The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลคลังปัญญา ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม ภูมิปัญญาการทอผ้าไทลื้อ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ข้อมูลคลังปัญญา ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม ภูมิปัญญาการทอผ้าไทลื้อ

ข้อมูลคลังปัญญา ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม ภูมิปัญญาการทอผ้าไทลื้อ

Keywords: การทอผ้าไทลื้อ

คลงั ปัญญาดา้ นอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม
ภมู ิปัญญาการทอผา้ ไทล้อื

กศน.ตาบลบา้ นมาง
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเชียงม่วน

จงั หวดั พะเยา

ข้อมูลภมู ิปัญญาตาบล...บา้ นมาง.... อาเภอ...เชยี งม่วน... จังหวดั ...พะเยา...

ช่อื ภมู ิปญั ญา........การทอผ้าไทลือ้ .............................................................................................................
รหสั ภูมปิ ัญญา........................................................................................................................................
สาขาคลังปัญญา.........ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม.............................................................................
สาขาของภูมิปัญญาท้องถิน่ .......ด้านอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม..............................................................
ข้อมูลพื้นฐาน รายบคุ คล เจา้ ของภูมิปัญญาท้องถ่นิ /บคุ คลคลงั ปัญญา
ชือ่ .....นางแสงนลิ .....................................สกุล.........อนุ่ ตาล...........วันเดือนปีเกดิ ........3 กนั ยายน 2492........
ทอ่ี ยู่ปัจจุบัน (ที่สามารถตดิ ต่อได้) บ้านเลขที่.....114........หม่ทู ่ี ........5............. ตาบล/แขวง.......บา้ นมาง.........
อาเภอ/เขต..........เชยี งมว่ น...............จงั หวัด.......พะเยา................รหสั ไปรษณยี ์......56160.............................
โทรศพั ท.์ ...062-2849921............................โทรสาร..............-......................Line ID ……………-………………….
E-mail address: ….…………-……………………….. Facebook …………แสงนิล อนุ่ ตาล…………………………………
พิกัดทางภมู ิศาสตร์ คา่ X : ….......18.913591……………. ค่า Y: …...…100.275612…………………………………….

ความเปน็ มาของบคุ คลคลงั ปญั ญา

คุณแมแ่ สงนลิ อนุ่ ตาล อายุ 71 ปี คอื ผู้ทเ่ี รียนรู้การ ทอผา้ ไทลือ้ จากคณุ แม่ ต้งั แต่ อายุ 14 ปี เนอื่ งจากเป็น

อาชีพและภมู ปิ ัญญาเกา่ ของครอบครวั ตง้ั แต่สมยั ปู่ ยา่ ตา ยาย ของชมุ ชนคนไทลอื้ หรือ ไตลื้อ เป็นชาวไทกล่มุ หนึง่ มถี ่นิ
ฐานเดิมอยใู่ น แคว้นสิบสองปนั นาของจีน มีเอกลกั ษณท์ ่โี ดดเดน่ คือการใชภ้ าษาไทลอ้ื และยงั มวี ฒั นธรรมอนั เป็น
เอกลกั ษณ์อืน่ ๆ เชน่ การแต่งกาย ศลิ ปะและประเพณีตา่ งๆ ศลิ ปะท่ีโดดเดน่ ของชาวไทลอื้ ได้แก่ ผา้ ทอไทลอื้ นยิ มใชผ้ ้าฝ้าย

ทอลวดลายทเ่ี รยี กว่า ลายน้าไหล ผ้าทอลายดอกผกั แว่น ศลิ ปหตั ถกรรมที่เปีย่ มดว้ ยคณุ ค่า มลี วดลายท่ีได้แรงบันดาลใจมา
จากธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มขนบธรรมเนียมประเพณี ของชมุ ชนไทล้ือบ้านท่งุ มอก แหง่ นี้ ซงึ่ สะทอ้ นถงึ ความเป็นมา
ความสัมพนั ธ์ และ วิถีชีวติ ผา้ ทอไทลื้อ มาก่อน สันนษิ ฐานจากการท่มี ีเครือ่ งมอื เก่าๆ ทหี่ ลงเหลอื อยู่ เชน่ กที่ อผา้ ทป่ี ่นั ดา้ ย

