The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี

ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี

กรมอนามัย ส�ำ นกั อนามยั สิ่งแวดลอ้ ม



ค�ำน�ำ

จากปัญหาการเพิ่มขึ้นของขยะอิเล็กทรอนิกส์ขณะท่ีประเทศไทยยังไม่มีระบบ
การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมามากมาย
เช่น การทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ปะปนกับขยะท่ัวไป การจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ
โดยผรู้ บั ซอ้ื อยา่ งไมถ่ กู ตอ้ ง อกี ทงั้ ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ สบ์ างสว่ นจะถกู รอ้ื และถอด
แยกช้ินส่วนโดยชุมชน ปัจจุบันการรื้อและถอดแยกช้ินส่วนขยะอิเล็กทรอนิกส์
เป็นกิจกรรมทพ่ี บมากขน้ึ โดยกระจายอยใู่ นชมุ ชนหลายแห่ง ประชาชนใชว้ ธิ ีการ
ที่ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการและไม่ปลอดภัย รวมทั้งการเผา เพื่อให้ได้มาซึ่ง
ชิ้นส่วนที่สามารถขายได้ ส่วนเศษขยะทเี่ หลือจะถกู นำ�ไปกองทิ้ง ไม่มกี ารจดั การ
หรือควบคุมสารอันตรายที่เกิดขึ้น ส่งผลให้มีการร่ัวไหลและสะสมของสาร
อันตรายสู่สิ่งแวดล้อม ทำ�ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน อีกทั้ง
ในระยะยาวย่อมสง่ ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศและระบบห่วงโซอ่ าหารของมนษุ ย์

ดังนั้น สำ�นักอนามัยส่ิงแวดล้อม กรมอนามัย จึงได้จัดทำ�คู่มือประชาชน
“ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี” ข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์
เพอื่ ใหป้ ระชาชนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และตระหนกั ถงึ
ผลกระทบต่อสุขภาพและส่ิงแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นจากการร้ือและถอดแยกขยะ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อนั จะน�ำ ไปสคู่ วามรว่ มมอื กนั ในการปอ้ งกนั ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ
และสงิ่ แวดลอ้ มที่อาจเกิดขน้ึ ตามมาต่อไป


คณะผู้จดั ทำ�



สารบัญ

เรอื่ ง หนา้

ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ สค์ ืออะไร 1
แหล่งก�ำเนิดขยะอเิ ล็กทรอนกิ ส ์ 5
ปริมาณซากผลติ ภัณฑ์เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ ปี 2557 6
การจดั การขยะอิเลก็ ทรอนิกส์ 7
วงจรชวี ิตของขยะอเิ ล็กทรอนิกส ์ 8
สารอนั ตรายจากขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และผลกระทบตอ่ สุขภาพ 9
การปอ้ งกันสารอันตรายจากการรอื้ และถอดแยกขยะอิเลก็ ทรอนิกส ์ 13
ขอ้ ควรปฏิบตั ิสำ� หรับผปู้ ฏิบัติงาน 15
แนวทางการจดั การขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ 17
บรรณานุกรม 20

ขยะอเิ ล็กทรอนิกส์..

ของเสียท่ีมาพร้อมเทคโนโลยี

ขยะอเิ ล็กทรอนิกสค์ อื อะไร ?

“ขยะอเิ ล็กทรอนิกส์”(Electronic Waste หรือ E-waste) คอื เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า
และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ท่ีหมดอายุการใช้งานหรือไม่ต้องการใช้งาน
อีกต่อไป เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีท�ำให้ผู้บริโภคเปลี่ยนเครื่อง
ใชไ้ ฟฟา้ และอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สบ์ อ่ ยครง้ั ขนึ้ ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ เปน็ ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ที่ต้องมีการจัดการอย่างถูกหลักวิชาการต่อไป เน่ืองจากช้ินส่วนของอุปกรณ์
เหล่าน้ัน มีความเป็นพิษและไม่สามารถย่อยสลายเองตามธรรมชาติได้ เช่น
โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เครื่องถ่ายเอกสาร ปร้ินเตอร์ ตู้เย็น
เครือ่ งซักผ้า เป็นต้น

