The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การปลูกผักบนพื้นที่สูง

การปลูกผักบนพื้น

Keywords: การปลูกผักบนพื้นที่สูง

การปลกู ผกั บนพน้ื ทสี่ งู

การใหปุย
ประมาณ 7 – 10 วนั หลงั จากยา ยปลกู ใส

ปยุ 15 – 15 – 15 และ 46 – 0 – 0 อัตรา 1 : 2 ปริมาณ
20 – 30 กรมั /ตารางเมตร การใสป ยุ ครัง้ ท่ี 2 หา งจาก
คร้ังแรก 15 วัน ใสปุย 13 – 13 – 21 อัตรา 20 – 25
กรัม/ตารางเมตร การใสป ยุ ใชวิธีขดี รองรอบตนลกึ
2 – 3 เซนตเิ มตร โรยปยุ ลงรองกลบดินแลวรดนา้ํ
ทําการกําจัดวัชพืช พรอมกับการใสปุยทุกครั้ง หากพืช
แสดงอาการออ นแอ หรอื ขาดธาตใุ หฉ ดี พน ธาตอุ าหารเสรมิ

ขอควรระวัง

1. เวลาพูนดินโคนตน ระวังอยา ใหใบหกั
และรากขาด

2. ควรยา ยกลา ตามกาํ หนดเวลา หากลา ชา
หัวจะแคระแกรน

3. ควรใหน ํ้าอยา งสมํา่ เสมอ ปองกนั การ
แตกของหัว

4. เม่อื พชื เรม่ิ สรา งหวั ใหฉดี พนโบรอน
ทุก 7 วนั

การเกบ็ เกย่ี ว
ควรเกบ็ เกยี่ วเมอื่ ผลสเี ขยี วออ น ผลไมแ กจ นเกนิ ไป

คณุ คาทางโภชนาการ
ใหค ณุ คา ทางอาหารและวติ ามนิ สงู โดยเฉพาะวติ ามนิ เอและเกลอื แรต า ง ๆ

การใชประโยชน
สว นทใี่ ชป ระโยชนไดแก สวนของลาํ ตน ทีมลี ักษณะเปนปมสะสม

อาหาร และใบออ น โดยสว นของลําตน สามารถรับประทานสดในสลดั หรอื นําไป
ประกอบอาหารชนิดตา ง ๆ เชน ผดั นา้ํ มันหอย ตมจับฉาย ตม ซุป
ผัดกับเน้ือสัตว อาหารทะเล หรือผดั ใสไข หรือนํามาใชแ ทน
มะละกอในสมตาํ ใบออนสามารถนํามาตม หรือผัดนํา้ มันหอย

49

กลุมส่อื สง เสริมการเกษตร สาํ นักพัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร E-mail : [email protected]

การปลูกผักบนพ้นื ทีส่ งู

พริกหวาน ( Sweet peper )

ชอ่ื วิทยาศาสตร Capsicum annum
พนั ธทุ ่ีนิยมปลกู สีแดง : สปาตาคลั ,โทคอล , มายาตา
สีเหลือง : เครวนิ โกลเฟรม

การปลูกพริกหวานในโรงเรอื นโดยระบบ Sub Strate Culture เปน
การปลูกที่ไมใชดนิ เปนวสั ดปุ ลูก การปลูกและการดแู ลรักษาจะแตกตา งจากการ
ปลูกในดนิ หรอื ในทโี่ ลง แจง ทัง้ นเ้ี พอื่ หลีกเล่ียงการระบาดของโรคและแมลง
อกี ทง้ั ยงั สามารถควบคมุ สภาพแวดลอ มตา ง ๆ ได ภายในโรงเรือน

พรกิ หวาน ตอ งการสภาพอากาศอบอนุ ความชน้ื ในอากาศต่าํ
อณุ หภมู ทิ เี่ หมาะสม 21 – 26゚C ถา อณุ หภูมกิ ลางวนั สงู กวา 32゚C จะทําให
ดอกรวง การปลูกในอุณหภมู ิ 10 – 15゚C จะจาํ กดั การเจรญิ เติบโตและการเจรญิ
ของตาดอก ในสภาพทม่ี ีอณุ หภูมิสูงและความชื้นในอากาศตํ่า จะทาํ ใหอัตราการ
คายน้ําของพชื สูง เปนผลใหพ ืชขาดนํ้า พืชจะชะงักการเจริญหรอื เปน สาเหตใุ ห
ใบ ดอก และผลรวง ในสภาพอุณหภมู ิ 10 – 21゚C ผลจะนม่ิ และเหยี่ วเรว็

50

กลมุ สื่อสง เสริมการเกษตร สาํ นักพฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสรมิ การเกษตร E-mail : [email protected]

การปลูกผกั บนพน้ื ทีส่ งู

การเลือกสายพันธุ
สายพันธพุ รกิ หวานทป่ี ลูกไดดใี นโรงเรอื นโดยระบบ Sub Strate

เปนสายพันธุทอดยอดหรือขน้ึ คาง ( Indeterminate type ) สวนใหญเ ปน พนั ธุ
ลูกผสมจากประเทศเนเธอรแ ลนด

วสั ดุอุปกรณท่ีจําเปน ในการปลูกพชื โดยระบบ Sub Strate
1. โรงเรอื น เปนสงิ่ จําเปนในการผลิตพืชในระบบนี้ เพื่อท่ีสามารถ