จงึ มีแรงบันดาลใจใหม้ กี ารฟืน้ ฟู ภูมปิ ัญญาเกา่ ให้กลับมาอีกคร้ังหนึ่ง ในชว่ งเวลา ๓ ทศวรรษท่ีผา่ นมา เกดิ กระแส
การอนุรักษ์ศลิ ปวฒั นธรรมไทยอยา่ งแพร่หลาย ความนยิ มในการใชผ้ ้าทอพ้นื เมอื งของไทย ทาใหเ้ กดิ การฟน้ื ฟู
การทอผ้าพนื้ เมอื งขนึ้ มาอีกครัง้ หนึ่งท่ัวทกุ ภมู ิภาคของประเทศไทย เพ่อื ตอบสนองต่อความต้องการของผ้ใู ช้ผ้า

ทอในยุคปัจจบุ นั คณุ แม่ แสงนลิ อุ่นตาล จงึ ได้คดิ และปรับปรงุ ลาย ดอกผักแว่น จนถึงปจั จบุ นั อย่างสวยงาม

สามารถกาหนดเปน็ ลายผ้าทอท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ของผา้ ทอไทลอื้ บ้านทงุ่ มอก ถึงแม้จะมีการประยุกต์รูปแบบ

ตามความตอ้ งการของตลาด แต่ยังคงรักษาลวดลายอันเปน็ เอกลักษณข์ องชาวไทยลื้อ เพราะมลี วดลายสสี นั

สวยงามโดดเด่นเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ใชร้ ะยะเวลาในการคดิ ปรับปรงุ รวมระยะเวลา 6 ปี จงึ ไดร้ ับคดั สรรค์
เปน็ ผลติ ภัณฑ์ดีเดน่ ของภาคเหนอื ตามโครงการสินค้าหน่ึงผลติ ภณั ฑห์ นงึ่ ตาบล

จุดเด่นของภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ เอกลักษณ์และคุณสมบตั ิของผลิตภณั ฑผ์ า้ ทอไทลื้อ
1.เปน็ ผา้ เส้นใยธรรมชาติ เปน็ ฝ้ายท่ีปลูกเองในชุมชน

2.เป็นผ้าฝายทท่ี อดว้ ยความประณตี ลวดลาย สสี ัน สวยงาม มเี อกลกั ษณแ์ ละวฒั นธรรมอันโดดเด่น
ของชาวไทลือ้ โดยเฉพาะ

3.สามารถซกั ดว้ ยนา้ ธรรมดาได้ สไี มต่ ก ใส่ไมร่ ้อน เก็บงาย ซักรีดไดด้ ว้ ยตนเอง
4.ราคาถูก

วัตถดุ ิบที่ใช้ประโยชนใ์ นผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดจากภมู ิปญั ญา ซ่งึ พ้ืนที่อ่ืนไมม่ ี ไดแ้ ก่
1.ฝา้ ย ฝา้ ยเปน็ พชื ล้มลกุ แต่ตน้ ให้ดอกจานวนมากลักษณะของดอกเปน็ ปุยแลดคู ลา้ ยกับขนมถ้วยฟูปุยเนื้อขา้ งใน

ขยายตวั ออกมาเปน็ สีนวลจงึ ใชส้ ว่ นน้มี าทาเส้นใยไหม ไหมเป็นแมลงหนอนดวงชนิดหนึง่ ท่ีฟักตวั เปน็ ดักแดก้ อ่ นท่ีจะ
กลายเปน็ ผเี สือ้ มนษุ ยเ์ รียนรกู้ ารนาใยจากรังดกั แดห้ รือรงั ไหมน้นั มาผ่านกรรมวธิ เี ป็นเสน้

