 2)
100
8
1000 = 0.008 (8 อยูในหลกั สว นพันจงึ เขยี นใหอ ยูใ นทศนิยมตาํ แหนง ที่ 3)

ในกรณเี ลขเศษสวนเปนจํานวนอนื่ ทีไ่ มใ ช 10, 100, 1000, … ผเู รียนสามารถใชว ธิ ีขยายเศษสว นมา

ชวย เชน

1 = 1 × 5 = 5 = 0.5
2 2 5 10
4 42 8
5  52 = 10 = 0.8

7 7 125 = 875 = 0.875
8 8  125 1000

ในทาํ นองเดยี วกนั ถา ตองการแปลงทศนิยมใหเปน เศษสวนผเู รยี นก็สามารถใชว ิธกี ระจายจํานวนไป

ตามคาประจาํ หลกั ได เชน 6 6
6 10 3 10
8.6 = 8+ 10 = 8 = 8 5 (ทํา ใหเปน เศษสวนอยา งต่ํา)

16.15 = 16 + 15 = 1611050 = 16 3 (ทาํ 15 ใหเ ปน เศษสวนอยา งต่าํ )
100 20 100

แบบฝกหดั ที่ 6

1. จงเปลีย่ นเศษสว นตอไปนใี้ หเปน ทศนิยม
4 47
1) 10 = 2) 100 =

3) 106 = 4) 3 =
1000 1000

110

2. จงเปล่ยี นทศนิยมตอ ไปนใี้ หเ ปน เศษสวน

1) 0.3 = 2) 8.09 =

3) 10.82 = 4) 98.043 =

เร่อื งที่ 6 การประมาณคา ใกลเคียงทศนิยม

หลกั การทางคณติ ศาสตร ในการหาคาซง่ึ ไมใ ชค า ที่แทแ ตมคี วามละเอยี ดเพียงพอกบั การนาํ ไปใช
เรยี กวา การประมาณคา โดยใชเ ครื่องหมาย “ ” มีแนวทางดําเนินการไดด ังน้ี

1) การปด เศษใหเปนจาํ นวนเตม็ เชน
63.785  64
78.05  78

2) การปด เศษใหเปน ทศนิยมหนง่ึ ตําแหนง เชน
43.554  43.6
79.788  79.8

3) การปด เศษใหเ ปนทศนยิ มสองตําแหนง เชน
64.554  64.55
93.449  93.45

4) การปด เศษใหเปนทศนยิ มสามตําแหนง เชน
8.6873  8.687

108.4328  108.433

ขอ สังเกต

1) ตวั เลขท่ีไมแสดงปริมาณ เชน หมายเลขโทรศัพท, บานเลขท,ี่ เลขประจําตวั , จะไม
ใชการปด เศษ

2) ไมใ ชการปด เศษมากกวา 1 ครัง้ เชน ปด 25.449 เปน 25.45 และปด 25.45 เปน 25.5

111

แบบฝกหดั ท่ี 7
จงประมาณคาของจํานวนตอ ไปนี้
1) ประมาณคา ใหเ ปน จาํ นวนเตม็
8.8  43.4 

2) ประมาณคา ใหเปน ทศนยิ มสองตาํ แหนง

35.083  74.755 

3) ประมาณคา ใหเปน ทศนยิ มสามตาํ แหนง

2  3
37

เรื่องที่ 7 การบวก ลบ ทศนยิ มและโจทยป ญ หา

จาํ นวนที่อยใู นรปู ของทศนยิ มมคี า ประจําตาํ แหนง เชน เดียวกบั จํานวนนับ กลา วคือ การบวก และการลบ
ทศนยิ ม จะตองจดั ตาํ แหนงของตวั เลขใหตรงกนั เชน เดยี วกบั การบวก และการลบจํานวนนบั แลวจึงบวกหรอื ลบ
จํานวนท่อี ยใู นตาํ แหนง เดียวกัน และใสท ศนิยมใหต รงกนั ดวย ดังตัวอยาง ตอไปน้ี

ตวั อยาง 32.35 + 45.73 – 27.8 =  ตวั อยา ง 96.28 – 28.95 + 12.22 = 

วธิ ที าํ 32.35 + วิธีทํา 96.28 -
45.73 28.95

78.08 - 67.33 +
27.80 12.22

แบบฝกหดั ท่ี 68 50.28 79.55
ตอบ 50.28
ตอบ 79.55

แบบฝก หดั ที่ 8

จงหาผลลัพธตอ ไปน้ี
(1) 45.75 + 10.05 – 15.5 = 
(2) 108.15 + 197.83 – 201.35 = 
(3) 163.62 + 101.23 – 87.98 = 
(4) 267.77 + 101.01 – 183.3 = 
(5) 389.19 + 38.05 – 111.5 = 

112

7.1 สมบตั กิ ารสลบั ทขี่ องการบวกทศนยิ ม

ตวั อยา ง จงเปรียบเทียบวา 12.28 + 18.32 และ 18.32 + 12.28 เทา กันหรอื ไม

วธิ ที ํา 12.28 + วธิ ีทํา 18.32 +
18.32 12.28

30.60 30.60

ดังน้ัน 12.28 + 18.32 = 18.32 + 12.28

แนวคดิ

ทศนยิ มท้งั 2 จํานวนท่ีนาํ มาบวกกนั สามารถสลับทกี่ ันได โดยทผี่ ลบวกยังคงเทา เดิม

แสดงวา การบวกทศนยิ มมี สมบัตกิ ารสลบั ทีก่ ารบวก

7.2 สมบัติการเปลยี่ นหมขู องการบวกทศนยิ ม

ตวั อยาง จงเปรยี บเทยี บวา (25.75 + 18.13) + 12.25 และ (25.75 + 12.25) + 18.13 เทา กัน

หรือไม

วิธีทําที่ 1 (25.75 + 18.13) + 12.25 วธิ ีทาํ ท่ี 2 (25.75 + 12.25) + 18.13

= 43.88 + 12.25 = 38.00 + 18.13

= 56.13 = 56.13

ดงั นัน้ (25.75 + 18.13) + 12.25 = (25.75 + 12.25) + 18.13

แนวคดิ

เม่ือพิจารณา การหาคาํ ตอบของทง้ั 2 วิธี วธิ ที ี่ 2 งายกวาวิธที ี่ 1

เพราะ 25.75 + 12.25 = 38.00

(เพราะ .75 บวกกับ .25 จะได 1.00 แลวนํา 1 ไปทดในหลกั ถดั ไป)

นําไปบวกกับ 18.13 ซึง่ มีคา เทา กบั วธิ ที ่ี 1

ดังนัน้ จะเหน็ วา จะบวกสองจํานวนแรกกอน หรอื สองจาํ นวนหลังกอ นแลว จงึ นําไป

บวกกับจาํ นวนท่ีเหลอื จะไดผ ลลพั ธเทากัน แสดงวาการบวกทศนยิ มมี สมบตั กิ ารเปลี่ยนหมู

ของการบวก

113

7.3 โจทยปญ หาการบวกและการลบทศนิยม

ตวั อยาง วนิ ัยขายสนิ คาไดเงนิ 235.75 บาท ลกู หน้นี ําเงนิ มาชาํ ระใหวินยั 105.50 บาท

แลวจา ยเปนคาขนสง สนิ คา 35 บาท เขาเหลือเงนิ เทาไร

วิธีทาํ ขายสนิ คาไดเงนิ 235.75 บาท

ลกู หนี้นาํ เงินมาชําระ 105.50 + บาท
รวมเงิน 341.25 บาท

จา ยเปน คาขนสง 35.00 - บาท
เหลอื เงิน 306.25 บาท

ตอบ 306.25 บาท

แบบฝก หดั ท่ี 9
จงหาผลลัพธตอ ไปนี้

(1) สดุ าซือ้ สมดุ 1 เลม ราคา 12.75 บาท และซื้อหนังสือ 1 เลม ราคา 35.50 บาท ใหธ นบตั รฉบบั
ละ 50 บาท แกผูข าย สดุ าจะไดรบั เงนิ ทอนเทา ไร

(2) ซ้ือแปงมัน 2 ถุงหนกั 3.5 กโิ ลกรมั และ 2.3 กิโลกรมั แบงขายไป 1.5 กโิ ลกรัม
เหลอื แปง มันก่กี โิ ลกรมั

(3) ขา วสารกระสอบหนง่ึ หนัก 100 กิโลกรมั อกี กระสอบหนง่ึ หนกั 50 กโิ ลกรมั แบงขายไป 16.5
กโิ ลกรมั เหลือขาวสารหนกั กีก่ โิ ลกรมั