ควบคุมสภาพแวดลอ มที่เกดิ ตามธรรมชาติได โดยเฉพาะ ลม ฝน และการรบกวน
จากโรคและแมลงศตั รพู ืช

2. ระบบการใหน้าํ และปุย

• ปม น้ํา เปน อปุ กรณสาํ คัญในการใหน าํ้ โดยระบบนาํ้ หยดเพือ่

เพ่ิมแรงดันนาํ้ และทนการกดั กรอ นของเกลอื หรือกรด

• หัวนาํ้ หยด แบบเสยี บ

• ถงั ผสมปยุ

• เครอ่ื งกรองนาํ้

• เกจวดั แรงดนั นาํ้

• เครือ่ งมอื วัด EC meter และ pH meter เปน

อปุ กรณส ําคญั ในการทําระบบนํ้า

51

กลุมสื่อสง เสริมการเกษตร สาํ นักพฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสรมิ การเกษตร E-mail : [email protected]

การปลูกผกั บนพน้ื ท่ีสงู

3. วัสดุอุปกรณในการปลูก
• วัสดุปลกู เชน กาบมะพรา ว , มเี ดยี , ขยุ มะพราว , ใยมะพรา ว
• เชอื กฝา ยพยงุ ลําตน , ลวด
• ถงุ พลาสตกิ ขนาด 12 น้วิ และ 3 x 6 นว้ิ

4. ธาตอุ าหารพชื นับเปนหวั ใจของการปลูกพชื ปจ จุบนั มกี ารคิดคน
สูตรอาหารสําหรับปลูกพชื มากมาย แตการเลือกใชสูตรขึ้นอยูกบั ชนดิ พชื ฤดปู ลกู
สถานที่ปลูก

5. พันธพุ ชื ทปี่ ลูก ควรเปน พนั ธทุ ่ีตลาดตอ งการและมีผลผลิตสูง
6. นา้ํ ควรเปนน้าํ สะอาด ปริมาณและคุณภาพตองดี
7. กรดไนตรกิ ใชป รบั คา ความเปน กรด เปน ดา ง ของนา้ํ สาํ หรบั ทเี่ ปน ดา งสงู

การเพาะกลา พริกหวาน
เพาะเมล็ดในถาดเพาะ ใชว สั ดุเพาะสําเร็จหรอื มเี ดยี เมื่อตนกลา

พรกิ หวานงอกได 1 อาทิตย ทาํ การยา ยกลาลงปลกู ในถุงขนาด 3 x 6 นว้ิ โดยใช
วสั ดปุ ลูก คือ ขุยมะพราว 2 สว น มีเดยี 1 สว นผสมรวมกัน แลว ยา ยกลาลงปลูก
2 ตน ตอ 1 ถงุ เม่ือปลกู เสร็จรดนํ้าเปลา 2 วัน วันท่ี 3 รดนํ้าผสมปุย โดยคา ความ
เคม็ ของปยุ คือ EC 1.5 pH 5.5 ถงึ EC 1.8 หลงั จากรดปยุ ได 1 อาทติ ย ควรงด
นํ้า2 วัน เพ่ือใหต น กลาแขง็ แรงกอนนาํ ไปปลูกลงถุงใหญตอไป

52

กลมุ สอ่ื สง เสรมิ การเกษตร สํานักพัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสรมิ การเกษตร E-mail : [email protected]

การปลกู ผกั บนพืน้ ท่สี งู

การปลูก
ใชถ ุงขาวนมไมมีรูขนาด 1 นวิ้ ใสกาบมะพราวสบั ใหเ ต็มระหวางใส

กาบมะพราวสบั อยา ใหถงุ มีรอยรั่ว เพราะจะทําใหน าํ้ ซึมออก จากนัน้ นํามาเรยี งให
เปน แถวในโรงเรือน ระยะหางระหวางแถว 1 เมตร ระหวางตน 50 เซนตเิ มตร นํา
หวั นํา้ หยดเสยี บลงถงุ กอ นปลกู 2 วนั ปลอ ยน้ําพรอ มปยุ EC 1.9 มาตามสายนํา้ หยด
ลงในถงุ ทเ่ี ตรยี มไว ใหน ํ้าแชก าบมะพรา วประมาณ ¾ ของถงุ ทง้ิ ไว 2 คนื กอ นปลกู
พรกิ หวานใชไ มเ จาะขางถุงใหหา งจากพน้ื ขึ้นมา 2 น้ิวไมควรใหส งู เกนิ 2 น้ิว และ
ไมต ่ํากวา 2 น้ิว เพราะถา เจาะถุงสงู เกินไป ตน พริกไดร บั นํ้าปยุ มากเกินไป ทําให
ลําตน อวบเปราะ ไมแขง็ แรง แตถ าเจาะตํา่ เกินไป ตน พรกิ จะขาดปยุ ในชว งตดิ ดอก
ออกผลและจะทําใหส ูญเสียปุย สาํ หรบั มะเขอื เทศ ใหเ จาะรปู ระมาณ 3 นวิ้
เนอ่ื งจากมะเขอื เทศตอ งการนา้ํ มากกวา พรกิ หวาน ถา ขาดนาํ้ จะแสดงอาการเหีย่ วให
เหน็ ทนั ที

53

กลมุ ส่ือสงเสริมการเกษตร สาํ นกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร E-mail : [email protected]