รายละเอยี ดของภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น (ลักษณะภมู ปิ ัญญา/รปู แบบ/วธิ ีการ/เทคนิคทใ่ี ช้/ภาพถ่ายหรอื ภาพวาดประกอบ/
พฒั นาการของผลติ ภณั ฑ์หรือผลงาน/กระบวนการสร้างภูมิปญั ญา/ลกั ษณะการใช้ประโยชน์จากภูมิปญั ญาทเ่ี กดิ ข้นึ ฯลฯ)

ชาวไทลื้อตาบลบ้านมาง อาเภอเชยี งม่วน จงั หวดั พะเยา ประกอบด้วยหมูบ่ ้าน 2 หมูบ่ ้าน ได้แกห่ มู่ 5 บา้ นท่งุ มอก
และหมู่ 11 บา้ นทุ่งเจริญ เปน็ หมบู่ ้านท่ียังคงรักษาวัฒนธรรมประเพณีของชาวไทยล้ือแต่อดตี เปน็ อย่างดี โดยเฉพาะการ
ทอผา้ ไทลือ้ แบบด้งั เดิม ถงึ แมจ้ ะมีการประยกุ ต์รูปแบบตามความต้องการของตลาด แต่ยังคงรักษาลวดลายอันเปน็
เอกลักษณข์ องชาวไทยล้ือ ผ้าทอท่ขี ้นึ ชือ่ มากของบ้านท่าฟา้ คอื ตงุ ไทลือ้ เพราะมีลวดลายสสี ันสวยงามโดดเด่นเปน็
เอกลักษณ์เฉพาะตวั จงึ ไดร้ บั คัดสรรคเ์ ป็นผลิตภณั ฑด์ ีเดน่ ของภาคเหนอื ตามโครงการสนิ คา้ หนงึ่ ผลติ ภัณฑ์หนงึ่ ตาบล

วสั ดแุ ละอปุ กรณ์/การเตรียมด้าย ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ด้ังนี้
1.ดอกหวงิ เป็นอุปกรณส์ าหรับหมุนเพ่ือกรอเสน้ ด้ายสตี ่างๆเขา้ หลอดด้าย มลี กั ษณะคลา้ ยกงั หนั ลมมแี กนกลางวาง
บนฐานไม้สองข้าง ส่วนกลางของ ดอกหวงิ มี ชอ่ งสาหรบั ใสเ่ สน้ ด้าย
2.ไน เปน็ อุปกรณ์กรอเส้นด้ายอย่างหนง่ึ มีลกั ษณะเป็นชอ่ งสาหรบั ใสแ่ กนม้วนด้ายซง่ึ ผูกโยงกบั ดอกหวงิ ปจั จุบนั มี
การนามอเตอร์ไฟฟา้ มาเปน็ ตัวชว่ ยหมนุ เมอ่ื มอเตอรไ์ ฟฟ้าทางาน เส้นด้ายในดอกหวิงจะหมุนด้ายมาเกบ็ ไวใ้ นแกนมว้ นด้าย

3.หลอดด้ายคน้ ( ลูกค้น ) เปน็ อปุ กรณส์ าหรบั ใช้ในการค้นเสน้ ดา้ ย โดยเสน้ ดา้ ยทุกเส้นจะถกู มว้ นหรอื พันเกบ็ ไวใ้ น
หลอดคน้ ซงึ่ มีลกั ษณะเป็นหลอดยาวประมาณ 8 นิ้ว เส้นผา่ ศนู ย์กลาง ประมาณ 1 น้ิว จานวน 152 หลอด หลอดค้นทาจาก
ไม้ไผ่ แตป่ จั จบุ นั ใช้ทอ่ น้าพลาสติกแทน

