The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือดูแลสุขภาพใจ สำหรับครูผู้สอน
คู่มือจัดทำขึ้น เพื่อทำให้ห้องเรียนเป็น
พื้นที่ปลอดภัย ครูสามารถสร้างพื้นที่ปลอดภัย ที่ทั้งเปิดกว้างและสร้างความสบายใจในโรงเรียนได้
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนรู้สึกสงบ มั่นใจ กล้าที่จะเปิดใจแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีสมาธิ
ในการเรียนหนังสือ
คุณสามารถร่วมสร้างห้องเรียนในฝันกับผู้เรียนได้ โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์
เป็นตัวจุดประกาย! ยกตัวอย่างเช่น การให้ผู้เรียนช่วยกันตกแต่งกำแพงห้องเรียน
ด้วยข้อความสร้างแรงบันดาลใจที่มีสีสันสวยงาม หรือจะเป็นการแบ่งพื้นที่ส่วนหนึ่งในห้องเรียนเอาไว้ให้ผู้เรียนรวมกลุ่มย่อย เพื่อช่วยกันทำงานและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือดูแลสุขภาพใจ สำหรับครูผู้สอน Mental Health Toolkit for Teachers

คู่มือดูแลสุขภาพใจ สำหรับครูผู้สอน
คู่มือจัดทำขึ้น เพื่อทำให้ห้องเรียนเป็น
พื้นที่ปลอดภัย ครูสามารถสร้างพื้นที่ปลอดภัย ที่ทั้งเปิดกว้างและสร้างความสบายใจในโรงเรียนได้
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนรู้สึกสงบ มั่นใจ กล้าที่จะเปิดใจแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีสมาธิ
ในการเรียนหนังสือ
คุณสามารถร่วมสร้างห้องเรียนในฝันกับผู้เรียนได้ โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์
เป็นตัวจุดประกาย! ยกตัวอย่างเช่น การให้ผู้เรียนช่วยกันตกแต่งกำแพงห้องเรียน
ด้วยข้อความสร้างแรงบันดาลใจที่มีสีสันสวยงาม หรือจะเป็นการแบ่งพื้นที่ส่วนหนึ่งในห้องเรียนเอาไว้ให้ผู้เรียนรวมกลุ่มย่อย เพื่อช่วยกันทำงานและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

Keywords: คู่มือดูแลสุขภาพใจ สำหรับครูผู้สอน

ค่มู ือดแู ลสุขภาพใจ
สาํ หรับครูผู้สอน

ครูเป็นบุคคลสำคัญในการช่วยดแู ลสขุ ภาวะทางใจของเดก็ ผเู้ รยี น คำพูดที่

ครูเลือกใช้ วิธีการสอน และบรรยากาศท่ีสรา้ งขนึ้ ในหอ้ งเรยี น ล้วนเปน็ ตัวช่วย
เพอ่ื ผลกั ดันและส่งเสรมิ การเรียนรู้ให้เดก็ และเยาวชนในการใช้ขีดความสามารถ
ของตนเองได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ แต่รู้หรอื ไม่ว่าตัวคณุ ในฐานะครู ก็สามารถ
ทำหนา้ ท่เี ปน็ ทปี่ รกึ ษาในการเสริมสร้างสขุ ภาวะทางใจทด่ี ใี ห้ผเู้ รียนได้เชน่ กนั