การปลูกผักบนพนื้ ทส่ี งู

การเตรยี มปยุ
การเตรียมสารละลายธาตอุ าหารแบบ

เขม ขน ผเู ตรียมจะตองจัดหาและเตรยี มแมปยุ เคมี
พรอ มทั้งวัสดุอุปกรณเ พอื่ ใชผสม ในการผสมจะแบง
ปยุ ทจ่ี ะผสมออกเปน 2 ถงั คือ ถัง A และ ถงั B
แตละถังจะประกอบดวย

ถงั A ถัง B

แมปุยเคมีท่ผี สมในถังนี้คอื แมป ุย เคมีท่ผี สมในถงั นีค้ ือ
• แคลเซียมไนเตรท • โพแทสเซียมไนเตรท
( 15.5 – 0 – 0 ) • แมกนเี ซยี มซลั เฟต
• โพแทสเซียมไนเตรท • โมโนโพแทสเซียมฟอสเฟต
( 13 – 0 – 46 ) • โบรอน
• เหล็กดเี ล็ต • ซิงคซัลเฟต
• คอปเปอรซลั เฟต
• โตเดียมโมลิปเดต
• แมงกานีสซัลเฟต

การใหปุย แตละครงั้ จะใชแ มป ุย ทีเ่ ตรยี มไวใน ถัง A และ ถัง B
อัตราสวน 1 : 1 ใสลงในถงั ผสมขนาด 1,000 ลิตร จากน้นั ใชเครือ่ งวัด EC วัดคา
และคาความเปนกรด เปน ดาง ใหไดคา เทากับ 5.5 ถาคา ความเปนกรด เปนดาง
สูงเกนิ ไปใหใชกรดไนตริกปรบั การใหปุยใหนํา้ แตล ะครั้งขนึ้ อยูกับ
สภาพอากาศ แตตอ งใหไมตํา่ กวา วนั ละ 3 คร้งั เชน อากาศครึ้มฝน
ใหป ยุ เชาและบาย แตถา แดดออก อากาศคอนขางรอ นใหปยุ วันละ
4 – 5 คร้งั

54

กลมุ สอ่ื สง เสรมิ การเกษตร สาํ นกั พฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสรมิ การเกษตร E-mail : [email protected]

การปลกู ผักบนพื้นทส่ี งู

การใชเ ชือกพยงุ ลําตน
เน่ืองจากพรกิ หวานทปี่ ลูกเปน พันธทุ มี่ ลี ําตนเลอื้ ยสงู จึงมกี ารใช

เชอื กพยงุ ลําตน ใหต ้ังตรง การผูกจะใชว ิธีผกู ตดิ กบั ลวดทขี่ ึงบนหลงั คา ดงึ ลําตน
ใหตัง้ ตรงแลว คอยพนั เชอื กขน้ึ ตามความสูงของตน เพอื่ ปอ งกนั ตนลม เชือกท่ี
นยิ มใชไดแกเชอื กฝายสขี าว

การตัดแตง กงิ่ และการปลิดผล
การปลูกพรกิ ในระบบนี้จะไวจ ํานวนกิง่ ตอตน 2 ก่งิ ในหน่งึ ถุงจะมี

2 ตน 4 ก่ิง การไวต น ละ 2 กิ่ง จะทาํ ใหไดปริมาณผลผลติ มากขึ้น การปลดิ ผลจะ
ปลดิ ผลที่มีรปู ทรง บิดเบีย้ ว มแี มลงกดั กินและมปี ริมาณผลเบียดเสยี ดกันมาก
เกนิ ไปออก การไวจ าํ นวนผลมาก จะทําใหไ ดค ณุ ภาพของผลผลติ ตา่ํ มขี นาดเลก็ และ
แยง อาหารกนั
การเกบ็ เก่ียว

พรกิ หวานพนั ธสุ เี ขยี วสามารถเก็บเกี่ยวไดเมอื่ อายุ 65 – 70 วัน
หลงั จากยา ยกลาปลกู ผลมีขนาดเสนผา ศูนยกลาง 4 – 5 เซนตเิ มตร
และมสี ีเขม สังเกตผลมผี ิวเรียบและแขง็ สําหรับพันธุสีแดงและ
สีเหลืองเกบ็ เกี่ยวเม่ือผลเริ่มมีสีไดม ากกวา 70 – 80 % โดยใช

55

กลมุ สอ่ื สง เสรมิ การเกษตร สาํ นักพฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร E-mail : [email protected]

การปลกู ผักบนพื้นท่ีสงู

กรรไกรตดั แลว คดั เกรดหอ ดว ยกระดาษบรรจลุ งตะกรา พลาสติก ไมควรบรรจุแนน
เกนิ ไป ทาํ ใหผลช้ําเสียหายขณะขนสงได

คณุ คา ทางโภชนาการ
พริกหวานมีคณุ คา ทางวติ ามนิ เอ บี 1 บี 2 และซี มีสารแคบไซซนิ

ชวยยบั ยั้งอนุมูลอสิ ระ ลดความเสี่ยงของการเปนโรคหลอดเลอื ด โรคตอ กระจก
การใชป ระโยชน

พรกิ หวานมีรปู ทรงเปนสี่เหลี่ยมถึงหกเหล่ียม เนือ้ หนา มีหลายสีทงั้
เขยี ว แดง เหลอื ง สม และสชี อ็ กโกเลต มีรสชาตหิ วาน ไมเ ผด็ สามารถรบั ประทาน
สดในสลัด ชุบแปง ทอด สอดไสก ับเน้อื สัตวบดแลว อบ หรือนํามาผัดกับชนิดตางๆ
ใหส สี นั นา รบั ประทาน

