The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Hydropronic การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
"การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เป็นการปลูกผักที่สามารถควบคุมกระบวนการผลิตได้ สามารถลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร"
ข้อมูลจาก : กรมส่งเสริมการเกษตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

Hydropronic

Hydropronic การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
"การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เป็นการปลูกผักที่สามารถควบคุมกระบวนการผลิตได้ สามารถลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร"
ข้อมูลจาก : กรมส่งเสริมการเกษตร

เอกสารคำ� แนะนำ� ท่ี 5/2558
การปลูกผกั ไฮโดรโปนกิ ส์
พิมพ์ครัง้ ท่ี 1 : จ�ำนวน 10,000 เลม่ พฤษภาคม พ.ศ.2558
จัดพมิ พ์ : กรมส่งเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พมิ พ์ท่ี : ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกัด





คำ� นำ�

การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เป็นการปลูกผักที่สามารถควบคุมกระบวนการ
ผลติ ได้ สามารถลดการใชส้ ารเคมที างการเกษตร ส่งผลใหไ้ ดผ้ ลผลติ ผกั ที่มคี ุณภาพ
และยังเป็นการผลิตผักที่สามารถท�ำได้ในสภาพพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม ส�ำหรับการ
ท�ำการเกษตร การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ สามารถปลูกเพื่อบริโภคภายในครัวเรือน
และปลกู เพื่อเปน็ การคา้
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร จงึ ไดจ้ ัดทำ� เอกสารค�ำแนะนำ� เรอื่ ง “การปลกู ผัก
ไฮโดรโปนิกส์” โดยเน้ือหาในเอกสารจะอธิบายเก่ียวกับความรู้พ้ืนฐานส�ำหรับ
เกษตรกรท่ีจะปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ระบบของการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ข้ันตอน
และวิธีการปลูก และความรู้ที่เก่ียวข้อง รวมทั้งเรื่องการตลาดของการปลูกผัก
ไฮโดรโปนิกส์
สุดทา้ ยน้ี คณะผูจ้ ัดทำ� หวงั เปน็ อย่างย่ิงว่า เอกสารค�ำแนะน�ำฉบบั นีจ้ ะเป็น
ประโยชน์แก่เกษตรกร หรือบุคคลท่ีสนใจ ท�ำให้ผู้อ่านเกิดความรู้และความเข้าใจ
ในเร่ืองการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพิ่มขึ้น และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการปลูก
ผักไฮโดรโปนิกสต์ อ่ ไปได้

กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
2558

สารบัญ

ระบบของการปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส.์..............................................2
วสั ดุ อุปกรณส์ ำ� หรบั การปลูกผักไฮโดรโปนิกส.์ ..........................4
ข้อควรค�ำนึงสำ� หรบั การปลกู ผักไฮโดรโปนิกส์
ในเชิงการคา้ ......................................................................................8
ขน้ั ตอนและวธิ ีการปลกู ผักไฮโดรโปนิกส.์......................................9
การจัดการพืช........................................................................9
การจัดการดา้ นสารละลาย...............................................12
ปัจจยั ที่เก่ยี วขอ้ งกบั การเจรญิ เติบโต...........................................18
ความรเู้ กีย่ วกบั สารละลายธาตุอาหารพชื ...................................20
ศัตรพู ชื 23...........................................................................................
วทิ ยาการหลังการเกบ็ เกี่ยว...........................................................24
การปฏบิ ัติเพ่อื ลดความเสียหายของผกั
หลังการเกบ็ เกยี่ ว........................................................................... 26
การตลาดของการปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ ส.์ ..................................27
เอกสารอา้ งอิง............................................................................... 28

การปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส์

ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
มาจากภาษากรีก ค�ำว่า “Hydro” แปลว่า นำ้�
รวมกบั คำ� วา่ “Ponos” ทแ่ี ปลวา่ งาน เมอื่ รวมกนั
จงึ หมายถงึ การทำ� งานของนำ�้ (สารละลายธาตอุ าหาร)
ผ่านรากพืช โดยปกติแล้วการที่พืชจะเจริญเติบโตได้ดีน้ัน
ตอ้ งอาศัยปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเหมาะสมหลายอย่าง เชน่ แสงแดด อุณหภมู ิ
น�้ำ และธาตุอาหารพืช การที่พืชจะน�ำธาตุอาหารพืชไปใช้ประโยชน์ได้นั้นจะต้อง
ค�ำนึงถึงเร่ืองความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ของดินหรือสารละลายธาตุอาหารใช้
ปลูกพืช การปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์ พืชจะได้รับธาตุอาหารในรูปสารละลาย
เรียกว่า “สารละลายธาตุอาหารพืช” ซึ่งพืชสามารถน�ำไปใช้ได้ทันทีเพราะมี
การปรบั คา่ การน�ำไฟฟา้ (Electrical Conductivity : EC) และ pH ใหอ้ ยูใ่ นระดับ
ท่ีเหมาะสมต่อการเจริญเตบิ โตของพืชอยตู่ ลอดเวลา
ข้อดีของการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ คือ สามารถท�ำการปลูกผักในบริเวณ
ท่ีพ้ืนดินไม่เหมาะสมหรือสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมต่อการปลูกผัก ใช้พ้ืนท่ี
ในการเพาะปลูกน้อยและสามารถท�ำการผลิตได้อย่างสม่�ำเสมอ ควบคุม
สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการเจริญเติบโตได้ เช่น การควบคุมปริมาณ

ธาตุอาหาร pH เป็นการปลูกผักที่ใช้น�้ำและธาตุอาหารพืชได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ อีกทั้งประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่าย
ในการเตรียมดินและก�ำจัดวัชพืช แต่การปลูกผัก
ไฮโดรโปนิกส์ เป็นระบบที่มีต้นทุนการผลิต
ค่อนข้างสูง เนื่องจากอุปกรณ์มีราคาแพง
และการควบคุมดูแลต้องใช้ผู้ที่มีความรู้
และประสบการณ์

การปลูกผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ 1

ระบบของการปลูกผกั ไฮโดรโปนกิ ส์

ระบบการปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ สส์ ามารถจำ� แนกไดเ้ ปน็ หลายระบบขน้ึ อยกู่ บั
วธิ กี ารตา่ ง ๆ แตท่ ใี่ ชม้ ากในประเทศไทย มดี งั น้ี

ระบบ NFT

ระบบ DFT โดยใช้ท่อ PVC
2 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

ระบบ DRFT

1. การปลูกโดยให้สารละลายธาตุอาหารไหลผ่านรากผักเป็น
แผ่นบาง ๆ อยา่ งต่อเนื่อง (Nutrient Film Technique : NFT) เป็นการให้

สารละลายธาตอุ าหารพชื ไหลผา่ นรากพชื ทป่ี ลกู บนรางตามความลาดชนั ของรางปลกู
อยา่ งชา้ ๆ เปน็ แผน่ ฟลิ ม์ บาง ๆ ประมาณ 1-3 มลิ ลเิ มตร พชื ทปี่ ลกู ไดด้ แี ละนยิ มปลกู
ในระบบน้ี ไดแ้ ก่ ผักกินใบจำ� พวกผักสลัด มีอายุยาวประมาณ 45-50 วัน

2. การปลกู โดยใหส้ ารละลายธาตอุ าหารไหลผา่ นรากผกั ในระดบั ลกึ

(Deep Flow Technique : DFT) การปลกู ผกั โดยวธิ นี เี้ หมอื นการปลกู แบบลอยนำ�้
ซึ่งสามารถปลูกได้ดีในที่ท่ีมีแดดจัด โดยวิธีน้ีจะมีช่องว่างระหว่างแผ่นปลูกกับ
สารละลายธาตอุ าหารพชื ประมาณ 3-5 เซนตเิ มตร เพอื่ ใหร้ ากผกั บางสว่ นถกู อากาศ
และบางส่วนอยู่ในสารละลายธาตุอาหารพืช ผักท่ีปลูกได้ดีและนิยมปลูกในระบบนี้
ได้แก่ ผักไทย (ผักกินใบที่มีอายุส้ัน ประมาณ 20-30 วัน) เช่น ผักคะน้า ผักบุ้ง
ผกั โขม เป็นตน้

3. การปลูกโดยให้สารละลายธาตุอาหารและอากาศไหลวนผ่าน
รากผักในระดับลึกอย่างต่อเน่ืองในถาดปลูก (Dynamic Root Floating

Technique : DRFT) ระบบนี้พัฒนามาจากระบบ DFT โดยเพ่ิมการไหลเวียนของ
อากาศและสารละลายธาตอุ าหารพชื ผกั ท่ีปลูกไดด้ แี ละนยิ มปลกู ไดแ้ ก่ ผกั ไทย

การปลกู ผกั ไฮโดรโปนิกส์ 3

วัสดุ อปุ กรณ์ส�ำหรับการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

วสั ดแุ ละอปุ กรณท์ จี่ ำ� เปน็ ตอ่ การปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ สม์ หี ลายชนดิ ขนึ้ อยกู่ บั
ลกั ษณะของการปลกู ซง่ึ สง่ิ ทค่ี วรคำ� นงึ ถงึ คอื ควรมรี าคาไมส่ งู มากนกั แตม่ คี ณุ ภาพดี
และหาซอื้ ไดส้ ะดวก นอกจากนี้ ยงั สามารถนำ� วสั ดสุ งิ่ ของเหลอื ใชต้ า่ ง ๆ มาประยกุ ต์
ใชใ้ นการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ไดอ้ กี ด้วย

