คลงั ภมู ิปัญญา ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ
ภมู ิปัญญาการนวดแผนไทย การปรงุ ยา ยาตม้ สมนุ ไพร
กศน.ตาบลสระ
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเชียงมว่ น
จงั หวดั พะเยา
ข้อมลู คลังภมู ิปญั ญาผูส้ ูงอายุตาบล....สระ......อาเภอ...เชียงมว่ น......จงั หวดั .....พะเยา.............
ชื่อภูมปิ ัญญา.......การนวดแผนไทย การปรงุ ยา ยาต้มสมนุ ไพร..................................................................................
รหสั ภูมิปัญญา …………………..……………………………………-…………………………………………………………………………………..
สาขาคลังภมู ปิ ญั ญา............ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข..............................................................................................
สาขาของภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ..........สาขาการแพทย์แผนไทย...........................................................................................
ข้อมลู พน้ื ฐานรายบุคคล เจา้ ของภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ /บุคคลคลังปัญญา
ชื่อ..........นางอาน.....................นามสกุล.........ยอดสคุ า..................วันเดือนปเี กดิ .....22 ธนั วาคม 2498.......................
ทอี่ ยปู่ ัจจุบัน (ท่สี ามารถติดตอ่ ได้) บา้ นเลขที่..........38.......หมทู่ .ี่ ....10.........ตาบล/แขวง......เชยี งม่วน..........................
อาเภอ/เขต..........สระ..................... จงั หวดั ......พะเยา..........................รหสั ไปรษณีย์.......5. 6160....................................
โทรศพั ท์.......088-4626985....................โทรสาร...............-...............Line ID…… - ……………………………………………..…
E-mail address : ……- ……………… Facebook : ……-……
พิกดั ทางภมู ศิ าสตร์ ค่า X: ……630660………………….. คา่ Y: ………2094204…………………………
กรณีเปน็ กล่มุ ทางภูมิปญั ญา ขอ้ มลู พืน้ ฐาน รายกลุ่ม
ชอ่ื กลุม่ ...............-......................ผู้ประสานงานกลมุ่ .....นายไชยพจน์ สมภาร.................................
ช่อื ..........นางอาน...................นามสกุล............ยอดสุคา...............วันเดือนปีเกดิ .....22 ธันวาคม 2498....................
