หนงั สือชุดส�ำ หรบั เย�วชน : หนงั สือส่อื ประสมเฉลมิ พระเกยี รติ
เล่มท่ี ๔
วาดภาพตามพอ่
คณะกรรมก�รฝ�่ ยประมวลเอกส�รและจดหม�ยเหตุ
ในคณะกรรมก�รอ�ำ นวยก�รจัดง�นเฉลมิ พระเกียรตพิ ระบ�ทสมเด็จพระเจ�้ อยู่หัว
เน่อื งในโอก�สพระร�ชพธิ ีมห�มงคลเฉลมิ พระชนมพรรษ� ๗ รอบ
๕ ธนั ว�คม ๒๕๕๔
วาดภาพตามพอ่
๔
น�นม�แลว้
๕
๖
วันเวล�ผ่�นไป
๗
๘
ผ่�นไปช�้ ๆ
๙
๑๐
วนั หนง่ึ
๑๑
๑๒
ไม่น�นนกั
๑๓
๑๔
ตอ่ ม�
๑๕
๑๖
ในทส่ี ดุ
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
ผ�่ นไป ๓๐ ปี
๒๑
วนั น้ี
๒๒
๒๓
๒๔
ในหลวงทรงเป็นแรงบนั ด�ลใจในทกุ ๆ วัน
๒๕
พระปรีชาสามารถดา้ นทัศนศิลป์ (จิตรกรรม)
ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ภมู ิพลอดุลยเดช
พระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัวทรงสนพระร�ชหฤทยั ง�นศิลปะด้�นจิตรกรรม
ตั้งแตย่ ังทรงพระเย�วค์ รั้งทีย่ งั ประทับอย่ปู ระเทศสวิตเซอร์แลนด์ (พทุ ธศักร�ช ๒๔๘๐
- ๒๔๘๘) โดยทรงศกึ ษ�ดว้ ยพระองคเ์ อง ทรงฝกึ เขียนเอง และทรงศกึ ษ�จ�กตำ�ร�ต่�งๆ
ทั้งทที่ รงซ้ือดว้ ยพระองคเ์ องและทีม่ ีผ้ทู ลู เกล้�ฯถว�ย เม่ือสนพระร�ชหฤทัยง�นเขยี นของ
ศิลปนิ ผู้ใดก็จะเสด็จพระร�ชด�ำ เนนิ ไปทรงเย่ยี มศิลปินผู้นนั้ ถึงที่พัก เพอื่ ทรงมีพระร�ชปฏ-ิ
สนั ถ�รและทอดพระเนตรวิธีก�รท�ำ ง�นของเข� ไม่ว�่ จะเปน็ วธิ กี �รใช้สี ก�รผสมสี ตลอดจน
เทคนิควธิ กี �รต�่ งๆ เมอ่ื ทรงเข�้ พระร�ชหฤทยั ก�รทำ�ง�นของเข�อย�่ งถ่องแท้แล้วก็จะทรง
นำ�วธิ ีก�รเหล�่ น้นั ม�ทรงฝกึ ฝนดว้ ยพระองค์เอง
ภ�ยหลังทเ่ี สดจ็ ฯข้นึ ครองร�ชยแ์ ล้ว ทรงเริ่มเขียนภ�พอย�่ งจรงิ จงั เม่อื ร�วพทุ ธศักร�ช
๒๕๐๒ โดยทรงพระกรุณ�โปรดเกล�้ ฯใหเ้ ชิญบรรด�จิตรกรไทยเข้�เฝ�้ ฯร่วมสังสรรค์ด้วย
เปน็ ครง้ั คร�ว โปรดเกล�้ ฯพระร�ชท�นเลย้ี งอ�ห�รบ้�ง ม�รว่ มเขียนภ�พแข่งขันกนั บ�้ ง
ก�รเขียนภ�พทรงใช้เวล�เม่อื ว่�งจ�กพระร�ชภ�รกจิ ในตอนค�่ำ หรอื ตอนกล�งคืน โดยทรง
ใชท้ ้งั แสงไฟฟ�้ และแสงธรรมช�ติ ภ�พทท่ี รงเขียนส่วนม�กจะเปน็ พระส�ทิสลักษณ์ของ
สมเดจ็ พระน�งเจ้�ฯพระบรมร�ชินนี �ถ และสมเดจ็ พระเจ้�ลูกย�เธอทกุ พระองค์ ซง่ึ มกั
จะเป็นภ�พเขียนคร่งึ พระองค์เปน็ ส่วนใหญ่
พระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัวทรงง�นจิตรกรรมตัง้ แต่ขึ้นครองร�ชย์จนถึงร�ว
