The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการดำเนินการเรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับสถานประกอบการ
จัดทำโดยกองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการดำเนินการเรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับสถานประกอบการ

แนวทางการดำเนินการเรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับสถานประกอบการ
จัดทำโดยกองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

Keywords: แนวทางการดำเนินการเรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับสถานประกอบการ

กรมควบคุมโรค

Department of Disease Control

แนวทางการดำเนินการเร�่อง

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สำหรับสถานประกอบการ
กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ�งแวดลŒอม
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการดำ� เนนิ การเร่อื ง

โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019

ส�ำหรับสถานประกอบการ

กองโรคจากการประกอบอาชพี และสิง่ แวดล้อม กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ

คณะผ้จู ัดท�ำ ทีป่ รึกษา
ทปี่ รกึ ษา
นพ. สมเกยี รติ ศิรริ ัตนพฤกษ์ กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดลอ้ ม
พญ. ฉนั ทนา ผดุงทศ ศูนย์พฒั นาวิชาการอาชวี อนามยั และส่ิงแวดลอ้ ม จงั หวัดสมทุ รปราการ
พญ. ชุลกี ร ธนธติ กิ ร แพทยป์ ระจ�ำบ้านสาขาอาชีวเวชศาสตร์ ชน้ั ปที ี่ 3
พญ. รชนีกร วีระเจรญิ แพทยป์ ระจ�ำบา้ นสาขาอาชีวเวชศาสตร์ ชั้นปที ่ี 3
นพ. วิทวัส สรุ วฒั นสกลุ แพทยป์ ระจ�ำบ้านสาขาอาชวี เวชศาสตร์ ชน้ั ปที ่ี 2
นพ. ศิวชั ธำ� รงวิศว
พญ. เออ้ื มพร พูนกลา้

จดั ท�ำโดย : กองโรคจากการประกอบอาชีพและสง่ิ แวดลอ้ ม
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ
ออกแบบโดย : สำ� นักพมิ พ์อกั ษรกราฟฟิคแอนดด์ ีไซน์

ค�ำน�ำ

โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากไวรัส COVID-19
ซ่ึงแพร่กระจายจากประเทศจีนไปยังอีกหลายประเทศท่ัวโลก รวมถึงสหรัฐอเมริกา ความรุนแรงของ COVID-19
ข้ึนอยู่กับว่ามีผลกระทบระดับนานาชาติมากน้อยเพียงใด ท้ังสถานะของการการระบาด รวมถึงการเพิ่มขึ้นของการ
ระบาดในวงกว้างท่วั โลก ส่งผลกระทบตอ่ ทุกดา้ นของชวี ิตประจำ� วนั เชน่ การเดนิ ทาง การค้า การทอ่ งเทีย่ ว อาหาร
และเศรษฐกจิ เพอ่ื ลดผลกระทบจากการระบาดของ COVID-19 ต่อธุรกจิ ลูกจา้ ง ลกู คา้ และส่วนรวม ซงึ่ เปน็ สง่ิ สำ� คัญ
ทน่ี ายจ้างทกุ คนต้องวางแผนรบั มือกับ COVID-19
กองโรคจาการประกอบอาชีพและส่ิงแวดล้อม กรมควบคุมโรค ได้จัดท�ำแนวทางการด�ำเนินการเร่ือง
โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ส�ำหรบั สถานประกอบการ องิ ตามขนั้ ตอนของ The Occupational Safety and
Health Administration (OSHA) และ International Labour Organization (ILO) ทม่ี พี น้ื ฐานของการปอ้ งกนั การ
ติดเช้ือแบบด้ังเดมิ และสขุ ศาสตร์อุตสาหกรรม ม่งุ เนน้ ไปท่ีการควบคุมงานดา้ นวศิ วกรรม การบรหิ าร การปฏิบตั ิงาน
และการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล นอกจากนี้ยังเพิ่มเติม แนวทางท่ีมีความสอดคล้องกับบริบทของ
ประเทศไทยใหม้ ากขนึ้
วตั ถปุ ระสงคข์ องแนวทางฉบบั นี้ เพอื่ ใหเ้ กดิ การวางแผนสำ� หรบั นายจา้ งและลกู จา้ ง สามารถระบรุ ะดบั ความเสยี่ ง
ในสถานทีท่ �ำงาน และสามารถก�ำหนดมาตรการควบคมุ เฝา้ ระวงั และปฏบิ ตั ิงานเหมาะสมในบรบิ ทของการระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 คำ� แนะนำ� นเ้ี ป็นการให้ขอ้ มลู เนือ้ หาในเล่มนไี้ ม่ไดเ้ ป็นมาตรฐานหรือ
กฎระเบียบท่ีต้องปฏิบตั ิตาม และจะไมม่ ผี ลทางกฎหมาย



สารบญั

เรอ่ื ง ความรพู้ นื้ ฐานโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 1
1
สถานการณ์โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 และความเสีย่ งของประเทศไทย 1
อาการของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 2
การแพรก่ ระจายของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 2
ผลกระทบทีอ่ าจเกิดกบั สถานประกอบการ 3
ขั้นตอนลดความเสีย่ งการสัมผสั กับ COVID-19 7
มาตรการป้องกนั สำ� หรับสถานประกอบการ 10
การแบ่งระดบั ความเสย่ี งในการสมั ผัส COVID-19
ของคนงานภายในสถานประกอบการ 12
การจัดการขยะติดเช้อื ในสถานประกอบการ
19
เอกสารอ้างอิง



ความรู้พืน้ ฐาน
โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019

สถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และความเส่ียงของประเทศไทย

โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 มกี ารระบาดในวงกวา้ งในสาธารณรฐั ประชาชนจนี ตง้ั แตเ่ ดอื นธนั วาคม 2562 เปน็ ตน้ มา
โดยเร่มิ จากเมืองอู่ฮน่ั มณฑลหูเป่ย์ จนถึงปจั จุบนั ท�ำให้พบผปู้ ่วยยนื ยันมากกวา่ 70,000 ราย และเสยี ชีวติ มากกวา่ 2,000 ราย
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เร่ิมต้นท่ีประเทศจีน ต้ังแต่วันท่ี 30 ธันวาคม 2562 ต่อมาได้พบผู้ป่วยยืนยัน
ในหลายประเทศทั่วโลก จ�ำนวนผู้ป่วยยืนยันเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว เช่น ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน เกาหลีใต้ สิงคโปร์ และญ่ีปุ่น
พบอตั ราการเสยี ชวี ติ จากโรคประมาณรอ้ ยละ 2 ซง่ึ รอ้ ยละ 26.4 ของผเู้ สยี ชวี ติ เปน็ ผสู้ งู อายุ และผทู้ ม่ี โี รคประจำ� ตวั มโี อกาสเสยี่ ง
ทจ่ี ะเสียชวี ติ เพม่ิ ขน้ึ โดยผ้ทู ่ีเป็นโรคหวั ใจมีอตั ราการเสียชีวิตมากที่สดุ รอ้ ยละ 10.5 รองลงมาคือ โรคเบาหวาน (รอ้ ยละ 7.3)
และ โรคระบบทางเดนิ หายใจเรอื้ รัง (ร้อยละ 6.3)
ขณะนีม้ หี ลกั ฐานการติดต่อจากคนส่คู น และพบมีการระบาดภายในประเทศ (local transmission) เพ่ิมข้นึ หลายพน้ื ที่
ณ วนั ที่ 12 มนี าคม 2563 องคก์ ารอนามัยโลก ไดป้ ระกาศให้โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคระบาดที่เข้าได้ภาวะระบาด
ครงั้ ใหญ่ (Pandemic) กระจายไปหลายส่วนของโลก และแนะนำ� ใหท้ ุกประเทศเร่งรดั การเฝ้าระวัง ปอ้ งกัน และควบคุมโรคน้ี

อาการของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

การติดเช้ือไวรัส COVID-19 สามารถท�ำให้เกิดการเจ็บป่วยได้ต้ังแต่ระดับเล็กน้อยถึงระดับรุนแรง และในบางกรณี
อาจถึงแก่ชีวิตได้ โดยท่ัวไปจะมีไข้ ไอ และหายใจถี่ บางคนที่ติดเช้ือไวรัสมีรายงานว่าอาจจะ มีอาการอื่นๆ ท่ีไม่ใช่ระบบ
ทางเดนิ หายใจ หรอื บางรายไม่มีอาการแสดงเลย ตามรายงานของ Center of Disease Control (CDC) ประเทศสหรัฐอเมรกิ า
ให้ข้อมูลว่า อาการของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 อาจปรากฏขนึ้ ชว่ ง 2 วนั หรือนานถึง 14 วนั หลงั จากไดร้ ับเชื้อ

1แนวทางการดำ� เนินการเร่ือง โรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
ส�ำหรบั สถานประกอบการ

การแพรก่ ระจายของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019

ถึงแม้วา่ ผ้ปู ่วยคนแรกของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 นา่ จะเป็นเกดิ จากการสัมผสั สตั ว์ทต่ี ดิ เชอ้ื แตผ่ ู้ตดิ เชือ้ สามารถ
แพร่กระจายจากคนสู่คนได้ จากการท่ีใช้ชีวิต สัมผัส หรือคลุกคลีกับคนท่ีมีเชื้อในระยะประชิด (ภายในประมาณ 2 เมตร)
โดยไวรสั สามารถแพร่กระจายจากคนส่คู นได้หลายชอ่ งทางดังนี้

1 จากการหายใจ ผ่านละอองฝอย (droplets) เม่อื ผตู้ ิดเชื้อไอหรือจาม ละออง
เหลา่ นีเ้ ข้าสู่ปากหรอื จมกู ของคนท่ีอยใู่ กลเ้ คยี งหรอื ผา่ นเขา้ ไปในปอด

2 อาจเป็นไปได้ว่าสามารถติดเช้ือ COVID-19 ได้โดยการสัมผัสพื้นผิวหรือวัตถุ
ทม่ี ีเชื้อ COVID-19 แลว้ มาสัมผัสปาก จมูกหรือตา แตก่ ารสัมผัสกไ็ มใ่ ช่ชอ่ งทาง
หลกั ในการแพรก่ ระจายของไวรสั สามารถคน้ หาขอ้ มลู ของโรคเพม่ิ เตมิ ไดจ้ ากเวบ็ ไซต์
ของกรมควบคุมโรค ที่จะมีข้อมูลล่าสุด ความทันสมัยและทันต่อสถานการณ์
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/intro.php

ผลกระทบท่อี าจเกดิ กับสถานประกอบการ

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สามารถท�ำให้เกิดการระบาดในวงกว้าง หลายพ้ืนที่ของประเทศไทย อาจมีผลกระทบ
พรอ้ มกนั ในกรณที ไี่ ม่มวี คั ซนี การระบาดอาจยืดเย้ือ ซงึ่ เป็นผลให้สถานประกอบการ อาจประสบกับปัญหาต่างๆ ดังน้ี

l การขาดงาน คนงานอาจขาดงานเพราะปว่ ย
หรอื ตอ้ งดแู ลสมาชกิ ในครอบครวั ทปี่ ว่ ย หรอื ตอ้ งดแู ล
เดก็ ทบ่ี า้ น ถา้ โรงเรยี นหรอื ศนู ยร์ บั เลย้ี งเดก็ ปดิ หรอื
มีคนท่ีบ้านมีความเส่ียง เช่น ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกัน
บกพรอ่ ง หรอื กลวั ทจ่ี ะมาทำ� งานเพราะกลวั วา่ จะตอ้ ง
สมั ผัสกับผู้ป่วย

2 แนวทางการดำ� เนนิ การเร่ือง โรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สำ� หรบั สถานประกอบการ

l เปลี่ยนรูปแบบของการผลิต ความต้องการของ
ผบู้ รโิ ภคสำ� หรบั การปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ เชน่ อปุ กรณป์ อ้ งกนั
ระบบทางเดินหายใจ มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนอย่างมาก
ในขณะที่ความสนใจ ในสินค้าอ่ืนๆ อาจลดลง ผู้บริโภค
อาจเปล่ียนรูปแบบการซ้ือสินค้าเนื่องจากการระบาด
ของ โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ผ้บู ริโภคจะซ้อื สินคา้
ชว่ งเวลาเร่งด่วนมากขึ้น เพือ่ ลดการ สมั ผัสกบั คนหมมู่ าก
ความสนใจในบรกิ ารจดั สง่ ถงึ บา้ นหรอื ตอ้ งการทางเลอื กอนื่ ๆ
เช่น บริการการขับรถผ่าน (drive-through) เพื่อลด
การตดิ ตอ่ ระหว่างบคุ คล

lความตอ้ งการหรอื การขนสง่ ถกู ชะงกั การจดั สง่
สินค้าจากพื้นท่ีที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจาก
โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 อาจลา่ ชา้ หรอื ถกู ยกเลกิ
โดยมีหรือไม่มกี ารแจง้ ลว่ งหน้า

ข้ันตอนลดความเสี่ยงการสัมผสั กับ COVID-19

1. การเตรยี มความพร้อมและการรับมือ
หากไม่มีแผนการเตรียมความพร้อมและแผนการรับมือของ
โรคติดเช้ือท่ีสามารถใช้เป็นแนวทางในการป้องกันการติดเช้ือ COVID-19
สามารถพิจารณาข้ันตอนต่างๆ และก�ำหนดระดับความเสี่ยงตามคู่มือ
ฉบับน้ี เพ่ือน�ำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสถานประกอบการน้ันๆ
ควรพจิ ารณาและกำ� หนดระดบั ความเสยี่ ง ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานประกอบการ
และลกั ษณะงานของตนเอง การพิจารณาดงั กลา่ วอาจรวมถึง
1.1 สถานท่ี วธิ กี ารรบั เชอื้ แหลง่ เชอ้ื โรคทคี่ นงานสามารถรบั สมั ผสั โดยพจิ ารณาตามความเสย่ี งทจี่ ะไดร้ บั จากบคุ คล
ดงั ตอ่ ไปน้ี
l ผู้ใชบ้ ริการ ในท่นี ห้ี มายถงึ ประชาชนทัว่ ไป ลกู คา้ และเพอื่ นร่วมงาน
l ผู้ป่วยหรือผู้ท่ีมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อ เช่น นักท่องเที่ยวที่มาจากสถานที่ที่มีการแพร่กระจาย
ของ COVID-19 หรอื มบี คุ ลากรทางการแพทยท์ มี่ กี ารสมั ผสั กบั ผทู้ สี่ งสยั วา่ มกี ารตดิ เชอื้ ปจั จยั เสยี่ งทไี่ มเ่ กย่ี วกบั อาชพี ทง้ั ทบ่ี า้ น
และในชุมชน สามารถติดตามสถานท่ีเสี่ยงเพื่อเตรียมรับมือได้ทางเว็บไซต์ https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/
situation.php

3แนวทางการด�ำเนินการเรอื่ ง โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
สำ� หรับสถานประกอบการ