ทอ่ี ยู่ปัจจบุ ัน (ทสี่ ามารถตดิ ต่อได้) บา้ นเลขที่......38.......หมูท่ .ี่ ....10.........ตาบล/แขวง......เชียงม่วน..........................
อาเภอ/เขต..........สระ..................... จังหวดั ......พะเยา..........................รหสั ไปรษณยี ์.......5. 6160................................
โทรศัพท์.......088-4626985............. โทรสาร.............-................ Line ID…… - ……E-mail address : ……- ……
Facebook : ……-……พกิ ดั ทางภูมศิ าสตร์ คา่ X: ……630660…………….. คา่ Y: ………2094204………………….…
ความเปน็ มาของบุคคลคลังปัญญา
นางอาน ยอดสุคา อายุ 63 ปี เปน็ ผู้มคี วามร้คู วามชานาญทางด้านนวดแผนไทย การปรงุ ยา การอบยา
สมุนไพร ยาต้มสมุนไพร และการทาลูกประคบสมนุ ไพร มีความรู้ ความชานาญในเรื่องดังกลา่ วเป็นอย่างดี โดยป้าอาน
ได้นาความรู้มาประกอบอาชีพเล้ยี งครอบครัวมาตั้งแตย่ งั เปน็ เด็ก เนือ่ งจากครอบครัวมฐี านะยากจน บิดามารดาของป้า
อานมอี าชีพเกษตรกรรม เดินปา่ เพ่อื เก็บยาสมุนไพร การปรงุ ยาสมนุ ไพร การอบยาสมนุ ไพร เพ่อื รกั ษาตนเองและ
ครอบครัว ทาให้หายจากอาการปวดหลัง ปวดเอว เมือ่ ยตามรา่ งกาย ทาใหม้ ีชาวบ้านเช่ือถือป้าอาน และไดส้ อบถามถงึ
วิธีการรักษาอาการปว่ ยวา่ รบั ประทานยาอะไรจงึ หายปว่ ย ป้าอานได้แนะนาเพ่อื นบา้ นใหล้ องนายาสมนุ ไพรไปต้มแล้ว
นามาดื่มกิน เพอื่ รักษาและบรรเทาอาการเจ็บปวดตา่ งๆ ใหด้ ขี น้ึ ได้ ทาให้ผปู้ ่วยหลายราย มีอาการดีขึน้ จนหายป่วยไดด้ ี
หลังจากนน้ั มา ยาสมุนไพรของป้าอาน จึงเป็นทรี่ ู้จกั ดีในชมุ ชนและหนว่ ยงานราชการ เกีย่ วกบั ความรู้ ความสามารถใน
การเก็บสมนุ ไพร เพื่อรกั ษาผูป้ ว่ ยในชมุ ชน ซึ่งมีสรรพคุณของยาสมนุ ไพร คือ ชว่ ยบาบัดโรคและรักษาอาการปวดไดจ้ รงิ
จากนั้นมผี ้ปู ว่ ยต้องการรกั ษาอาการเจบ็ ปวดเปน็ จานวนมาก ได้ซื้อยาสมนุ ไพรของปา้ อาน โดยปา้ อานจาหน่ายชดุ ละ
20 บาท สรรพคณุ คอื บรรเทาอาการปวดหลงั ปวดเอว ปวดเมือ่ ยตามร่างกาย จนหายจากอาการดงั กลา่ วไดด้ ี
นอกจากน้ี ป้าอาน ไดเ้ รียนรจู้ ากบรรพบรุ ุษเก่ียวกับการทาลูกประคบสมนุ ไพร การอบสมุนไพร ดงั น้ี
การทาลูกประคบ คอื การนาสมุนไพรมาหอ่ ด้วยผา้ เปน็ ลูก เรียกวา่ ลกู ประคบนาลูกประคบไปน่ึงใหร้ ้อนแลว้ นามาประ
คอบบรเิ วณที่ปวดหรอื เคล็ด แก้ขัดยอก จะช่วยบรรเทาอาการปวดเคลด็ ขัดยอก ได้สมุนไพรที่ใชท้ าลกู ประคบส่วนใหญ่