(4) วีระขจี่ กั รยานจากบานไปตลาดเปน ระยะทาง 3.7 กิโลเมตร และขี่จากตลาดไปโรงเรียนอกี 1.5
กโิ ลเมตร เมอื่ ข่ไี ปไดร ะยะทาง 4.5 กโิ ลเมตร ปรากฏวา ยางรถรัว่ เหลอื ระยะทางอกี เทาไร จงึ จะ
ถึงโรงเรยี น

(5) เชือกสองเสนยาว 10.5 เมตร และ 12.7 เมตร นํามาตอกนั แลววดั ใหมไ ดยาว 23.18 เมตร เสีย
เชือกตรงรอยตอกี่เมตร

114

เรือ่ งที่ 8 การคณู หารทศนิยมและโจทยป ญ หา

8.1 การคณู ทศนยิ ม และโจทยป ญ หา
การคณู ทศนิยม เราสามารถคณู ทศนยิ มไดโดยใชว ธิ กี ารเชน เดียวกบั การคูณจาํ นวนเตม็ บวก โดยมี
หลักวา ทศนิยมท่ีเปนผลคณู จะมีตําแหนงทศนิยมเทา กบั ผลบวกของจาํ นวนตาํ แหนง ทศนิยมท้ังตวั ตง้ั และ
ตวั คณู

ตัวอยาง 6.25 × 2.3 = 
วธิ ที าํ
6.2 5 × ตัวตง้ั ทศนิยม 2 ตาํ แหนง
2. 3 ตัวคณู ทศนยิ ม 1 ตาํ แหนง

1875 + รวมทศนิยมตวั ต้ังและตวั คูณเทา กับ 3 ตําแหนง
1250

1 4.3 7 5

ขอสงั เกต
การใสจดุ ทศนยิ มใหน บั จากตวั สุดทา ยไป 3 ตาํ แหนง แลว ใหใสจุดหนาตาํ แหนง ทส่ี าม

สมบตั กิ ารสลบั ทก่ี ารคูณ

ตัวอยาง จงเปรยี บเทียบวา 2.8 × 1.3 และ 1.3 × 2.8 เทา กนั หรอื ไม

วิธที ํา 2.8 วธิ ีทํา 1. 3
1.3 × 2. 8 ×

84 104
28 + 26 +

364 364

ดงั นั้น 2.8 × 1.3 = 1.3 × 2.8

ขอสังเกต
จะเหน็ วา 2.8 × 1.3 หรอื 1.3 × 2.8 ผลลพั ธที่ไดจ ะมีคาเทา กัน แสดงวา การคณู ของ

ทศนิยมมี สมบัตกิ ารสลบั ท่กี ารคณู

ตวั อยาง รถยนตคันหนง่ึ เติมน้ํามนั 15.5 ลติ ร ถา นํา้ มนั ราคาลิตรละ 24.58 บาท จะเปน เงนิ เทาไร

115

วิธีทาํ นํ้ามนั ราคาลิตรละ 24.58 บาท

เติมนํา้ มัน 15.5 บาท

จะเปนเงิน 24.58 x 15.5 = บาท

2145.5.58×
11222299000+
245800
380.990

24.58 x 15.5 = 380.99
จะเปนเงนิ 380.99 บาท
ตอบ 380.99 บาท

แบบฝกหดั ท่ี 10 2) 3.21 x 1.1 =
1. จงเตมิ คาํ ตอบในชอ ง 
1) 59 x 0.5 =

3) 5.66 x 1.07 = 4) 8.45 x 0.009 =

2. รานคา ขายกางเกงไป 123 ตวั ถา ราคาขายตัวละ 87.50 บาท รานคาจะไดเงินเทา ไร
ตอบ _____________________________________________________________________

3. แมค าขายมะมว งไปกิโลกรมั ละ 55.85 บาท ขายไดจ ํานวน 403 กิโลกรัม แมค า จะไดรบั เงินเทา ไร
ตอบ _____________________________________________________________________

4. ชาวนาขายขาวได ตนั ละ 1,530 บาท ขายไปได 25.25 ตนั ชาวนาจะไดรบั เงนิ เทาไร
ตอบ _____________________________________________________________________

116

8.2 การหารทศนิยมและโจทยป ญหา

การหารทศนยิ มดว ยจาํ นวนนบั
การหารทศนยิ มดว ยจํานวนนบั วธิ ที ง่ี ายคือ การต้ังหารยาว โดยนําตัวหารไปหารตัวตั้งท่ีเปน

จาํ นวนนบั จนหมดหลกั หนว ย แลว จงึ หารตัวเลขหลังจุดทศนิยมตอไปเหมือนกับจํานวนนับ แตตองใสจุด
ทศนิยมทผ่ี ลหารใหตรงกบั จดุ ทศนยิ มของตวั ตง้ั หรือใสจุดทศนิยมใหมีจํานวนตําแหนง ทศนยิ มเทากบั ตัวต้ัง
นนั่ เอง

ตัวอยางที่ 1 3.36 ÷ 3 = 

วธิ ีทํา 1. 1 2
3 ) 3. 3 6
-
3
03
3 -

06 -
6
00

ตอบ 1.12

อธบิ าย 3 เปนตวั หารมตี วั เลขหลกั เดียว จึงหารตัวตัง้ ทลี ะหลัก เรมิ่ จากซา ยไปขวา และตอง
ใสจุดทศนยิ มท่ผี ลลัพธใหต รงกบั ตวั ต้งั ซงึ่ จะเห็นวาตวั ตั้งมที ศนิยม 2 ตาํ แหนง ผลลัพธจ งึ มีทศนิยม
2 ตําแหนงดวย

ตวั อยา งที่ 1 253.92 ÷ 12 = 

วธิ ที ํา 2 1. 1 6
12 )2 5 3. 9 2
-
24
13
12 -

19 -
12
72
72 -

00

ตอบ 21.16

อธิบาย 12 เปนตวั เลข 2 หลกั ตอ งหารตวั ตง้ั ทีละ 2 หลกั เรม่ิ จากซายไปขวา เมือ่ หารถงึ
หลกั หนวยแลว จะหารเลขหลงั จดุ ทศนิยม ใหใ สจดุ ทศนิยมทผี่ ลลัพธใ หตรงกบั ตัวตงั้ กอน แลวหารตอ ไป
เหมือนเลขจาํ นวนนับธรรมดาจนกวา จะหมด จะเหน็ วา ผลลพั ธมที ศนยิ ม 2 ตาํ แหนง เทากับตวั ต้งั

117

การหารทศนิยมดว ยทศนยิ ม
การหารทศนยิ มดวยทศนยิ ม ทาํ ไดโ ดยการนํา 10, 100, 1,000, ... ไปคูณทั้งตวั ต้ังและตวั หาร เพ่ือทาํ ตวั หาร
ใหเปน จํานวนเต็มกอน แลว จึงนาํ ไปหารตัวตัง้ เหมือนเลขจาํ นวนนบั ธรรมดาทาํ นองเดียวกับขอ 8.2

ตวั อยางที่ 1 11.52 ÷ 0.8 = 
วิธีทาํ =11.52 11.52  10

0.8 0.8 10

= 115.2
8

14.4
8 115.2 -
8
35 -
32
32
32 -

00

ตอบ 14.4

อธิบาย (1) 0.8 เปน ตัวหารท่ีมที ศนยิ ม 1 ตําแหนง จึงตอ งนาํ 10 ไปคูณท้งั ตวั ตั้งและตวั หาร
ไดต วั ต้งั เปน 115.2 และตัวหารเปน 8

(2) นํา 8 ไปหาร 115.2 โดยการต้งั หารยาว เมือ่ หารตวั ต้ังจนหมดหลักหนว ย กใ็ หใ ส
จุดทศนิยมทีผ่ ลลัพธใ หต รงกับตวั ตั้ง แลวหารตอ ไปจนกวา จะหมด ซึ่งจะได
ผลลัพธเ ปน 14.4

ตวั อยา งท่ี 1 342.4 ÷ 0.32 = 
วิธีทาํ =342.4 342.4  100

0.32 0.32 100

= 34240
32

1070
32 )3 4 2 4 0
-
32
224 -
224
0000

ตอบ 1,070

118

การหารจํานวนนบั ดว ยทศนยิ ม
การหารจาํ นวนนบั ดวยทศนยิ ม อาศยั หลักการเดียวกับการหารทศนยิ มดว ยทศนยิ ม