4.รางค้น เปน็ อปุ กรณ์สาหรับเรยี งหลอดดา้ ยคน้ เพอ่ื เตรยี มไวส้ าหรับขั้นตอนการเดนิ เส้นดา้ ยตอ่ ไป รางค้นมีลกั ษณะ
เปน็ แถว 2 ชน้ั มีแกนสาหรับใสห่ ลอดด้ายค้นจานวน 152 แกนอยบู่ นเสาสูงประมาณ 1.5 เมตร ยาวประมาณ 5-8 เมตร

5.หลกั ค้น เป็นอุปกรณ์สาหรบั พนั เส้นด้ายทค่ี น้ ตามจานวนความยาวที่ตอ้ งการมีลกั ษณะ เป็นสี่เหลย่ี มผืนผา้ กว้าง
ประมาณ 2 เมตร ยาว 5-8 เมตร ทหี่ ัวหลักค้นมีหลกั สูงประมาณ 6 น้ิว จานวนประมาณ 20 หลกั อย่ทู ้ังสองด้าน

6.ฟมื หรอื ฟันหวี มลี กั ษณะคลา้ ยหวี ยาวเทา่ กับความกวา้ งของหน้าผา้ ทาด้วยโลหะ มีลักษณะเป็นซ่ีเล็ก ๆ มีกรอบ
ทาด้วยไม้หรือโลหะ แต่ละซ่ขี องฟมื จะเปน็ ช่องสาหรับสอดด้ายยนื เขา้ ไป เปน็ การจดั เรียงดา้ ยยนื ให้หา่ งกนั ตามความ
ละเอยี ดของเน้อื ผา้ เป็นสว่ นทใ่ี ช้กระทบใหเ้ สน้ ดา้ ยที่ทอเรยี งตดิ กนั แนน่ เป็นผนื ผา้ ฟมื สมัยโบราณทาด้วยไม้ แกะสลักเปน็ รปู
นกหรือเป็นลวดลายต่าง ๆ สวยงามมาก

7.ตะขอเก่ียวดา้ ย ( เบ็ดเขา้ ฟมื ) เปน็ อุปกรณส์ าหรบั เกีย่ วเสน้ ดา้ ยเข้าฟมื ทาดว้ ยเหลก็ ยาวประมาณ 8 น้วิ ส่วน
ปลายทาเปน็ ตะขอไว้สาหรับเกีย่ วเสน้ ดา้ ยเข้าฟืม ซงึ่ เส้นด้ายทุกเส้น จะตอ้ งใชต้ ะขอเกยี่ วดา้ ยสอดไวใ้ นฟืมจนเต็มทกุ ช่อง

8.เครอ่ื งรองตอนเข้าฟมื
9.ลูกหัด ( ระหดั ) เปน็ อุปกรณส์ าหรบั ม้วนเก็บเส้นดา้ ยท่ีคน้ เสรจ็ แล้ว มีลกั ษณะคล้าย ระหัดวดิ น้า ซง่ึ อยู่ท่ีดา้ น
ปลายของแกนระหดั ท้งั สองดา้ น โดยหมนุ ม้วนเส้นดา้ ยเกบ็ ไว้เพ่อื เตรยี มใส่ในเครือ่ งทอผ้า
10.ไมน้ ดั เป็นไมท้ ่ีสอดอยู่ในชอ่ งดา้ ยยนื เพอ่ื ชว่ ยให้ด้ายไมพ่ นั กนั
11.ไม้ขัดดา้ ย หรือฟันปลา เป็นอุปกรณส์ าหรับขดั ระหัดมว้ นผา้ เพื่อไมใ่ ห้ระหัดมว้ นผา้
ขยับเขยื้อนได้ ทาให้เสน้ ด้ายตงึ อยู่ตลอดเวลา เมือ่ ถึงข้นั ตอนการทอผ้ากจ็ ะงา่ ยขน้ึ