1.2 ปัจจัยเส่ียงส่วนบุคคลของคนงาน เช่น อายุมาก โดยเฉพาะผู้ท่ีมีอายุมากกว่า 60 ปี มีโรคประจ�ำตัวเร้ือรัง
รวมถึงผ้ทู มี่ ภี าวะภูมิคมุ้ กันบกพร่อง และหญงิ ต้ังครรภ์
1.3 ปฏบิ ตั ติ ามคำ� แนะนำ� ของภาครฐั เกยี่ วกบั การพฒั นาแผนฉกุ เฉนิ สำ� หรบั สถานการณท์ อ่ี าจเกดิ ขน้ึ จากการระบาด เชน่
1.3.1 การทดแทนแรงงาน หรอื เปลย่ี นรูแปบบการดำ� เนินงาน กรณีมีการเพิม่ ขึ้นของอัตราการหยุดงาน
1.3.2 การเพมิ่ ระยะหา่ งในสงั คม (Social distancing) การสลบั กะการทำ� งาน รวมไปถงึ การเหลอ่ื มเวลาทำ� งาน
พจิ ารณาลดขนาดการผลติ ในชว่ งมกี ารระบาดของโรค การขนสง่ และมาตรการลดการสมั ผสั อนื่ ๆ ตวั เลอื กอน่ื ๆ สำ� หรบั การดำ� เนนิ
กิจการ โดยทตี่ ้องมีจำ� นวนคนงานลดลง รวมถึงการฝกึ อบรมคนงานให้ทำ� งานไดห้ ลายหนา้ ท่ี เพ่อื ดำ� เนนิ กิจการใหไ้ หลลนื่ ได้
1.4 หว่ งโซอ่ ปุ ทานชะงกั หรอื การสง่ สนิ คา้ ลา่ ชา้ ควรพจิ ารณาแผนการทำ� งานแบบตอ่ เนอ่ื ง (Business continuity
planning) เพอ่ื ใหธ้ ุรกจิ ยังสามารถดำ� เนนิ ไปได้ควบคู่กบั การจัดการในขั้นตอนอ่ืนๆ ท่ีนายจา้ งสามารถทำ� ไดเ้ พื่อลดความเสยี่ ง
จากการสมั ผัสกบั COVID-19 ในที่ทำ� งานได้
1.5 ด�ำเนนิ การและสือ่ สารภายในสถานประกอบการ เชน่
1.5.1 สนับสนุนใหพ้ นักงานทำ� งานอยทู่ ่บี ้าน
1.5.2 ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ มนี โยบายการใหล้ าปว่ ย โดยไมถ่ กู หกั เงนิ เดอื น และพนกั งานรบั ทราบนโยบายเหลา่ นนั้
1.5.3 ทำ� ความเขา้ ใจกบั บรษิ ทั คคู่ า้ รวมถงึ พนกั งานทถี่ กู จา้ งชวั่ คราวเกย่ี วกบั ความส�ำคญั ของการกกั กนั ทบี่ า้ น
หากมีอาการปว่ ยและสนับสนุนใหพ้ วกเขาหยดุ โดยทไ่ี ม่มีโทษ
1.5.4 พนกั งานทปี่ ว่ ยในระบบทางเดนิ หายใจเฉยี บพลนั ไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งมใี บรบั รองการเจบ็ ปว่ ย หรอื ใบรบั รอง
การกลบั เขา้ ทำ� งาน เนอื่ งจากบคุ ลากรทางการแพทยม์ ภี าระงานคอ่ นขา้ งมาก ไมส่ ามารถออกเอกสารดงั กลา่ วไดต้ ามเวลาทกี่ ำ� หนด
1.5.5 ให้คงไว้ซึ่งนโยบายการอนุญาตให้พนักงานสามารถท�ำงานอยู้ที่บ้านได้ เพ่ือดูแลสมาชิกในครอบครัว
ทป่ี ว่ ย โดยนายจา้ งควรตระหนกั วา่ พนกั งานจำ� นวนมากตอ้ งอยทู่ บี่ า้ น เพอื่ ดแู ลบตุ รหรอื สมาชกิ ในครอบครวั ทปี่ ว่ ยมากกวา่ ภาวะปกติ
1.5.5 คำ� นงึ ถงึ ขอ้ กงั วลของพนกั งานเกยี่ วกบั การจา่ ยเงนิ การหยดุ ความปลอดภยั สขุ ภาพ รวมไปถงึ ฝกึ เกย่ี วกบั
สขุ ภาวะทเี่ หมาะสมรวมถงึ อปุ กรณป์ อ้ งกนั ความปลอดภยั สว่ นบคุ คล ทำ� ความเขา้ ใจกบั พนกั งานทไี่ มต่ ระหนกั กบั การระบาดในขณะน้ี
1.5.6 ประสานกับบริษัทประกันภัยโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของพนักงาน รวมถึงสถานพยาบาลใกล้เคียง
เพ่ือใหข้ อ้ มลู กับพนกั งานและลกู คา้ เกยี่ วกับการดแู ลสุขภาพในชว่ งการระบาด

2. การเตรยี มมาตรการปอ้ งกนั ขน้ั พื้นฐาน
สำ� หรบั นายจา้ งนนั้ การปอ้ งกนั ใหล้ กู จา้ งควรใหค้ วามสำ� คญั กบั มาตรการ
การปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ ขน้ั พนื้ ฐานทเ่ี หมาะสม นายจา้ งควรสง่ เสรมิ เรอ่ื งสขุ อนามยั และ
การอบรมการควบคมุ การติดเช้ือ รวมถงึ :
l ใหก้ ารลา้ งมอื บอ่ ย ๆ ทง้ั ตวั คนงาน ลกู คา้ ผทู้ เ่ี ขา้ มาในสถานประกอบการ
โดยสบูห่ รือนำ้� สำ� หรบั ล้างมือและเจลลา้ งมือท่มี ีแอลกอฮอล์อยา่ งน้อย 70% ขึน้ ไป

l ใหล้ กู จา้ งหยุดงานถ้าหากป่วย
l มีการปอ้ งกันการแพรเ่ ช้อื ไปสผู่ ้อู นื่ ขณะไอ จาม
โดยการสวมใสห่ นา้ กากอนามัย
l นายจา้ งควรกำ� หนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติ เช่น
ใหก้ ารทำ� งานมีความยืดหยุน่ โดยการทำ� งานทีบ่ ้าน
และใชก้ ารสอ่ื สารโทรคมนาคม กำ� หนดช่วั โมงการทำ� งานทีย่ ืดหยนุ่ เช่น การเหลื่อมเวลาในแตล่ ะกะทำ� งาน
เพือ่ เพิม่ ระยะห่างทางทางการสัมผสั ระหวา่ งพนักงานด้วยกันเอง

4 แนวทางการดำ� เนินการเรอื่ ง โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
ส�ำหรบั สถานประกอบการ

l แยกการใช้อปุ กรณ์ส�ำนักงาน โทรศัพท์ โตะ๊ ทำ� งานหรือเครื่องมอื อ่ืนๆ หากเป็นไปได้
l หมนั่ รกั ษาดแู ลทำ� ความสะอาด รวมถงึ การฆา่ เชอื้ ตามของพน้ื ผวิ อปุ กรณข์ องสภาพแวดลอ้ ม การทำ� งานเปน็ ประจำ�
ตามค�ำแนะน�ำในเอกสารแนบ 1 นายจ้าง ผู้บริหาร หรือคณะท�ำงานที่เก่ียวข้องในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สามารถตรวจสอบมาตรการในการป้องกันขั้นพ้ืนฐาน ตาม Action Checklist (เอกสารแนบ 2) ในคู่มือฉบับนี้ เพื่อน�ำไปใช้
ประเมินมาตรการ ในการด�ำเนินการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานประกอบการ หากพบว่าข้อใด
ขอ้ หน่งึ ยังไมไ่ ดด้ �ำเนินการ ขอใหว้ างแผนการดำ� เนนิ การ เพื่อความปลอดภยั ของพนักงานและผู้มาติดตอ่

3. ข้ันตอนการระบุและคัดแยกผู้ปว่ ย
นยิ ามผู้ป่วยทเ่ี ข้าเกณฑ์การสอบสวน (PUI) มีดังตอ่ ไปนี้

3.1 อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสข้ึนไป หรือให้ประวัติว่ามีไข้
ในการป่วยครงั้ นี้
ร่วมกับมีอาการของระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหน่ึง ดังต่อไปนี้ ไอ
นำ�้ มูก เจ็บคอ หายใจเหน่อื ย หรอื หายใจล�ำบาก

37.5 องศาเซลเซยี สขน�้ ไป

โรคปอดอกั เสบ 3.2 ผปู้ ว่ ยโรคปอดอักเสบ
ทั้ง 2 กรณี ให้ ร่วมกับ มีประวัติในช่วงเวลา 14 วันก่อนวันเริ่มป่วย
อย่างใดอยา่ งหน่ึงต่อไปนี้
1) มีประวัติเดินทางไปยงั หรอื มาจาก หรอื อยู่อาศยั ในพน้ื ทเ่ี สีย่ ง
2) มีประวัติสัมผัสใกลช้ ดิ กบั นักท่องเทยี่ วตา่ งชาติ
3) มีประวัติใกล้ชิดหรือสัมผัสกับผู้ป่วยเข้าข่ายหรือยืนยันโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019