พุทธศกั ร�ช ๒๕๑๐ กม็ ิไดท้ รงเขียนภ�พอีก เพร�ะทรงมพี ระร�ชภ�รกิจด�้ นอน่ื ทต่ี อ้ งทรง
เอ�พระร�ชหฤทยั ใสเ่ พิ่มม�กข้นึ กว่�เดมิ ทรงอุทิศเวล�ส่วนใหญ่เพ่อื ประช�ชน เสด็จฯ
ทรงเยี่ยมร�ษฎรและทรงเข้�ร่วมแกไ้ ขปญั ห�คว�มเดือดรอ้ นต�่ งๆ ของร�ษฎร ทรงมี
พระร�ชด�ำ รใิ หจ้ ดั ตั้งโครงก�รพฒั น�ในด้�นต�่ งๆ อกี จำ�นวนม�ก ทั้งด้�นก�รเกษตร ก�ร
ชลประท�น ฯลฯ เพื่อให้พสกนิกรของพระองค์มคี ว�มเปน็ อยูท่ ดี่ ีขึ้นกว่�เดมิ จึงไม่ทรงมี
เวล�สร�้ งผลง�นด้�นจิตรกรรม ถงึ กระนัน้ กป็ ร�กฏว�่ มภี �พจติ รกรรมฝพี ระหตั ถท์ ี่เผยแพร่
แลว้ จ�ำ นวน ๔๗ ภ�พ และท่ยี งั ไม่เคยเผยแพรอ่ ีกจ�ำ นวนกว่� ๖๐ ภ�พ
๒๖
แรงบันด�ลใจ ‘วาดภาพตามพ่อ’
เร�เห็นในหลวงทรงง�นศลิ ปะจ�ำ นวนม�กม�ยจ�กก�รท่ีทรงศกึ ษ�ดว้ ยพระองค์เอง ทรงศกึ ษ�อย่�งจริงจังและ
จ�กใจ ทรงทำ�ใหเ้ หน็ ว่�ง�นศลิ ปะเป็นของทุกคน ใครก็ส�ม�รถท�ำ ง�นศลิ ปะได้ไมว่ �่ จะอยใู่ นสถ�นะใด พระองคท์ รงเขียน
ภ�พไว้หล�ยภ�พดังทีท่ ร�บกนั ดีอยู่แลว้ แตเ่ นือ่ งด้วยพระร�ชภ�รกจิ ทีใ่ หญห่ ลวงในก�รดแู ลประช�ชนของพระองคใ์ หม้ ี
คว�มสุข จงึ ไมส่ �ม�รถเขยี นภ�พได้อย่�งตอ่ เนือ่ งแตส่ งิ่ ที่พระองคท์ รงทำ�ให้เห็นคือก�รทำ�ทกุ อย่�งดว้ ยใจรกั
ในหลวงเปรียบเสมือนพอ่ ผทู้ รงอยู่เหนอื หัวของเร� พระองค์ทรงดแู ลประช�ชนของพระองคเ์ หมือนกบั ลูกๆ พวก
เร�กไ็ ดย้ ึดแนวท�งท่พี ระองค์ทรงปฏิบัตมิ �เปน็ แบบอย�่ ง คำ�สอนค�ำ พูดเปน็ หมื่นแสนคำ�ไม่เทยี บเท�่ กบั ก�รทำ�ให้ดู เพร�ะ
ส�ม�รถเข�้ ถึงหัวใจของเร�เอง หนงั สือนิท�นเล่มนีม้ ิเพยี งเจตน�จะบอกว�่ ในหลวงทรงมีพระปรชี �ส�ม�รถท�งด�้ นศิลปะ
เท�่ นน้ั แต่ต้งั ใจแสดงใหท้ ุกคนเห็นว�่ ไม่ว�่ เร�จะมบี ทบ�ทหน�้ ที่ใดก็ส�ม�รถนำ�ง�นศลิ ปะม�ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ได้
ผ้เู ขยี นและผู้ว�ดมคี ว�มตง้ั ใจใช้ตวั หนังสือในเล่มให้นอ้ ยท่สี ุด เพือ่ ใหเ้ ดก็ ได้ใช้จนิ ตน�ก�รใหม้ �กท่ีสุด จึงเสนอ
ภ�พผ�่ นคณุ ลงุ คนหนง่ึ ทที่ �ำ ง�นศิลปะอย�่ งตอ่ เนอ่ื งและมคี ว�มสขุ ทกุ วัน โดยใหเ้ รอ่ื งร�วและก�รกระทำ�ต่�งๆ เช่อื มโยง
กบั เดก็ คนหน่งึ ทีซ่ ึมซับเร่ืองร�วรอบตัวทน่ี �่ ประทบั ใจ