สหภาพยโุ รปไดจ้ ดั ทำ� ระเบยี บที่ เรยี กวา่ WEEE (Waste from Electronic and
Electronic Equipment) ซง่ึ ถกู กำ� หนดขนึ้ มาเพอ่ื ใชเ้ ปน็ มาตรฐานในการจดั การ
และควบคุมขยะอิเล็กทรอนิกส์ โดยครอบคลุมถึงการจัดการหลายๆ ส่วน
เชน่ การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ การจดั การ การบำ� บดั การนำ� กลบั มาใช้ใหม่ เปน็ ตน้
ขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส์ตามความหมายของ WEEE แบ่งเป็น 10 ประเภท ดงั น้ี

● เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ในครัวเรือนขนาด
ใหญ่เชน่ ตเู้ยน็ เครอื่ งทำ� ความเยน็
เครอื่ งซกั ผา้ เครอ่ื งลา้ งจาน ฯลฯ

ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี 1

● เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ ในครัวเรือนขนาดเล็ก
เช่น เคร่ืองดูดฝุ่น เตารีด เครื่องปิ้ง
ขนมปัง มีดโกนไฟฟ้า ฯลฯ


●อปุ กรณไ์ อที เชน่ คอมพวิ เตอร์
โนต้ บคุ๊ เครอ่ื งสแกน เครอ่ื ง
โทรสาร โทรศัพท์บ้าน
โทรศพั ทม์ อื ถอื ฯลฯ

● เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ และอปุ กรณ์
อิเล็กทรอนิกส์สำ�หรับผู้
บริโภค เช่น วิทยุ โทรทัศน์
กล้อง เคร่ืองบันทึกวีดีโอ
เครอ่ื งดนตรที ใ่ี ชไ้ ฟฟา้ ฯลฯ

2 ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี

● อุปกรณ์ให้แสงสว่าง เช่น
หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ ฯลฯ

● อุปกรณ์เครอื่ งมือการแพทย์
● เครอ่ื งมอื วัดหรือควบคมุ ต่างๆ เช่น เครอ่ื งควบคมุ อณุ หภูมิ ฯลฯ
● ของเลน่ เชน่ เกมส์บอย ของเลน่ ที่ใชไ้ ฟฟ้า ฯลฯ
● เคร่ืองมือไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส ์ เช่น สว่าน เลือ่ ยไฟฟ้า ฯลฯ
● เครื่องจำ�หน่ายสินค้าอตั โนมัติ เชน่ เครอื่ งจำ�หนา่ ยเครอ่ื งด่มื ฯลฯ

นอกจากปัญหาซากเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในเชิงปริมาณ
ท่ีเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วแล้ว ยังมีปัญหาจากสารอันตรายซึ่งพบในชิ้นส่วน
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ด้วย เช่น ตะกั่ว แคดเมียม ปรอท ฯลฯ หากช้ินส่วน
เหลา่ นไี้ ดร้ บั การจดั การทไ่ี มเ่ หมาะสม อาจกอ่ ใหเ้ กดิ การรวั่ ไหลของสารอนั ตราย
สูส่ งิ่ แวดลอ้ ม ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน รวมทงั้ ส่งผลกระทบ
ต่อระบบนเิ วศทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาวอกี ดว้ ย

ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี 3

แหล่งก�ำเนิด

ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส.์ ..

แ ห ล ่ ง ก�ำ เ นิ ด ข ย ะ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ์ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
สามารถแบง่ ได้เปน็ 2 กล่มุ ใหญ่ ดงั นี้


1. ขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดจากกระบวนการผลิตสินค้าภายในโรงงาน

อตุ สาหกรรม (Industrial Waste) ทมี่ ีการปลดปล่อยสารเคมีหรอื
เศษเหลือทิ้งในกระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ท่ีไม่ได้มาตรฐาน
ตามเกณฑ์ท่ีกำ�หนดไว้โดยบางส่วนจะนำ�ไปรีไซเคิลและบางส่วนจะนำ�
ไปทำ�ลายทิง้
2. ขยะอิเล็กทรอนิกส์ท่เี กิดจากการใช้งานในครัวเรือน บริษัท หรือห้าง
รา้ นตา่ งๆ (Household Waste)เปน็ ขยะทเ่ี กดิ จากการ ใชง้ านผลติ ภณั ฑ์
จนหมดอายุหรืออุปกรณ์ชำ�รุดเสียหายจนไม่สามารถแก้ไขให้กลับมา
ใชง้ านไดด้ ดี งั เดมิ

ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี 5

ป ริ ม า ณ ซ า ก ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ เ ค รื่ อ ง ใ ช ้ ไ ฟ ฟ ้ า แ ล ะ
อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2557