56

กลมุ สอื่ สง เสริมการเกษตร สํานกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสรมิ การเกษตร E-mail : [email protected]

การปลูกผกั บนพ้นื ท่ีสงู

พรกิ กะเหรย่ี ง ( Phrik Kariang )

ช่อื ทางวิทยาศาสตร Capsicum spp.
พรกิ กะเหรี่ยง เปน พืชที่อยใู นวงศ Solanaceae เปนพริกท่ชี าวไทย

ภเู ขานิยมปลูกกันมาก สามารถปลกู ไดทวั่ ไปบนพนื้ ทีส่ งู การผลติ ไมจ ําเปนตอ งใช
สารเคมีเนื่องจากศัตรูทางธรรมชาตมิ นี อย นอกจากนต้ี ลาดยงั มีความตอ งการสงู
พรกิ กะเหรี่ยงมลี กั ษณะเดน คือ มีความทนทานตอ สภาพแวดลอม โรคและแมลง
มีปริมาณผลผลิตสูงและใหผ ลผลติ ตดิ ตอกันเปน ระยะเวลานาน 1 – 3 ป มีความ
เผ็ดมากและมกี ล่นิ หอม เปน ท่ีตองการของโรงงานแปรรปู ตาง ๆ
พันธพุ ริกกะเหรี่ยง

1. ชนิดผลเล็ก จะมีขนาดผลเรียวละยาวกวาพริกขหี้ นูเลก็ นอ ย
เม่ือผลยงั ดิบอยจู ะมีสีเขียวเขมและสกุ แดงเมอื่ แกจดั

2. ชนิดผลใหญ ผลจะมีขนาดใหญกวา เน้ือหนา
ผวิ หนา สีของผลเมอื่ ดบิ มีทง้ั เปนสเี ขยี วอมเหลอื งออน เริม่ สกุ จะ
เปล่ียนเปนสีสม แตเมือ่ สกุ เต็มท่จี ะมีสีแดงเขม สสี ดเปนมัน

57

กลมุ สอื่ สงเสริมการเกษตร สาํ นกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร E-mail : [email protected]

การปลกู ผักบนพื้นทีส่ งู

การเตรียมเมล็ดและตนกลา กอนปลูก
นําเมลด็ แชนํา้ ท้ิงไว 1 คืน หรือนาํ มาหอ ใน

ผา ขาวบางหมาด ๆเกบ็ ไวป ระมาณ 2 – 3 วนั จนมตี มุ ราก
สขี าวเลก็ ๆ นาํ ไปเพาะในกระบะ โดยใชวัสดุปลูก คือ
ดินละเอียด : ทราย : ขเี้ ถา แกลบ อัตรา 1 : 1 : 1
คลกุ เคลา ใหเ ขากนั แลวนําเมล็ดพริกลงปลูกในกระบะ
เพาะละ 1 เมล็ด หรือทาํ การเพาะกลาในแปลง โดยโรยเปน
แถวหางกันประมาณ 3 นิ้ว กลบหนาดินประมาณ
1 เซนตเิ มตร หลังเพาะนาน 7 – 10 วนั จะเรม่ิ งอก
หมนั่ รดนํา้ ใหชมุ อยเู สมอ อยา ปลอยใหแหง จนกระท่งั
ตน กลา เจรญิ เตบิ โตมีใบประมาณ 3 – 4 คู หรอื ตน กลา
มอี ายุประมาณ 30 วัน สามารถนําไปปลูกในแปลงปลกู

การปลูก
การปลกู ควรมกี ารรองกนหลุมดวยปุยคอกหรือปุยหมัก อัตรา

800 – 1,000 กิโลกรัม/ไร ผสมกับเช้ือราไตรโคเดอรมา อัตรา 80 – 160
กิโลกรัม/ไร โดยใน 1 ไร ใชต น กลา พนั ธุ จาํ นวน 2,500 – 3,000 ตน /ไร
ใชระยะปลูก 80 x 80 เซนติเมตร

58

กลุมส่อื สง เสรมิ การเกษตร สํานกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร E-mail : [email protected]

การปลูกผักบนพ้นื ท่ีสงู

การใหน้าํ
ใหน ้ําทกุ วนั อยา งสม่าํ เสมอ แตอ ยา ใหน ้าํ ขงั แปลงเพราะจะทําใหร ากเนา

การใหป ยุ
การใหป ยุ ใชป ยุ หมกั หรอื ปยุ คอก ไมน ยิ มใสป ยุ วทิ ยาศาสตร เนอ่ื งจาก

ทาํ ใหร สชาตขิ องพรกิ กะเหรย่ี งเปลย่ี นไป

การเกบ็ เกย่ี วผลผลติ
หลงั ยา ยปลกู ประมาณ 60 วัน

พรกิ กะเหรี่ยงเรม่ิ ทยอยออกลูก และสามารถ
เกบ็ ผลผลิตได โดยเลอื กเกบ็ เมล็ดทม่ี ีสีเขยี ว
เขม ถึงแดง เพือ่ รบั ประทานสด เก็บเมล็ดทม่ี สี ี
แดงสดเพ่ือใชในการแปรรปู

คณุ คา ทางโภชนาการ
พรกิ ประกอบดว ย วติ ามนิ เอ กรดแอสคอรบ คิ ฟอสฟอรสั โปแตสเซยี่ ม