กลา วคือ ใหนํา 10, 100, 1,000, ... ไปคณู ท้ังตัวต้งั และตวั หาร เพอื่ ทาํ ตวั หารใหเ ปน จาํ นวนเต็มกอ นเสมอ
แลว จงึ นําไปหารตวั ตงั้

ตวั อยา ง 765 ÷ 1.5 = 

วิธีทํา

510 -
-
15 ) 7 6 5 0

75
15
15
00
ตอบ 510

อธบิ าย (1) 1.5 มีทศนิยม 1 ตาํ แหนง จึงตองนาํ 10 ไปคณู ท้ังตวั ตัง้ และตัวหาร
ไดตัวต้ังเปน 7,650 และตวั หารเปน 15
(2) 15 ไปหาร 7650 โดยวธิ ตี งั้ หารยาว ไดผลลพั ธเ ปน 510 ซ่ึงเปนจาํ นวนเต็ม

การหารทศนยิ มที่มีเศษ
การหารทศนิยมบางครัง้ อาจไมล งตัวพอดี จะทําใหเ หลือเศษ คาํ ตอบจึงตอ งเปน การประมาณ

คา การประมาณคา จะใชวธิ ีปดเศษ โดยดวู า โจทยตอ งการใหต อบเปนทศนิยมกตี่ าํ แหนง แลวคาํ นวณใหได
จาํ นวนตาํ แหนงทศนยิ มมากกวาที่โจทยต อ งการอกี 1 ตาํ แหนง เพ่ือดวู า ตวั เลขของทศนิยมทีเ่ กนิ มานั้น ควรปด
เพมิ่ ข้นึ มาในตําแหนงทีต่ องการหรอื ตดั ทิ้งไป

หลักในการปด เศษใหด ูวา ตัวเลขมคี า ถงึ 5 หรือนอ ยกวา 5 ถา มคี าตั้งแต 5 ขึน้ ไป
ใหป ด ขึ้นมาเพม่ิ ในตาํ แหนงทโ่ี จทยตอ งการอีก 1 แตถ า ตาํ่ กวา 5 ใหตัดทง้ิ

ตวั อยาง 12.2 ÷ 3 =  (ตองการทศนิยม 2 ตาํ แหนง )

วธิ ที ํา 4.066
3 12.200

12

020

18

20

18

2

ดังน้ัน 12.2 ÷ 3 = 4.07

119

อธบิ าย (1) เนือ่ งจากโจทยต องการทศนิยม 2 ตาํ แหนง แตจ ะเหน็ วาตวั ตัง้ คอื 12.2 มีทศนยิ ม
1 ตําแหนง จึงเตมิ 0 ท่หี ลังทศนิยมไปอกี 2 ตัว เพือ่ ใหต ัวตัง้ มที ศนยิ ม 3 ตําแหนง
เพราะเราทราบมาแลววา 0 ทเ่ี ตมิ หลังจดุ ทศนิยมนนั้ ไมทาํ ใหค าของตวั เลข
เปลย่ี นแปลง

(2) นาํ 3 ไปหาร 12.200 ได 4.066 ซงึ่ มีทศนยิ ม 3 ตําแหนง ใหหยดุ หาร
(3) จะเหน็ วาทศนิยมตําแหนง ท่ี 3 ของผลหารคอื 6 ซึ่งเกนิ 5 จงึ ใหปด ข้ึนมาเพ่ิมอกี

1 ในทศนยิ มตาํ แหนง ท่ี 2 เปน 7

โจทยป ญ หาการหารทศนิยม
โจทยปญหาการหารทศนยิ มจะเปนเร่อื งทีเ่ ก่ียวของกับชวี ติ ประจาํ วันเชน เดียวกับ

การลบหรอื การหารจํานวนนบั ทั่วไป

ตวั อยาง พอคาขายนาํ้ ตาลทรายกิโลกรัมละ 12.50 บาท อุษาจายเงนิ คานา้ํ ตาลทรายท้งั หมด

เปน เงนิ 106.25 บาท อยากทราบวา อษุ าซ้อื นาํ้ ตาลทรายกก่ี ิโลกรัม

ประโยคสัญลกั ษณ คือ 106.25 ÷ 12.50 = 

วธิ ีทํา อษุ าจายคา น้าํ ตาลทรายทัง้ หมด 106.25 บาท

น้าํ ตาลทรายกิโลกรัมละ 12.50 บาท

ดังน้นั อษุ าซ้ือนํา้ ตาลทราย = 106.25  10 บาท
12.5 10

= 1062.5
125

8.5 -
125 1062.5 -

1000
625
625
000

ตอบ 8.5 กโิ ลกรมั

อธิบาย (1) ทาํ ตัวหารใหเปน จํานวนเต็ม โดยนาํ 10, 100, 1000, ... มาคณู
(2) นาํ 125 ไปหาร 1,062.5 ไดผลลัพธเ ปน 8.5

120

แบบฝก หดั ท่ี 11 ใหแ สดงวิธีทําและหาคาํ ตอบ
1. 12.16 ÷ 4 = 
2. 64.4 ÷ 7 = 
3. 18.08 ÷ 16 = 
4. 6.05 ÷ 1.21 = 
5. 18.54 ÷ 0.9 = 
6. 437 ÷ 9.2 = 
7. 8,379 ÷ 11.4 = 
8. 653.73 ÷ 12 = 
9. 729 ÷ 8.4 = 
10. 323.55 ÷ 1.24 = 
11. มีเงนิ 213 บาท ซอื้ เสอื้ ฝากลกู ได 6 ตวั เส้อื ราคาตวั ละเทา ไร
12. รถบรรทุกทรายคนั หน่ึงจุทราย 4.2 ควิ (ลกู บาศกเ มตร) ถา ใชร ถเขน็ บรรทกุ ทรายได

เที่ยวละ 0.35 ควิ จะตองใชร ถเขน็ บรรทกุ ทรายกเ่ี ท่ยี วจงึ จะหมด
13. สชุ าดาซอ้ื ผามา 11.55 เมตร ตัดเส้ือได 7 ตวั อยากทราบวา เสือ้ 1 ตวั ใชผากเี่ มตร
14. ถนนสายหนง่ึ ยาว 10.64 กโิ ลเมตร ลาดยางไดว นั ละ 0.76 กิโลเมตร ตอ งใชเ วลานาน

เทา ไรจงึ จะลาดยางเสรจ็

121

บทที่ 4
รอยละ

สาระสําคญั

ความหมายของรอ ยละ และการใชสัญลักษณเ ปอรเซน็ ต (%) ความสมั พนั ธระหวาง
เศษสว น ทศนิยม และรอ ยละ โจทยปญหา การคณู หาร (บญั ญตั ิไตรยางศ) และการประยุกต

ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวัง

1. เขียนเศษสว นท่มี ีตัวสวนเปน 100 ใหอยใู นรูปรอ ยละและใชสญั ลักษณเ ปอรเ ซน็ ต (%) ได
2. หาคาเศษสวน และเขยี นรอ ยละหรือเปอรเ ซน็ ตใ หอยใู นรปู เศษสว นได
3. แกโ จทยปญหาการคูณ การหาร (บัญญตั ิไตรยางศ) ของจาํ นวนนบั และ

นาํ ไปประยุกตใ ชไ ด

ขอบขายเนอ้ื หา

เรื่องที่ 1 ความหมายของรอยละ
เรอ่ื งที่ 2 ความสมั พันธระหวา ง เศษสว น และรอยละ
เร่ืองที่ 3 โจทยปญ หา การคูณ การหาร (บัญญตั ไิ ตรยางศ) และการประยกุ ต

122

เรื่องท่ี 1 ความหมายของรอ ยละ

รอยละ หมายถึง ตอรอ ย หรือสวนรอ ย เปนการแสดงจาํ นวนของสิง่ ตา ง ๆ ท่ีเทียบมาจาก
100 สว น เชน มะนาวราคารอยละ 200 หมายถงึ มะนาวรอยผล ราคา 200 บาท

คําวา รอ ยละมาจากภาษาองั กฤษวาเปอรเซ็นต ซึง่ เราอาจเรียกทับศพั ทวา เปอรเซน็ ตและใช
สญั ลกั ษณ % แทนได เชน รอ ยละ 3 อาจใชอีกอยางวา 3 เปอรเ ซ็นต หรือ 3% จะเลอื กใชอยางใดอยางหนึ่งก็
ได แตจะไมใ ชร อ ยละ และ % ในเลขจาํ นวนเดยี วกนั