โรงเรอื นขนาดเลก็ โรงเรอื นขนาดใหญ่

ปกติแล้ววัสดุและอุปกรณ์ท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ประกอบด้วย

1. โรงเรือน

ในการปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ สใ์ นเชงิ การคา้ จำ� เปน็ ตอ้ งใชโ้ รงเรือนสำ� หรบั
เพาะกล้า อนุบาลต้นกล้า และปลูก ซ่ึงรูปแบบของโรงเรือนต้องเหมาะสม มี
ความแข็งแรง สามารถควบคุมภูมิอากาศภายในโรงเรือนให้เหมาะสมต่อการเจริญ
เติบโตของผักที่ปลูก นอกจากนี้ โรงเรือนยังสามารถป้องกันศัตรูพืชได้ พ้ืนท่ีตั้ง
โรงเรือนต้องมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมคือมีการถ่ายเทอากาศดี อยู่ในที่โล่งแจ้ง
มีการคมนาคมท่ีสะดวก มีแหล่งน้�ำอย่างเพียงพอและมีไฟฟ้า แต่ส�ำหรับการปลูก
ผกั ไฮโดรโปนกิ สใ์ นบรเิ วณบา้ นนั้น ไม่จำ� เปน็ ตอ้ งสร้างโรงเรือนขนาดใหญ่ เนอื่ งจาก

4 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

เป็นการปลูกเพื่อไว้รับประทานกันเองภายในครอบครัว หรือเพ่ือเป็นงานอดิเรก
เทา่ นัน้ เพยี งแตส่ รา้ งโครงมงุ้ เพ่ือป้องกันแมลงและการกระแทกของนำ้� ฝน

2. ภาชนะและวัสดทุ ใ่ี ชใ้ นการปลกู

2.1 ภาชนะทใ่ี ชใ้ นการปลกู ควรเปน็ ภาชนะทเ่ี หมาะสมตอ่ ระบบปลกู
มคี วามแขง็ แรง สะอาด และทำ� ความสะอาดได้งา่ ย ไม่ผุกร่อน หรอื ไม่เป็นอันตราย
ตอ่ รากผกั และสภาพแวดลอ้ ม นอกจากน้ี ควรมรี าคาถกู หาซอ้ื ไดง้ า่ ย สะดวกตอ่ การ
ติดตัง้ และการใชง้ าน
2.2 วัสดปุ ลูก (Growing media) ตอ้ งเป็นวัสดุทีเ่ ก่ียวข้องกบั การให้
ออกซิเจน ธาตุอาหารและช่วยในการเจริญเติบโตของรากผัก ตลอดจนเป็นท่ีเกาะ
ยึดค�้ำยันตน้ พืช ลักษณะของวัสดปุ ลูกที่ดี คอื เปน็ ท่เี กาะยึดค�้ำยนั ตน้ ผัก เปน็ แหล่ง
สะสมน้ำ� และอาหาร และเป็นแหล่งทใ่ี หอ้ ากาศแก่ผัก

3. ปยุ๋ หรอื ธาตุอาหารพืช

จดั วา่ เปน็ หวั ใจสำ� คญั สำ� หรบั การปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ เนอ่ื งจากเปน็ การ
จดั การในการใหป้ ยุ๋ เคมตี า่ ง ๆ เพอ่ื ทดแทนธาตอุ าหารทม่ี อี ยใู่ นดนิ เพราะการปลกู ผกั
ไฮโดรโปนกิ สเ์ ปน็ การใหผ้ กั ทป่ี ลกู ไดร้ บั สารอาหารพชื หรอื สารละลายธาตอุ าหารพชื
(nutrient solution) ท่ไี ดจ้ ากการนำ� ธาตุอาหาร (แม่ปุ๋ย) ผสมกบั น�ำ้

4. น้�ำ

น�้ำที่ใช้ต้องมาจากแหล่งน้�ำที่ดี มีคุณภาพดีและมีปริมาณเพียงพอต่อ
การปลกู กอ่ นทนี่ ำ� มาใชใ้ นการปลกู ผกั ควรมกี ารนำ� ตวั อยา่ งนำ�้ ไปตรวจคณุ ภาพเสยี กอ่ น

5. ระบบไฟฟา้

ระบบไฟฟ้าใช้เพ่ือเป็นต้นก�ำลังของพลังงานท่ีขาดไม่ได้ ควรมีระบบ
ไฟส�ำรองสำ� หรบั บางช่วงทีม่ ีปญั หาเกย่ี วกับระบบไฟฟา้

6. ปัม๊

ใช้ส�ำหรับส่งและก่อให้เกิดการไหลเวียนของสารละลายธาตุอาหารพืช
และใหอ้ อกซิเจนแก่รากพืช

การปลกู ผกั ไฮโดรโปนิกส์ 5

7. เมลด็ พันธ์ุผกั หรือกล้าผักทีจ่ ะใชป้ ลูก

ควรเลือกพันธุ์ที่ตลาดต้องการ ต้นกล้ามีความส�ำคัญต่อการปลูกผัก
ไฮโดรโปนกิ สม์ าก เนอื่ งจากทำ� ใหพ้ ชื สามารถเจรญิ เตบิ โตและตงั้ ตวั ไดเ้ รว็ เมลด็ พนั ธ์ุ
ทีด่ ตี อ้ งมลี กั ษณะตรงตามพันธุ์ มีเปอร์เช็นต์ความงอกสงู

8. วัสดุและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการเตรียมสารละลาย
ธาตอุ าหารพชื

8.1 ถังใส่สารละลายธาตุอาหารพืช ขนาดของถังขึ้นอยู่กับระบบ
ของการปลูกเพื่อกักเก็บสารละลายธาตุอาหารให้เพียงพอ โดยท่ัวไปจะฝังถังใส่
สารละลายธาตุอาหารพืชไว้ใต้ดิน เพ่ือลดอุณหภูมิของสารละลายและช่วยลด
การระเหยของสารละลายไดอ้ กี ด้วย
8.2 ถงุ มอื เพอ่ื ใชใ้ นการเตรยี ม รกั ษาหรอื ควบคมุ คา่ ความเปน็ กรดดา่ ง
(pH) เนื่องจากการปรับค่าความเป็นกรดด่างของสารละลายบางคร้ังต้องใช้กรด
เปน็ ตวั ปรบั เมอ่ื สารละลายมคี วามเป็นด่างมากเกิน
8.3 เครอ่ื งช่ัง วดั ตวง ใช้ตวงปรมิ าณปุ๋ยหรือสารอาหารทใี่ ช้ในการ
ปลกู ผักไฮโดรโปนิกส์

9. วสั ดุผกู มัดหรอื รองรับต้นผัก

กรณที ผี่ กั มคี วามสงู เชน่ มะเขอื เทศ แคนตาลปู รากไมส่ ามารถยดึ ตดิ กบั
วสั ดปุ ลูกได้ จำ� เปน็ ตอ้ งมวี ัสดุรองรับตน้ ผัก เพ่ือช่วยให้พชื ที่มลี �ำต้นสงู และมผี ลผลติ
ที่มนี �้ำหนกั สามารถทรงตัวอยไู่ ด้ ซงึ่ วัสดุผกู มดั ได้แก่ เชอื ก ลวด ไม้ค�ำ้ และอาจมี
สงิ่ ผกู มดั ตดิ กับต้นผักซงึ่ สว่ นมากท�ำจากพลาสตกิ

10. วัสดุ อุปกรณ์ส�ำหรับควบคุมอุณหภูมิโรงเรือน สารละลาย
ธาตอุ าหารและวสั ดปุ ลกู

เนื่องจากประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงจึงจ�ำเป็นต้องมีอุปกรณ์ที่ใช้
ในการควบคุมอุณหภมู แิ ละความช้นื สัมพทั ธ์ภายในโรงเรอื น

6 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

11. อปุ กรณส์ ำ� หรบั การตรวจวดั และควบคมุ สารละลายธาตอุ าหารพชื

เครื่องมือตรวจวัดค่าความเป็นกรดเป็นด่างของสารละลาย
ธาตุอาหารพืช (pH meter) เครื่องมือตรวจวัดค่าการน�ำไฟฟ้าของสารละลาย
ธาตอุ าหารพชื (Electrical Conductivity meter)

12. วัสดอุ ุปกรณ์และโรงเรือนบรรจหุ บี หอ่ ผลผลติ

ส�ำหรับการปลูกในเชิงการค้าจ�ำเป็นต้องมีอุปกรณ์ส�ำหรับการท�ำ
ความสะอาด คดั ขนาด บรรจุหีบห่อภายใตโ้ รงเรอื นที่ดกี ่อนขนสง่ ไปตลาด

13. ห้องเย็นและระบบขนส่งท่ีสามารถควบคุมอุณหภูมิ
ความชน้ื สัมพทั ธ์

การผลิตในเชิงการค้าที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 1 ไร่ข้ึนไป จะมีอัตราก�ำลัง
ในการผลติ ทสี่ งู ควรมหี อ้ งเยน็ บรรจภุ ณั ฑ์ และระบบขนสง่ ทสี่ ามารถควบคมุ อณุ หภมู ิ
ความช้ืนสัมพัทธ์ได้ เพ่ือรักษาคุณภาพของผลผลิต โดยเฉพาะในกรณีท่ีแหล่งผลิต
อย่ไู กลจากตลาดมาก

การปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส์ 7

ใขนอ้ เคชวิงรกคารำ� นคึงา้ สำ� หรับการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์น้ันสามารถปลูกผักได้ทุกชนิด หากปลูกในเชิง
การคา้ จะต้องค�ำนงึ ถึง

✤ อายุการเก็บเก่ยี ว เน่อื งจากการปลกู ด้วยวธิ ีนจี้ ะมกี ารลงทุนสูง ดงั นนั้

จึงควรเลือกผักท่ีมีอายุการเก็บเกี่ยวสั้น มีรอบการผลิตหลายรอบต่อปีจะช่วยลด
ตน้ ทนุ ได้ เช่น ผกั สลัด หรือผักไทยท่ีมีอายุสั้น เช่น ผักบุง้ ผกั คะนา้ ผกั โขม

✤ ราคาผลผลติ ควรเลอื กผกั ทม่ี รี าคาสงู ขายไดร้ าคาดี เนอ่ื งจากมตี น้ ทนุ

การผลติ สงู จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งเลอื กผกั ทม่ี รี าคาดแี ละตลาดมคี วามตอ้ งการ แตใ่ นปจั จบุ นั
ได้มีการน�ำผักที่มีขายอยู่ท่ัวไปตามท้องตลาด เช่น ผักบุ้ง ผักคะน้า ผักกาดเขียว
กวางตุ้ง มาปลูกระบบไฮโดรโปนิกส์มากขึ้น และน�ำมาขายภายใต้ผลิตภัณฑ์
ผักปลอดภัยจากสารพิษ ซ่ึงก�ำลังเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค ก็สามารถท�ำรายได้ดี
อีกทางหน่งึ

✤ ฤดูปลกู ช่วงฤดฝู นผักทว่ั ไปจะมีออกสตู่ ลาดนอ้ ย แต่ส�ำหรบั การปลูก

ผกั ไฮโดรโปนิกส์สามารถผลิตได้ทกุ ฤดูกาล

8 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

ขน้ั ตอนและวธิ ีการปลูกผกั ไฮโดรโปนกิ ส์

การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์น้ันต้องมีการจัดการในส่วนของผัก และส่วนของ
สารละลายธาตอุ าหาร

การจัดการพืช

ความส�ำเร็จของการผลิตอยู่ที่ความแข็งแรงและความสมบูรณ์ของต้นกล้า
เพราะจะทำ� ใหผ้ ักสามารถเจรญิ เติบโตและตงั้ ตัวได้เรว็

เมล็ดพนั ธ์ผุ ัก การเพาะกล้าในถ้วยเพาะ

การเพาะกลา้ ในแผน่ ฟองนำ้� การเพาะกล้าในวัสดปุ ลกู
การปลูกผักไฮโดรโปนกิ ส์ 9

วิธีการเพาะกล้า

1. การเพาะกลา้ ในถ้วยเพาะแบบส�ำเร็จรปู

วัสดุท่ีใช้เพาะในบ้านเราส่วนใหญ่นิยมใช้ เพอร์ไลท์ เวอร์มิคูไลท์
หรืออาจใชเ้ พอรไ์ ลท์ผสมกับเวอร์มิคไู ลท์ (อตั รา 1 : 4) หรือกรวด ซง่ึ นิยมใช้ปลูก
ในระบบ NFT ดังนี้
1.1 ใส่วัสดุเพาะลงในถ้วยเพาะส�ำเร็จรูปต�่ำกว่าขอบบนของถ้วย
ประมาณ 1 เซนติเมตร
1.2 ใสเ่ มล็ดลงในวสั ดเุ พาะทอ่ี ยใู่ นถว้ ยเพาะ ถว้ ยละ 1 เมลด็ โดยให้
เมล็ดลกึ ประมาณ 0.5 เซนติเมตร
1.3 น�ำถ้วยเพาะเมล็ดไปวางในกระบะเพาะ ใส่น�้ำสูงประมาณ
2 เซนติเมตร วางในทมี่ ีแสงแดดร�ำไร มีการระบายอากาศดี มีวสั ดกุ ันฝนและแรงลม
1.4 เมอ่ื เมลด็ งอกเปน็ ตน้ กลา้ ควรเรม่ิ ใหส้ ารละลายธาตอุ าหารพชื แบบ
เจือจางผา่ นรากผักในถาดเพาะกอ่ น เพอ่ื ช่วยใหร้ ากแข็งแรง และควรท�ำการเปลี่ยน
สารอาหารสปั ดาห์ละครงั้ ควรใหก้ ล้าไดร้ บั แสงแดดร�ำไร ไม่ร้อนจดั
1.5 เมือ่ กลา้ แขง็ แรง หรือมีอายปุ ระมาณ 2-3 สัปดาห์ ย้ายกล้าไปยัง
แปลงปลกู
1.6 สามารถเก็บผลผลิตได้เมื่อ
พืชมีอายุ 35-45 วัน (5-6 สัปดาห์) หลัง
เพาะเมล็ด

2. การเพาะกล้าในแผ่นฟองน�้ำ

การเพาะเมล็ดลงในแผ่นฟองน้�ำ การหยอดเมล็ดในฟองนำ้�
ส่วนมากนิยมปลูกในรูปของแผ่นโฟม โดย
2.1 เจาะรแู ผน่ โฟมขนาดเสน้ ผา่
ศนู ยก์ ลาง 2 เซนตเิ มตร เพอื่ ใสต่ น้ กลา้ แตล่ ะรู
หา่ งกนั ตามแตช่ นดิ ของพชื ทปี่ ลกู โดยทวั่ ไปใช้
ระยะหา่ ง 15-25 เซนตเิ มตร

10 กรมส่งเสริมการเกษตร

2.2 เพาะกลา้ ในแผน่ ฟองนำ้� โดยใชม้ ดี กรดี แผน่ ฟองนำ�้ ใหเ้ ปน็ สเ่ี หลยี่ ม
ขนาดใหญ่กว่ารูของแผ่นโฟมท่ีเจาะรูไว้ เพ่ือให้ฟองน�้ำที่มีต้นกล้าสามารถอยู่ในรู
ของแผ่นโฟมได้หลงั จากย้ายปลกู
2.3 ใช้มีดกรีดตรงกลางของฟองน้�ำในข้อ 2.2 เป็นรูปกากบาท
ลึกประมาณ 1 เซนติเมตร เพื่อไว้สำ� หรับหยอดเมล็ด
2.4 หลังหยอดเมลด็ แลว้ ใหน้ �ำ้ โดยการสเปรยใ์ ห้ชุม่ ทุกเชา้ เยน็
2.5 วางฟองนำ้� ในถาดเพาะที่มนี ำ้� ขงั เลก็ นอ้ ย
2.6 เม่ือต้นกล้าเริ่มงอกควรเร่ิมให้สารละลายธาตุอาหารพืชแบบ
เจอื จางผา่ นรากผักในถาดเพาะกอ่ น เพื่อช่วยให้รากแข็งแรง และควรทำ� การเปลีย่ น
สารละลายธาตอุ าหารพืชสัปดาห์ละคร้ัง ควรให้กลา้ ไดร้ บั แสงแดดร�ำไร ไมร่ ้อนจดั
2.7 เมื่อกล้าแข็งแรงหรือมีอายุ 2-3 สัปดาห์ ย้ายกล้าลงแปลงปลูก
(ในการเพาะกล้าด้วยฟองน�้ำจะไม่มกี ารย้ายกลา้ ไปยังแปลงอนุบาล)

3. การเพาะกล้าในวัสดปุ ลกู

การเพาะกลา้ ในวสั ดปุ ลกู นนั้ สามารถใชว้ สั ดทุ ห่ี าไดใ้ นทอ้ งถน่ิ หรอื นำ� มา
ผสมกันเป็นวัสดุเพ่ือใช้ในการเพาะกล้า แต่ควรมีการทดสอบความเป็นพิษของ
วัสดุปลูกเสียก่อน โดยเพาะเมล็ดจ�ำนวนหน่ึงลงในแต่ละวัสดุปลูกที่จะใช้
ให้สารละลายธาตุอาหารและน้�ำอย่างเพียงพอต่อเน่ืองกัน 2-3 สัปดาห์ ถ้าพืชไม่มี
อาการผดิ ปกติ เชน่ รากกุด รากเนา่ หรอื ใบเหลืองซีด แสดงว่าวสั ดปุ ลกู นั้นสามารถ
น�ำมาใช้ได้ วัสดุปลูกท่ีน�ำมาใช้มีท้ังที่ได้มาจากต่างประเทศและในประเทศ เช่น
เวอร์มคิ ูไลท์ หนิ ฟอสเฟต เพอร์ไลท์ ขยุ มะพรา้ ว แกลบ ข้ีเถา้ แกลบ หินกรวด ทราย
เป็นตน้ ซง่ึ มวี ิธีการปลูก ดงั นี้
3.1 เพาะเมล็ดลงในภาชนะที่บรรจวุ สั ดปุ ลูกไว้แลว้
3.2 รดน�ำ้ จนกระท่ังเมล็ดงอก ไดต้ น้ กล้าท่ีมีใบจริง 2-3 ใบ
3.3 ย้ายกลา้ ลงในกระถางหรอื ย้ายลงแปลงทเ่ี ตรียมไว้
3.4 รดน้ำ� ด้วยสารละลายธาตอุ าหารพืชทกุ เช้า เย็น

การปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ 11

การจดั การดา้ นสารละลาย

การเตรียมสารละลายธาตุ
อาหารเพ่ือใช้ปลูกพืชมี 2 แบบ คือ
การเตรียมสารละลายแบบเจือจาง
และการเตรียมสารละลายแบบเข้มข้น
(Stock Solution)

สารละลายธาตุอาหารพืช

การเตรียมสารละลายธาตุอาหารพชื

การเตรยี มสารละลายธาตอุ าหารพชื

การเตรียมสารละลายธาตุอาหารพชื การเตรียมสารละลายธาตอุ าหารพืช
แบบเจอื จาง แบบเข้มขน้ (Stock Solution)
โดยการนำ� ปยุ๋ เคมี ตามสูตรทคี่ �ำนวณ
เตรยี มสารละลายธาตุอาหารพืช แล้วมาเตรียมเปน็ สารละลายธาตุ
จากปุ๋ยเคมโี ดยตรง อาหารพชื ท่ีมีความเข้มข้นสงู 2 ถงั
เรยี กว่า Stock Solution A และ
Stock Solution B

ถังใส่สารละลายธาตอุ าหารพืช ถงั ใสส่ ารละลายธาตอุ าหารพชื
แบบเจือจาง แบบเจือจาง

ได้จากการนำ� ปุ๋ยเคมีตามสูตร ได้จากการนำ� สารละลายแบบเข้มข้น
ทีค่ �ำนวณแลว้ มาผสมน�้ำสะอาดในถัง จาก Stock Solution A และ B มา
ใส่สารละลายธาตอุ าหารเพอื่ นำ� ไปใช้ ผสมกบั น�ำ้ สะอาดเพื่อทำ� ให้เจือจาง
ตามอัตราส่วนท่ีกำ� หนด ใส่ลงในถัง
ปลูกพืชตามต้องการ สารละลายธาตุอาหารแบบเจอื จาง
เพื่อนำ� ไปใช้ปลูกพืชตามตอ้ งการ
12 กรมสง่ เสริมการเกษตร

1. วิธีการเตรยี มสารละลายธาตอุ าหารพืช

1.1 การเตรียมสารละลายธาตอุ าหารพืชแบบเจือจาง
เป็นการเตรียมสารละลายธาตุอาหารพืชเพื่อใช้ในถังท่ีใช้ปลูกพืช
โดยตรง การเตรยี มแบบนส้ี ะดวก แตต่ ้องเตรยี มบ่อย ๆ เร่มิ จากเม่ือทราบปริมาณ
ของธาตุอาหาร ค�ำนวณน�้ำหนักและจัดหาปุ๋ยเคมี ผสมปุ๋ยเคมีทั้งหมดในน�้ำสะอาด
แลว้ เติมนำ้� จนครบ
1.2 การเตรยี มสารละลายธาตอุ าหารพชื แบบเข้มขน้
การเตรียมสารละลายธาตุอาหารที่มีความเข้มข้น (Stock
Solution) จะเรม่ิ จากการเตรียมสารละลายธาตอุ าหารแบบเข้มขน้ ไว้ 2 ถัง เรยี กวา่
Stock Solution A และ Stock Solution B และเมื่อต้องการใช้ก็จะเอา
Stock Solution มาผสมให้เจือจางตามอตั ราสว่ นที่ก�ำหนดตามความต้องการ
สาเหตุท่ีต้องแยกออกเป็น Stock Solution A และ Stock
Solution B เพื่อเป็นการป้องกันการท�ำปฏิกิริยาทางเคมีของสาร โดยจะแยก
แคลเซยี มและเหลก็ ไวด้ ว้ ยกนั สว่ นอกี ถงั จะผสมธาตอุ นื่ ๆ ทง้ั หมด สว่ นโพแทสเซยี ม
ไนเตรตจะไม่ทำ� ปฏิกิรยิ าก็จะเฉล่ยี ใส่ท้งั 2 ถงั

2. การค�ำนวณหาปริมาณสารละลายธาตุอาหารพืชแบบเข้มข้นและ
แบบเจอื จาง

ส�ำหรับการหาปริมาณสารละลายธาตุอาหารพืชแบบเข้มข้นถังที่ 1
(Stock Solution A) และ 2 (Stock Solution B) เพ่ือนำ� ไปใชผ้ สมเป็นสารละลาย
ธาตอุ าหารเจือจาง เพอ่ื นำ� ไปใช้ปลกู พชื มหี ลกั การดงั นี้

ปรมิ าณสารละลายธาตุอาหารพชื = อตั ราสว่ นในการเจอื จาง x ความจขุ องถงั ทีบ่ รรจุสาร
แบบเข้มข้นท่ีตอ้ งการ

ตวั อยา่ ง
ถา้ ตอ้ งการใชส้ ารละลายธาตอุ าหารพชื แบบทมี่ คี วามเขม้ ขน้ ตอ่ ความเจอื จาง
1 : 100 เทา่ โดยถังใส่สารละลายธาตอุ าหารแบบเจือจาง บรรจไุ ด้ 5 ลูกบาศกเ์ มตร
(5,000 ลิตร) อยากทราบว่าจะต้องใช้สารละลายธาตุอาหารพืชแบบเข้มข้นจาก
ถงั ท่ี 1 และถงั ท่ี 2 ถังละกล่ี ิตร

การปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ 13

แสดงว่าถ้าต้องการสารละลายธาตุอาหารแบบเจือจาง 5,000 ลิตร
จะต้องเทยี บบัญญตั ิไตรยางค์ คือ สารละลายเจอื จาง 100 ลติ ร ต้องใช้สารละลาย
เขม้ ข้น 1 ลิตร ถา้ ตอ้ งการสารละลายธาตอุ าหารแบบเจือจาง 5,000 ลติ ร จะต้องใช้
สารละลายเขม้ ข้นคอื

( )ปรมิ าณสารละลายธาตุอาหารพืช=1100 X 5,000
แบบเข้มขน้ ที่ตอ้ งการ
= 50 ลติ ร

เพราะฉะน้ัน จะต้องใช้สารละลายธาตุอาหารพืชแบบเข้มข้นจาก
ถังที่ 1 และถังที่ 2 ถังละ 50 ลิตร ไปใส่ในถังสารละลายธาตุอาหารแบบเจือจาง
แล้วเตมิ นำ้� จนครบ 5,000 ลติ ร

3. การจัดการสารละลายธาตอุ าหารพืช

ผักจะเจริญเติบโตได้ดีน้ัน จะต้องได้รับธาตุอาหารที่เพียงพอและ
เหมาะสมต่อความต้องการและมีปริมาณออกซิเจนในสารละลายอย่างเพียงพอ
ในสารละลายธาตอุ าหารพชื จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารควบคมุ คา่ pH และ EC ของสารละลาย
เพอื่ ใหผ้ กั สามารถดดู ปยุ๋ หรอื สารละลายธาตอุ าหารพชื ไดด้ ี ตลอดจนตอ้ งมกี ารควบคมุ
อณุ หภูมิและออกซิเจนในสารละลายธาตอุ าหารพืช
การรกั ษาหรอื ควบคมุ คา่ pH ของสารละลายธาตอุ าหารพชื โดย pH = 7
หมายถงึ สารละลายมคี วามเปน็ กลาง pH ตำ่� กวา่ 7 หมายถงึ สารละลายมคี วามเปน็ กรด
และ pH สูงกว่า 7 หมายถึง สารละลายมีความเป็นด่าง ต้องมีการควบคุม pH
เน่ืองจากจะมีผลให้ผักสามารถดูดใช้ปุ๋ยหรือสารอาหารได้ดี เพราะค่า pH หรือ
ความเป็นกรดเป็นด่างในสารละลายจะเป็นค่าที่บอกให้ทราบถึงสถานะของธาตุ
อาหารท่ีจะอยใู่ นรปู ทีพ่ ืชสามารถดูดไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ถา้ คา่ pH สงู หรือต�่ำเกนิ ไป
ธาตุอาหารพืชบางชนิดอาจอยู่ในรูปที่ไม่เป็นประโยชน์หรืออาจท�ำให้เกิดการ
ตกตะกอน
สาเหตุที่ท�ำให้ค่าของ pH ในสารละลายเปล่ียนแปลง เนื่องจากการท่ี
รากพืชดูดธาตุอาหารในสารละลายธาตุอาหารพืชแล้วปล่อยไฮโดรเจน (H+) และ