และแคลเซย่ี มสงู สารทที่ าํ ใหเ กดิ รสชาตแิ ละความเผด็ ของพรกิ
คอื capsaicin ซง่ึ มปี รมิ าณสงู ในเมลด็ ชว ยเพมิ่ อตั ราการเตน
ของหวั ใจ เพมิ่ อตั ราการหายใจ เพมิ่ นํ้าลาย แกป วดฟน
การปลอ ยใหผ ลสกุ บนตน จะชว ยเพม่ิ วติ ามนิ เอ และวติ ามนิ ซี
พรกิ ปน สแี ดง ปรมิ าณ 1 ชอ นชา ใหว ติ ามนิ เอ 26 % พรกิ สแี ดง
มวี ติ ามนิ ซสี งู กวา สเี ขยี ว 10 เทา

การใชป ระโยชน

1. รบั ประทานสด ใชเ ปน สว นประกอบในการปรงุ
อาหารเพอ่ื เพม่ิ รสชาติ

2. ตลาดแปรรปู ในอตุ สาหกรรมอาหารไมว า จะเปน ซอสพรกิ เผา นา้ํ จม้ิ ตา ง ๆ
3. การถนอมอาหาร เชน การตากแหง หรอื ทาํ พรกิ

59

กลมุ สื่อสง เสรมิ การเกษตร สาํ นักพฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร E-mail : [email protected]

การปลูกผักบนพ้ืนทสี่ งู

พารสเลย ( Parsley )

ชื่อวทิ ยาศาสตร Petroselinum cripum
พารส เลย เปนพชื อายยุ าว ทรงตน ลักษณะเปน กอ ใบจะเปนหยกั ๆ

มีกา นใบยาวประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร ในสว นของกา นใบจะมขี อ 2 – 3 ขอ
และมกี านใบยอ ยเกดิ ข้นึ ตรงขอ และตรงกา นใบยอ ยนี้จะมใี บยอ ยแตกแขนง
ออกไปอีกซง่ึ ถา มองดูเผนิ ๆ จะเหมอื นตนผกั ชีไทย ใหผ ลผลติ ตลอดป ถามกี าร
จดั การดี พารสเลยเปน พชื ทต่ี องการน้าํ ตลอดฤดปู ลูก แตไมควรมีนํ้าขงั หรอื มี
ความช้นื สงู ชอบดินที่อุดมสมบูรณ แสงแดดในชวงเชา ชอบสภาพอากาศเย็น
อุณหภูมิอยูระหวาง 18 – 25 °C ความเปนกรดเปน ดา งของดินทเี่ หมาะสม
5.5 – 6.8 สามารถเร่ิมเพาะในท่ีรมหรอื กลางแจง แตมีขอ แนะนาํ วา ใหเ พาะเมล็ด
ในทร่ี มกอนทจี่ ะยายไปปลกู กลางแจง โดยการเพาะเมล็ดควรใหด ินเพาะกลามี
ความชนื้ ตลอดเวลา เพอ่ื ชว ยใหเมลด็ งอก ถาปลกู พารส เลยใกลกหุ ลาบ
หนอไมฝ ร่ัง และมะเขือเทศจะชวยปอ งกันแมลงเขาทําลายได

60

กลุมสือ่ สง เสรมิ การเกษตร สาํ นักพฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร E-mail : [email protected]

การปลกู ผักบนพื้นทส่ี งู

การเตรียมดนิ
แบงออกไดเปนสามสวนคอื
1. การเตรียมแปลงเพาะปลกู
2. การเตรยี มดินถงุ เพ่อื ยา ยกลา ชาํ
3. การเตรยี มแปลงปลูก

การเตรยี มแปลงเพาะกลา
ใหทาํ การขุดพลิกดนิ แลวตากแดดไว 7 – 15 วนั จากน้ันหวา น

ปนู ขาวและใสปยุ คอก (มูลไก) ในอตั ราปุยคอก 300 กรัม ตอ พ้ืนที่ 1 ตารางเมตร
แลว คลกุ เคลา ใหเขากัน เกลี่ยหนา ดินใหเรยี บ จากนน้ั จึงหวานเมลด็ ลงบนแปลง
แลวใชดนิ ละเอยี ดกลบบาง ๆ หรอื การเพาะกลา สามารถทาํ ไดใ นกระบะเพาะ

การเตรียมดนิ ลงถุงเพอ่ื ยายกลา ชํา
ใชดินรว นผสมกบั มลู ไกอตั รา 2 ตอ 1 คลุกเคลาใหเขากนั แลว นาํ มา

กรอกลงถงุ พลาสตกิ ขนาด 4 x 6
การเตรยี มแปลงปลกู

หวานปูนขาว แลวขุดดินตากแดดทงิ้ ไว 7 – 15 วนั ใชปุย คอก อัตรา
300 กรมั /ตารางเมตร คลุกเคลาใหท ั่วแปลง
วธิ กี ารปลกู

การใหนาํ้ มคี วามสาํ คัญอยา งย่ิง ควรใหน ้ําในแปลง
อยางสมํา่ เสมอ โดยเฉพาะในชวงที่ปลูกแปลงในสปั ดาหแรก เพ่ือ
ชวยใหต น กลา ตง้ั ตัวไดเร็วขึ้น