จากรูปจตั ุรสั ทางซา ยมือ

แบงเปนรปู สเี่ หลี่ยมจัตุรัสเล็กๆ เทาๆ กนั 100 รปู

แรเงาไว 7 รปู อกี 93 รูปไมไดแรเงา

รปู สี่เหล่ียมจตั รุ สั เลก็ ท่ีแรเงาเปน 7 ใน 100 คดิ เปน

รอ ยละ 7 หรอื 7 เปอรเซน็ ต หรือใชเ คร่ืองหมาย %

แทนคาํ วา เปอรเซ็นต เขยี นเปน 7% 7 ใน 100 เขยี น
7
เปน รูปเศษสว น คอื 100 รปู ส่ีเหลีย่ มจตั รุ สั เล็กทไ่ี ม

แรเงาเปน 93ใน 100 รปู ท่ีไมแรเงาคดิ เปน รอ ยละ 93

หรอื 93 เปอรเ ซน็ ต หรอื 93%

93 ใน 100 เขียนเปน รูปเศษสว น 93
100
ดงั นัน้ “รอ ยละ” กค็ อื “เศษสวนที่มสี ว นเปน 100” นนั่ เอง
7
100 = รอยละ 7 หรอื 7% อานวา รอ ยละเจ็ด หรือ เจด็ เปอรเ ซน็ ต

93 = รอยละ 93 หรอื 93% อา นวา รอยละเกา สิบสาม หรือ 93 เปอรเ ซ็นต
100

เร่ืองของรอ ยละหรอื เปอรเซ็นตน้ี สามารถใชไดก ับเรือ่ งอนื่ ๆ เชน
1. นกั ศกึ ษาผใู หญระดบั ประถมศึกษา สอบไดรอยละ 99 ของนกั ศกึ ษาทั้งหมด หมายความวา

ถา นกั ศึกษาผใู หญร ะดบั ประถมศึกษา มี 100 คน จะสอบได 99 คน
2. ประชาชนที่มีอาชพี ทาํ นา 5% ของพลเมอื งทัง้ ประเทศ หมายความวา ถา พลเมอื งท้งั ประเทศ

มี 100 คน จะมีอาชพี ทํานา 5 คน
3. ผใู หญส ุขเลย้ี งลูกหมูรอดเพียง 95% ของลูกหมทู ้ังหมด หมายความวา ถาผใู หญส ขุ มีลกู หมู

100 ตัว จะเลยี้ งรอดเพียง 95 ตวั

123

แบบฝก หดั ท่ี 1
บอกความหมายของขอความตอไปนี้

(1) มคี นเสยี ภาษีเพยี งรอ ยละ 60 ของคนทั้งประเทศ
(2) เด็กเกิดใหม จะตาย 2%
(3) นกั ทองเทีย่ วท่ีมาเทย่ี วในจงั หวดั เราเปน ชาวตา งประเทศ 5%

ตวั อยาง เขียนจาํ นวนแสดงสว นที่แรเงาและไมไดแ รเงาเปน รอ ยละและเศษสวน

สวนท่แี รเงา
เขียนเปนรอยละ : รอ ยละ 40 หรือ 40%

เขยี นเปนเศษสวน : 40

100

สวนที่ไมไ ดแ รเงา
เขยี นเปนรอ ยละ : รอ ยละ 60 หรือ 60%

เขยี นเปน เศษสว น : 60

100

แบบฝก หดั ที่ 2

ก. จงเขยี นเปน รอยละโดยใชเครอื่ งหมาย %

ตวั อยาง 5 = 5%

100

(1) 12 = ………………………………………….
100

(2) 17 = ………………………………………….

100

(3) 20 = ………………………………………….

100

(4) 25 = …………………………………………

100

(5) 30 = …………………………………………

100

124

ข. จงเขียนเปนเศษสว น .......................................................................
(1) รอยละ 15 หรอื .......................................................................
(2) รอ ยละ 20 หรือ .......................................................................
(3) รอ ยละ 27 หรือ .......................................................................
(4) รอยละ 30 หรือ .......................................................................
(5) รอยละ 35 หรอื

เร่ืองท่ี 2 ความสมั พนั ธร ะหวาง เศษสว น และรอยละ

2.1 การเขยี นเศษสวนใหเปน รอยละ โดยใชเครอ่ื งหมาย %

เม่อื ตัวสวนเปน 100 เรานาํ ตวั เศษมาเขียน แลวเติม % เชน

(1) 44 = 44 %
100

(2) 23 = 23%
100

เมอื่ ตัวสว นเปน จาํ นวนใด ๆ ใหทําตัวสวนใหเปน 100 กอนแลว จึงนาํ เศษมาเขยี นแลว

เติม % เชน

(1) 6 = 6 10 = 60 = 60 %
10 10 10 100 = 100 %
= 35 %
(2) 10 = 10 10 = 100
10 10 10 100 = 58 %

(3) 7 = 75 = 35
20 20  5 100

(4) 29 = 29 2 = 58
50 100
50  2

แบบฝก หดั ที่ 3

ในการสอบคร้งั หนงึ่ ถาคะแนนเตม็ 20 คะแนน จงหาวา นกั เรียนแตล ะคนตอไปนส้ี อบไดก ่ีเปอรเ ซ็นต

(1) สมชยั สอบได 15 คะแนน คดิ เปน 15100
(2) สมศรี
(3) สุชาติ 20
(4) สมศกั ดิ์
สอบได 18 คะแนน คดิ เปน 18100

20

สอบได 17 คะแนน คดิ เปน 17100

20

สอบได 20 คะแนน คดิ เปน 20100

20

125

2.2 การเขียนรอยละ ใหเ ปนเศษสวน

เราทําไดโ ดยแปลงรอ ยละทม่ี เี คร่อื งหมาย % ใหเปน เศษสวนทีม่ สี ว นเปน 100 แลว จงึ ทําให

เปนเศษสวนอยางตาํ่ (ถาทาํ ได) ดังตวั อยาง

(1) 25 % = 25 = 1
(2) 45%
(3) 30% 100 4
(4) 60%
= 45 = 9

100 20

= 30 = 3

100 10

= 60 = 3

100 5

แบบฝกหดั ท่ี 4
จงเขียนรอยละตอไปนใี้ หเ ปน เศษสว นอยางต่าํ
(1) 5% = ___________________ (2) 25% = ___________________
(3) 22%= ___________________ (4) 98% = ___________________
(5) 45%= ___________________ (6) 87% = ___________________

เรือ่ งท่ี 3 โจทยปญ หา การคณู การหาร (บัญญัติไตรยางศ) และการประยุกต

ตวั อยาง ถาหมูบ า นของทา นมปี ระชากรอยู 850 คน เปน ชาวนา 80% ของประชากรทงั้ หมบู า น
จงหาวาในหมูบา นน้ีมชี าวนาทงั้ หมดก่ีคน

วธิ ที ํา 1 ชาวนา 80% ของประชากรทง้ั หมูบา นหมายความวามชี าวนา = 80 ของ 850 คน
วิธีทํา 2
100

ในหมูบ านมชี าวนา 80 × 850 = 680 คน

100

มีชาวนา 80% หมายความวา ถา มปี ระชากรในหมบู า น 100 คน

จะมีชาวนา 80 คน

มปี ระชากรในหมบู า น 100 คน มชี าวนา 80 คน

” 1 ” ” 80 คน

100

” 850 ” ” 80 × 850 = 680

100

ตอบ มีชาวนาทง้ั หมด 680 คน

126

ตวั อยาง ประชากรของตาํ บลไรส ม มี 10,500 คน คดิ เปน 20% ของประชากรทงั้ หมดในจงั หวดั

จงหาวาในจังหวดั นมี้ ีประชากรทง้ั หมดกีค่ น

วธิ ที ํา ประชากรของตําบลไรสมคดิ เปน 20% ของประชากรในจงั หวดั

หมายความวา ถา มปี ระชากรในตาํ บลไรสม 20 คน จะมปี ระชากรในจังหวัด 100 คน

ถามปี ระชากรในตาํ บลไรสม 20 คน จะมปี ระชากรในจงั หวดั = 100 คน

” 1 คน ” = 100 คน
20

” 10,500 คน ” = 100 10,500
20

= 52,500 บาท

ตอบ มปี ระชากรในจงั หวดั 52,500 คน

ตวั อยา ง ถาคะแนนเตม็ ของวิชาภาษาองั กฤษ เปน 200 คะแนน อรทยั สอบได 160 คะแนน

อรทัยสอบไดก ีเ่ ปอรเ ซน็ ต

วิธที าํ คะแนนเต็ม 200 คะแนน อรทยั สอบได = 160 คะแนน

” 1 คะแนน ” = 160 คะแนน
” 100 คะแนน ” 200

= 160 100 คะแนน
200

= 80 คะแนน

ดังน้ัน อรทยั สอบภาษาองั กฤษไดคะแนนรอ ยละ 80

ตอบ 80%

ตัวอยาง ตาํ บล ก มีประชาชนที่มีสทิ ธิเ์ ลือกตั้ง 16,000 คน ประชาชนไปใชสทิ ธิ์ ในการเลอื กต้งั
วิธที ํา
12,000 คน ประชาชนไปใชส ิทธเ์ิ ลือกตง้ั กเี่ ปอรเ ซน็ ต