ศลิ ปะสร้�งคว�มสุขโดยเริ่มจ�กสิง่ เล็กๆ คือเร่มิ ทใี่ จของตนเอง ศิลปะไม่มผี ดิ ไมม่ ีถูกห�กรบั รู้ด้วยหวั ใจ เมื่อลุง
ทำ�ด้วยใจ เด็กที่ได้สัมผัสก็รับรู้จ�กใจของเข�เอง แล้วคอ่ ยๆ ต่อจ�กใจหนึ่งไปอีกใจหน่งึ เกิดก�รถ�่ ยทอดสง่ ตอ่ เตบิ โต
งอกง�มตอ่ ไป
ง�นศิลปะมไิ ดห้ ม�ยคว�มเฉพ�ะจติ รกรรม ประตมิ �กรรม แต่รวมถงึ ทุกๆ อย�่ ง ก�รปลูกต้นไม้ เยบ็ ผ้� ข�ยผลไม้
...ศิลปะอย่ใู กลต้ วั เร�ม�กกว่�ทค่ี ิด อยู่ในทกุ ๆ อิริย�บถ ในธรรมช�ติ ในทกุ สง่ิ
เมอื่ พระองคท์ �่ นทรงท�ำ ด้วยใจทบี่ รสิ ทุ ธิ์ ผูเ้ ขยี นและผู้ว�ดในฐ�นะคนท�ำ ง�นศิลปะตง้ั ใจท�ำ ทุกอย่�งดว้ ยคว�มสขุ
ทำ�จ�กข�้ งในและทำ�อย�่ งบรสิ ทุ ธใ์ิ จต�มรอยของพระองคต์ ลอดไป
วชิร�วรรณ ทบั เสอื
กฤษณะ ก�ญจน�ภ�
๒๗
วาดภาพตามพ่อ
เรอ่ื งและภาพ โดย กฤษณะ กาญจนาภา, วชิราวรรณ ทบั เสือ
คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ
ในคณะกรรมการอำานวยการจดั งานเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั
เนอ่ื งในโอกาสพระราชพธิ ีมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔
จัดพมิ พ์ พุทธศักราช ๒๕๕๕
พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๑ พุทธศักราช ๒๕๕๕ จำานวน ๕,๐๐๐ เล่ม
ISBN 978-616-543-189-7
ทป่ี รกึ ษา ทป่ี รึกษาเลขาธกิ ารพระราชวัง
นางสายไหม จบกลศึก ผอู้ ำานวยการสาำ นักงานศลิ ปวฒั นธรรมรว่ มสมัย
นายชาย นครชัย รองผอู้ าำ นวยการสาำ นกั งานศลิ ปวฒั นธรรมร่วมสมัย
นายดาำ รงค์ ทองสม ผอู้ าำ นวยการศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยสมั พนั ธแ์ ละแหลง่ ทนุ
นางสาวนาถนศิ า สขุ จิตต์
บรรณาธิการ จดั ทำาโดย
นางสาวระพีพรรณ พัฒนาเวช สำานักงานศิลปวฒั นธรรมรว่ มสมยั กระทรวงวัฒนธรรม
กองบรรณาธิการ ๖๖๖ ชั้น ๑๗ อาคารธนาลงกรณ์ ถนนบรมราชชนนี
นางสาวแสงทิวา นราพชิ ญ์ แขวงบางบาำ หรุ เขตบางพลดั กรงุ เทพมหานคร ๑๐๗๐๐
นางกณกิ นนั ท์ สวุ รรณปนิ ฑะ โทรศพั ท์ ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๒๘ โทรสาร ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๓๑
นางสาวณุภทั รา จนั ทวิช www.ocac.go.th
นางสาวอมั รา ผางนาำ้ คำา
นายวิชระวิชญ์ อคั รสันตสิ ุข
นางสาวธันยช์ นก ยาวิลาศ
ออกแบบปกและรปู เลม่
นางวชิราวรรณ กาญจนาภา
นายกฤษณะ กาญจนาภา