14 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

ไฮดรอกไซด์ (OH-) สสู่ ารละลายธาตอุ าหารพชื ทำ� ใหค้ า่ pH เปลย่ี นแปลงไป โดยทว่ั ไป
ควรรกั ษาคา่ pH ของสารละลายให้มคี ่า pH = 6 แตใ่ นค�ำแนะน�ำของบางประเทศ
เชน่ ประเทศญป่ี นุ่ จะควบคมุ ใหส้ ารละลายมคี า่ pH = 5.5 และ 6.5 ประเทศเบลเยยี่ ม
จะควบคมุ ให้สารละลายมีคา่ pH = 5.0 และ 5.5
การปรบั เพมิ่ คา่ ของ pH ในกรณที ส่ี ารละลายธาตอุ าหารพชื มคี วามเปน็
กรดมากเกิน เราสามารถปรับข้ึนได้โดยใช้โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH)
ไโซฮดเดร ยี อมกไไฮซดดร์ กอ(NกาHไรซ4ปOดรH์ ับ()NลสaดาOรคHใ่ดา) ขสโซาอรเงดหยี นpมึง่ Hไลบงคไใปานรใกน์บรสอณาเนรีทลต่ีะส(ลาNารaยลHธะาCตลOุอา3า)ยหหธาารรือตพุอืชแาอหมาโมรเพนืชียมมี
ค กกรรวดดาอมไ นซเปติต็นกิริกด(C่าเ(งHคHม3รNCา่ือกOOงเมO3ก)ือHินทก) ่ีใรเสชรดาา้วไรสัดฮใดาคโดมส่าราาคครรวหถลานปมอ่ึงรเรปลับิกง็นขไ(กึ้ปนHรใไCนดดlเส้โ)ปดา็นรยกลดกระด่าาลงรฟาเอตยคสิมธือาฟกตpรออุ ดHราิซกหัลmา(ฟรHeพูร3tิกPืชeOr(4Hก)2่อSหนOรใ4ือช)้
ควรปรับเครื่องมือให้มีความเท่ียงตรงก่อน โดยใช้น�้ำยามาตรฐานหรือที่เรียกว่า
“สารละลายบฟั เฟอร์มาตรฐาน” (Buffer Solution)


การปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส์ 15

4. การควบคุมค่าการน�ำไฟฟ้า (Electrical Conductivity : EC)
ของสารละลายธาตอุ าหารพชื

การทตี่ ้องควบคมุ ค่า EC เนื่องจากตอ้ งการใหม้ ปี ริมาณสารอาหารครบ
ตามที่พืชต้องการ แต่เป็นการควบคุมค่ารวมของการน�ำไฟฟ้าของสารละลาย
ธาตุอาหารท้ังหมดท่ีอยู่ในถัง ไม่ใช่ปริมาณท่ีแท้จริงของธาตุใดธาตุหน่ึง ซ่ึงธาตุ
ทถ่ี ูกใชน้ อ้ ยอาจตกตะกอนหรือกอ่ ให้เกดิ ปญั หา ดังน้นั จงึ ควรมกี ารเปลย่ี นสารอาหาร
เป็นระยะ ๆ เช่น ทุก 2-3 สัปดาห์
4.1 ปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของค่า EC
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของค่า EC มีหลายอย่าง เช่น
ชนดิ ของพชื ระยะการเตบิ โต ความเขม้ ของแสง และขนาดของถงั ทบ่ี รรจสุ ารอาหารพชื
สภาพภูมิอากาศก็มีผลต่อการเปล่ียนแปลงค่า EC เน่ืองจากเม่ือมีสภาพอากาศ
ทร่ี อ้ นจะทำ� ใหพ้ ชื ตอ้ งการความเขม้ ขน้ ของสารละลายทน่ี อ้ ยลง เนอื่ งจากพชื จะดดู นำ�้
มากกวา่ ธาตอุ าหาร ในขณะทถี่ า้ อากาศมคี วามชนื้ พชื กม็ แี นวโนม้ ทจี่ ะดดู ธาตอุ าหาร
มากกว่าน�ำ้ ดงั นั้น พืชจงึ ต้องการสารละลายทม่ี ีความเขม้ ขน้ มากขนึ้
4.2 การควบคมุ EC ของสารละลายธาตอุ าหารพืช
โดยท่ัวไปเม่ือพืชยังเล็กจะมีความต้องการ EC ท่ีต่�ำ และจะเพ่ิม
มากขึ้นเม่ือพืชมีความเจริญเติบโตท่ีมากข้ึน และพืชแต่ละชนิดมีความต้องการ
ค่า EC แตกตา่ งกนั เช่น

ผักสลดั มคี วามต้องการสารละลายธาตุอาหารท่มี คี า่ EC ระหว่าง 0.5 – 2.0 mS/cm
แตงกวา มคี วามต้องการสารละลายธาตุอาหารที่มีค่า EC ระหว่าง 1.5 – 2.0 mS/cm
ผักและไม้ดอก มีความตอ้ งการสารละลายธาตอุ าหารท่มี คี า่ EC ระหว่าง 1.8 – 2.0 mS/cm
มะเขอื เทศ มีความตอ้ งการสารละลายธาตุอาหารทม่ี ีคา่ EC ระหว่าง 2.5 – 3.5 mS/cm
แคนตาลปู มีความตอ้ งการสารละลายธาตุอาหารที่มีคา่ EC ระหว่าง 4.0 – 6.0 mS/cm
ค่า EC ท่สี งู จะทำ� ให้ปรมิ าณนำ�้ ตาลในผลสงู เนอ่ื งจากทำ� ให้พชื เกิดความเครียด (stress)

เครื่องมือที่ใช้วัดค่าการน�ำไฟฟ้า (Electrical Conductivity meter)
เรยี กวา่ EC meter กอ่ นใชค้ วรปรบั ความเทยี่ งตรงเสยี กอ่ น โดยปรบั ทปี่ มุ่ ของเครอ่ื ง
ในสารละลายมาตรฐาน ซงึ่ คา่ ทว่ี ดั ไดจ้ ะเปลย่ี นแปลงไปตามอณุ หภมู ขิ องสารละลาย
กลา่ วคอื ย่ิงสารละลายมอี ณุ หภูมิสงู ขึ้น คา่ EC ก็จะสงู ขึ้นตามดว้ ย
16 กรมส่งเสริมการเกษตร

5. การจัดการนำ�้ ในระบบสารละลายธาตอุ าหารพชื

ควรรักษาปริมาณน�้ำในระบบปลูกให้คงท่ีตลอดเวลา เพื่อให้ผัก
สามารถเจริญเติบโตได้ดี ผักจะใช้น�้ำในอัตราที่สูงกว่าตัวธาตุอาหารพืช ถ้าปริมาณ
นำ้� ลดลงจะทำ� ใหค้ วามเข้มขน้ และปริมาณธาตอุ าหารพชื แต่ละชนดิ เพม่ิ ขนึ้
ปริมาณน�้ำจะลดลงมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดของแปลงท่ีปลูก
ปรมิ าณและชนิดของผัก และสภาพภมู อิ ากาศภายนอก

6. การเปล่ียนสารละลายธาตอุ าหารพืช

ผักสามารถดูดใช้ธาตุอาหารพืชในแต่ละชนิดแตกต่างกัน บางชนิด
ดูดไปใช้มาก บางชนิดดูดไปใช้น้อย จึงท�ำให้เหลือธาตุอาหารพืชท่ีสะสมอยู่ใน
สารละลายธาตุอาหารพืชแตกต่างกัน เป็นผลท�ำให้องค์ประกอบของสารละลาย
ธาตอุ าหารพืชตวั อื่น ๆ เปลย่ี นแปลงไปหรอื ตกตะกอน ดงั นัน้ จงึ จ�ำเป็นตอ้ งมีการ
เปลย่ี นสารละลายธาตุอาหารใหมส่ ามารถทำ� ได้ 3 วิธี คือ
6.1 การเปล่ียนสารละลายเป็นระยะ ๆ ทุก 2-3 สัปดาห์ ซ่ึงเป็นวิธี
ที่นิยมปฏิบัติกัน ปริมาณของการถ่ายเปลี่ยนสารละลายใหม่เข้าไปทดแทน
ส่วนที่ถูกถ่ายออกจะแบ่งเป็นส่วน ๆ เช่น 1 ใน 5 หรือ 2 ใน 3 ของความจุของ
ถังใสส่ ารละลาย
6.2 การถา่ ยเปล่ยี นสารละลายแบบชา้ ๆ อย่างสม่ำ� เสมอ
6.3 เปล่ียนสารละลายเก่าออกท้ังหมด จะท�ำเม่ือสิ้นสุดการปลูก
ในแต่ละรุ่น
หากตอ้ งการทราบแนน่ อนวา่ เมอ่ื ใดควรเปลยี่ นสารละลายธาตอุ าหารพชื
หรือควรเพ่ิมธาตุอาหารพืชใดเข้าไปในสารละลาย สามารถท�ำได้โดยเอาตัวอย่าง
สารละลายน้ันไปวเิ คราะห์
ส่วนสารละลายท่ีถูกถ่ายออกจากระบบปลูกจะยังมีธาตุอาหารพืช
ท่ีสมบูรณ์อยู่ ถ้าไม่มีเช้ือโรคปะปนก็สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชใน
ระบบปลูกที่ใช้วัสดุปลูกได้ เนื่องจากวัสดุปลูกสามารถดูดซับโซเดียมและคลอไรด์
ไวไ้ ด้ จึงไมเ่ ปน็ อันตรายต่อผัก