ประชากรมีสทิ ธ์เิ ลอื กตง้ั 16,000 คน ไปใชสิทธิเลอื กตัง้ 12,000 คน

” 1 คน ” = 12,000 คน
” 100 คน ” 16,000
ประชาชนไปใชส ทิ ธเิ์ ลอื กตัง้ รอยละ 75
= 12,000 100 คน
16,000

ตอบ 75 %

127

ตวั อยางชายคนหน่ึงมีเงินสทุ ธิ 60,000 บาท เขาตอ งชาํ ระภาษเี งนิ ได ดงั นี้

เงินสทุ ธิ 50,000 บาทแรก ชําระภาษใี นอัตรา 5%

และเงนิ ไดสทุ ธิ ที่เหลือ ชําระภาษใี นอัตรา 10%

วธิ ีทาํ เงนิ ไดสุทธิ 60,000 บาท แบง เสยี ภาษีดังนี้

1. เงินไดสุทธิ 50,000 บาทแรก ตอ งเสยี ภาษใี นอัตรา 5%

2. เงนิ ไดสทุ ธิอีก 10,000 บาท ตอ งเสยี ภาษใี นอตั รา 10%

เงนิ ไดสทุ ธิ 100 บาท เสียภาษี = 5 บาท

” 1 บาท ” = 5 บาท
” 50,000 บาท 100

” = 5  50,000 บาท
100
= 2,500 บาท

เงินไดส ทุ ธิ 100 บาท เสียภาษี = 10 บาท

” 1 บาท ” = 10 บาท
” 10,000 บาท 100

” = 10 10,000 บาท
100
= 1,000 บาท

เขาตอ งชาํ ระภาษเี งนิ ได 2,500 + 1,000 = 3,500 บาท

ตอบ 3,500 บาท

แบบฝก หดั ที่ 5
จงหาผลลัพธตอ ไปน้ี

(1) วินัยมเี งินไดสทุ ธิ 75,000 บาท เขาตอ งชําระภาษเี งนิ ไดดังนี้ เงินไดส ทุ ธิ 50,000 บาท ชําระภาษใี น
อัตรา 5% และเงินไดส ทุ ธทิ เี่ หลือชาํ ระภาษใี นอัตรา 10% ชายคนนตี้ องชาํ ระภาษเี งินไดเ ทา ไร

(2) พอคาตดิ ราคาตเู ย็นไว 12,500 บาท ลดใหแกผซู อื้ เงินสด 6% ของราคาทตี่ ิดไว ขายตเู ยน็ ราคาเงนิ สด
ไดเ งนิ เทา ไร

(3) บริษัทแหง หนึง่ ซือ้ อะไหลช ิน้ หน่ึงมาราคา 50 บาท ตอ งเสยี ภาษีนาํ เขา และภาษีเทศบาลอีก 30%
ของราคาท่ีซื้อมา ถาบริษัทตัง้ ราคาอะไหลช ิน้ นี้ 104 บาท จะไดกําไรเทาไร

(4) จาํ นวนนกั ศกึ ษาผูใหญทจ่ี ะตองใชส ิทธ์เิ ลอื กต้งั ประธานนกั ศึกษามี 800 คน มนี กั ศึกษาไปใชสทิ ธ์ิ
720 คน นกั ศกึ ษาไปใชส ิทธิ์รอ ยละเทาไร

(5) อรทัยกเู งนิ จากธนาคารเปน เงนิ 30,000 บาท เม่อื ครบ 1 ป เสียดอกเบยี้ 3,000 บาท ธนาคารคิด
ดอกเบี้ยรอยละเทา ไรตอป

128

(6) บรษิ ทั แหงหนึง่ มพี นกั งาน 500 คน เปน พนักงานชาย 450 คน นอกน้ันเปนพนักงานหญงิ บรษิ ัท

แหง นม้ี ีพนักงานชายรอ ยละเทา ไร

(7) รานขายเทปแหงหน่ึงมีเทป 120 ตลบั ขายไป 90 ตลบั ขายเทปไดรอ ยละเทาไร

(8) สุดาจองบา นพรอ มท่ีดนิ ราคา 400,000 บาท จะตองเสยี คา มัดจาํ 152,000 บาท สดุ าเสียคามัดจาํ รอ ย

ละเทา ไร

(9)

การประยุกตใ ชเ ก่ียวกบั การซ้ือขาย

ในการซอ้ื ขายสงิ่ ตาง ๆ ควรรจู กั คาํ ตา ง ๆ ทใ่ี ชเก่ยี วกับการซอ้ื ขายหลายคําดว ยกนั เชน

ราคาทุน หรอื ราคาซ้ือ หรือลงทุน คอื ราคาที่ซื้อสงิ่ ของเหลาน้นั มา

ราคาขาย คือ ราคาของทข่ี ายไปอาจจะราคามากกวา หรอื นอยกวาหรอื เทากบั ราคาทุนก็ได

ขาดทนุ คอื จํานวนเงนิ ท่ขี ายของไดน อยกวา ราคาทนุ หรอื ราคาของทีซ่ ื้อมา

กําไร คอื จํานวนเงนิ ทีข่ ายของไดม ากกวาราคาทนุ หรอื ราคาของทีซ่ ื้อมา

อตั รากําไร หรือขาดทุน คือ จาํ นวนกาํ ไรหรอื ขาดทุน ทค่ี ดิ เทยี บจากการลงทนุ 100 บาท

ราคาทุน = ราคาขาย – กาํ ไร

ราคาขาย = ราคาทนุ + กาํ ไร

กําไร = ราคาขาย – ราคาทนุ

ขาดทุน = ราคาทนุ – ราคาขาย

จงศึกษาขอ ความตอ ไปนี้
1. พอคา ขายเสอ้ื ไดกําไร 5%
หมายความวา ถาพอคาซ้อื เสอื้ มาราคา 100 บาท ขายไดก ําไร 5 บาท
แสดงวา พอคา ขายเสื้อไปไดเ งิน 100 + 5 = 105 บาท
2. ขายกางเกงขาดทนุ 8%
หมายความวา ถาซ้ือกางเกงมา 100 บาท ขายขาดทุน 8 บาท
แสดงวา ขายกางเกงไดเ งนิ เพียง 100 – 8 = 92 บาท
3. ขายสม ไดก าํ ไร 20%
หมายความวา ถาซ้อื สม ราคา 100 บาท ขายไดก ําไร 20 บาท
แสดงวา วาขายสมไดเงนิ 100 + 20 = 120 บาท

129

แบบฝกหดั ที่ 6
จงบอกความหมายของอัตรากาํ ไรและขาดทนุ

(1) สดุ าขายกระเปา ไดกาํ ไร 15% หมายความวา ..........................................................................
(2) อุษาขายตูเยน็ ขาดทนุ 10% หมายความวา .................................................................................
(3) อุดมขายรถจกั รยานไดก าํ ไร 6% หมายความวา ........................................................................
(4) ศกั ดาขายรถยนตข าดทุนรอยละ 5 หมายความวา .....................................................................
(5) วริ ชั ขายหมไู ดก ําไรรอ ยละ 30 หมายความวา ...........................................................................