4.74% 0.44% โทรทศั น์
14.65%
0.05% เครือ่ งปรับอากาศ
27.50% ตเู้ ย็น

16.00% เคร่อื งซกั ผา้
คอมพิวเตอร์
เครอื่ งเล่นวซี ดี /ี ดีวีดี

17.13% 19.50% โทรศัพท์

กลอ้ งถ่ายรปู ดิจิตอล

ท่ีมา : กรมควบคมุ มลพษิ

ขอ้ มูลจาก (ร่าง) รายงานสถานการณ์มลพษิ ของประเทศไทยปี 2557 ประมาณ
การว่าในปี 2557 มีของเสียอันตรายจากชุมชน เกิดข้ึนจ�ำนวน 576,316 ตัน
เป็นซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ประมาณ 376,801 ตัน
(โดยส่วนใหญ่เป็นโทรทัศน์ เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น) และของเสียอันตราย
ประเภทอ่ืนๆ เช่น แบตเตอร่ี หลอดไฟ ภาชนะบรรจุสารเคมี เป็นต้น
ประมาณ 199,515 ตนั (ร้อยละ 34.6)

6 ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี

การจดั การขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส์

ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี 7

วงจรชวี ติ ของขยะอเิ ล็กทรอนกิ ส์

อน สารอันตรายจากขยะอิเล็กทรอนิกส์ปนเปื้อน
โซ่ สู่ระบบนิเวศ จากนั้นจะส่งผลกระทบต่อระบบห่วงโซ่
ทบ อาหาร ผ่านทางดิน น้ำ� อากาศ และส่งผลกระทบ

ต่อสุขภาพของมนุษย์ในที่สุด

8 ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี

สารอันตรายจากขยะอิเล็กทรอนิกส์และผลกระทบ
ตอ่ สขุ ภาพ

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่จะมีโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม
โครเมียม เป็นส่วนประกอบ โลหะหนักประเภทน้ีสลายตัวยาก หากได้รับ
การจัดการที่ไม่เหมาะสมอาจก่อให้เกิดการแพร่กระจายสู่ส่ิงแวดล้อมและ
เกดิ การสะสมส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศซ่ึงกอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ สุขภาพได้

สารอนั ตรายสามารถเขา้ สรู่ า่ งกายไดโ้ ดยผา่ นทาง ?

● การหายใจ ● ทางปาก

● ทางผิวหนงั ● รกจากแม่สลู่ กู

ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี 9

ตะกั่ว ใช้ฉาบจอแก้ว พิษของตะก่ัวจะท�ำลายระบบประสาท ต่อมไร้ท่อ ไต

ระบบเลือด และมีผลต่อการพัฒนาสมองของเด็ก อาการพิษเร้ือรังท่ีพบบ่อย
คือ สง่ ผลตอ่ ระบบยอ่ ยอาหาร โดยจะมอี าการปวดท้อง นำ�้ หนักลด เบือ่ อาหาร
คล่ืนไส้ อาเจียน ท้องผูก นอกจากนี้ยังส่งผลต่อประสาทและสมองท�ำให้
ทรงตัวไม่อยู่ เกิดอาการประสาทหลอน ซึม ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต สลบ
และอาจรุนแรงถงึ ขั้นเสียชีวติ ได้

แคดเมียม เป็นส่วนประกอบใน

แผ่นวงจรพิมพ์ ตัวต้านทาน และ
หลอดภาพรังสีแคโทด สามารถ
สะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้และมี
ความเป็นพิษสูง พิษเฉียบพลัน
เกิดจากการสูดไอของแคดเมียมเข้าไป
ท�ำให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ หากได้รับ
ในระยะยาวแคดเมียมจะไปสะสมท่ีกระดูก ท�ำให้กระดูกผุ เมื่อสะสมมากๆ
จะสังเกตเห็นวงสีเหลืองที่โคนของซี่ฟันซ่ึงจะขยายขนาดขึ้นเรื่อยๆ จนอาจ
เต็มซ่ี ถ้าขนาดของวงยิ่งกว้างและสียิ่งเข้มแสดงว่ามีแคดเมียมสะสมมาก
นอกจากนั้นยังส่งผลต่อไตท�ำให้สูญเสียประสาทการดมกลิ่นและท�ำให ้
เกิดโรคโลหิตจาง ถ้าได้รับปริมาณมากในระยะส้ัน จะมีอาการไข้ ปวดศีรษะ
อาเจียน มอี าการเจ็บหนา้ อก และไอรนุ แรง