การปลูกผักไฮโดรโปนกิ ส์ 17

ปจั จัยท่ีเกีย่ วข้องกบั การเจรญิ เตบิ โต

ปัจจัยที่เป็นตัวควบคุมการเจริญเติบโตของผักสามารถจ�ำแนกได้เป็น
2 ประเภท คือ ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ซึ่งปัจจัยทั้งสองนี้ต่างมีอิทธิพล
ร่วมกัน คือ ปัจจัยภายในจะเป็นตัวก�ำหนดขอบเขตการเจริญเติบโต ส่วนปัจจัย
ภายนอกจะเป็นตัวก�ำหนดระดับของการเจริญเติบโต อันเป็นผลท�ำให้พืชสามารถ
เจรญิ เติบโตอย่างสมบรู ณ์

1. ปัจจัยภายใน ได้แก่ พันธุกรรม และสารควบคุมการเจริญเติบโต

ของพชื
1.1 พนั ธกุ รรม (genetic) ของพืชจะเกี่ยวขอ้ งกบั เรอ่ื งของยีนท่เี ป็น
ตวั ควบคมุ ลกั ษณะและถา่ ยทอดพนั ธกุ รรมจากพอ่ แมไ่ ปสลู่ กู หลาน ความรนู้ ส้ี ามารถ
น�ำไปใช้ในการปรบั ปรุงพนั ธุ์พืชได้
1.2 สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช (Plant Bioregulator)
มีทั้งที่พืชสร้างขึ้นเอง (Plant hormones) และที่มนุษย์สรา้ งขึ้น ซ่ึงฮอร์โมนที่พืช
สร้างขึ้นนีจ้ ะมีบทบาทต่อการกระตุ้น ยบั ยัง้ หรอื เปลี่ยนแปลงสรรี วทิ ยาของพืช

18 กรมสง่ เสริมการเกษตร

2. ปจั จยั ภายนอกหรอื สภาพแวดลอ้ ม นบั วา่ เปน็ ปจั จยั ทมี่ คี วามสำ� คญั
ต่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื ปจั จยั ภายนอกทส่ี ำ� คัญไดแ้ ก่
2.1 แสง เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนาการ
ของพืช เน่ืองจากแสงเปน็ ปจั จยั ส�ำคัญในกระบวนการสรา้ งอาหาร
2.2 อุณหภูมิ มีผลต่อกระบวนการทางสรีรวิทยา เคมี และชีววิทยา
ของพืช เช่น การงอกของเมล็ด การแบ่งและขยายขนาดของเซลล์ การสังเคราะห์
ด้วยแสง การหายใจ เป็นตน้ พชื แตล่ ะชนิดต้องการอณุ หภมู ทิ ีใ่ ช้ในการเจริญเติบโต
แตกต่างกันขนึ้ กับชนดิ ของพืชน้ัน ๆ
2.3 ความชื้น ความช้ืนในดินจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
โดยเฉพาะการปลูกพืชบนดิน หากดินขาดน�้ำจนรากพืชไม่สามารถดูดน้�ำได้ทันกับ
อตั ราการคายน�ำ้ ของพืชแลว้ พืชจะแสดงอาการเหยี่ ว และหากพืชไม่ไดน้ ้�ำแล้วกจ็ ะ
ตายในทีส่ ดุ
2.4 อากาศและองคป์ ระกอบของอากาศ พชื ไดร้ บั คารบ์ อนไดออกไซด์
จากอากาศซึ่งเป็นก๊าซที่จ�ำเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง นอกจากน้ีก๊าซบางชนิด
ใปนรอมิ าากณามศากเชจ่นะมซีผัลลเเฟสอยี รต์ไ่อดกอาอรกเจไรซิญด์เต(Sบิ Oโต2)ขอแงลพะืชคาร์บอนมอนนอกไซด์ (CO) ถ้ามี
2.5 องคป์ ระกอบของอากาศในนำ้� กา๊ ซทม่ี บี ทบาทสำ� คญั ตอ่ การเจรญิ
เติบโตของรากพืช คือ ก๊าซออกซิเจน (O2) รากพืชท่ีได้รับ O2 อย่างเพียงพอจะมี
สีขาว ยาว และมีรากฝอยมาก
2.6 ธาตอุ าหารพืช เปน็ สิ่งส�ำคญั ต่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื
2.7 ความเป็นกรดด่างของน�้ำ (pH) จะเก่ียวข้องกับความเป็น
ประโยชนข์ องธาตอุ าหารทพี่ ชื จะนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ได้ ซง่ึ จะมผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โต
ของพชื
2.8 ส่ิงมีชีวิตอ่นื ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง ส่งิ มีชวี ติ ไม่ว่าจะอยู่บนดนิ หรอื ในน�้ำ
ต่างก็มีอทิ ธิพลต่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื ทั้งส้ิน ไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม

การปลกู ผกั ไฮโดรโปนิกส์ 19

ความรู้เก่ยี วกับสารละลายธาตอุ าหารพืช

ธาตุอาหารพชื หรอื ธาตุอาหารจ�ำเป็น (Plant nutrients หรอื Essential
nutrient elements) หมายถงึ ธาตทุ จ่ี �ำเป็นต่อการเจริญและพฒั นาของเซลล์

การทจี่ ะทราบวา่ ธาตุใดเป็น “ธาตอุ าหารทจ่ี �ำเป็นต่อพืช” นั้น พจิ ารณาไดจ้ าก
✤ ธาตุนั้นมีความจ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช หากพืชไม่ได้รับ
ธาตุน้ันจะไม่สามารถเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ได้ตามปกติจนครบ
วงจรชีวิต
✤ ถ้าพืชไม่ได้รับธาตุอาหารน้ันอย่างเพียงพอแล้ว จะแสดงอาการผิดปกติ
ออกมาและเป็นอาการเฉพาะเจาะจงของธาตนุ ั้น
✤ พืชต้องน�ำธาตุอาหารนั้นไปใช้กับกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
การเจรญิ เติบโต

โดยทั่วไปธาตุอาหารท่ีพืชต้องการมีท้ังส้ิน 17 ธาตุ ซ่ึง 3 ธาตุท่ีได้จาก
น้�ำและอากาศ ได้แก่ คาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O) ส่วนอีก
14 ธาตจุ ะแบ่งเป็น 2 กลมุ่ ตามปริมาณทพี่ ชื ตอ้ งการ คอื

1. ธาตทุ พ่ี ชื ตอ้ งการในปรมิ าณมากหรอื มหธาตุ (macronutrient
element) คือ ธาตุอาหารท่ีจ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโต พืชมีความต้องการใน

ปรมิ าณมากเมอ่ื เทียบกบั ธาตุอนื่ ๆ มที ้งั หมด 6 ธาตุ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 กลมุ่ คอื
1.1 กลุ่มธาตุอาหารหลัก (Primary nutrient elements) คือ
ธาตทุ พี่ ืชต้องการมาก ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P) และโพแทสเซียม (K)
1.2 กลมุ่ ธาตุอาหารรอง (Secondary nutrient elements) คอื
ธาตุท่พี ชื ตอ้ งการลดนอ้ ยลงมา ได้แก่ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซยี ม (Mg) และก�ำมะถนั (S)

20 กรมส่งเสริมการเกษตร

2. ธาตทุ พ่ี ชื ตอ้ งการในปรมิ าณนอ้ ย หรอื จลุ ธาตุ (micronutrient
element) คือ ธาตุอาหารที่จ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช แต่พืชมี

ความตอ้ งการในปรมิ าณนอ้ ยเม่อื เทียบกบั ธาตอุ ืน่ ๆ แต่เปน็ ธาตุทีข่ าดไม่ได้ ถา้ ขาด
พืชจะแสดงอาการผิดปกตหิ รอื เจรญิ เติบโตไม่ครบชีพจกั ร มอี ยู่ด้วยกนั 8 ธาตุ ไดแ้ ก่
เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) สังกะสี (Zn) ทองแดง (Cu) โบรอน (B) โมลบิ ดนิ ัม (Mo)
คลอรีน (Cl) และนกิ เกลิ (Ni)

ลกั ษณะอาการขาดธาตุอาหารของพชื

เม่ือพืชได้รับธาตุอาหารไม่ครบทุกชนิด หรือไม่เพียงพอต่อความต้องการ
พืชจะแสดงอาการผดิ ปกติออกมา สงั เกตไดด้ ังน้ี

ภาพแสดงอาการขาด N ภาพแสดงอาการขาด P ภาพแสดงอาการขาด K

การปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส์ 21

ตารางที่ 1 ลักษณะอาการผิดปกติเบ้ืองต้นท่ีพบท่ัวไปในพืชท่ีขาด
ธาตอุ าหารทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต (ธาตทุ เี่ คลอ่ื นที่ได)้

ธาตุทีข่ าด ลักษณะอาการ

กลุ่มของธาตทุ ี่แสดงอาการครัง้ แรกที่ใบแก่ (ธาตทุ ีเ่ คลือ่ นทีไ่ ด้)

ไนโตรเจน (N) ใบแก่มีสีเหลืองปนส้ม เริ่มจากปลายใบก่อน เมื่อขาดรุนแรง ใบแก่จะ
แหง้ ตาย