สุขภาวะทางใจทดี่ ีเปน็ รากฐานสำคัญท่ีจะทำใหเ้ ดก็ เรยี นรู้และเติบโตไปเปน็
ผู้ใหญ่ท่แี ข็งแรงและรูร้ อบ สุขภาพใจทแ่ี ข็งแรงจะชว่ ยให้พวกเขามคี วาม
ยืดหยุ่น สามารถแกไ้ ขสถานการณต์ ่าง ๆ ไดอ้ ย่างมีสตเิ ม่อื ต้องเผชิญกบั
ปญั หาใดก็ตามท้งั ในและนอกห้องเรยี น ในฐานะครูผสู้ อน ครสู ามารถสรา้ ง
สุขภาวะทางใจเชงิ บวกให้กบั ผู้เรียนได้ ผ่านการสรา้ งบรรยากาศการเรียนร้ทู ่ี
ปลอดภัยโดยยึดใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนรว่ มทางการเรยี นรู้ และการสรา้ งพนื้ ทที่ ี่
ปลอดภัย เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนสามารถแบง่ ปันความคดิ ความรูส้ กึ ของตัวเองได้
อยา่ งสบายใจ ท้งั นรี้ วมถึงการเสรมิ กจิ กรรมฝึกทกั ษะสร้างสขุ ภาวะทางใจ
ทด่ี ีเป็นประจำทุกวนั ในหอ้ งเรียน

สุขภาพใจทด่ี ีเป็นส่วนสำคัญในการมอบการศึกษาท่มี ีคุณภาพและเปน็ การ
นำทางไปสู่ผลการเรียนรู้ทีด่ ีย่งิ ขึน้ ผ้เู รียนทมี่ ีความสขุ และมจี ติ ใจม่นั คงจะ
เรยี นรสู้ ิ่งใหม่ ๆ ได้มากขนึ้ ท้ังยงั สามารถต้งั สมาธกิ ับการศกึ ษาหาความรไู้ ด้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพกวา่ สุขภาวะทางใจที่ดยี ังจะช่วยใหพ้ วกเขาสรา้ งสาย
สัมพันธเ์ ชิงบวกได้ และช่วยใหม้ พี ัฒนาการทางอารมณท์ ่ีสมบูรณ์แข็งแรง

บรรยากาศห้องเรียนท่มี ีความสขุ สามารถเปล่ยี นชีวิตของผเู้ รยี นจากหน้ามอื
เปน็ หลังมือได้! และคณุ ในฐานะครูผสู้ อนสามารถนำขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ่เี รียบงา่ ยและ
ทำได้จรงิ เหลา่ นี้ มาปรับใชใ้ นห้องเรียน เพ่ือเปน็ หลักสูตรการสอนเพอ่ื ใหเ้ กิด
ความเขา้ ใจถึงจิตใจของตนเองให้กับผเู้ รียนของคุณ โดยดดั แปลงกจิ กรรม
ใหเ้ ขา้ กับวยั และความสามารถของผเู้ รยี น เพือ่ ใหท้ ุกคนในช้นั เรยี นมีส่วนรว่ ม
ไดอ้ ย่างเตม็ ที่

1

ทำใหห้ อ้ งเรยี นเป็น

พื้นทีป่ ลอดภัย

ครสู ามารถสรา้ งพน้ื ทป่ี ลอดภยั ทท่ี ง้ั เปดิ กวา้ งและสรา้ งความสบายใจในโรงเรยี นได้
เพ่อื ชว่ ยให้ผู้เรียนรู้สกึ สงบ ม่ันใจ กลา้ ท่จี ะเปดิ ใจแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และมสี มาธิ
ในการเรยี นหนงั สอื
คุณสามารถรว่ มสร้างห้องเรียนในฝันกับผเู้ รียนได้ โดยใชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์
เปน็ ตัวจดุ ประกาย! ยกตวั อยา่ งเชน่ การให้ผเู้ รยี นช่วยกันตกแตง่ กำแพงหอ้ งเรยี น
ด้วยขอ้ ความสร้างแรงบนั ดาลใจที่มีสีสนั สวยงาม หรอื จะเป็นการแบ่งพืน้ ทสี่ ว่ นหนึ่ง
ในห้องเรยี นเอาไวใ้ ห้ผเู้ รียนรวมกลุ่มยอ่ ย เพ่ือช่วยกนั ทำงานและช่วยเหลือซึ่งกนั
และกนั

2

การพฒั นาทักษะ

การเขา้ ใจ
จติ ใจตนเอง

ในทุก ๆ วนั

นิยาม: การฝกึ ทักษะการเขา้ ใจจิตใจตนเอง
เป็นการใช้เทคนิคที่จะช่วยปรบั สภาพจิตใจใหส้ งบนง่ิ
จดจ่ออยกู่ ับสภาวะปจั จบุ นั