4) มีประวัติไปในสถานท่ีชุมนุมชนและมีผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในช่วงเวลาเดียวกับผู้ป่วยตามประกาศ
ของคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวดั /คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ กรงุ เทพมหานคร โดยพนื้ ทเี่ สย่ี ง ไดแ้ ก่ พน้ื ทที่ ป่ี ระกาศเขตตดิ โรคฯ
ตาม พ.ร.บ.โรคตดิ ตอ่ พ.ศ. 2558 และพน้ื ทที่ มี่ กี ารระบาดตอ่ เนอ่ื ง ตามประกาศบนเวบ็ ไซตข์ องกรมควบคมุ โรค อา้ งองิ ตามท่ี
แสดงในเว็บไซต์ https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php
การระบแุ ละคัดแยกผปู้ ่วยได้อยา่ งรวดเร็ว เปน็ ขน้ั ตอนสำ� คัญในการปอ้ งกนั การแพร่กระจายเช้ือตอ่ พนักงาน ลกู ค้า
และคนอนื่ ในที่ท�ำงาน นายจา้ งควรแจง้ และกระตุ้นใหพ้ นกั งานสำ� รวจถึงอาการของ โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ด้วยตนเอง
ควรกำ� หนดนโยบายและขน้ั ตอนส�ำหรบั ใหพ้ นกั งานรายงานตนเอง เมอ่ื ปว่ ยหรอื มอี าการของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ทนั ที
และฝึกอบรมคนงานใหป้ ฏบิ ตั ติ าม ดังนี้
l ย้ายคนที่ป่วยไปยังพ้ืนท่ีห่างจากคนอื่นๆ ควรจัดพ้ืนท่ีที่มีประตูปิดแยกห้องได้ซึ่งใช้เป็นห้องแยก จนกว่าบุคคล
ดังกลา่ วจะถกู เคลอ่ื นยา้ ยออกจากทที่ ำ� งาน

5แนวทางการด�ำเนินการเรอื่ ง โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
สำ� หรับสถานประกอบการ

l จำ� กดั การแพรก่ ระจายของสารคดั หลง่ั ของบคุ คลทอ่ี าจมเี ชอ้ื COVID – 19 โดยการเตรยี มหนา้ กากทพ่ี รอ้ มใชง้ าน
และขอให้สวมใส่ ทีใ่ ช้กบั ผ้ปู ่วยไมค่ วรใช้อยา่ งเดยี วกบั อุปกรณ์ปอ้ งกันสว่ นบคุ คล (PPE) ที่ใช้ปฏบิ ัติงาน
l จ�ำกัดคนที่จะเขา้ ไปในพ้นื ที่แยกโรค
l แจ้งพนกั งานเจ้าหนา้ ที่ ผ่าน ส�ำนกั งานสาธาณสขุ จงั หวัดทีส่ ถานประกอบการต้งั อยู่ เพ่อื ด�ำเนนิ การสง่ ตอ่ ผปู้ ่วย
สอบสวนโรคและเฝ้าระวงั ผ้สู ัมผสั ใกลช้ ดิ ในลำ� ดบั ถัดไป
l ป้องกันพนักงานในการสัมผัสอย่างใกล้ชิด (เช่น ภายในระยะ 2 เมตร) กับผู้ป่วยหรือผู้ที่สัมผัสกับบุคคล
ดังกล่าวเปน็ เวลานาน/ซำ้� ๆ โดยใชก้ ารควบคมุ ทางวศิ วกรรมและการบรหิ าร วิธปี ฏิบตั งิ านที่ปลอดภัยและอปุ กรณส์ ว่ นบคุ คล
l ควรปิดแผนกหลังจากที่พบผู้ป่วยทันทีอย่างน้อยเป็นเวลา 4 วัน เพ่ือท�ำความสะอาด ฆ่าเชื้อ โดยสามารถ
ศึกษาแนวทางการฆา่ เช้ือไดต้ ามเอกสารแนบ 1
4. ขน้ั ตอนการระบุและคดั แยกคนงานท่สี ัมผัสผูป้ ่วยใกลช้ ิด
นยิ ามคนงานผู้สัมผัสใกลช้ ดิ มีดงั ตอ่ ไปน้ี
คนงานผสู้ มั ผัสใกล้ชิดเสยี่ งสงู หมายถึง คนงานที่มโี อกาสสูงในการรับหรือแพร่เชอื้ กับผู้ปว่ ย ประกอบด้วย

l คนงานทสี่ ัมผสั ใกล้ชดิ หรือมีการพูดคุยกับผปู้ ่วยในระยะ 1 เมตร นานกวา่
5 นาที หรอื ถูกไอจามรดจากผปู้ ว่ ย โดยไมม่ ีการปอ้ งกนั เช่น ไมส่ วมหนา้ กากอนามัย
l คนงานท่ีอยู่ในบริเวณท่ีปิด ไม่มีการถ่ายเทอากาศ เช่น ในรถปรับอากาศ
ห้องปรบั อากาศ รว่ มกบั ผูป้ ่วย และอยหู่ า่ งจากผ้ปู ่วยไม่เกิน 1 เมตร นานกว่า 15 นาที
โดยไมม่ กี ารปอ้ งกนั คนงานสมั ผสั ใกล้ชิดเสี่ยงต�ำ่ หมายถงึ ผู้สัมผสั ทีม่ โี อกาสต่�ำในการรบั
หรือแพร่เชื้อกบั ผปู้ ว่ ย ไดแ้ ก่ ผ้สู มั ผัสท่ไี มเ่ ข้าเกณฑ์ผ้สู ัมผัสเสีย่ งสูง
การระบคุ นงานทสี่ มั ผสั ใกลช้ ดิ ผปู้ ว่ ยไดเ้ รว็ จะทำ� ใหล้ ดโอกาสการแพรโ่ รคไดม้ าก และชว่ ยในการวนิ จิ ฉยั การตดิ ตาม
คนงาน ท่ีเป็นผู้สัมผัสใกล้ชิดจึงมีความส�ำคัญอย่างมาก ทั้งนี้กิจกรรมท่ีส�ำคัญในการระบุคนงานที่สัมผัสใกล้ชิดเรียกว่า
“Contact tracing” จะไดจ้ ากการทค่ี ้นหาขอ้ มูลจากผู้ป่วย บุคคล (เช่น ญาต)ิ เพ่อื นรว่ มงาน และแหลง่ ขอ้ มูลที่เกี่ยวข้อง เช่น
ข้อมูลการเดินทางฯ หรือจากการที่ตัวคนงานผู้สัมผัสแจ้งว่า เขาอาจสัมผัสโรคหลังจากท่ีมีการการระบุคนงานที่สัมผัส
ใกลช้ ดิ ผู้ปว่ ยได้แลว้ จะต้องมกี ารปฏบิ ัติดงั นี้
l คดั กรองอาการตามแบบคัดกรอง (เอกสารแนบ 3)
l หากมอี าการเขา้ ได้กับเกณฑผ์ ู้ปว่ ยทเ่ี ข้าเกณฑ์สอบสวน (PUI) ให้แจ้งตอ่ พนักงานเจา้ หนา้ ท่ีตาม พ.ร.บ โรคติดตอ่
หรือ สำ� นกั งานสาธารณสุขจงั หวัด เพ่อื ดำ� เนินการตามแนวทางสอบสวนโรคต่อไป
l หากไม่มีอาการ แต่เป็นคนงานท่ีสัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยโดยที่ไม่ได้สวมหน้ากากอนามัย ให้หยุดงานและกักกัน
ที่บ้านหรือทพี่ ักอาศัย อย่างเคร่งครดั จนครบ 14 วนั หลงั จากวนั ท่ีสมั ผัสผปู้ ว่ ยคร้งั สุดทา้ ย
l ในระหว่างที่มีการกักกัน จะต้องมีการวัดไข้ 14 วัน แล้วรายงานให้พยาบาลประจ�ำสถานประกอบการ หรือ
เจ้าหนา้ ท่ผี ่านบคุ คล ทไ่ี ด้รับมอบหมายใหด้ ูแล กำ� กบั และติดตามคนงานท่ีสัมผัสใกล้ชิดผู้ปว่ ย
l ในระหว่างกักกัน หากต้องอาศัยในบ้านเดียวกับผู้อื่น ไม่สามารถแยกตัวออกมาล�ำพังได้ จะต้องยึดมาตรการ
Social Distancing คอื ตอ้ งหา่ งจากสมาชกิ ภายในทอี่ ยอู่ าศยั มากกวา่ 2 เมตร สวมใสห่ นา้ กากอนามยั ตลอดเวลา และลา้ งมอื บอ่ ยๆ
`ตามค�ำแนะนำ� ในเอกสารแนบ 4