61

กลุมสื่อสงเสรมิ การเกษตร สํานักพฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสรมิ การเกษตร E-mail : [email protected]

การปลูกผักบนพ้นื ทสี่ งู

การใสป ยุ
ปยุ ทแ่ี นะนําใหใ ชก บั พารส เลย คอื ปยุ สตู ร

46 – 0 – 0 ผสม 15 – 15 – 15 ในอตั ราสว น 1 : 2 ปรมิ าณ
50 – 100 กโิ ลกรมั /ไร หลงั จากยา ยปลกู ประมาณ7 – 14 วนั
โรยปยุ เปน รอ งลกึ 2 – 3 เซนตเิ มตร กลบดนิ แลว รดน้ําอกี
ประมาณ 2 สปั ดาห ใหป ยุ สตู ร 15 – 15 – 15 สลบั กบั ปยุ
สตู ร 13 – 13 –21 ทกุ ๆ 2 สปั ดาห

การเกบ็ เกย่ี ว
เรมิ่ เกบ็ เกย่ี วครงั้ แรกหลงั จากปลกู แลว 60 – 80 วนั การเกบ็ จะปลดิ กา นใบ

โดยปลดิ กา นทอี่ ยดู า นนอกกอ นในการเกบ็ เกย่ี วแตล ะครงั้ จะเหลอื กา นใบไว 2 – 3 ใบ ตอ
หนงึ่ ตน หลงั จากเกบ็ ครงั้ แรกแลว ประมาณ 15 – 20 วนั ตน พารส เลยจ ะแตกใบขน้ึ มาใหม

ใหท าํ การเกบ็ ครงั้ ท่ี 2,3,4 ไปเรอื่ ย ๆ โดยจะเกบ็ ทกุ
15 – 20 วนั ใน 1 รนุ จะเกบ็ เกยี่ วได 1 – 2 ป ขน้ึ อยู
กบั การดแู ลรกั ษา

การใชป ระโยชน
การตกแตง จานอาหารและจานสลดั ใชก บั อาหารประเภทยํา ชบุ แปง ทอด

หรอื รบั ประทานสด ๆ นอกจากน้ี ยงั ใชใ บพารส เลยส ดมาเคย้ี ว ทาํ ใหล มหายใจสดชน่ื และ
ชว ยดบั กลน่ิ ตกคา ง เชน กระเทยี ม นอกจากนใี้ บพารส เลย ยงั มวี ติ ามนิ และธาตเุ หลก็
ในปรมิ าณพอสมควร

62

กลมุ ส่อื สงเสรมิ การเกษตร สํานกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสรมิ การเกษตร E-mail : [email protected]

การปลกู ผกั บนพื้นทสี่ งู

ซกู นิ ี ( Zucchini )

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Cucurbita pepo L.Var.
Cylindica Pans

พนั ธุท นี่ ยิ มปลกู สีเขียวเขม : Am bassador.
Aristocrat, Black Jack

สเี ขียวออน : Embassy. Spineless
Beauty.

สีเหลือง : Gold Rush, Golden
Drown ll and lll,
Gold finger.

ซูกินี เปน กลมุ พืชตระกลู แตง มีถนิ่ กาํ เนิดอยูแ ถบเม็กซโิ ก เปน พชื
ฤดูเดียว เจรญิ เปนพมุ หรือกง่ึ เล้อื ย ลาํ ตนมีขอสัน้ มมี อื เกาะ ใบมี
ลกั ษณะเปนเหล่ยี ม 4 – 5 เหลยี่ ม ผวิ หยาบและมีขนออนบนใบ

63

กลุม สอ่ื สง เสริมการเกษตร สาํ นักพัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสรมิ การเกษตร E-mail : [email protected]

การปลกู ผกั บนพ้ืนท่ีสงู

บางสายพันธมุ ีจดุ สขี าวบนใบ ผลมีลักษณะกลมยาว เกบ็ เกยี่ วและรับประทาน
ผลออน

ซกู ินตี อ งการสภาพอากาศอบอุนในการเจริญเตบิ โต อุณหภูมทิ ่ี
เหมาะสมอยรู ะหวา ง 18 – 30 °C ปลกู ไดตลอดทั้งป ในพนื้ ท่ที มี่ คี วามสงู ตง้ั แต
600 เมตร ข้ึนไป ตอ งการดนิ รว นซุย หนา ดนิ ลึกระบายนํา้ ดี และมีความ
อุดมสมบรู ณส งู คา ความเปนกรดเปน ดา ง 6.0 – 6.5 พน้ื ทป่ี ลกู ควรไดรับ
แสงแดดอยางเต็มท่ี
การเตรยี มกลา

เพาะกลา ในถาดหลมุ อายกุ ลา 6 – 8 วัน
การเตรียมดิน

ไถดินลกึ 15 – 20 เซนติเมตร ตากดิน 7 – 10 วนั เก็บเศษวัชพชื
ออกจากแปลง ใสป ยุ คอกอตั รา 1 – 2 ตนั /ไร และปุย เคมสี ูตร 15 – 15 – 15
อตั รา 50 กโิ ลกรัม/ไร

64

กลมุ สื่อสง เสรมิ การเกษตร สํานกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสรมิ การเกษตร E-mail : [email protected]