การหาอตั รากาํ ไรและอัตราขาดทนุ
การหาอัตรากาํ ไร และอัตราขาดทนุ หมายถึง การเทยี บเพื่อหาวา ถาลงทุน 100 บาท จะไดก าํ ไรหรือ

ขาดทนุ ก่ีบาท ซง่ึ เทียบมาจากราคาทุน และจํานวนกําไรหรอื ขาดทุนจริง ๆ ในการซอ้ื ขายสินคาทจ่ี ะพบใน
ชวี ติ ประจาํ วนั การคดิ อัตรากําไรหรอื ขาดทุนจะตองคดิ จากทนุ 100 เสมอ

ตัวอยา ง ซอื้ ทุเรียนมาราคาผลละ 80 บาทขายไป 100 บาท ไดก ําไรรอ ยละเทา ไร

วธิ ที ํา ขายทุเรยี นราคา 100 บาท

ซอื้ ทเุ รียนมาราคา 80 บาท

ไดกําไร 100 – 80 = 20 บาท

ซื้อทุเรียนมาราคา 80 บาท ขายไปไดก าํ ไร 20 บาท

” 1 บาท ” 20 บาท
” 100 บาท ”
ดงั นน้ั ขายทเุ รยี นไดก าํ ไรรอยละ 25 80

20 100 บาท = 25 บาท

80

ตอบ 25 %

แบบฝก หดั ท่ี 7
จงหาผลลพั ธตอไปน้ี

(1) ซอ้ื ดนิ สอมาราคาโหลละ 60 บาท ขายไปไดเงิน 75 บาท จะไดกาํ ไร หรือขาดทนุ รอยละเทา ไร
(2) ซ้ือกางเกงมาราคาตวั ละ 200 บาท ขายไปไดเ งนิ 250 บาท จะไดก ําไร หรือขาดทนุ รอ ยละเทา ไร
(3) ซอ้ื เส้อื มาราคาตวั ละ 150 บาท ขายไปไดเ งิน 120 บาท จะไดกาํ ไร หรอื ขาดทนุ รอ ยละเทา ไร
(4) กานดาซ้ือกระเปา ใบหนงึ่ ราคา 400 บาท ขายไป 460 บาท จะไดก าํ ไรรอ ยละเทา ไร
(5) ซื้อทดี่ ินแปลงหนง่ึ ราคา 400,000 บาท ขายไป 350,000 บาท ขาดทุนรอยละเทาไร

130

บทท่ี 5

การวดั

สาระสําคญั

1. การวดั ความยาว พืน้ ที่ ปรมิ าตร ความจุ นํ้าหนกั อณุ หภมู ิ ตองใชค วามละเอยี ดในการวดั
ทัง้ นีข้ ้ึนอยกู ับส่งิ ทตี่ องการวัด การเลอื กใชเคร่อื งมือวัดและหนวยการวัดท่ีมคี วามเหมาะสม

2. การเขยี น และการอานเขม็ ทศิ แผนท่ี แผนผงั ตลอดจนการใชมาตราสวนท่เี หมาะสม
จะทาํ ใหไดข อมูลท่ีชัดเจน เที่ยงตรง อา นแลวเขาใจตรงกัน

3. นาฬกิ าเปนเครอื่ งมอื บอกเวลามีหนว ยเปน ชั่วโมง นาที วนิ าที การเขียนเวลาใชจดุ
ทศนิยม สว นจดุ ของเวลาคดิ จาก 60 นาที

4. เงนิ เปนสื่อกลางในการซ้อื ขายและแลกเปลยี่ น ในประเทศไทยมหี นวยเปนบาทและ
สตางค เวลาเขยี นใชจ ุดคั่นระหวางบาทกับสตางค

ผลการเรียนรูทีค่ าดหวัง

1. วดั ความยาว ความสูงและระยะทาง โดยใชเครอ่ื งมือที่เปนมาตรฐานได
2. เลอื กเครื่องวัดและหนวยวัดความยาว ความสงู และระยะทางทเี่ ปน มาตรฐานให

เหมาะสมกับส่ิงที่จะวัดได
3. เปลี่ยนหนว ยวัดความยาวความสงู หรอื ระยะทางจากหนวยใหญเปน หนว ยยอยและ

จากหนว ยยอ ยเปน หนว ยใหญ
4. หาความยาว ความสงู หรือ ระยะทางจรงิ จากรปู ท่ยี อ สว นเมือ่ กําหนดมาตราสว นใหได
5. แกโ จทยปญ หาเกย่ี วกบั การวดั ความยาว ความสูง และระยะทางได
6. เลอื กหนวยการชั่ง การตวง ทเี่ ปนมาตรฐานใหเ หมาะสมกับสง่ิ ทจ่ี ะชง่ั และตวงได
7. เปลี่ยนหนวยการชงั่ การตวงได
8. หาพ้ืนที่และความยาวรอบรูปของรูปเรขาคณติ ได
9. แกโจทยป ญหาเก่ยี วกบั การหาพ้นื ทขี่ องรูปเรขาคณิตได
10. หาปรมิ าตรและความจขุ องทรงส่ีเหลีย่ มมุมฉากและแกป ญ หาได
11. บอกความสัมพันธระหวา งหนว ยของปรมิ าตร หรือหนวยของความจไุ ด
12. บอกชอ่ื และทิศทางของทิศทั้งแปดได
13. อา น เขียนแผนผังแสดงตาํ แหนงของส่งิ ตา ง ๆ และแผนผังแสดงการเดนิ ทางโดย

ใชม าตราสว นได
14. เขยี นและอา นจาํ นวนเงินโดยใชจ ดุ ทศนยิ มกาํ หนดหนว ยจํานวนเตม็ และเศษของหนว ยได
15. เปรียบเทยี บจํานวนเงินและแลกเงนิ ได
16. แกโ จทยป ญ หาเกยี่ วกบั เงินได

131

17. อานและเขียนบนั ทกึ รายรบั รายจา ยได
18. การวดั อุณหภมู ิเปน องศาฟาเรนไฮต และองศาเซลเซยี สได
19. เปลย่ี นหนวยการวดั อุณหภมู ไิ ด
20. บอก เขียนอา นเวลาจากหนาปด นาฬิกาไดโดยใชจดุ ทศนยิ มกาํ หนดหนว ยชวั่ โมง

และนาทีได
21. อา นบันทกึ เวลา และบันทกึ กจิ กรรมหรือเหตุการณตา งๆโดยระบุเวลาได
22. เปล่ยี นหนว ยเวลาจากหนวยใหญเ ปนหนว ยยอ ยและจากหนวยยอยเปน หนว ยใหญไ ด
23. แกโ จทยปญ หาเกยี่ วกบั เวลาได
24. คาดคะเนเก่ียวกบั ความยาวพื้นท่ี ปรมิ าตร ความจุ นาํ้ หนักและเวลาได

ขอบขายเนื้อหา

เรอ่ื งที่ 1 การวัดความยาวและระยะทาง
เรอื่ งที่ 2 การชงั่ และการตวง
เรอ่ื งที่ 3 การหาพื้นที่
เรอื่ งที่ 4 การหาปรมิ าตร
เรอ่ื งที่ 5 ทศิ ทางของแผนผัง
เรอื่ งท่ี 6 เงิน
เรอื่ งที่ 7 อณุ หภมู ิ
เรอ่ื งที่ 8 เวลา
เรอ่ื งท่ี 9 การคาดคะเน

132

เรื่องท่ี 1 การวดั ความยาวและระยะทาง

การวดั เปน การวัดความยาว ระยะทาง ความสูง ของสิ่งตาง ๆ ดว ยเครือ่ งมอื วดั ซึ่งมีหนว ยการวดั

ความยาวมาตรฐานระบบตาง ๆ

1.1 หนว ยวดั ความยาว
1) หนว ยวัดความยาวมาตรฐานสากล เปนหนว ยวดั ความยาวทนี่ ิยมใชกนั ทว่ั โลก คือ
หนวยวดั ความยาวระบบ เมตรกิ

10 มิลลเิ มตร (มม.) = 1 เซนตเิ มตร (ซม.)

100 เซนติเมตร = 1 เมตร (ม.)

1,000 เมตร = 1 กิโลเมตร (กม.)