12.เครือ่ งมว้ นดา้ ย ใช้สาหรบั มว้ นด้ายเขา้ หลอดดา้ ยยนื

วสั ดุและอุปกรณ์/ก่ที อผ้า ประกอบด้วยส่วนตา่ งๆดังนี้
1. ฟืม หรอื ฟนั หวี มีลกั ษณะคล้ายหวี ยาวเท่ากบั ความกว้างของหน้าผ้าทาดว้ ยโลหะ มลี กั ษณะเป็นซ่เี ล็ก ๆ มีกรอบ

ทาด้วยไมห้ รือโลหะ แต่ละซขี่ องฟืมจะเป็นช่องสาหรบั สอดด้ายยืน เข้าไป เปน็ การจัดเรียงด้ายยนื ใหห้ า่ งกนั ตามความ
ละเอยี ดของเนอื้ ผ้า เปน็ สว่ นท่ใี ชก้ ระทบให้เสน้ ด้ายทีท่ อเรยี งตดิ กนั แนน่ เป็นผนื ผ้า ฟมื สมยั โบราณทาด้วยไม้ แกะสลกั เป็นรปู
นกหรือเปน็ ลวดลายตา่ ง ๆ สวยงามมาก

2. เขาหูก หรือ ตะกอ / ตระกอ คอื ส่วนที่ใช้สอดด้ายเปน็ ด้ายยนื และแบง่ ด้ายยนื ออก เป็นหมู่ๆ ตามต้องการ
เพ่ือทจ่ี ะพุ่งกระสวยเขา้ หากันไดส้ ะดวก เขาหกู มอี ยู่ 2 อนั แตล่ ะอันเวลาสอดดา้ ยต้องสอดสลบั กนั ไปเส้นหน่งึ เว้นเสน้ หนึ่ง ท่ี
เขาหกู จะมเี ชอื กผกู แขวนไวก้ ับดา้ นบน โดยผกู เชือก เสน้ เดยี วสามารถจะเลอ่ื นไปมาได้สว่ นลา่ งผูกเชอื กตดิ กับคานเหยยี บ
หรือตีนเหยียบไว้ เพ่อื เวลา ต้องการดึงดา้ ยใหเ้ ปน็ ช่องกใ็ ชเ้ ทา้ เหยียบคานเหยยี บนี้ คานเหยยี บจะเป็นตัวดึงเขาหูกใหเ้ ล่ือนข้ึน
ลง ถา้ หากตอ้ งการทอเป็นลายๆ กต็ อ้ งใชค้ านเหยยี บหลายอนั เชน่ ลายสองใชค้ านเหยยี บ 4 อนั เรยี ก ทอ 4 ตะกอ ลายสาม
ใชค้ านเหยยี บ 6 อนั เรียก ทอ 6 ตะกอ จานวนตะกอทชี่ า่ งทอผ้าเกาะยอใช้ มีตั้งแต่ 2–12 ตะกอ ผ้าผนื ใดทท่ี อหลายตะกอ
ถือวา่ มคี ุณภาพดมี ีลวดลายทลี่ ะเอยี ด สวยงาม และมรี าคาแพง

3. กระสวย คอื ไมท้ ีเ่ ป็นรปู เรียวตรงปลายทง้ั สองขา้ ง ตรงกลางใหญ่ และมรี อ่ งสาหรับใส่หลอดด้ายพุ่ง ใช้สาหรับพงุ่
สอดไปในช่องด้ายยืนระหว่างการทอผา้ หลงั จากที่ชา่ งทอเหยียบคานเหยียบให้เขาหกู แยกเสน้ ดา้ ยยืนแลว้

4. ไม้แกนมว้ นผา้ หรือ ไมก้ าพ่ัน ชาวบ้านเกาะยอเรยี กว่า “ พนั้ รบั ผา้ ” เปน็ ไมท้ ี่ใช้ สาหรับมว้ นผา้ ที่ทอแล้ว ไมแ้ กน
ม้วนผา้ มีขนาดความยาวเทา่ กบั กห่ี รือเทา่ กับความกวา้ งของหนา้ ผ้า