การปลกู ผักบนพน้ื ท่สี งู

การปลูก
ปลูกแถวเด่ียว ระยะปลกู ระหวา งตน

70 – 100 เซนติเมตร ระยะหางระหวา งแถว 1 เมตร
หลังยายปลูก ใสปยุ สตู ร 15 – 15 – 15

อัตรา 100 กโิ ลกรัม/ไร และแคลเซยี มไนเตรท อัตรา
50 กโิ ลกรมั /ไร ดูแลใหน ้ําอยางสมํ่าเสมอ

การเก็บเกีย่ ว
เมือ่ อายปุ ระมาณ 40 – 45 วนั หลงั ปลูก

ผลผลิตรุนแรกจะไมคอยดี ควรตัดทง้ิ จะเก็บเก่ียวไดประมาณ 5 – 7 วนั หลงั ตัด
ดอกหรอื เมื่อกลบี ดอกหลดุ จากผล เก็บเกี่ยวผลออ นขนาดเสนผา ศนู ยกลาง 3 – 4
เซนติเมตร ยาว 12 – 20 เซนติเมตร ผวิ เปนมนั หอดว ยกระดาษแลวบรรจุลง
ตะกรา พลาสตกิ หรือกลอ ง

การใชประโยชน
รับประทานเปน ผกั สด ใชแทนบวบหรอื แตงกวา ในการประกอบ

อาหารชนิดตา ง ๆ เชน ทําเปน สลัด หรือยํา ใชผดั กับเนอ้ื สตั ว หรือ อาหารทะเล
ชบุ แปงทอด นาํ มาดอง ยัดไสแ กงจืด

65

กลมุ ส่ือสง เสรมิ การเกษตร สํานกั พฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสรมิ การเกษตร E-mail : [email protected]

การปลกู ผกั บนพ้ืนทีส่ งู

ศัตรพู ืชและกรรมวิธใี นการควบคุมระบบผสมผสาน

ศัตรพู ืช สารเคมีและกรรมวิธี สารธรรมชาติ
ท่เี กษตรกรใชอยู และกรรมวิธแี ทน
หนอนกินใบ ระบบผสมผสาน
หนอนเจาะผล คารบ ารลิ , เมทธิล ,
หนอนแทะเปลือก พาราไธออน , สารสกัดจากสะเดา ขา
เมทธามิโดฟอส , ตะไครหอม(นมี บอนด - เอ)(R)
โมโนโครโตฟอส , พนชว งกอนระบาด และ
คลอไพรฟิ อส ฯลฯ สํารวจแมลงถา จาํ เปน
พน ในระยะท่ีแมลงระบาด อาจใชส ารไพรที อยด
ปองกันทกุ 7 – 10 วนั สงั เคราะหรว มดว ยได
เฉพาะในกรณที ีไ่ มได
ปอ งกันมากอ น และ
ตอ งการพนเพื่อกําจดั ให
แมลงหมดไปในครง้ั นนั้ ๆ

เพลย้ี ไกแ จ , เพลยี้ ไฟ , คารบ ารลิ ,ไดโครโตฟอส , สารสกัดจากสะเดา ขา

เพลยี้ จก๊ั จน่ั ฝอยทาํ ลายใบออ น เมทธามิโดฟอส , ตะไครห อม(นมี บอนด - เอ)(R)

สารไพรที อยด สารสงั เคราะห พนชว งแตกใบออ น เมอื่

พนชวงแตกใบออ น เริ่มตนในครงั้ แรก ๆอาจใช

ระยะหางปลาใบคลี่ สารไพรีทอยดส ังเคราะห

รวมดวย โดยลดอัตราของ

สารไพรีทอยดส งั เคราะห

ลงมาครึ่งหนึง่ และถา เปน

เพลยี้ ไกแ จอ ยา งเดียวไม

ตองใชส ารไพรที อยด

สังเคราะห

66

กลุมสื่อสง เสรมิ การเกษตร สํานกั พฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสรมิ การเกษตร E-mail : [email protected]

การปลกู ผกั บนพืน้ ที่สงู

ศัตรูพืชและกรรมวิธีในการควบคุมระบบผสมผสาน

ศตั รพู ืช สารเคมแี ละกรรมวิธี สารธรรมชาติ
ไรแดงทําลายใบแก ที่เกษตรกรใชอยู และกรรมวธิ ีแทน
ระบบผสมผสาน
โปรพารไกท ,
โฟซาโลน , สารสกัดจากสะเดา ขา
ไดโคโพล ตะไครห อม(นมี บอนด - เอ)(R)
พน เพื่อใหผล ใบ
ตานปองกนั และกําจดั โดย
พน เมือ่ พบการระบาด ซ่ึง
อาจใช 1–3 ครง้ั /ฤดกู าลผลติ

มอดเจาะก่ิงลําตน คลอไพรฟิ อส ฉีดพนทาง สารสกัดจากสะเดา ขา
ตะไครห อม(นมี บอนด - เอ)(R)
ลําตน ชวงการระบาดและ ทีล่ ําตน ก่งิ หลงั แตกกง่ิ

หลังแตง ก่ิง(ตอ งควบคมุ รวมกับเขตกรรมปอ งกนั
โรคโคนเนา และเก็บสว น
โรครากเนา โคนเนาดว ย ) ของกิง่ ทตี่ ดั แตง แลวไป

ทาํ ลาย เพอ่ื ทําลาย

ตัวออ น– ตวั แกข องตวั มอด

เพลยี้ แปง , เพลยี้ หอย , โมโนโครโตฟอส , • สารสะเดาอดั เมด็ หวาน
เพลยี้ สําลี
เมทธามิโดฟอส , บริเวณรอบโคนตน เพอ่ื ไล
คลอไพรฟิ อส , มดไมใ หพาเพลย้ี ขึน้ ตน