10 ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี

ปรอท พบในหลอดฟลูออเรสเซนต์ และจอ LCD ปรอทสามารถสะสมท่ ี

ไขมันในร่างกายได้เป็นระยะเวลานาน พิษของปรอทมีตั้งแต่เล็กน้อยจนถึง
รนุ แรงและอาจเสียชีวติ โดยอาจท�ำให้ใจสั่น นอนไม่หลบั ปวดศรี ษะ ตาพรา่ มัว
เดนิ เซ พูดไมช่ ัด อ่อนเพลีย และอาจท�ำลายระบบประสาท สง่ ผลตอ่ การเรียนรู้
กระบวนการคิด ความจำ� สมาธิ และการส่อื สาร กรณีสตรมี ีครรภร์ ับประทาน
ปลาที่มีการสะสมของสารปรอท จะส่งผลต่อพัฒนาการของทารกในครรภ ์
และถูกสะสมอยู่ในน้�ำนมแม่ด้วย หากร่างกายมีการสะสมของสารปรอทใน
ปริมาณสงู จะส่งผลต่อไต ระบบการหายใจ และอาจรุนแรงถึงขั้นเสยี ชวี ติ ได้

โครเมยี ม ใชผ้ สมกับโลหะ เพ่ือใหเ้ กิดความแขง็ แรง มีความเหนยี วทนทาน

และไมเ่ ป็นสนมิ การสูดควันของกรดโครมิคจะทำ� ใหเ้ กิดโรคระบบทางเดนิ หายใจ
แผ่นก้ันระหว่างจมูกถูกท�ำลาย การได้รับสารเฮกซะวาเลนท์โครเมียม จะท�ำให้
เ กิ ด อ า ก า ร ร ะ ค า ย เ คื อ ง ที่ ผิ ว ห นั ง
โรคหอบหืด โรคระบบทางเดินหายใจ
ท�ำให้เย่ือแก้วหูเป็นรู ปอด ตับ ไต
ล�ำไส้ถูกท�ำลาย มีอาการบวมน�้ำ
เ จ็ บ บ ริ เ ว ณ ก ร ะ บั ง ล ม
ท�ำให้ฟันเปลี่ยนสี หาก
ไดร้ บั เปน็ ระยะเวลานาน
อาจท�ำใหเ้ กดิ มะเรง็ ได้

ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี 11

เบริลเลียม พบในแผงวงจรและ

คอนเนคเตอรข์ องอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์
เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์โดยเฉพาะ
มะเร็งปอด หากสัมผัสจะท�ำให้เกิดแผล
ที่ผิวหนังอย่างรุนแรง สารน้ีก่อให้เกิดการ
ระคายเคืองของเย่ือเมือกในระบบทางเดินหายใจ
กอ่ ใหเ้ กดิ อาการไอ หายใจลำ� บาก เป็นไข้ ทำ� ใหเ้ กดิ โรคปอดอกั เสบ ท�ำให้ระบบ
การท�ำงานของต่อมไทรอยด์ และต่อมไร้ท่อผิดปกติ สามารถสะสมในน�้ำนม
กระแสเลือดและสามารถถ่ายทอดในห่วงโซ่อาหารได้

สารหนู พบในแผงวงจรไฟฟา้ ของโทรศัพทม์ อื ถอื และคอมพิวเตอร์ มีฤทธ์ิ

ทำ� ลายระบบประสาท ผวิ หนงั และระบบการยอ่ ยอาหาร หากไดร้ บั ในปรมิ าณมาก
อาจทำ� ให้ถงึ ตายได้ อาการพิษเฉยี บพลัน ก่อใหเ้ กดิ การระคายเคืองต่อบริเวณ
ท่ีสัมผัสสารหนู และอาจท�ำให้คลื่นไส้ อาเจียน เป็นตะคริว กล้ามเน้ือเกร็ง
อาจเกิดอาการแทรกซ้อนเก่ียวกับการท�ำงานของหัวใจและเสียชีวิตจากการ
ท�ำงานล้มเหลวของหัวใจ อาการพิษเรื้อรัง จะท�ำให้เกิดแผลหรือรูท่ีช่องจมูก
มีรอยด่างด�ำที่ผิวหนัง อาจมีเส้นสีขาวบนเล็บ เกิดอาการชาตามปลายมือ
ปลายเท้า รู้สึกแสบร้อน แขนขาไม่มีแรง ผิวหนังเกิดอาการนูนบวมแข็งซึ่งอาจ
เป็นสาเหตุของมะเร็งผิวหนัง อาจก่อให้เกิดมะเร็งปอด รวมท้ังมีผลต่อทารก
ในครรภ์