เปน็ สมนุ ไพรท่มี ีน้ามนั หอมระเหย เมือ่ นงึ่ รอ้ นแล้วนา้ มนั ระเหยซ่งึ เปน็ ตวั ยาจะออกมากับไอน้าและความช้นื เมอื่ ประคบ
ตัวยาเหลา่ นน้ั จะซมึ เขา้ ไปในผวิ หนังช่วยรักษาอาการเคลด็ ขดั ยอก และอาการปวด นอกจากนั้นแล้วความร้อนจาก
ลกู ประคบจะชว่ ยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหติ ดีข้นึ ช่วยใหต้ วั ยาซึมผ่านผิวหนัง ได้ดขี ้นึ ท้งั กล่ินจากน้ามันหอมระเหยยัง
ชว่ ยใหเ้ กดิ ความสดช่ืนด้วย
อปุ กรณ์การทาลกู ประคบ
1. ผา้ ดบิ สาหรับหอ่ ลูกประคบ ขนาด กวา้ ง 35 x ยาว 35 เซนติเมตร 2 ผืน
2. เชอื ก ดา้ ยดบิ หรอื หนงั ยาง
3. ตัวยาท่ีใชท้ าลกู ประคบ
4. เตา พรอ้ มหมอ้ สาหรับนงึ่ ลูกประคบ
5. จานหรือชามอลูมิเนยี มเจาะรู (เพือ่ ให้ไอนา้ ผา่ นได)้ สาหรบั รองลูกประคบตวั ยาทน่ี ิยมใชท้ าลูกประคบ
สรรพคณุ ของตัวยาในลูกประคบ มดี งั นี้
1. เหงาไพล (500 กรัม) สรรพคณุ แก้ปวดเมือ่ ย ลดอาการอกั เสบ
2. ผิวมะกรดู (200 กรมั ) สรรพคณุ มนี ้ามนั หอมระเหย แกล้ มวิง่ เวยี น
3. ตะไคร้ (200 กรมั ) สรรพคณุ แต่งกลน่ิ
4. ใบมะขาม (100 กรัม) สรรพคุณ แกอาการคนั ตามร่างกาย ช่วยบารงุ ผวิ
5. ขมิ้นชัน (100 กรมั ) สรรพคุณ ชว่ ยลดอาการอกั เสบ แก้โรคผวิ หนัง
6. ใบสัมปอย (100 กรัม )สรรพคณุ ช่วยบารงุ ผวิ แก้โรคผิวหนัง ลดความดนั โลหิต
7. เกลือแกง (60 กรัม) สรรพคุณ ชว่ ยดดู ความร้อนและช่วยพาตัวยาซมึ ผา่ นผวิ หนังไดส้ ะดวกขนึ้
8. การบรู (2 ชอ้ นโต๊ะ) สรพคุณ แตง่ กล่ิน บารุงหัวใจ แกพพุ อง
9. พมิ เสน (2 ช้อนโตะ๊ ) สรรพคณุ แตง่ กลิ่น บารงุ หวั ใจ แก้หวดั
วธิ ีการทาลกู ประคบ
1. หัน่ หัวไพล ขมิ้นชัน ตนั ตะไคร้ ผิวมะกรูด เป็นชิเล็กๆ แลว้ นามาตาพอหยาบ ๆ
2. นาใบมะขาม ใบส้มปอย ผสมกับสมนุ ไพรข้อ 1 เสร็จแล้วใหใ้ ส่เกลอื การบรู คลกุ เคล้าใหเ้ ป็นเน้ือเดยี ว แตอ่ ยให้
แฉะเป็นนา้
3. นาตวั ยาทจ่ี ดั เตรยี มเรยี บรอ้ ย แลว้ ใส่ผ้าดิบห่อเป็นลูกประคบประมาณลกู ส้มโอ(นา้ หนักประมาณ 400 - 500
กรมั ) รัดดว้ ยเชอื กให้แนน่ (ลกู ประคบเวลาถกู ความร้อน ยาสมุนไพรจะฝอ่ ลงใหร้ ดั ใหม่ใหแ้ น่นเหมือนเดิม)
4. นาลูกประคบที่ไดไ้ ปนง่ึ ในหม้อนงึ่ ใชเ้ วลานงึ่ ประมาณ 15 - 20 นาที
5. นาลูกประคบท่รี ับความร้อนได้ท่ีแลว้ มาประคบคนไขท้ ่ีมอี าการตา่ ง ๆ โดยสบั เปลย่ี นลูกประคบ
วธิ กี ารประคบ