เราจำเปน็ ตอ้ งดูแลจติ ใจของตนเอง เหมือนกบั ท่ีเราดูแลรา่ งกายใหแ้ ขง็ แรง
สมบูรณ์ การดูแลจติ ใจกต็ ้องฝึกฝนเป็นประจำทกุ วนั ดว้ ยเชน่ กัน โดยครผู ูส้ อน
สามารถช่วยฝกึ ทักษะน้ใี หก้ บั ผูเ้ รยี นของตนไดท้ กุ วัน ผ่านกิจกรรมการฝกึ
ทำความเข้าใจจติ ใจของตนเอง

ประโยชนข์ องการเข้าใจจติ ใจตนเอง ประโยชนข์ องการเข้าใจจิตใจตนเอง
สำหรับผูเ้ รยี น ตอ่ การเรยี นการสอน

• เรยี นรู้ทจี่ ะเขา้ ใจและจัดการอารมณข์ อง • การได้มีช่วงเวลาเงยี บสงบก่อนเริ่มเรียน
ตนเอง และสามารถท่ีจะจัดการกบั อารมณ์ จะช่วยใหผ้ ้เู รยี นมสี มาธจิ ดจ่ออยู่กับการเรียน
ความร้สู ึกของตนเองได้ การสอนมากขึ้น

• สามารถจดั การความกังวลกลดั กลมุ้ ไดโ้ ดย • จติ ใจท่ีสงบจะช่วยเปดิ ประตูสู่การเรียนรู้และ
ไมร่ ้สู ึกอึดอัดจนทำอะไรไม่ถูก ช่วยให้เขา้ ใจเนือ้ หาได้มากยิง่ ขนึ้

• เรยี นรูท้ ่ีจะรับมอื กบั สถานการณ์อันยากลำบาก • ผู้เรยี นทฝ่ี ึกทกั ษะการเข้าใจจิตใจของตนเอง
ดว้ ยใจสงบน่งิ อย่างสมํ่าเสมอจะสามารถจดั การอารมณ์
ของตนเองได้ดกี วา่ อนั นําไปสู่บรรยากาศใน
หอ้ งเรียนที่ดยี ิง่ ขึน้

3

8 กิจกรรม

เสริมสรา้ งทกั ษะการเขา้ ใจ
จติ ใจของตนเอง สำหรบั ผู้เรียน
ทุกชว่ งอายุ

1 มสี ตอิ ย่กู ับลมหายใจเขา้ ออก

การเร่ิมช่ัวโมงเรยี นด้วยการใหผ้ ้เู รยี นหลับตาและผอ่ น
ลมหายใจเขา้ ออกช้าๆ โดยมคี รผู สู้ อนคอยพู ดแนะนาํ เช่น
“สดู ลมหายใจเขา้ ผ่อนลมหายใจออก หายใจเข้าชา้ ๆ
3 วินาที กล้นั ลมหายใจไว้ 2 วนิ าที และผอ่ นลมหายใจ
ออกช้า ๆ 5 วินาท”ี ทําซํา้ เช่นนสี้ ามคร้ัง โดยการควบคมุ
ลมหายใจดว้ ยวิธีเรียบงา่ ยนี้ จะทาํ ใหจ้ ิตใจปลอดโปร่ง
ปราศจากความคิดรบกวน

2 สร้างเวลาแห่งความเงยี บ
กำหนดเวลาแหง่ ความเงียบขึ้นในระหวา่ งชว่ั โมงเรยี น
เพื่อใหผ้ ้เู รียนได้มีช่วงเวลาของตวั เอง โดยใชค้ วามคิดใน
บรรยากาศทสี่ งบ ซึ่งอาจจะเป็นกจิ กรรมงา่ ย ๆ อยา่ ง
การใหผ้ ้เู รยี นอา่ นหนังสือเองเปน็ เวลา 10 นาที ก่อนเรม่ิ
การสอน เพอ่ื ให้พวกเขามสี มาธิจดจอ่ อยูก่ ับเน้ือหามาก
ยงิ่ ขึน้ ระหว่างช่วั โมงเรยี น