สารท�ำความเยน็ เมอื่ หายใจเขา้ ไปจะกอ่ ใหเ้ กดิ การระคายเคอื งตอ่ ระบบ

ทางเดนิ หายใจ จมูก คอ ทำ� ให้ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเรว็ หัวใจล้มเหลว อาจท�ำให้

12 ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี

เสียชีวิตได้ การสัมผัสถูกผิวหนัง ท�ำให้เกิดการระคายเคือง และมีอาการชา
เนอ่ื งจากความเย็น

การป้องกันสารอันตรายจากการร้ือและถอดแยก
ขยะอิเล็กทรอนกิ ส์

ในขณะที่ท�ำการร้ือและถอดแยกขยะอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ปฏิบัติงานควรสวมใส่
อปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล เพอื่ ปอ้ งกนั อนั ตรายทอี่ าจเกดิ ขนึ้ จากสภาพ
แวดลอ้ มในการท�ำงาน อปุ กรณป์ ้องกันอันตรายสว่ นบุคคล ไดแ้ ก่
1. แวน่ ตานริ ภยั รปู รา่ งลกั ษณะคลา้ ยแวน่ ตาทวั่ ไป ตา่ งกนั ทค่ี วามทนทาน

แขง็ แรง และวสั ดทุ ใ่ี ชท้ ำ�แวน่ กบั เลนส์ การสวมใสแ่ วน่ ตานริ ภยั เพอื่ ชว่ ย
ป้องกันเศษวัสดุต่างๆ กระเด็นเข้าตา ดังน้ันควรเลือกแว่นท่ีมีกรอบ
กระชบั แขง็ แรง มนี ำ้ �หนกั เบา สวมใส่สบาย พอดีกบั รูปหนา้ และจมกู
ของผูป้ ฏบิ ตั ิงาน

ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี 13

2. ผา้ ปดิ ปาก-ปดิ จมกู สวมใสเ่ พอื่ ปอ้ งกนั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านจากอนั ตรายทอี่ าจ
เกดิ ข้ึนจากการสมั ผัสฝนุ่ ละออง หมอก ควนั หรอื ไอของสารเคมี

3. ถุงมอื สวมใสเ่ พอ่ื ปอ้ งกนั อนั ตรายจากการถกู วตั ถุมคี มบาด การขูด
ขีดทำ�ให้ผิวหนังถลอก การเลือกถุงมือควรเลือกตามความเหมาะสม
กบั ลกั ษณะของงาน

4. รองเทา้ สวมใสเ่ พอ่ื ปอ้ งกนั อนั ตรายหรอื การบาดเจบ็ ของเทา้ จากการ
ถูกเศษวัสดุหรือส่ิงของกระแทกหรือตกใส่เท้า รวมท้ังป้องกันการ
สัมผัสสารอันตรายกรณีเกิดการรั่วไหล รองเท้ามีหลายประเภท
ได้แก่ รองเท้าธรรมดา รองเท้าหุ้มข้อ รองเท้าบู๊ท ควรเลือกตาม
ความเหมาะสมกับลักษณะของงาน

14 ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี

ขอ้ ควรปฏบิ ัตสิ �ำหรับผูป้ ฏบิ ัติงาน

● ควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลทุกครั้งที่ทำ�การร้ือ
และถอดแยกขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

● อาหารและนำ้ �ดื่มไม่ควรต้ังอยู่ในบริเวณท่ีทำ�การรื้อและถอดแยกขยะ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์เพือ่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ การปนเป้ือน

● ควรล้างมอื ทุกครั้งกอ่ นรับประทานอาหารและนำ้ �ดืม่
● ควรทำ�ความสะอาดร่างกาย และเปล่ียนเสื้อผ้าใหม่ทุกคร้ังหลังเสร็จ

จากการรือ้ และถอดแยกขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส์
● ควรจัดเก็บชิ้นส่วนที่รื้อและถอดแยกให้เป็นหมวดหมู่ เป็นระเบียบ

เรียบร้อย ไม่กีดขวางทางเดิน และไม่วางสูงเกินไปจนอาจก่อให้เกิด
อันตราย
● ควรจัดเก็บเคร่ืองจักร เครื่องมือและอุปกรณ์อย่างเป็นสัดส่วน
เป็นระเบียบเรยี บร้อย และปลอดภยั
● ควรจดั หาภาชนะทเ่ี หมาะสมและมขี นาดเพยี งพอสำ�หรบั รองรบั เศษขยะ
ที่เหลือจากการร้ือและถอดแยก หรือจัดหาพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสมไว้ใช้
สำ�หรับวางกองขยะ รวมทั้งดูแลมิให้เกิดการท้ิงขยะเกลื่อนกลาด
ในบริเวณโดยรอบ และรวบรวมสง่ ไปกำ�จดั

ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี 15

แนวทางการจัดการ

ขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส์....