1) จัดทา่ คนไขใ้ ห้เหมาะสม เชน่ นอนตะแคง ขึน้ อยกู่ บั ตาแหนง่ ที่จะทาการประคบสมนุ ไพร
2) นาลกู ประคบทีร่ บั ความร้อนได้ที่แล้วมาประคบบรเิ วณทต่ี อ้ งการประคบ (การทดสอบความร้อนของลกู ประคบ
คือ แตะที่ท้องแขนหรอื หลังมอื ของผปู้ ระคบก่อน)
3) ในการวางลกู ประคบบนผิวหนังคนไข้โดยตรงในช่วงแรก ๆ ตอ้ งทาดว้ ยความเรว็ ไมว่ างแช่นาน เพ่อื ปอ้ งกนั
คนไขจ้ ากการถูกลวกด้วยความรอ้ น เมอื่ ลกู ประคบคลายความร้อนลงก็สามารถเปล่ียนลูกประคบอกี ลกู ที่น่งึ ไดท้ ่ี (นาลกู
เดมิ ไปนึ่งต่อ) ทาซา้ ตามข้อ 23,4
ประโยชน์ของการประคบ
1. บรรเทาอาการปวดเม่ือย
2.. ช่วยลดอาการบวม อกั เสบกลา้ มเน้ือ เอ็น ข้อต่อ หลงั 24-48 ชั่วโมง
3. ลดอาการเกรง็ ของกล้ามเน้ือ
4 ช่วยให้เน้ือเยื้อ พงั ผดื ยดื ตัวออก
5. ลดการตดิ ขัดของขอ้ ตอ่
6. ลดอาการปวด
7. ชว่ ยเพ่มิ การไหลเวียนของเลือด
ข้อควรระวงั
1) หา้ มใช้ลกู ประคบท่รี อ้ นเกนิ ไป โดยเฉพาะกับบรเิ วณผวิ หนงั อ่อน ๆ หรอื บริเวณทีเ่ คยเป็นแผลมาก่อน ถ้า
ต้องการใชค้ วรมผี ้าขนหนูรองกอ่ น หรือรอจนกวา่ ลูกประคบ จะ คลายความรอ้ นลงจากเดิม
2) ควรระวงั เปน็ พิเศษในผปู้ ว่ ยเบาหวาน อมั พาต เด็ก และผ้สู ูงอายุ เนือ่ งจากกลุ่มบุคคล ดงั กลา่ วความรู้สึก
ตอบสนองต่อความรอ้ นช้าอาจจะทาให้ผวิ หนงั ไหม้ทาให้ผวั หนังไหม้พองไดง้ า่ ย ถา้ ต้องการใช้ควรจะ "ใชล้ ูกประคบทีอ่ ่นุ ๆ"
) ไม่ควรใชล้ ูกประคบสมนุ ไพรในกรณีทม่ี แี ผล การอกั เสบ (ปวด บวม แดง ร้อน)ในช่วง 24 ชว่ั โมงแรกอาจจะทา
ใหบ้ วมมากขึน้
4) หลังจากประคบสมนุ ไพรแล้ว ไม่ควรอาบนา้ ทันทเี พราะจะไปชะลา้ งตัวยาออกจากผวิ หนงั และอุณหภูมขิ อง
ร่างกายปรับเปล่ยี นไมท่ นั อาจจะทาให้เปน็ ไข่ได้
วิธเี กบ็ รักษา
1) ลกู ประคบสมุนไพรทีท่ าในแต่ละครง้ั สามารถเกบ็ ไวใ้ ช้ซ้าได้ 3 - 5 วัน
2) ควรเก็บลูกประคบไวใ้ นตเู้ ย็น จะทาให้เกบ็ ได้นานขึน้ (ควรตรวจลูกประคบดว้ ย ถ้ามกี ลิน่ บดู หรือเหมน็ เปรีย้ ว
ไม่ควรเก็บไว้)
3) ถ้าลูกประคบแห้ง ก่อนใชค้ วรพรมด้วยน้าหรอื เหลา้ ขาว
4) ถ้าลกู ประคบท่ใี ชไ้ ม่มีสีเหลืองหรือสีอ่อนลงแสดงว่ายาทีใ่ ช้จดื แล้ว (คณุ ภาพน้อยลง) จะใชไ้ ม่ไดผ้ ลควรเปลี่ยน
ลกู ประคบใหม่
การทาลูกประคบสมนุ ไพร ลูกประคบสมุนไพร เปน็ ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้จากการนาสมนุ ไพรหลายชนิดมาผ่าน
กระบวนการทาความสะอาดและนามาหั่นหรอื สับให้มีขนาดชิน้ ตามความต้องการ หากใช้สุดให้ตาหรอื ทุบพอแตก หากใช้