3 วาดรปู ลมหายใจ
ให้ผู้เรียนทำกจิ กรรมศลิ ปะงา่ ย ๆ โดยวาดลมหายใจของ
ตนเองลงบนหน้ากระดาษ กจิ กรรมนจ้ี ะช่วยให้พวกเขามี
จิตใจจดจอ่ อยูท่ ีล่ มหายใจของตน และชว่ ยลดความ
ตึงเครียดได้

4 กำหนดสีให้ลมหายใจเข้าออก
ขน้ั ตอนท่ี 1 ใหผ้ เู้ รยี นคดิ ถงึ สที ท่ี ำใหพ้ วกเขารสู้ กึ ผอ่ นคลาย
ขน้ั ตอนที่ 2 ใหผ้ ู้เรียนคดิ ถงึ สีทเี่ ปน็ ตวั แทนของความ
ตึงเครียดสำหรบั พวกเขา

ขน้ั ตอนท่ี 3 ให้ผู้เรียนจนิ ตนาการวา่ ตนเองหายใจเอาสที ี่
ผอ่ นคลายเข้าจนเต็มปอด

ขนั้ ตอนท่ี 4 ให้ผเู้ รยี นจินตนาการวา่ ตนเองผ่อนลมหายใจ
เอาสีทที่ ำใหร้ สู้ กึ ตึงเครยี ดออกจากร่างกาย

4

5 ระบายสี

การระบายสีเปน็ วธิ ที ่ีดีในการชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นมีสติตง้ั อยู่กับ
ปจั จบุ นั คณุ สามารถพรินตภ์ าพวาดระบายสีมาให้พวก
เขาลงมือทำได้ โดยเปน็ กิจกรรมงา่ ย ๆ ที่ช่วยสร้างความ
ผ่อนคลายไดเ้ ป็นอยา่ งดี

6 ชว่ งเวลาแหง่ คำขอบคุณ

ใหผ้ ู้เรียนเขียน 5 ส่งิ ที่ทำให้พวกเขารสู้ กึ ขอบคุณในวันน้ี
เพ่อื ชว่ ยใหพ้ วกเขารูส้ กึ พึงพอใจกับชวี ิตท่พี วกเขาอาจ
มองข้ามไปไดม้ ากยิ่งขึน้ โดยคุณสามารถแนะแนวใหท้ ำ
กจิ กรรมน้ใี นเวลาส่วนตวั ไดเ้ ชน่ กัน เช่น ให้นกึ ถึงสง่ิ ท่ี
รสู้ กึ ขอบคณุ ในวนั นก้ี อ่ นเขา้ นอน หรอื เมอ่ื ตน่ื มาในตอนเชา้

7 ฝกึ นึกภาพ

ใหผ้ ูเ้ รียนฝกึ นึกถงึ สถานที่ท่ที ำให้พวกเขารสู้ กึ ปลอดภัย
และมีความสขุ จากน้ันแนะนำให้พวกเขานึกถึงสถานท่นี ี้
เมอ่ื ใดก็ตามท่รี ูส้ ึกกระวนกระวายหรือหวาดกลัว

8 คิดทบทวนสิง่ ทเี่ กดิ ข้ึน
จบชัว่ โมงการเรยี นการสอนด้วยกิจกรรมเสริมสรา้ ง
ทักษะการเข้าใจจิตใจของตนเอง โดยให้ผเู้ รียนหลบั ตา
และคิดทบทวนถงึ บทเรยี นในชว่ั โมงท่ผี า่ นมา

นอกจากนีค้ ุณยงั สามารถสง่
คู่มือดแู ลสุขภาพใจเพอ่ื วยั รุ่น
ให้พวกเขาศึกษาเองในเวลาว่างได้อกี ด้วย