ฟอสฟอรสั (P) ใบล่างและลำ� ตน้ มีสแี ดงอมมว่ ง

โพแทสเซยี ม (K) ใบล่างมีสีเหลืองโดยเริ่มจากขอบใบก่อน หลังจากน้ันจะเปล่ียนเป็น
สีน�้ำตาลลกุ ลามเข้าสู่กลางใบ

แมกนีเซียม (Mg) เนอ้ื เยอ่ื ระหวา่ งเสน้ ใบขอบใบแกจ่ ะมสี เี หลอื ง แตเ่ สน้ ใบเปน็ สเี ขยี วปกติ

โมลบิ ดนิ ัม (Mo) ใบแก่มสี ีเหลอื งบางครัง้ มีจดุ สีน�้ำตาลไหมบ้ นใบ

ตารางท่ี 2 ลักษณะอาการผิดปกติเบื้องต้นที่พบท่ัวไปในพืชท่ีขาด
ธาตอุ าหารทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต (ธาตทุ เี่ คลอื่ นที่ไม่ได)้

ธาตทุ ีข่ าด ลกั ษณะอาการ

กลมุ่ ของธาตุทแ่ี สดงอาการครัง้ แรกที่ใบอ่อน (ธาตทุ ีเ่ คล่อื นที่ไมไ่ ด้)

แคลเซียม (Ca) ใบอ่อนบิดเบีย้ ว มว้ นงอ ยอดหงกิ ใบไม่สามารถคลี่ไดเ้ ตม็ ท่ี

ก�ำมะถนั (S) ใบอ่อนหรอื ใบบนมสี เี หลืองท้งั ใบ

เหล็ก (Fe) ใบอ่อนที่ยังโตไมเ่ ต็มท่มี ีสเี หลืองระหว่างเส้นใบ

แมงกานสี (Mn) ใบอ่อนท่ีโตเต็มทีม่ ีสเี หลืองระหว่างเส้นใบ และมีจดุ สีน้�ำตาลบนใบ

สงั กะสี (Zn) ใบอ่อนเกิดแถบสีเหลอื งท้งั สองข้างของเสน้ กลางใบ จากปลายใบลาม
เข้าสูก่ ลางใบ เสน้ กลางใบยังเขียว ใบมขี นาดเลก็

ทองแดง (Cu) ปลายใบออ่ นมีสซี ีดหรอื ขาว

โบรอน (B) ใบยน่ หนาผดิ ปกตแิ ละเปราะ ม้วนงอหรอื ขาดว่ิน

คลอรีน (Cl) ปลายใบแหง้ ใบเหลือง

นกิ เกิล (Ni) พชื ให้ผลผลิตไม่เตม็ ที่

22 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

ศัตรูพชื

ส่ิงท่ีจัดได้ว่าเป็นศัตรูพืช ได้แก่ โรค แมลง และวัชพืช ซ่ึงการปลูกผัก
ไฮโดรโปนิกส์มักพบปัญหาเกี่ยวกับโรคและแมลง ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของโรค
มากกวา่ แมลง การปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ สโ์ ดยเฉพาะในระบบปดิ ทมี่ กี ารใชส้ ารละลาย
ธาตอุ าหารหมนุ เวยี นอยตู่ ลอด หากเกดิ การระบาดของโรคจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย
ไปท้ังระบบ เน่ืองจากเชื้อโรคจะติดไปกับสารละลายธาตุอาหารและพืชต่างก็ดูด
สารละลายไปใชก้ จ็ ะทำ� ใหไ้ ดร้ บั เชอื้ ดว้ ยเชน่ กัน

การป้องกันก�ำจัดโรคในระบบการปลกู ผกั ไฮโดรโปนิกส์

1. ควรจัดการให้ระบบมีความปลอดเช้ือสาเหตุของโรคและศัตรูพืชอ่ืน ๆ
มากท่ีสุด รวมทั้งวัสดุปลูก อุปกรณ์ต่าง ๆ น�้ำ เมล็ดพันธุ์ควรเป็นเมล็ดพันธุ์ท่ีไม่มี
เชอื้ โรคปะปน
2. รกั ษาความสะอาดบริเวณท่ีปลูกพชื ให้สะอาดอย่ตู ลอด
3. ก่อนปลูกพืชรุ่นต่อไปต้องล้างท�ำความสะอาดอุปกรณ์ รางปลูก
ด้วยคลอรนี ทม่ี คี วามเขม้ ขน้ 5 มลิ ลิกรัมต่อลติ ร ไหลผา่ นเข้าไปในระบบเพอ่ื ฆา่ เชื้อโรค

การปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส์ 23

วทิ ยาการหลงั การเก็บเกยี่ ว

ผัก เป็นพืชท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกาย เนื่องจากผักมีคุณค่าทางอาหารและ
ชว่ ยในระบบการทำ� งานของลำ� ไส้ ผกั มคี วามบอบบางจงึ ทำ� ใหเ้ กดิ ความเสยี หายไดง้ า่ ย
โดยเฉพาะการสูญเสียท่ีเกดิ หลงั การเกบ็ เก่ียว ซ่ึงสาเหตุหลกั มาจากโรค โดยเฉพาะ
เชื้อแบคทีเรีย นอกจากน้ียังมีปัจจัยอ่ืน ๆ อีกท่ีท�ำให้เกิดความเสียหาย ได้แก่
การตัดแต่ง การบรรจุ การเกบ็ เก่ยี ว และการขนส่ง ฉะนนั้ จึงควรมีการจดั การหลัง
การเกบ็ เกยี่ วทถ่ี กู วธิ เี พอ่ื ปอ้ งกนั มใิ หเ้ กดิ การสญู เสยี กบั พชื ผกั เพอื่ ใหผ้ กั มคี ณุ ภาพทดี่ ี

ปจั จยั ที่เกย่ี วข้องกบั คุณภาพของพืชผัก

1. การสูญเสียน�้ำหนักเนื่องจากการคายน�้ำ ผักท่ีมีการคายน้�ำมาก

จะท�ำให้คุณภาพของผักเสียเร็ว ซึ่งอุณหภูมิมีผลต่อการคายน�้ำ ดังน้ันจึงควร
ลดอุณหภูมิของผักหลังการเก็บเกี่ยวลงโดยเก็บผักไว้ในท่ีร่มเย็น หรือท�ำการบรรจุ
โดยใช้พลาสติกหรอื กระดาษหุ้ม เพือ่ ช่วยลดการคายนำ้�

2. การหายใจมีผลต่อคุณภาพของผัก หากผักมีอัตราการหายใจสูง

จะท�ำให้อายุการเก็บรักษาส้ัน ดังนั้นจึงควรเก็บรักษาผักไว้ที่อุณหภูมิต�่ำเพ่ือลด
อัตราการหายใจของพืชผักให้ลดลง ส�ำหรับพืชผักผลไม้เมืองร้อนควรเก็บรักษา
ทอี่ ุณหภมู ิ 12-15 องศาเซลเซยี ส

3. การปฏบิ ัตหิ ลงั การเกบ็ เกี่ยว ไดแ้ ก่

3.1 การท�ำความสะอาด เก็บเศษดนิ หิน ตลอดจนตดั แต่งใบแก่และ
เสียออก เพอ่ื ไม่ใหเ้ ปน็ แหล่งสะสมของความร้อนและเชอื้ จลุ นิ ทรีย์
3.2 การคัดเลือกขนาด เพ่ือให้ได้ตรงกับมาตรฐานความต้องการ
ของตลาด ตลอดจนคัดผักท่ีมีการเข้าท�ำลายของเช้ือจุลินทรีย์ออก เพื่อป้องกัน
การสะสมของเช้อื ตา่ ง ๆ
3.3 ความร้อนจากแปลง ผักที่เพ่ิงเก็บจากแปลงโดยไม่มีการท�ำให้
เย็นก่อน จะท�ำเกิดความร้อนและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมอยู่สูง ท�ำให้เกิด
ความเสยี หายกับพชื ผลทเ่ี ก็บในทใี่ กลก้ นั

24 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

3.4 การใช้สารป้องกัน
ก�ำจัดเช้ือจุลินทรีย์ ที่อาจเกิดข้ึน
เนื่องจากเกิดบาดแผลหรือการปฏิบัติ
หลังการเก็บเก่ียวไม่ดี ท�ำให้จุลินทรีย์
สามารถเข้าท�ำลายผลิตผลได้ ในพืชผัก
น้ันความเสียหายส่วนใหญ่มาจากเชื้อ
แบคทเี รยี แตเ่ นื่องจากผักสว่ นใหญ่เปน็
ผักทน่ี �ำมารบั ประทานสด ไม่สามารถใช้ การเกบ็ เก่ยี วผลผลติ
สารปอ้ งกนั กำ� จดั แบคทเี รยี ได้ จงึ จำ� เปน็
ต้องใช้วิธีการอื่น เช่น ใช้พวกสารคลอรีนเพ่ือฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ระหว่างท�ำให้เย็น
(cooling) หรือใส่ในนำ้� ทีใ่ ช้ลา้ งท�ำความสะอาด
4. การบรรจุหีบห่อ (Packing) ในการขนส่งผักนั้นต้องบรรจุผักลงใน
ภาชนะเต็มพอดี ไม่อัดแน่นหรือหลวมเกินไป และควรระวังไม่ให้เกิดการกระแทก
หรอื ถกู กดทบั