แหง้ ให้อบหรือตากแหง้ แลว้ บดหยาบ นามาหอ่ รวมกนั ดว้ ยผ้า ให้ไดร้ ูปทรงตา่ ง ๆ เช่น ทรงกลม รูปหมอน "ลๆ สาหรับ
นาบหรอื กดประคบตามสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย เพอื่ ทาให้กลา้ มเน้ผื ่อนคลาย ชว่ ยบรรเทาอาการปวดเมอื่ ย ซงึ่ มกั ใช้ควบคู่
กบั การนวดแผนไทย โดยใช้ประคบหลงั การนวด ต้วยทีน่ ิยมใชท้ าลกู ประคบ ได้แกไ่ พล ขม้ินชัน ตะไครั ผิวมะกรดู ใบ
มะขาม ใบสม้ ปอ้ ย เกลือ การบรู ฯลๆ
วัสดุอุปกรณ์
1) ผ้าขาวบางหรือผา้ ดิบ
2) เชือก
) กะละมัง
4) ตู้อบลมรอ้ น
5) เคร่ืองบด
6) หม้อสาหรบั น่ึงลูกประคบสมนุ ไพร
7) สมนุ ไพร โดยใช้ ไพล ขมิน้ ชัน ตะไคร้ วา่ นนางคา อย่างละ 15 % ว่านชกั มดลกู วา่ นนา้ เปลอื กสมั เตยหอม
และเกลอื อย่างละ 5% ผิวมะกรูด 10 % เปราะหอม 35 % ใบมะขาม3%ใบสม้ ปอย 2 %ใบพลับพลงึ 2% การบรู 2.5 %
พิมเสน 2.5 %
วิธที าลกู ประคบ
1) นาสมุนไพรทั้งหมดมาคลุกเคล้ากัน (ยกเว้น เกลือ การบูร พมิ เสน) แล้วอบในต้อู บลมรอ้ นทอ่ี ุณหภมู ิ 60 - 80
องศาเชลเชยี ส ประมาณ 1 ชว่ั โมง
2) นาสมนุ ไพรที่อบแล้วมาบดหยาบ
3) นาเกลือ การบรู และพมิ เสน มาคลกุ เคล้ากบั สมุนไพรทบี่ ดแล้ว
4) ตกั สมนุ ไพรใสผ่ ้ดบิ หรือผา้ ขาวบาง ที่เตรียมไว้ มดั ดว้ ยเชือกให้แนน่
วธิ ใี ช้
นาลกู ประคบสมุนไพรพรมน้าพอหมาด แล้วนาไปนงึ่ ประมาณ 15 นาที แล้วนาไปนวดคลงึ บรเิ วณทม่ี ีอาการ
ประโยชน์
ชว่ ยรกั ษาและบรรเทาอาการปวดบวม เคลด็ ขัดยอกฟกช้า อาการอกั เสบของกล้ามเนอ้ื และขอ้ กระดูก กระตนุ้
การไหลเวียนของโลหติ
การอบสมนุ ไพร
ประโยชน์ของการอบสมนุ ไพร
1) ช่วยขยายหลอดเลอื ด ทาใหก้ ารไหลเวยี นเลือดดขี ้ึน
2) ชว่ ยขยายหลอดลม หายใจสะดวก และปอดขบั ถ่ายก๊ซเสยี มากขึ้น
(3) ลดความเครียด แกป้ วดเม่อื ย และคลายกลา้ มเนอื้ ที่เกรง็
(4) ลดอาการปวดตามขอ้
(5) ขบั ของเสียทางเหงือ่ ทาให้ผิวพรรณเปลง่ ปล่งั ขึ้น
(6) ปรบั สมดุลของรา่ งกายให้ทนต่อสภาพแวดล้อมทแี่ ปรปรวน
(7) ประโยชน์ทางอ้อม ชว่ ยลดไขมนั สว่ นเกนิ และน้าหนักตวั
โรคหรอื อาการทีส่ ามารถบาบดั ได้
(1) โรคภูมิแพ้, โรคหอบหืดที่ไมร่ นุ แรง
(2) เปน็ หวดั น้ามกู ไหล หายใจไม่สะดวก ท่ีไม่มีไข้
(3) ส่งเสริมสขุ ภาพ ลดความเครียด ช่วยใหน้ อนหลับดี
(4) ชว่ ยขบั นา้ ดาวปลา ในมารดาหลงั คลอดบุตร (ถา้ คลอดบตุ รธรรมดาใหเ้ ริม่ อบหลงั คลอด 1-2 สปั ดาห์ ถ้าผ่ตดั