5

ทำใหเ้ รือ่ งของสขุ ภาวะทางใจ

เปน็ เรื่องธรรมดา

สขุ ภาวะทางใจเปน็ หวั ข้อทถี่ ูกสงั คมตตี ราเปน็ อยา่ งมาก แต่หากเรานำประเดน็ นี้
มาพูดถึงใหม้ ากขึ้นกจ็ ะช่วยสร้างความเปลี่ยนแปลงได้ ในฐานะครผู ู้สอนคุณ
สามารถเป็นผ้พู ิทกั ษส์ ุขภาพใจได้ โดยการสนบั สนุนใหผ้ ้เู รียนเปดิ ใจบอกเลา่
ความรสู้ กึ ของตนเอง และคุณเองกส็ ามารถดำรงตนเปน็ ตวั อย่างทดี่ ี โดยการ
บอกเล่าความร้สู กึ ของคุณได้เช่นกนั เพื่อทำให้การพดู ความในใจกลายเปน็ เร่ือง
ธรรมดา การสอนให้ผเู้ รยี นพูดคยุ กนั และชว่ ยประคบั ประคองกนั นั้น เปน็ ทางออก
ท่ีดีกว่าการเกบ็ ความรู้สึกเอาไว้ในใจ

คุณสามารถศกึ ษาวิธีการทำหน้าที่
ผ้ดู แู ลสุขภาวะทางใจของเยาวชนที่ดไี ดผ้ า่ น
คู่มือดูแลสขุ ภาพใจเพอ่ื ผ้ปู กครอง
6

การมอบความห่วงใย

ในโรงเรียน

การทำความดที ำใหจ้ ิตใจอ่มิ เอมมคี วามสุข คณุ ทราบ
หรือไมว่ า่ การเหน็ คนมอบความหว่ งใยให้แก่กันนน้ั
ชว่ ยให้อตั ราการเต้นของหัวใจเราชา้ ลง และทำให้
รา่ งกายปล่อยสารเซโรโทนนิ ทชี่ ่วยลดอาการ
ซมึ เศรา้ ได้ คณุ สามารถสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนแสดง
ไมตรีจติ กบั ทัง้ เพ่อื นรว่ มช้นั และกับผคู้ นนอกชนั้
เรียนได้ ใหพ้ วกเขาเก็บความหว่ งใยใส่กระเปา๋ นำ
กลับบา้ นไปมอบใหผ้ ู้อ่นื ด้วยเช่นกัน

การขอ

ความช่วยเหลือ

ครูผู้สอนสามารถสนับสนนุ ให้ผเู้ รยี นพดู ถึงความร้สู กึ ภายในใจของตน และหมัน่
ฝกึ ทักษะการเข้าใจสภาวะจิตใจของตนเองได้ แตใ่ นบางคราว ผเู้ รยี นก็ตอ้ งการ
ความชว่ ยเหลอื มากกวา่ ท่ตี ัวเราจะให้ได้ หากพบผ้เู รยี นที่ดนู ่าเป็นหว่ ง ขอให้คุณ
ทำตามข้อปฏิบตั ิของโรงเรียนที่คณุ สังกดั และแจ้งเจ้าหนา้ ท่รี ะดับสงู ให้รบั ทราบ
ถงึ ปัญหา หรอื อาจพาพวกเขาไปขอความชว่ ยจากผดู้ แู ลสุขภาวะทางใจทีม่ ีความ
เชี่ยวชาญกส็ ามารถทำได้เช่นกนั

สายดว่ นสขุ ภาพจติ | 1323
คลนิ ิกสขุ ภาพจติ ที่โรงพยาบาลทัว่ ไป
พืน้ ท่ีปลอดภัย กบั อาสาสมคั รนกั รบั ฟงั ดว้ ยใจ | www.satiapp.co
LoveCare Station–เลิฟแคร์สเตชนั่ ใหก้ ารปรึกษาปญั หาวยั รนุ่
ปรึกษาออนไลน์ (16:00-24:00) | www.lovecarestation.com
LINE Chat (12:00-20:00) | @lovecarestation
ตรวจเช็คสขุ ภาพใจดว้ ยตนเอง | www.วัดใจ.com

7


Click to View FlipBook Version