การคดั เลือกขนาด

การบรรจผุ ลผลติ

การปลกู ผักไฮโดรโปนิกส์ 25

กหาลรังปกฏาิบรเตั กิเบ็ พเกอื่ ยี่ลวดความเสียหายของผัก

1. เทคโนโลยีการปลูก เริ่มจากการคัดเลือกพันธุ์ท่ีดีและมีคุณภาพ

มาเพาะปลูก การเตรียมดิน การให้น้�ำ การใส่ปุ๋ย การป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชอย่าง
ถูกวิธี เพ่อื ให้ได้ผลผลิตทม่ี ีคณุ ภาพ

2. เกบ็ เกยี่ วผกั ทีม่ คี ณุ ภาพและขนาดตามความต้องการของตลาด

หลังการตัดควรเก็บไว้ในภาชนะท่ีมีการระบายอากาศดี สะดวกต่อการขนย้าย
ระหว่างการตัดแต่งและการท�ำความสะอาดควรท�ำในที่ร่มเพื่อป้องกันการระเหย
ของน้�ำ ในการเก็บเก่ียวต้องระวังให้พืชเกิดบาดแผลให้น้อยที่สุดเพื่อป้องกัน
ความเสยี หายทเี่ กิดข้นึ

3. ภาชนะท่ีบรรจุ เลือกวัสดุให้ตรงกับความต้องการของตลาดทั้งในรูป

ของการขายสง่ และขายปลกี การวางจำ� หนา่ ยในห้างสรรพสนิ ค้าตลอดจนสง่ ออกไป
จำ� หน่ายยังต่างประเทศ

4. ในระหว่างการเก็บรักษาเพ่ือรอการขนส่ง ควรเก็บไว้ในที่ร่มมี

การถ่ายเทอากาศดี เพื่อไม่ให้ผักที่เก็บเก่ียวมาเกิดความร้อนสะสม ซึ่งจะท�ำให้
ผกั เห่ยี วเฉา

5. ผกั ทตี่ อ้ งการจำ� หนา่ ยไปยงั ตา่ งประเทศ ควรเกบ็ ไวใ้ นทเ่ี ยน็ เพอื่ ยดื

อายกุ ารวางจำ� หนา่ ยใหน้ านขน้ึ พาหนะในการขนสง่ ควรใชพ้ าหนะทสี่ ามารถทำ� ความ
เยน็ ไดแ้ ละควรเปดิ ใหเ้ ยน็ กอ่ นขนยา้ ยผกั เพอ่ื ใหผ้ กั ไดร้ บั ความเยน็ อยา่ งสมำ่� เสมอและ
เพยี งพอ

6. การเคลอื บผวิ ผกั บางชนดิ ทมี่ กี ารคายนำ้� สงู

ท�ำให้ผิวเกิดการเห่ียวย่นและสูญเสียน�้ำหนัก
ได้ง่าย การเคลือบผิวด้วยสารเคลือบผิว
จ ะ ท� ำ ใ ห ้ ไ ม ่ สู ญ เ สี ย น้� ำ ห นั ก แ ล ะ ดู
น่ารับประทานยิง่ ขึ้น เชน่ พริกหวาน
มะเขอื เทศ เป็นตน้

26 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

7. การใช้อุณหภูมิและความช้ืนสัมพัทธ์ท่ีเหมาะสม ผักแต่ละชนิด

ต้องการอุณหภูมิในการเก็บรักษาต่างกัน ความช้ืนสัมพัทธ์ในการเก็บรักษาผักมี
ความส�ำคัญส�ำหรับการรักษาคุณภาพของผัก ซ่ึงผักส่วนใหญ่จะเก็บในท่ีมี
ความชืน้ สมั พทั ธ์ 95-100% ยกเว้นผักบางชนิดทไ่ี ม่ควรเก็บในทมี่ คี วามช้ืนสมั พัทธ์
เกิน 65-70% ได้แก่ หอม กระเทียม

การตลาดของการปลกู ผักไฮโดรโปนิกส์

ในปจั จบุ นั ประชาชนใหค้ วามสนใจกบั การปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ สเ์ พม่ิ มากขนึ้
และในการท�ำธุรกิจน้ีส่วนใหญ่จะนิยมปลูกผักกินใบมากกว่า เนื่องจากมีอายุ
การเก็บเก่ียวสัน้ สามารถทำ� รอบการผลติ ไดบ้ อ่ ยครงั้ และงา่ ยต่อการดูแลรกั ษา
ผลผลิตของผักที่ได้จากปลูกผักไฮโดรโปนิกส์จะสังเกตได้ง่ายคือ ผลผลิต
จะมีรากและวัสดุปลูกติดมาด้วย สังเกตได้ว่าถ้ารากพืชยาวและขาว แสดงว่าพืช
มีการเจรญิ เติบโตที่ดี ผลผลติ สว่ นใหญ่จะบรรจุอยู่ในถงุ พลาสตกิ ใส เพือ่ ให้สามารถ
เหน็ รูปร่างของผลผลิต
การตลาดส่วนใหญ่ของพืชที่ปลูกในระบบนี้มีท้ังท่ีจ�ำหน่ายหน้าสวนตัวเอง
มีพ่อค้าคนกลางมารับและมีการขายส่งไปแหล่งต่าง ๆ เช่น โรงแรม ภัตตาคาร
รา้ นอาหาร ตลาดกลางและหา้ งสรรพสนิ คา้ ซงึ่ ตลาดของผกั ทป่ี ลกู โดยผกั ไฮโดรโปนกิ ส์
ก�ำลังขยายตัวไปได้ดี เน่ืองจากผักที่ปลูกในระบบน้ีจัดได้ว่ามีความปลอดภัยจาก
สารเคมี ผบู้ ริโภคจึงนยิ มบริโภคกันมากขน้ึ

การปลกู ผกั ไฮโดรโปนิกส์ 27

เอกสารอ้างอิง

ขนษิ ฐา พงษ์ปรีชา. 2544. การปลกู พืชผกั ระบบไฮโดรโปนกิ ส.์ สำ� นักงานสง่ เสริม
การเกษตรภาคตะวันตก. จ.ราชบรุ .ี

บรษิ ทั เอซเี ค ไฮโดรฟารม์ จำ� กดั . คมู่ อื อบรม “เรยี นรเู้ ทคนคิ กบั ไฮโดรโปนกิ สแ์ บบ
มืออาชพี ” ครงั้ ท่ี 2. กรุงเทพฯ.

ดเิ รก ทองอร่าม. 2546. การปลูกพืชโดยไมใ่ ช้ดนิ . ธรรมรกั ษก์ ารพิมพ.์ ราชบุร.ี
ดิเรก ทองอร่าม และ อิทธิสุนทร นันทกิจ. การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเชิงธุรกิจใน

ประเทศไทย. สาขาวชิ าสง่ เสรมิ การเกษตรและสหกรณแ์ ละสำ� นกั การศกึ ษา
ตอ่ เนือ่ ง มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช. กรงุ เทพฯ.
ถวัลย์ พัฒนเสถยี รพงศ.์ 2534. ปลูกพืชโดยไมใ่ ช้ดิน. โรงพิมพพ์ รานนกการพมิ พ์.
กรงุ เทพฯ.

28 กรมสง่ เสริมการเกษตร

เอกสารคำ� แนะนำ� ท่ี 5/2558
การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

ทีป่ รึกษา อธิบดีกรมส่งเสรมิ การเกษตร
นายโอฬาร พทิ กั ษ ์ รองอธิบดีกรมส่งเสรมิ การเกษตร ฝ่ายบรหิ าร
นายสรุ พล จารพุ งศ์ รองอธิบดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร ฝ่ายวชิ าการ
นายไพรัช หวงั ด ี รองอธบิ ดีกรมสง่ เสรมิ การเกษตร ฝา่ ยสง่ เสรมิ และฝกึ อบรม
นายสงกรานต์ ภักดีคง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพัฒนาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี
นางสุกัญญา อธปิ อนนั ต์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั สง่ เสรมิ และจัดการสนิ ค้าเกษตร
นางอรสา ดสิ ถาพร

เรยี บเรียง
นางสาวจริ าภา จอมไธสง ผูอ้ ำ� นวยการกลุ่มส่งเสรมิ พชื ผกั และเห็ด
นายอภิรกั ษ์ หลักชัยกุล นกั วิชาการเกษตรชำ� นาญการพิเศษ
นางสาวรงุ่ นภา โบวิเชียร นกั วิชาการเกษตรปฏิบัติการ
กลมุ่ ส่งเสริมพืชผกั และเห็ด
สำ� นกั ส่งเสรมิ และจัดการสนิ ค้าเกษตร
กรมส่งเสรมิ การเกษตร

จดั ทำ�
นางอมรทพิ ย์ ภริ มยบ์ ูรณ์ ผอู้ �ำนวยการกลุ่มพฒั นาส่อื สง่ เสริมการเกษตร
นางอบุ ลวรรณ อารยพงศ ์ นักวิชาการเผยแพรช่ ำ� นาญการ
นางสาวอำ� ไพพงษ์ เกาะเทียน นักวิชาการเผยแพร่ช�ำนาญการ
กล่มุ พฒั นาส่ือส่งเสริมการเกษตร
ส�ำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร


Click to View FlipBook Version