6 แนวทางการดำ� เนินการเรือ่ ง โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
ส�ำหรับสถานประกอบการ

5. การปอ้ งกนั ตนเองของพนักงานผู้ที่ตอ้ งสอื่ สารกบั คนงานทีป่ ่วยหรือคนงานผู้สัมผัสใกลช้ ิดเส่ียงสงู
ให้คนงานที่ป่วยหรือคนงานผู้สัมผัสใกล้ชิดเส่ียงสูง สวมใส่หน้ากากอนามัย ผู้ท่ีต้องสื่อสารโดยตรงกับคนงานที่ป่วย
หรอื ผูส้ มั ผสั ใกล้ชดิ เส่ยี งสงู ตอ้ งสวมอุปกรณป์ ้องกันสว่ นบคุ คล ดังตารางด้านล่างนี้ และใหท้ �ำการล้างมือทกุ ครงั้ หลังการส่อื สาร
กบั คนงานที่ปว่ ยแตล่ ะราย

อปุ กรณ์ป้องกันสว่ นบคุ คล คนงานทีไ่ ม่มีอาการไอ คนงานมอี าการไอมาก
หรือมอี าการไอเพียงเลก็ นอ้ ย
หมวกคลมุ ผม +/-
Goggle หรอื face shield - +
หน้ากากอนามัย (Surgical mask) - -
หนา้ กาก N95 ข้ึนไป + +
ถงุ มอื (ใชแ้ ลว้ ทิ้ง) - +
เชนดุ ื้อกผา้าวปน้อ์ผงา้ กแนั บนบำ้� คไดล้แุมบเตบ็มเตสัว้อื หกราืองเกเสงื้อตผดิ ้ากปนั อ้ (งชกดุ นั หชมน)ี ดิ +/- +
มีผา้ คลุมศรี ษะ +

มาตรการปอ้ งกนั สำ� หรบั สถานประกอบการ

มาตรการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแนะน�ำใช้ “hierarchy of controls” ส�ำหรับการควบคุมสิ่งคุกคาม
ในสถานประกอบการ โดยมาตรการที่ดีที่สุดในการควบคุมสิ่งคุกคาม คือการสิ่งคุกคามน้ันออกไปจากสถานประกอบการ
หากแตใ่ นกรณขี องโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 นนั้ เราไมส่ ามารถกำ� จดั สง่ิ คกุ คามได้ จงึ ตอ้ งใชว้ ธิ กี ารลดการสมั ผสั ใหไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ
วิธีท่ีเหมาะสมที่สุดในการป้องกันเรียงจากที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดไปยังน้อยที่สุดคือ การใช้การควบคุมทางวิศวกรรม
การควบคุมโดยการบริหารจดั การ การปฏิบตั งิ านทป่ี ลอดภยั และการใช้อุปกรณ์ป้องกันอนั ตรายสว่ นบคุ คล การเลือกใชว้ ธิ ีใดๆ
มีข้อดี ข้อเสียท่ีต้องค�ำนึงถึงคือ การน�ำไปใช้ ประสิทธิภาพและราคา ส่วนใหญ่จะใช้วิธีต่าง ๆ ร่วมกันในการป้องกันพนักงาน
ไมส่ ามารถแยกวธิ ใี ดวธิ ีหนึ่งออกจากกนั โดยสิ้นเชิง

7แนวทางการด�ำเนินการเรือ่ ง โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
ส�ำหรับสถานประกอบการ

1. การควบคุมทางวิศวกรรม
การควบคุมทางวิศวกรรม หมายถึง การใช้หลักการทางวิศกรรมมาช่วย
ในการออกแบบการท�ำงาน หรือ สภาพแวดล้อมการท�ำงาน ให้สามารถควบคุม
หรือลดการสัมผัสกับสิ่งคุกคามโดยไม่ต้องอาศัยพฤติกรรม ของพนักงานและ
เป็นวิธีทมี่ ีประสทิ ธภิ าพมากที่สดุ ทสี่ ามารถท�ำไดใ้ นกรณขี อง COVID -19 ตัวอยา่ ง
ของการควบคุมทางวิศวกรรม เช่น
l ติดตง้ั เคร่อื งกรองอากาศที่มปี ระสทิ ธิภาพสงู
l เพิ่มอัตราการไหลเวยี นอากาศในสภาพแวดลอ้ มการท�ำงาน
l ตดิ ตัง้ เครอื่ งปอ้ งกันทางกายภาพ เช่น พลาสติกใสปอ้ งกนั การจาม
l ตดิ ต้ังหนา้ ตา่ งกน้ั ระหวา่ งการสือ่ สารสำ� หรับศูนย์บรกิ ารลกู ค้า
l จดั ใหม้ รี ะบบระบายอากาศแบบความดนั ลบสำ� หรบั บางกรณี โดยมกั อยู่
ในกระบวนการที่ท�ำให้เกิดละอองฝอย เช่น ห้องแยกส�ำหรับการติดเช้ือท่ีผ่าน
ทางการหายใจ
2. การควบคมุ โดยการบริหารจัดการ
การควบคมุ โดยการบริหารจดั การตอ้ งดำ� เนนิ การ โดยอาศัยความรว่ มมอื ของนายจ้างและลูกจา้ ง มักจะเปลี่ยนนโยบาย
การทำ� งานหรือกระบวนการในการลดหรอื ทำ� ให้สัมผสั ส่ิงคุกคามนอ้ ยทสี่ ดุ ตวั อยา่ งการควบคมุ โดยการบริหารจัดการ เชน่
l สนับสนนุ ใหพ้ นกั งานท่ีป่วยพกั รกั ษาอาการที่บา้ น
l ลดการสมั ผสั ระหวา่ งพนกั งานและลกู คา้ โดยปรบั การทำ� งานการสอ่ื สารแบบเจอหนา้ (face to face) หรอื การทำ� งาน
ผา่ นทางไกล (telecommunication) หากเปน็ ไปได้ งดการเดนิ ทางไปในทๆี่ ไมจ่ ำ� เปน็ ในระหวา่ งชว่ งการระบาดของ COVID-19
สามารถตรวจสอบพ้นื ทีเ่ สี่ยงได้ทางเว็บไซต์ https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php
l พฒั นาแผนสอื่ สารฉกุ เฉนิ รวมถงึ การเตรยี มตัวสำ� หรบั การตอบขอ้ กงั วลและการสอื่ สาร
ผา่ นทางอินเตอร์เน็ต
l ใหค้ วามรเู้ รอ่ื งปจั จยั เสย่ี งของการเกดิ โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 และการปอ้ งกนั โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เรอ่ื งมาตรการ
Social Distancing และใช้หนา้ กากอนามัยอยา่ งถูกต้อง

8 แนวทางการดำ� เนนิ การเร่ือง โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
สำ� หรบั สถานประกอบการ