หมายเหตุ อกั ษรในวงเล็บเปน อกั ษรยอของหนว ย

2) หนวยวดั ความยาวมาตรฐานระบบมาตรฐานไทย ใชเ ฉพาะในประเทศไทย

12 น้ิว = 1 คืบ

2 คืบ = 1 ศอก

4 ศอก = 1 วา
20 วา = 1 เสน
3) หนวยวดั ความยาวมาตรฐานระบบมาตรฐานอังกฤษ

12 น้ิว = 1 ฟุต

3 ฟุต = 1 หลา

1,760 หลา = 1 ไมล

การเปรียบเทยี บหนว ยวดั ความยาวระบบตาง ๆ

1) ระบบมาตราไทยเทยี บกับระบบเมตรกิ

25 เสน = 1 กิโลเมตร

1 วา = 2 เมตร

2) ระบบมาตราองั กฤษเทียบกับระบบเมตรกิ

5 ไมล = 8 กโิ ลเมตร

40 นิว้ = 1 เมตร

12 นวิ้ = 1 ฟุต = 30 เซนติเมตร

133

เครื่องมอื วดั ความยาว
แบบมาตรฐานไดแ ก ไมเ มตร ไมบ รรทดั สายวัด ตลบั เมตร เปน ตน ใหผเู รียนฝก วัดส่งิ ของท่ี

กาํ หนดไวใ นตารางขางลาง โดยเลอื กใชเ ครื่องมอื ใหเ หมาะสมกับสงิ่ ทจ่ี ะวดั

ขอ สิ่งของ คาดคะเน วัดจรงิ (ซม.) ผดิ พลาด
(ซม.) 80 (ซม.)
1 ความกวางของขอบประตูหนาบา น 70 10
2 ความกวางของขอบหนา ตา ง
3 ความสูงของตเู สื้อผา
4 ความยาวของหนังสอื เรยี นคณิตศาสตร
5 ความยาวของรองเทาทีใ่ ส
6 ความยาวของเข็มขดั
7 ความยาวของคบื ฝา มือ
8 ความยาวจากขอมอื ถึงขอ ศอก

1.2 การเลอื กเคร่อื งมอื วดั และหนวยวดั ความยาว ความสงู หรอื ระยะทางท่เี หมาะสม

ในการเลือกเครือ่ งมอื วดั และหนว ยวดั , ความยาว, ความสูงและระยะทางทีเ่ ปนมาตรฐาน ให

เหมาะสมกบั สิง่ ทีจ่ ะวดั ใหน ้นั ผวู ดั จะตอ งทราบจุดประสงคในการวัด และขนาดของทจี่ ะวดั

เชนความยาว และความสูงนิยมวัดดว ยไมเมตรหรอื ไมบรรทัด ตลับเมตรหรอื ไมโ ปรแทรคเตอร

แลว แตรายละเอียดที่จะวดั สว นระยะทางทม่ี รี ะยะยาวมากๆ เชนวดั ท่ีดนิ มกั นยิ มใชสายวดั เปน ตน

ผเู รียนฝก ปฏิบตั ิเลอื กเคร่ืองมือวดั และระยะทางความยาวหรอื ความสงู ในตารางทกี่ ําหนดให

สิง่ ท่จี ะวดั ระบเุ คร่อื งมอื วดั ความยาว ความสงู ระยะทาง
หาคา วดั หนวยวดั หนว ยวัด

1. สนามฟตุ บอล สายวดั …………เมตร - -

2. สว นสงู ของโตะ

3.

4.

5.

134

1.3 การเปลี่ยนหนวยการวดั

ในการเปลีย่ นหนว ยการวัดความยาว ความสูง หรือระยะทางจะมอี ยู 2 ลกั ษณะ คือ

1) เปล่ยี นจากหนว ยใหญเปนหนวยยอ ย เชน หอ งเรียนกวาง 8 เมตร อาจเปลี่ยนเปนหนว ยยอยได

เปน 800 เซนตเิ มตร หรือ หนงั สอื ยาว 1 ฟตุ อาจเปล่ียนเปนหนว ยยอยไดเปน 12 นว้ิ เปนตน

2) เปลย่ี นจากหนว ยยอ ยเปน หนว ยใหญ เชน ถนนยาว 6,000 เมตร อาจเปลยี่ นเปนหนว ยใหญไ ด

เทา กบั 6 กโิ ลเมตร เปนตน

ใหผ ูเรยี นเตมิ ตวั เลขแสดงการเปรียบเทยี บหนวยความยาวตามตารางขา งลางน้ี

เซนติเมตร เมตร นิ้ว ฟุต

100 …………….. 24 ……………..
400 …………….. …………….. 5
……………..
900 6 72 ……………..
……………. …………….. 120 …………….
1,000 …………….
15 10
……………..

หลา ฟุต เสน กโิ ลเมตร

…………….. 6 50 ……………..
3 …………….. 125 ……………..
6 ……………. …………….
……………. 20
……………. 24 32
……………. 48

แบบฝก หดั ที่ 1 จงเติมคําตอบตอ ไปนี้
1) ผา ยาว 6 เมตร 15 เซนติเมตร คิดเปนผายาว …………….…………….…………….เซนตเิ มตร
2) ซื้อไมยาว 8 เมตรครึ่ง คดิ เปนไมยาว…………….…………….……………........เซนตเิ มตร
3) เชอื กยาว 5 วา คดิ เปน เชอื กยาว…………….…………….…………….…..……..ศอก
4) หนังสอื หนา 3 เซนติเมตร 2 มิลลเิ มตร คิดเปน…………….…………….…………มิลลเิ มตร
5) ถนนยาว 3 กโิ ลเมตร 10 เสน คดิ เปน ถนนยาว…………….…………….………เสน
6) ถนนยาว 16 กโิ ลเมตร คิดเปน ถนนยาว…………….…………….………………..ไมล

135

1.4 มาตราสวน
ในการเขียนภาพ, รปู , สวนสูง, ความยาว, ผเู รยี นอาจจะยอใหส ั้นลงไดโ ดยใชมาตราสวนเชน
จากรปู ตน สนวดั ความสูงจากรปู ภาพได 8.5 เซนติเมตร

8.5 ซ.ม. จากรปู วดั ความยาวของตน สนได 8.5 ซ.ม. แสดงวา
ความจริงแลว ตนสนสงู 170 ซ.ม. หรือ 1 ม. 70 ซม.

มาตราสว น 1 ซม. : 20 ซม.
ในทํานองเดยี วกนั นอกจากความสงู แลว ผเู รยี นกส็ ามารถหาความกวา งของส่งิ ของไดด ว ย

ตวั อยาง จงหาความยาวความกวางและสว นสูงของกลอ งกระดาษขางลา งน้ี

2 ซม. มาตราสวน 1 ซม. : 2 ม.

3.5 ซม.

10 ซม.

จากรปู ความยาวของกลองทกี่ าํ หนดไว 10 ซม. สงู 3.5 ซม. และกวา ง 2 ซม. แสดงวา ความจรงิ แลว
กลอ งใบน้ีมี

ความยาวในรปู 10 ซม. ความยาวจรงิ 10 2 ม. = 20 ม.
ความยาวในรูป 2 ซม. ความยาวจรงิ 2 2 ม. = 4 ม.
ความยาวในรูป 3.5 ซม. ความยาวจริง 3.5 2 ม. = 7 ม.

136
แบบฝกหดั ท่ี 2

1. จงหาความยาว ความสูง ความกวา งของรูปภาพ บา นโดยใหผูเรยี นวดั โดยใชไ มบรรทดั

มาตราสว น 1 ซม. : 5 ม.

2. ใหผูเรียนวดั ขนาดของหองเรยี น แลว เขยี นแปลนหอง

137

3. จากภาพ นาย ก . เดนิ ทางจากบา นถงึ โรงเรยี นเปนระยะทางเทา ใด.

12 ซม.

มาตราสว น 1 ซม. : 2 กม.
1.5 โจทยป ญ หาเก่ียวกบั การวัด ความยาว ความสูงและระยะทาง

ในบางครัง้ ปญ หาในการหาความยาว ความสูง และระยะทาง โจทยป ญ หาจะกําหนดมาตราสว นมา
ใหโดยมภี าพประกอบหรอื ไมม ีภาพประกอบ เชน

จากบานของนาย คณติ เขยี นดว ยเสนตรงถงึ โรงพยาบาลใหระยะทาง 9 นิ้ว โดยมีมาตราสว น 1 นิ้ว :
5 ไมล อยากทราบวา จากบานของนาย คณิต ถึง โรงพยาบาลมรี ะยะทางเทา ไร

ระยะทาง 9  5 ไมล = 45 ไมล
นัน่ คอื ระยะทางจากบา นของนาย คณติ ถงึ โรงพยาบาล 45 ไมล
ตอบ 45 ไมล

แบบฝกหดั ที่ 3
1. ไมท อ นหน่งึ ยาว 6 ม. เขียนแทนดว ยเสน ตรง ได 2 ซม. แสดงวา ใชม าตราสว นเทา ใด
2. หองเรียนแหง หนง่ึ กวา ง 9 ม. ยาว 15 ม. เขยี นภาพไดค วามกวาง 3 ซม. และความยาว 5 ม.