รอใหแ้ ผลติดสนทิ ประมาณ 1 เดอื น)
ข้อห้ามในการอบ
(1) มไี ข้
(2) มโี รคประจาตัวต่อไปน้ี ลมชกั หรอื ลมบ้าหมู โรคหัวใจ เจ็บหนา้ อก หายใจไม่สะดวกโรคความดนั โลหิตสูงโรค
หอบหืดอยา่ งรุนแรงท้องเสยี รนุ แรงเสยี เลือดมากมาก่อนเขา้ อบ ขณะมีประจาเดอื นมีบาดแผลทย่ี งั ไม่หาย
(3) อ่อนเพลีย อดนอน อดอาหาร
(4) ปวดศีรษะรนุ แรง
(5) หญิงต้ังครรภ์ ** ควรวัดความดนั โลหติ ก่อนเข้าห้องอบทกุ ครัง้
อาการทีเ่ กดิ ข้นึ ขณะอบทค่ี วรหยุดอบสมุนไพรทนั ที ได้แก่ ใจสนั่ ปวดศรี ษะมากขึ้นเหนอื่ ย อ่อนเพลีย และ มนึ ศรี ษะ
ตาพร่ามวั
สมนุ ไพรทใี่ ชใ้ นห้องอบ
(1) ไพล (วา่ นไฟ) แกอาการปวดเมอ่ื ยและอาการคร่นั เนอื้ คร่ันตวั
(2) ขมน้ิ สมานแผล
(3) ใบมะกรูด ลูกมะกรดู ใบผักบงุ้ แดง หัวหอมแดง ช่วยลดอาการวิงเวียน ชว่ ยลดอาการบวมบรเิ วณจมูกและ
โพรงจมกู
(4) ว่านน้า แตง่ กลิน่ หอม
(5) อบเชยพมิ เสน การบรู แตง่ กลน่ิ คมแลว้ หายใจโลง่
(6) การอบสมุนไพรดีตอ่ สุขภาพ ลดอาการวิง่ เวยี น กระตนั การไหลเวยี นของโลหิตและเป็นการชว่ ยกันอนรุ กั ษ์ภมู ิ
ปญั ญาของคนไทยไวใ้ ห้ลูกหลาน
ผลงานดเี ดน่
นางอาน ยอดสคุ า ได้รบั เชิญเป็นวิทยากรถา่ ยทอดความรู้เร่อื งการทาลูกประคบสมนุ ไพร การอบสมุนไพร
ใหก้ บั ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเชียงม่วน ดังนี้
1. โครงการสมนุ ไพรเพอื่ สขุ ภาพ การทาลกู ประคบ จานวน 25 คน ใหแ้ ก่กล่มุ ผู้สงู อายุ ตาบลสระ
2. โครงการสง่ เสริมการใช้ลูกประคบสมนุ ไพรเพ่ือสุขภาพ จานวน 25 คน ใหแ้ กก่ ล่มุ อาสาสมคั รสาธารณสขุ
(อสม.) ตาบลเชียงม่วน
3. ไดร้ ับเกยี รตบิ ตั ร เครอื ขา่ ย กศน.อาเภอเชียงม่วนดีเดน่
4. ได้รบั เกียรตบิ ตั ร ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ตาบลสระ
จุดเดน่ ของภมู ปิ ญั ญา
เป็นบคุ คลทีม่ ีความซ่อี สัตย์ ขยนั หมัน่ เพียร อดทน เสียสละ มคี วามรับผิดชอบตอ่ ตนเองและผู้อน่ื ใหค้ วาม
ช่วยเหลอื เพอ่ื นบา้ น และชุมชน มสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมหมู่บ้านสมา่ เสมอ
วตั ถดุ บิ ท่ีใช้ประโยชนใ์ นผลิตภณั ฑท์ เ่ี กิดจากภมู ปิ ัญญา ซ่ึงพ้นื ทอ่ี นื่ ไมม่ ี ได้แก่
.................................-.............................................................................................................................................
รายละเอียดของภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ (ลกั ษณะภมู ิปญั ญา/รูปแบบ/วธิ ีการ/เทคนคิ ท่ใี ช้/ภาพถา่ ยหรอื ภาพวาดประกอบ/
พัฒนาการของผลติ ภณั ฑ์หรอื ผลงาน/กระบวนการสร้างภมู ปิ ญั ญา/ลักษณะการใช้ประโยชนจ์ าก ภูมปิ ญั ญาทเ่ี กดิ ขึน้
รูปแบบและลักษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพรภ่ ูมิปญั ญาท้องถ่ิน (ที่สะท้อนความน่าเชือ่ ถือการยอมรับ
ผ่านบคุ คล/ชุมชน/องค์กร/รางวลั /ใบประกาศ/การจดทะเบียนลขิ สทิ ธิ์ สอ่ื ดจิ ทิ ลั /เอกสารเผยแพร่ แผน่ พับ คลิป(VDO)
ยังไม่เคยมีการเผยแพร่/ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชมุ ชน
มีการเผยแพร่ผ่านส่ือมวลชนและสอื่ อ่ืนอยา่ งแพรห่ ลาย
มกี ารดงู านจากบคุ คลภายนอก จานวน......... 2..........คร้ัง จานวน......... 50..........คน
มกี ารนาไปใช้ ในพนื้ ท.ี่ ...... 100.......คน นอกพื้นที่..... ...-..........คน
อ่นื ๆ (ระบ)ุ
ลกั ษณะของภูมิปญั ญาท้องถ่นิ การพฒั นาตอ่ ยอดภมู ิปัญญาให้เป็นนวัตกรรม คณุ คา่ (มลู ค่า) และความภาคภมู ิใจ
ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ /นวัตกรรมทีค่ ดิ คน้ ข้ึนมาใหม่
ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ด้ังเดิมได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรษุ จากพอ่ แมส่ ู่รุน่ ลกู หลาน
ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ท่ีได้พัฒนาและตอ่ ยอด
แบบเดมิ คือ นาความรู้ทไ่ี ด้จากบรรพบรุ ุษ มาประกอบอาชพี เลยี้ งครอบครัว และรักษาตนเองและครอบครวั
ยงั ไม่มกี ารขยายผลในชมุ ชน
การพัฒนาตอ่ ยอด คือ ได้รับเชญิ เปน็ วทิ ยากรให้กบั กศน.อาเภอเชยี งม่วน ตั้งแต่ปี 2561 จนถงึ ปัจจุบนั
รายละเอียดเพม่ิ เตมิ (สามารถใสข่ ้อมลู ลิงคว์ ิดโี อ หรือเว็บไซต์ที่เกย่ี วข้อง)
ถ่ายภาพบุคคล และอุปกรณ์/เคร่อื งมือ/ส่งิ ท่ปี ระดิษฐ์ (ชิน้ งานหรอื ผลงาน)
นางอาน ยอดสคุ า
ชื่อ - สกุลผูบ้ ันทกึ ขอ้ มลู .........นายไชยพจน์ สมภาร.............. เบอรต์ ิดต่อ/ Line ID………084-4894101…………..
หน่วยงาน/สถานศกึ ษา..........กศน.อาเภอเชียงมว่ น.............. วันท่บี ันทึกข้อมลู .......5 กมุ ภาพนั ธ์...2563.................
จัดทารูปแบบข้อมูลภมู ิปญั ญา E-book ...นางสาวภัศรชนก .... อนิ ธยิ า .... บรรณารกั ษห์ ้องสมดุ ประชาชน.........
กศน.ตาบลสระ
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเชียงมว่ น
จงั หวดั พะเยา