3. การปฏบิ ัติงานทปี่ ลอดภัย
การปฏบิ ตั งิ านท่ปี ลอดภยั เป็นประเภทหนง่ึ ของการควบคมุ โดยการบริหารจัดการ รวมถงึ ข้นั ตอนสำ� หรับความปลอดภยั
และความเหมาะสมของงาน การลดระยะเวลา ความถ่ี และความเขม้ ข้นของการสัมผสั ส่ิงคกุ คาม ตัวอยา่ งของการปฏบิ ตั ิงาน
ทีป่ ลอดภัย เช่น
l จัดให้มีทรัพยากรและสภาพแวดลอ้ มการทำ� งานท่สี นับสนนุ ให้เกดิ สขุ อนามัยส่วนบุคคล เชน่ กระดาษชำ� ระ ถงั ขยะ
ทไี่ มต่ อ้ งสมั ผสั สบเู่ หลวลา้ งมอื แอลกอฮอลล์ า้ งมอื ทต่ี อ้ งประกอบดว้ ย 70% แอลกอฮอล์ นำ้� ยาทำ� ความสะอาด ผา้ ใชค้ รง้ั เดยี วทงิ้
สำ� หรบั ผูท้ ต่ี อ้ งท�ำความสะอาดบริเวณพื้นท่ที ำ� งาน
l ตอ้ งลา้ งมอื ดว้ ยนำ�้ และสบหู่ รอื การใชแ้ อลกอฮอลล์ า้ งมอื อยา่ งสมำ�่ เสมอ โดยพนกั งานควรลา้ งมอื เสมอหลงั สมั ผสั และ
หลงั จากถอดอุปกรณป์ ้องกนั ส่วนบุคคล
l ควรจดั ให้มปี า้ ยเตอื นการล้างมือภายในห้องนำ้�

4. อปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายส่วนบุคล
ในขณะท่ีการควบคุมทางวิศวกรรมและการควบคุมโดยการบริหารจัดการเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพ ส�ำหรับลดการ
สัมผัสกับ COVID-19 ในส่วนอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลจ�ำเป็นส�ำหรับการป้องกันการสัมผัสสารคัดหลั่ง โดยการ
ใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั สว่ นบคุ คลอยา่ งถกู วธิ ี จะสามารถปอ้ งกนั การสมั ผสั สารคดั หลงั่ ของผมู้ เี ชอื้ COVID -19 ได้ แตไ่ มค่ วรใชแ้ ทน
วธิ อี น่ื ๆ ท่กี ล่าวมาในข้างตน้
ตวั อยา่ งของอปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายสว่ นบคุ ล เชน่ ถงุ มอื แวน่ อปุ กรณป์ อ้ งกนั สว่ นใบหนา้ หนา้ กากอนามยั และอปุ กรณ์
ปอ้ งกันการหายใจ รวมถึง N95 เมอื่ มีการระบาดของโรคติดเชือ้ เช่น COVID-19 แนะนำ� ให้ใช้อุปกรณป์ อ้ งกันอนั ตรายส่วนบคุ ล
ใหจ้ ำ� เพาะกบั อาชพี และลกั ษณะการทำ� งานทอี่ าจเปลย่ี นไดต้ ามสถานทตี่ งั้ การประเมนิ ความเสย่ี งทที่ นั ตอ่ เหตกุ ารณ์ และขอ้ มลู
ประสทิ ธิภาพของอปุ กรณ์ ในการปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายของ COVID-19
อปุ กรณป์ อ้ งกันอันตรายสว่ นบุคคลทกุ ประเภทตอ้ ง
l เลือกตามความเหมาะสมกบั ส่งิ คุกคาม
l ตรวจสอบความเหมาะสมของอปุ กรณป์ อ้ งกนั
อันตรายสว่ นบคุ คลเปน็ ระยะ ๆ เชน่ การใชอ้ ุปกรณ์
ปอ้ งกันการหายใจอยา่ งเหมาะสม
l ส่วมใสอ่ ุปกรณ์ดว้ ยความถกู ต้องและ
ใชอ้ ยา่ งสม่�ำเสมอ
l ตรวจสอบ ซอ่ มแซมอุปกรณ์และเปล่ียนใหม่
ตามความจำ� เปน็
l ทำ� ความสะอาด จัดเก็บและทิ้งอยา่ งเหมาะสม ลดการปนเปอ้ื นตอ่ ตนเองหรือสภาพแวดล้อม

9แนวทางการดำ� เนินการเร่อื ง โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
สำ� หรับสถานประกอบการ

นายจ้างมีหน้าที่จัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายท่ีจ�ำเป็นให้พนักงานที่ปฏิบัติงาน ประเภทของอุปกรณ์ป้องกันอันตราย
ส่วนบคุ คลในระหว่างการระบาดของ COVID-19 ขึน้ กบั ความเส่ยี งในการรบั เชือ้ COVID-19 ในขณะทที่ �ำงาน เชน่ ผทู้ ่ที �ำงาน
อยู่ในระยะ 2 เมตร ของผู้ป่วยหรือสงสัยว่าจะติดเช้ือ COVID-19 จ�ำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันการหายใจ หากสามารถ
จดั หาอุปกรณ์ป้องกนั ระบบทางเดนิ หายใจแบบกรอง N95 จะสามารถกนั ไวรัสได้ดที ี่สุด หากไม่สามารถจดั หาอปุ กรณ์ปอ้ งกนั
ระบบทางเดินหายใจแบบกรองชนิด N95 ได้ ให้พิจารณาใช้อุปกรณ์ป้องกันการหายใจชนิดอื่น ที่สามารถป้องกันได้ดี และ
สวมใส่สบายกว่า โดยประเภทท่ีกล่าวถึงได้แก่ อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจแบบกรอง ชนิด R/P95, N/R/P99,
N/R/P100, air-purifying elastomeric เช่น half-face or full-face อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจท่ีมีตลับกรอง
ทเ่ี หมาะสม powered air purifying respirator (PAPR) และ high-efficiency particulate air filter (HEPA) หรือ supplied
air respirator (SAR) หรือหากไมส่ ามารถหาอุปกรณป์ ้องกันระบบทางเดนิ หายใจใดๆ ทก่ี ล่าวมาขา้ งต้นได้ กส็ ามารถพิจารณา
ถึงลักษณะความเส่ียงของงาน หากไม่ได้ต้องสัมผัสผู้ป่วย หรือผู้เข้าข่ายสงสัยว่ามีความเส่ียงสูงท่ีจะติดเชื้อ สามารถเลือกใช้
หน้ากากอนามยั ได้

การแบ่งระดับความเส่ียงในการสัมผัส COVID-19 ของคนงานภายในสถานประกอบการ

ผู้ท�ำงานมีความเสี่ยงต่อการสัมผัสต่อเช้ือไวรัส COVID-19 ได้แตกต่างกัน กลุ่มความเส่ียงการสัมผัสเชื้อ ข้ึนอยู่กับ
ชนดิ ของงานหรอื อตุ สาหกรรมและประวตั กิ ารสมั ผสั กบั ผตู้ ดิ เชอ้ื หรอื ผทู้ สี่ งสยั วา่ ตดิ เชอื้ โดยสามารถแบง่ กลมุ่ ความเสยี่ งการสมั ผสั
ได้ต้ังแต่ เส่ียงสูงมาก เสี่ยงสูง เส่ียงปานกลาง และเสี่ยงน้อย ตามตารางที่ 1 เพ่ือเป็นการช่วยนายจ้างก�ำหนดมาตรการ
ในการป้องกันในตารางท่ี 2

ตารางท่ี 1 การแบ่งระดบั ความเสยี่ งตามลักษณะงาน

ระดบั ความเสีย่ ง ลักษณะของงาน
ความเสยี่ งสูงมาก ผูท้ �ำงานทีต่ อ้ งสมั ผสั กบั ผตู้ ิดเช้อื
ความเส่ียงสูง ผทู้ �ำงานที่ตอ้ งสัมผัสกบั ผู้ติดเชื้อหรอื ผูท้ ส่ี งสัยวา่ ติดเชื้อ
ความเสี่ยงปานกลาง ผทู้ ำ� งานทตี่ อ้ งใกลช้ ดิ กบั ผทู้ อี่ าจตดิ เชอื้ โดยไมท่ ราบวา่ ตนตดิ เชอื้ เชน่ อาจจะตอ้ งทำ� งานสมั ผสั กบั
ผทู้ ี่เดินทางกลับจากพ้นื ท่ีเสีย่ ง หรือทส่ี าธารณะที่มผี ู้คนจ�ำนวนมาก
ความเสีย่ งตำ่� ผ้ทู ำ� งานทีไ่ มต่ ้องสมั ผสั ใกล้ชดิ กับผู้ที่ติดเช้อื