แสดงวาใชมาตราสว นเทา ใด
3. ระยะทางจากสถานตี าํ รวจถึงโรงเรียนเขยี นแทนดว ยเสนตรงได 18 ซม. โดยระบมุ าตราสว น

1 ซม. : 3 กม. แสดงวา ระยะทางจริงจากสถานตี าํ รวจถงึ โรงเรยี นยาวกกี่ โิ ลเมตร

138

เร่ืองท่ี 2 การช่ัง และการตวง

2.1 การชั่ง
การช่งั คอื การวดั นํ้าหนกั คน สัตว ส่งิ ของ โดยใชเคร่ืองช่ังชนดิ ตาง ๆ ตามความ

เหมาะสมของสงิ่ ที่จะชัง่
2.1.1 ชนิดของเครื่องชั่ง เครื่องช่ังแบงเปน 5 ชนิด คือ
1) เครอ่ื งชัง่ สปรงิ หรอื ชาวบานเรียกวา “ตาช่งั กโิ ล” มีอยทู ุกรา นคาในตลาด

1.1 ตวั เลขรอบหนาปด กลม แสดงนา้ํ หนัก
1กิโลกรัม มตี วั เลขแสดงกโิ ลกรัมตงั้ แต 1 ถงึ 15 แสดงวา ชงั่ ได
หนักอยางสงู 15 กโิ ลกรมั ขีดเลก็ ๆ ในแตละชว งหนง่ึ กโิ ลกรัม
น้นั มี 10 ขดี แสดงนํ้าหนกั ชว งละ 100 กรัม

1.2 จานบนเปนท่รี องรับนํ้าหนกั ที่จะชัง่ เม่ือนาํ ของทจี่ ะ
ชัง่ วางบนจาน จานจะถกู กดลง เข็มทหี่ นาปดก็จะชไ้ี ปท่ีตวั เลข
บง นา้ํ หนัก

2) เคร่ืองช่งั ขนาดใหญ

เคร่อื งชั่งแบบนมี้ ักมใี ชในรา นคา สงหรอื ตามสถานรี ถไฟหรือโรงสขี าว มหี ลายแบบ ที่เรารจู กั กนั มกั
เปนแบบหนา ปดตั้ง หรอื คานกระดกดงั ภาพ เครอ่ื งชั่งแบบนีใ้ ชชัง่ ของทีม่ นี า้ํ หนักมาก ๆ เชน ขาวสารเปน
กระสอบ สง่ิ ของเปน เขง ใหญ ๆ

139

3) เคร่ืองชงั่ นํา้ หนกั คน

เครื่องชงั่ นํา้ หนกั คนเปนเคร่ืองชง่ั สปรงิ ชนดิ หน่งึ เคร่ืองชัง่ แบบนีม้ หี นา ปด แสดงนํา้ หนกั อยูดา นบน
ของฐานสาํ หรบั ใหข ้ึนไปยืนชัง่ น้ําหนัก และอา นน้ําหนกั จากหนาปด กอ นชั่งเข็มจะชเี้ ลข 0 เมือ่ ชง่ั นาํ้ หนัก
ผชู ่งั ตอ งถอดรองเทา ข้นึ ไปยืนบนเครื่องชัง่ และตองยนื ตรง ไมเกาะสงิ่ หน่งึ สิ่งใด แลวอานตวั เลขทเี่ ขม็ ชี้

4) เครอื่ งชงั่ สองแขน

แบบ ก.

แบบ ข.
เครอ่ื งช่ังสองแขนนี้ใชห ลกั ความสมดลุ ของแขนสองขา ง โดยมีแกนยดึ แนนตรงกลางสาํ หรบั แบบ
ก.น้ันเปน เครอ่ื งชั่งที่นิยมใชในรา นขายยา หรอื ใชช่ังสารเคมี วธี ีชัง่ ใหใสข องท่ตี อ งการชั่งลงในจานขางใด
ขางหน่งึ ซ่ึงนิยมวางจานทางซา ยมือ สว นอีกขา งหน่งึ จะใสต มุ นํ้าหนักลงไปจนกวาเข็มจะชีท้ ่ีขดี ก่ึงกลาง
หนาปด แลว จงึ อานนํา้ หนักจากตมุ นาํ้ หนกั ทัง้ หมดทใ่ี ส สว นแบบ ข. เปนเคร่ืองช่งั ทีน่ ยิ มใชในรานขายทอง

140
นาก เงนิ หรือของมคี ามาก ๆ เปนเครอ่ื งชงั่ ที่มคี วามไวมาก เพราะตองการความละเอียดและถูกตองแมนยํา
จงึ ตอ งตัง้ ไวใ นตกู ระจกเพ่อื กนั ลมพัด

5) เครือ่ งช่งั คานเดี่ยว

เครือ่ งชง่ั แบบน้ีอาศัยความสมดลุ ของคานท่ยี น่ื ออกไปขางเดยี ว วิธีชง่ั จะใสสง่ิ ท่ตี อ งการชัง่ ลงบน
จานของเครื่องชงั่ ทางซายมอื แลวเล่อื นแปน ท่ีคลองอยบู นคานไปทางขวาจนแขนของเครื่องช่ังอยูใน
ลักษณะสมดุล คือ นง่ิ อยูในแนวนอนไมเอยี ง ถาเล่อื นแปนจนสดุ คานแลวเครอ่ื งชั่งยงั ไมส มดลุ ใหใ สต มุ
นํา้ หนักซง่ึ มใี หเ ลอื กหลายขนาดคลองลงบนตมุ ทหี่ อ ยอยทู างขวามอื เคร่อื งชั่งชนดิ นี้เปนเคร่ืองช่ังขนาด
กลาง สามารถชงั่ ของไดถึงประมาณ 100 กโิ ลกรัม

141

2.1.2 วิธอี านนาํ้ หนกั บนเครอื่ งชงั่

น้าํ หนัก เข็มชีน้ ํา้ หนัก วธิ ีอาน

2 กก. กบั 2 ขดี 2 กิโลกรัม 200 กรมั

3 กก. กับ 5 ขดี 3 กโิ ลกรัมคร่งึ หรือ
3 กโิ ลกรมั กับ 500 กรมั

วธิ ีอานนาํ้ หนักของบนเครื่องชั่ง ดังทไ่ี ดก ลาวมาแลวในตอนตน เลขบนหนา ปด จะบอก
จํานวนกโิ ลกรัม ขดี ระหวางตวั เลขบอกจํานวนขดี หรอื กรมั ซง่ึ จะมี 10 ขดี แตล ะขดี เทากบั 100 กรมั นน่ั เอง
ฉะน้ันเม่ือนําของท่ีจะชั่งวางบนจานแลวดูวาเขม็ ชต้ี รงเลขอะไรและเลยไปกี่ขีดก็คอื จาํ นวนนาํ้ หนกั ของของ
ทว่ี างบนจาน เชน เม่อื วางไกบนจาน เขม็ ชเ้ี ลยเลข 2 ไป 2 ขดี ก็อา นวา 2 กโิ ลกรมั 200 กรัม

142

แบบฝก หดั ท่ี 4
ก. จงอานนํ้าหนักบนเครอ่ื งชงั่ แลวเขียนลงในตาราง

นาํ้ หนัก เขม็ ชน้ี ํ้าหนัก อา นวา
(1)

.......................................... ............................................

(2)
............................................ ............................................

(3)
.................................................... ..............................................

(4)
..................................................... ..............................................

143
(5)

...................................................... ................................................

ข. จงเลอื กเคร่ืองชงั่ ใหเหมาะสมกับสง่ิ ของทก่ี าํ หนด

(1) การเปรียบเทียบนํ้าหนกั นกั มวย (2) ดหี มี
(3) ถ่ัวเหลือง 5 กระสอบ (4) จดหมาย 1 ฉบับ
(5) ผักคะนา 1 กระจาด (6) สมเขียวหวาน 20 ผล
(7) สรอ ยขอมือนาก 1 เสน (8) ผงซกั ฟอก 1 ถงั
(9) ปลากระปอ ง 30 หีบ (10) ลูกสาวคนเลก็

2.1.3 หนว ยการชง่ั หนวยนํ้าหนกั ในมาตรฐานในระบบเมตริกที่นยิ มใช ไดแ ก
1. หนว ยท่ีใชใ นทางราชการ คือ
1,000 กรมั เปน 1 กโิ ลกรัม (กก.)
1,000 กโิ ลกรมั เปน 1 เมตรกิ ตนั
2. หนวยที่ใชทว่ั ไปในตลาดการคา คอื
1 กิโลกรัม มี 1,000 กรมั
1 กโิ ลกรมั มี 10 ขีด (เฮกโตกรัม)
1 ขีด มี 100 กรัม (ก.)


Click to View FlipBook Version