ซูปราไซด รว มกบั ทเุ รียน
ไวทออยล หรือ • สารสกัดจากสะเดา
ปโ ตรเลย่ี มออยล พน ท่ี ตะไครห อม(นมี บอนด - เอ)(R)
พน ทผ่ี ลชว งการระบาด
ผลตงั้ แตเรมิ่ ระบาด
อาจใชร ว มกับไพรที อยด
• ใชคารบ ารลิ โรยทขี่ ั้วผล สงั เคราะหเมอื่ พบวา มกี าร

ระบาดรนุ แรงและตองการ
กาํ จดั ไปใหห มดในชว งนน้ั ๆ

67

กลมุ ส่อื สงเสริมการเกษตร สาํ นักพัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร E-mail : [email protected]

การปลูกผกั บนพนื้ ทสี่ งู

ศตั รพู ืชและกรรมวิธใี นการควบคมุ ระบบผสมผสาน

ศตั รูพืช สารเคมแี ละกรรมวิธี สารธรรมชาติ
ท่เี กษตรกรใชอยู และกรรมวิธแี ทน
ระบบผสมผสาน

โรครากเนา โคนเนา • ใชฟ อสฟอรสั แอซทิ • จดั การระบายนํ้า
จากเชอื้ ( Phytoptera ) ฉีดอดั เขา ลาํ ตน อยาใหทว มขัง
• ทาแผลดว ยฟอสฟอรสั • ฉดี เขา ตน ฟอสฟอรสั
แอซคิ ชนดิ ครีม สาํ หรบั แอซิค
ทาแผล , เมตาแลกซลิ • ใชปยุ ชีวภาพ และ
ฯลฯ ไตรโคเดอรม ากับปยุ หมกั
• พน ทางใบดวย • ทาแผลดว ยฟอสฟอรสั
ฟอสเอทธลิ อะลูมนิ ่มั แอซิคชนดิ ครีม หรอื
• ราดดินในบริเวณทรงพมุ เชอ้ื จุลนิ ทรยี 
ดว ยเมตาแลกซลิ เทอรร าโซล ( Beschoice – 4 ) ( R )
ฯลฯ

โรคใบติด , สารกลุม คอปเปอร • เชือ้ จลุ นิ ทรยี 

โรคใบลาย(Anthracnose) แมนโคเซป คารเบลดาซมิ ( Bestchoice – 4 ) ( R )

ราสีชมพู สาหรายสนิม ฯลฯ พน ทางใบชว งระบาด พนทางใบในระยะระบาด

รวมกบั การตัดแตง • ใชบ าซิลลสั ซบั ตลิ สิ

และไตรโคเดอรม าเพอ่ื ลด

เช้ือศตั รพู ชื

• ถา จําเปน อาจใชส ารเคมี

รว มดวยเชน คารเ บนดาซมิ

• สารสกดั จากสะเดา

ทกุ ชนดิ ใหผลในการลด

ความรนุ แรงของโรคจะ

คอนขางตาํ่

• ใชก ารตดั แตงกง่ิ ชว ย

ลดโอกาสการเกิดโรคดว ย

68

กลุมสื่อสง เสรมิ การเกษตร สาํ นักพัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร E-mail : [email protected]

การปลูกผกั บนพืน้ ท่ีสงู

ศตั รพู ืชและกรรมวิธีในการควบคมุ ระบบผสมผสาน

ศตั รพู ืช สารเคมแี ละกรรมวิธี สารธรรมชาติ
ทเี่ กษตรกรใชอยู และกรรมวธิ แี ทน
ระบบผสมผสาน

โรคผลเนา , โรคใบลาย ใชสารกลุมเดียวกบั • พน ดว ยสารสกดั จาก
( Anthracnose )
โรครากเนา โคนเนา พน ท่ี สะเดา ขา ตะไครห อม
ผลเปน ระยะ ๆ เชน เปน ประจํา ถา จาํ เปน จะใช

ทกุ ๆ 7 – 10 วนั สารเคมสี ลบั กนั บาง

วัชพชื พาราควอท , • ตัดหญาในระยะที่
ไกลโคโฟเสท , เหมาะสม
ซลั โฟเสท • ใชส ารกาํ จัดวัชพืช
พนปล ะ 2 – 3 คร้งั ปละไมเ กนิ 2 คร้งั
• มกี ารเวน วัชพชื ไวบ าง
เพ่ือเปน ท่ีอาศยั ของ
ตวั ห้ําตวั เบยี น

***** ขอขอบคุณกลุมงานพัฒนาพนื้ ท่ีสงู กรมสง เสริมการเกษตร
ที่กรุณาเออ้ื เฟอขอมูล
ทีม่ า : กรมสง เสรมิ การเกษตร .2547. เอกสารวิชาการ
การปลูกผักบนพืน้ ทสี่ ูง. กลุมงานพัฒนาพืน้ ทสี่ งู .กรุงเทพฯ
จดั ทาํ และเผยแพรทางเว็บไซด :
กลมุ สื่อสงเสริมการเกษตร
สํานกั พฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี
กรมสงเสรมิ การเกษตร

69

กลมุ สอื่ สงเสริมการเกษตร สํานกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร E-mail : [email protected]


Click to View FlipBook Version