5. คานเหยียบ หรอื ตีนเหยยี บ เป็นไม้ใชส้ าหรบั เหยียบเครอ่ื งบังคบั ตะกอ เพ่ือใหเ้ ชือก ทโี่ ยงต่อมาจากเขาหหรือ
ตะกอดงึ ดา้ ยยนื ใหแ้ ยกออกเป็นหมู่ขณะทีช่ า่ งทอพงุ่ กระสวยด้ายพงุ่ เข้าไปขัดด้ายยนื ให้เกดิ เป็นลวดลายต่าง ๆ

6. สายกระตกุ หรอื เชอื กดึงเวลาพุง่ กระสวย จงึ เกดิ ศพั ท์วา่ “ก่ีกระตกุ ” โดยช่างทอผ้าจะใช้มอื ขา้ งหนึ่งกระตกุ สาย
เชือกนี้ กระสวยก็จะแลน่ ไปแล่นมาเองและใชม้ ืออีกข้างดงึ ฟืมใหก้ ระแทกเนอ้ื ผา้ ท่ีทอแลว้ ให้แนน่

7. ระหัดถักดา้ ย เปน็ ไม้ระหดั สาหรับม้วนดา้ ยยืน
8. หลอดดา้ ยพ่งุ เปน็ หลอดไมไ้ ผ่ท่ีบรรจุดา้ ยสีตา่ ง ๆ สอดอยู่ในรางกระสวยเพ่ือใชพ้ งุ่ ไปขัดดา้ ยยนื ในขณะที่ช่างทอ
กาลังทอผา้ และกระตุกสายกระตกุ ไปหลอดเสน้ ดา้ ยพุ่งก็จะพงุ่ ไปขดั กบั เส้นดา้ ยยนื เกิดเปน็ ลายผา้ ตามต้องการ
9. หลอดด้ายยืนเป็นหลอดดา้ ยหลกั ทข่ี ึงอยูใ่ นกีโ่ ดยสอดผา่ นฟมื เรียบรอ้ ยแลว้ มีลักษณะ อยู่ในแนวตงั้
10.ผงั เป็นไมส้ าหรับค้าความกวา้ งของผ้าใหห้ น้าผ้าตึงพอดกี บั ฟมื เพ่อื วา่ จะไดส้ ะดวก เวลาทอ และเส้นด้ายตรงลาย
ไม่คดไปคดมา ด้านหวั และดา้ นท้ายของผังจะผูกเขม็ ไว้เพื่อใช้สอดรมิ ผ้าทง้ั สองข้าง
11.ไนป่ันดา้ ย เป็นอปุ กรณท์ แี่ ยกออกมาจากกท่ี อผ้า ใช้สาหรับปนั่ ดา้ ยเข้ากระสวย และปัน่ ดา้ ยยืนเข้าระหดั ถักด้าย

ฟมื กระสวย

รปู แบบและลกั ษณะการถา่ ยทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ (ท่ีสะทอ้ นความน่าเชอื่ ถอื การยอมรบั

ผ่านบุคคล/ชมุ ชน/องคก์ ร/รางวลั /ใบประกาศ/การจดทะเบียนลขิ สิทธ์ิ สื่อดิจทิ ลั /เอกสารเผยแพร่แผน่ พบั คลปิ (VDO) ฯลฯ)

ยังไมเ่ คยมีการเผยแพร่/ใชเ้ ฉพาะบคุ คล เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน

มกี ารเผยแพรผ่ า่ นส่ือมวลชนและสอื่ อน่ื อยา่ งแพร่หลาย

√ มีการดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน.....6.....คร้งั จานวน....230.....คน

√ มกี ารนาไปใช้ ในพน้ื ท่ี....3.......คน นอกพ้นื ท่ี....-.......คน

อ่นื ๆ (ระบ)ุ

....................................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................................

ลักษณะของภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน การพฒั นาต่อยอดใหเ้ ปน็ นวตั กรรม คุณค่า (มูลคา่ ) และความภาคภมู ิใจ
ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ /นวัตกรรมท่คี ดิ คน้ ข้ึนมาใหม่
- ได้คิดประดิษฐ์และปรับปรุงลายดอกผักแวน่ จนถงึ ปจั จุบันอย่างสวยงาม
ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ด้ังเดมิ ได้รับการถา่ ยทอดมาจาก
- บรรพบุรษุ รนุ่ พ่อแม่ ปยู่ ่า ตายายและมีการสืบทอดไปยังรนุ่ ลกู รุ่นหลานต่อไป
ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินทไ่ี ดพ้ ัฒนาและตอ่ ยอด
แบบเดมิ คอื ลายผ้าท่ีเกดิ จากการล้วงและเกาะ สาหรบั ทาผา้ ซิ่น และลายขดิ สาหรับ การต้งั ชือ่ ลายผ้านน้ั ถา้ เปน็

ลายเดิมจะมีชอื่ เปน็ ทร่ี จู้ ักของทกุ คน สว่ นทเ่ี ป็นลายประยกุ ต์หรือลายใหม่ โดยการตง้ั ชอ่ื จะอาศัยจากชื่อพน้ื ฐาน
การพฒั นาต่อยอด คอื คณุ แมแ่ สงนิล อนุ่ ตาล ประธานกลมุ่ ทอผ้าไทลือ้ บ้านทุง่ มอก ได้คดิ และปรบั ปรงุ ลาย

ดอกผกั แวน่ จนถงึ ปัจจุบนั อย่างสวยงาม สามารถกาหนดเปน็ ลายผา้ ทอท่ีเป็นเอกลักษณ์ของผา้ ทอไทลอื้ บ้านทุง่ มอก
ถงึ แม้จะมีการประยุกตร์ ูปแบบตามความตอ้ งการของตลาด แตย่ งั คงรักษาลวดลายอนั เปน็ เอกลกั ษณ์ของชาวไทยลื้อ
เพราะมลี วดลายสสี นั สวยงามโดดเด่นเปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั ใชร้ ะยะเวลาในการคิดปรบั ปรงุ รวมระยะเวลา 6 ปี
จึงได้รับคัดสรรค์เปน็ ผลิตภณั ฑด์ เี ด่นของภาคเหนือตามโครงการสนิ ค้าหนงึ่ ผลติ ภัณฑ์หนึ่งตาบล
รายละเอยี ดเพ่ิมเติม (สามารถใสข่ อ้ มลู ลงิ คว์ ดิ โี อ หรือเวปไซต์ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง)..................................................................
........................................................................................................................... ..............................................................

ภาพถ่ายบคุ คลและอปุ กรณ์/เคร่อื งมือ/สิ่งท่ปี ระดิษฐ์ (ชน้ิ งานหรือผลงาน)
รูปภาพเจา้ ของภมู ิปัญญา

รูปภาพภูมปิ ัญญา

ช่อื -สกลุ ผบู้ นั ทึกขอ้ มลู ........นายอุดร คาบุญเรือ......... เบอร์ติดตอ่ /Line ID….......081-0240401.................
หน่วยงาน/สถานศกึ ษา .......กศน.อาเภอเชยี งมว่ น.......... วนั ท่ีบนั ทกึ ขอ้ มูล..........27 มกราคม 2563.............
จัดทารูปแบบข้อมลู ภูมปิ ัญญา E-book ...นางสาวภศั รชนก .... อนิ ธิยา .... บรรณารกั ษ์ห้องสมดุ ประชาชน....

กศน.ตาบลบา้ นมาง
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเชียงมว่ น

จงั หวดั พะเยา


Click to View FlipBook Version