10 แนวทางการด�ำเนินการเรอ่ื ง โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
สำ� หรบั สถานประกอบการ

ตารางที่ 2 มาตรการการป้องกนั ในแตล่ ะระดบั ความเสีย่ ง

ระดับ มาตรการในการป้องกนั อปุ กรณ์ป้องกันสว่ นบุคคล
ความเสีย่ ง การควบคมุ ทางวศิ วกรรม การบริหารจดั การ

สูงถึงสูงมาก l พิจารณาความเหมาะสม l ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เก่ียวกับ l ตอ้ งสวมใสถ่ งุ มอื เสอื้ กาวน์ หนา้ กาก
ของระบบควบคุมอากาศ อาการและอาการแสดงความเจ็บ ปอ้ งกนั ใบหนา้ แวน่ ตา หรอื หนา้ กาก
รวมถึงต้องมีการซ่อม ป่วยของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา หรืออุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ
บำ� รงุ เครอ่ื งจะวสั ดอุ ปุ กรณ์ 2019 ขึ้นอยู่กับชนิดของงานที่ท�ำ หรือ
ท่ีใช้ในการดูแลสุขภาพ l เฝ้าติดตามเกี่ยวกับสุขภาพของคน การสัมผัสเช้ือ
อย่างสมำ่� เสมอ ท�ำงานกลมุ่ น้ี l คนทำ� งานทมี่ หี นา้ ทกี่ ำ� จดั อปุ กรณ์
l ต้องมีห้องแยกกรณีพบ l ต้องป้องกันภาวะความเครียด ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คลและ ขยะตดิ เชอ้ื
คนปว่ ยตอ้ งนำ� เขา้ หอ้ งแยก ควรมีการสนับสนุนด้านจิตใจและ จะต้องได้ผ่านการฝึกอบรมอย่าง
ทนั ที พฤตกิ รรมของผู้ปฏบิ ตั งิ าน เหมาะสม
l เตรยี มความพรอ้ มใหบ้ คุ ลากร วธิ กี าร
ตอบโตเ้ หตฉุ กุ เฉนิ รวมถงึ จดั เตรยี ม
สิ่งจ�ำเป็นอื่น ๆ ส�ำหรับผู้ท่ีท�ำงาน
อยู่ในบริเวณท่ีห่างไกลจากแหล่ง
อำ� นวยความสะดวก เชน่ แอลกอฮอล์
ลา้ งมอื ความเขม้ ขน้ อยา่ งนอ้ ย 70%

ปานกลาง l จดั ทำ� แผงกนั้ เชน่ พลาสตกิ ใส l ทำ� การคดั กรองอาการของโรคตดิ เชอื้ l ต้องมีการใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วน
เพ่ือป้องกันละอองฝอย ไวรสั โคโรนา2019และจดั ความบอรด์ บคุ คลเสมอและควรจะเปน็ หนา้ กาก
จากการจามหรอื ไอ ความรูข้ องโรค อนามยั เป็นอยา่ งนอ้ ย
l จำ� กดั คนในการเขา้ ออกในการทำ� งาน l อาจจ�ำเป็นต้องสวมใส่ทั้งถุงมือ
ให้เข้าออกในเฉพาะผู้ที่จ�ำเป็นต้อง ชุดกาวน์ หน้ากาก หรอื หนา้ กาก
เท่านั้น ปอ้ งกนั ใบหนา้ หรอื แวน่ ตา ขนึ้ อยู่
l ออกมาตรการลดการรวมกลมุ่ ระหวา่ ง กับงานทที่ ำ�
บุคคล เช่น การอนุญาตให้ท�ำงาน
ที่บ้านและ ลดการติดต่อสื่อสาร
ตอ่ หน้าใหใ้ ชอ้ ปุ กรณส์ ่อื สารแทน

ตำ�่ l ไม่แนะน�ำว่าต้องมีระบบ l ใหต้ ดิ ตามสถานการณ์ หรอื ขอ้ แนะนำ� l สวมใสห่ นา้ กากอนามยั อยา่ งถกู วธิ ี
ควบคมุ การระบายอากาศ เกี่ยวกับโรคติดเช้ือโคโรนา 2019
จากรฐั บาลหรอื กระทรวงสาธารณสขุ
และต้องมีการส่ือสารข้อมูลให้กับ
ผทู้ ำ� งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพรวดเรว็
ทันเหตุการณ์

11แนวทางการดำ� เนินการเร่ือง โรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
ส�ำหรับสถานประกอบการ

การจัดการขยะตดิ เช้ือในสถานประกอบการ

ในกรณที มี่ ผี ปู้ ว่ ยในสถานประกอบการ จะตอ้ งมกี ารกำ� จดั ขยะตดิ เชอื้ อยา่ งถกู วธิ ี โดยผปู้ ฏบิ ตั งิ านทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ขยะตดิ เชอื้
จะต้องมีอุปกรณ์การป้องกันที่เหมาะสม ได้แก่ ต้องมีการสวมใส่ถุงมือยางหนา ผ้ายางกันเปื้อน หน้ากากอนามัยและรองเท้า
พื้นยาห้มุ แข็ง และแวน่ ตาเพื่อปอ้ งกันสารคดั หลง่ั กระเด็นเขา้ ตา
การทงิ้ ขยะติดเชือ้ จะตอ้ งทง้ิ ในถงุ แดงทึบแสง ทนทานตอ่ สารเคมี ไม่ฉีกงา่ ย กันนำ้� ไดด้ ี และตอ้ งทิง้ ในมีภาชนะท่ตี ดิ ปา้ ย
ชดั เจนว่า “ขยะติดเช้อื ” หรอื มถี ังขยะเฉพาะ แสดงสัญลกั ษณช์ ัดเจนสแี ดงวา่ เปน็ ขยะติดเชอื้
การเคลื่อนย้ายขยะติดเชื้อ การเคล่ือนย้ายขยะติดเช้ือไปพัก เพื่อเก็บกักในที่รวมมูลฝอยติดเชื้อ และรอการขนย้าย
เพื่อก�ำจัดต่อไป ต้องเคล่ือนย้ายโดยการใช้รถเข็นและมีภาชนะบรรจุโดยเฉพาะ ต้องก�ำหนดเส้นทางการเคลื่อนย้ายท่ีแน่นอน
และหา้ มแวะหรอื หยดุ พกั ณ ที่ใด ห้ามโยน หรือลากถงุ บรรจขุ ยะตดิ เช้อื โดยตรง ในกรณที ีม่ ีการตกหลน่ หา้ มหยิบดว้ ยมอื เปลา่
ต้องใช้คีมหรือหยิบด้วยถุงมือยางหนา หากของเหลวหรือสารคัดหล่ังหกลงพ้ืน ให้ซับด้วยกระดาษและหมุนเป็นวงกลม
จากดา้ นนอกสดู่ า้ นใน และทำ� ความสะอาดตามดว้ ยนำ�้ ยาฆา่ เชอื้ ทบ่ี รเิ วณนนั้ กอ่ นถทู ำ� ความสะอาดตามปกติ โดยปกตสิ ถานประกอบการ
จะมปี รมิ าณขยะตดิ เชอื้ ไมม่ ากนกั จงึ ไมต่ อ้ งจดั ใหม้ บี รเิ วณสำ� หรบั เปน็ ทพี่ กั ภาชนะบรรจขุ ยะตดิ เชอ้ื แตอ่ ยา่ งไรตอ้ งจดั ใหม้ ภี าชนะบรรจุ
ทแ่ี ยกจากขยะชนิดอื่นๆ ให้ชัดเจนเพอื่ เตือนผู้ทผ่ี ่านไปผา่ นมา
การขนยา้ ยเพอื่ นำ� ไปกำ� จดั จะตอ้ งดำ� เนนิ การใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะ โดยจะตอ้ งมยี านพาหนะโดยเฉพาะสำ� หรบั ขนขยะตดิ เชอื้ เทา่ นน้ั
ท้งั น้ีสามารถศกึ ษาแนวทางการจัดการขยะตดิ เชอ้ื ไดจ้ าก กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการกำ� จดั มูลฝอยติดเชอ้ื พ.ศ. 2545

12 แนวทางการด�ำเนนิ การเรอื่ ง โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
สำ� หรบั สถานประกอบการ

เอกสารแนบ 1

13แนวทางการด�ำเนินการเรื่อง โรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019
ส�ำหรับสถานประกอบการ

14 แนวทางการด�ำเนินการเรือ่ ง โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
ส�ำหรบั สถานประกอบการ

เอกสารแนบ 2

Action Checklist ส�ำหรบั นายจา้ งเพ่อื ประเมนิ มาตรการในการดำ� เนินการป้องกัน ควบคมุ โรคไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) ในสถานประกอบการ
ชอ่ื สถานประกอบการ...................................................................................ท่อี ยู่..............................................................................................................

ขอ้ ปฏิบตั ิ สิง่ ทดี่ ำ� เนินการ
ใช่ ไม่ใช่

i. ค้นหาขอ้ มูล
1. รวบรวมข้อมลู สถานการณ์การระบาดทีเ่ ป็นปจั จบุ นั จากหนว่ ยงานต่างๆ เชน่ สาธารณสขุ แรงงาน หรือจากส่อื ตา่ งๆ ทเ่ี ช่ือถือได้
2. การแชรห์ รอื ใช้ข้อมลู ร่วมกบั กันบรษิ ทั หรอื กิจการในเครอื ข่าย
3. ประชาสมั พันธ์ขอ้ มูลแกพ่ นักงาน และจดั ใหม้ ีการทบทวนข้อมูลต่างๆในคณะกรรมการความปลอดภยั และอาชวี อนามัยของหน่วยงาน
ii. จดั ทำ� แผนเตรียมความพร้อมรองรับการระบาดขององคก์ ร
4. น�ำเสนอข้อมูลต่อคณะกรรมการระดับบรหิ ารเพื่อจดั ทำ� แผนประคองกจิ การธรุ กิจเพอื่ ปกป้องลกู จา้ งและกิจการ
5. จดั ตั้งคณะกรรมการเพอ่ื จดั ทำ� แผนประคองกิจการ
6. จดั ทำ� แผนโดยคำ� นึงถงึ ปัจจยั ท่มี ีผลตอ่ การด�ำเนินงานของกิจการ เชน่ การจัดส่งวัตถุดิบ การคงเหลอื ของเงนิ สด การขนส่งสินคา้ ไปสู่ผบู้ รโิ ภค
7. จดั เตรียมขอ้ มลู สนบั สนนุ ทจี่ ะช่วยปกปอ้ งสุขภาพลูกจ้าง เชน่ ขอ้ มลู การบรกิ ารทางการแพทย์ สุขลักษณะสว่ นบคุ คล กระบวนการท�ำงานท่ีลดการสัมผสั
ระหวา่ งผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน เป็นต้น
แนวทางการด�ำเนนิ การเรอื่ ง โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 8. รวบรวมข้อมูลแผนการดำ� เนนิ งานจากบรษิ ทั อ่นื และศกึ ษาแผนนนั้ เพื่อปรบั ปรงุ ของตนเอง
iii. ลดความเส่ยี งการสัมผัสระหว่างผู้ปฏบิ ตั ิงานในสถานทีท่ �ำงาน
15ส�ำหรบั สถานประกอบการ 9. การจัดสถานทที่ �ำงานใหล้ กู จา้ งควรมรี ะยะห่างกันอยา่ งนอ้ ย 2 เมตร
10. สง่ เสรมิ การใชบ้ นั ไดแทนการใชล้ ิฟตห์ รอื จดั ทางเดินแบบทางเดียว (one way)
11. จดั ให้มีการท�ำงานที่บา้ น กรณีงานท่ีสามารถท�ำทีบ่ ้านได้
12. จดั การประชมุ ทางโทรศพั ท์หรืออินเตอร์เน็ตแทนการประชมุ แบบห้องประชมุ ที่พนักงานต้องมาเจอกนั
13. ท�ำความสะอาดด้วยน�้ำยาฆา่ เชอ้ื โรคบริเวณท่มี ีความเสย่ี ง เช่น ลกู บิดประตู ก๊อกนำ้� สวติ ช์ไฟ เครื่องถา่ ยเอกสาร หรอื อปุ กรณ์อื่นๆ ทมี่ กั มีผู้สัมผสั
จำ� นวนมาก
14. จดั ให้มรี ถรับส่งพนักงาน และมมี าตรการในการท�ำความสะอาดรถ เพอ่ื ลดความเสีย่ งการไดร้ บั เชื้อจากการโดยสารรถสาธารณะของพนกั งาน
15. กรณสี ถานประกอบการมหี อพักให้กบั ลูกจา้ ง ควรมีแอลกอฮอล์เจลล้างมือ ไวใ้ นบริเวณพ้ืนทสี่ ่วนกลาง เชน่ ล็อบบ้ี ประตูทางเข้าออก หรอื หนา้ ลิฟต์
เปน็ ต้น เพอื่ ใหบ้ ริการแกล่ ูกจ้างผ้พู กั อาศยั และเพ่มิ ความถี่ในการทำ� ความสะอาดห้องนำ้� พืน้ ท่สี ่วนกลางต่างๆ

แนวทางการด�ำเนินการเรือ่ ง โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ขอ้ ปฏบิ ตั ิ สิ่งทีด่ ำ� เนนิ การ
iv. สร้างสขุ ลักษณะสว่ นบคุ คลท่ดี ี ใช่ ไม่ใช่
16 ส�ำหรบั สถานประกอบการ 16. จดั ให้มีการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ีในการล้างมืออยา่ งถูกตอ้ ง
17. อนุญาตใหพ้ นักงานสวมใสห่ น้ากากอนามยั ท้งั ในและนอกสถานทีท่ ำ� งาน
18. อบรมพนกั งานวธิ กี ารล้างมอื และการสวมใส่หน้ากากอย่างถูกวิธี
19. จดั ใหม้ อี า่ งลา้ งมอื และสบู่ท่ีเพียงพอแก่พนักงาน
20. การตดิ ตามผู้ปฏบิ ตั งิ านทพี่ กั อย่ทู ี่บา้ นและครอบครัวอยา่ งสม�่ำเสมอเพ่ือให้การสนับสนนุ ดา้ นตา่ งๆ
21. ปรกึ ษาร่วมกันกบั พนักงานถงึ ความเปน็ ไปไดท้ จ่ี ะทำ� งานท่ีบา้ น
22. แนะนำ� พนกั งานในเรอ่ื งการจดั เตรียมผลิตภัณฑ์อปุ โภคบรโิ ภคท่ีบา้ น เชน่ อาหาร เงินสด สบู่ และอน่ื ๆท่ีอาจจ�ำเป็นเมอื่ เกดิ การระบาด
ผปู้ ระเมิน.................................................................... ตำ� แหน่ง......................................................... วันที.่ ............................................
ทม่ี า: ปรบั มาจาก Protecting Your Employees and Business from Pandemic Human Influenza ของ International labor organization

เอกสารแนบ 3

17แนวทางการด�ำเนนิ การเรอื่ ง โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
ส�ำหรบั สถานประกอบการ

เอกสารแนบ 4

18 แนวทางการด�ำเนินการเร่อื ง โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
สำ� หรับสถานประกอบการ

เอกสารอา้ งองิ

1. Guidance on Preparing Workplaces for COVID-19, U.S. Department of Labor Occupational Safety and
Health Administration; 2020.

2. Protecting Your Employees and Business from Pandemic Human Influenza, International labor organization;2009.
3. โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19), https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/intro.php; access date 6

April 2020.
4. กฎกระทรวง วา ดวยการกาํ จัดมูลฝอยตดิ เช้ือ พ.ศ. 2545

19แนวทางการดำ� เนินการเรอื่ ง โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
สำ� หรบั สถานประกอบการ

กรมควบคุมโรค

Department of Disease Control

แนวทางการดำเนินการเร�่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สำหรับสถานประกอบการ

20 แนวทางการด�ำเนินการเร่ือง โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
ส�ำหรบั สถานประกอบการ


Click to View FlipBook Version