แนวทางการจัดการขยะอิเล็กทรอนกิ ส์

1. การป้องกันต้ังแต่ต้นทาง สามารถท�ำได้โดยใช้หลัก 3R เพื่อลดปริมาณ
การเกดิ ขยะอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ดังน ้ี

1.1 การลด คอื ลดปริมาณการบริโภคตั้งแต่ตน้ ทาง
● ลดการซื้อผลิตภัณฑ์โดยไม่จำ�เป็น ก่อนซอ้ื ควรคดิ อย่างรอบคอบ

ว่าผลิตภัณฑน์ น้ั มีความจำ�เป็นและต้องการใช้จริงๆ หรือไม่
● เลือกผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ไม่มีส่วนประกอบของ

สารอนั ตรายหรอื มใี นปรมิ าณต่ำ� โดยอาจพจิ ารณาเลอื กซอ้ื สนิ คา้
ท่ีมีฉลาก มอก. หรอื ฉลากสินค้าท่ีเปน็ มติ รตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม
● เลอื กใช้ผลิตภัณฑท์ ม่ี ีสว่ นผสมหรอื ผลิตจากวสั ดรุ ไี ซเคิล
● เลอื กใช้ผลิตภณั ฑท์ ี่มอี ายกุ ารใช้งานยาวนาน เชน่ หลอดฟลูออ-
เรสเซนต์ ท่ีมจี ำ�นวนชั่วโมงใชง้ านสงู

1.2 การใชซ้ ้ำ�
● ซ่อมแซมผลิตภณั ฑท์ ีช่ ำ�รดุ เพ่ือนำ�ผลติ ภัณฑ์นัน้ กลบั มาใช้ใหม่
● บรจิ าคหรอื สง่ ตอ่ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ และอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ไ่ี มไ่ ด ้

ใช้งานแลว้ แตย่ งั สามารถใช้งานได้ให้แก่บุคคลทต่ี อ้ งการต่อไป

1.3 การรีไซเคิล
● ขณะนี้กรมควบคุมมลพิษได้มีการดำ�เนินงานด้านกฎหมายเพ่ือ

จดั การซากผลติ ภณั ฑเ์ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ โดยจดั ทำ�

ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี 17

(ร่าง) พระราชบัญญัติการจัดการซากผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์และซากผลิตภัณฑ์อ่ืนขึ้น เพื่อใช้กำ�กับ
ดูแลการจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ โดยใช้หลักความรับผิดชอบ
ของผู้ผลิต และใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ในการเรียกคืน
ซากผลติ ภัณฑ์ฯ โดยมีเปา้ หมายหลัก คอื มีระบบการคัดแยกและ
เก็บรวบรวมซากผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ตู้เย็น โทรทัศน์ เครื่องปรับอากาศ
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และนำ�ซากผลิตภัณฑ์ฯ ท่ีรวบรวมได้
ไปบำ�บัดหรือกำ�จัดอย่างถูกต้องโดย
ผู้ ผลิ ต แ ล ะ ผู้ นำ� เ ข้ า ร ว ม ท้ั ง
มโี รงงานคดั แยกและรไี ซเคลิ
ซากผลิตภัณฑ์ฯ อย่าง
ครบวงจร
● กรณขี ยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ทม่ี ผี รู้ บั ซอ้ื ควรพจิ ารณา
บริษัทท่ีมีความสามารถ
ในการจดั การอยา่ งถกู ตอ้ ง
และปลอดภยั ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม
● กรณีขยะอิเล็กทรอนิกส์ท่ีไม่มีการ
รับซ้ือคืน ควรคัดแยกขยะอิเล็กทรอนิกส์ออกจากขยะท่ัวไป
เพ่ือให้หน่วยงานท้องถิ่นสามารถนำ�ไปกำ�จัดหรือรีไซเคิลได้
อย่างถกู ต้อง

18 ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี

2. ควรใช้ผลิตภัณฑ์อย่างคุ้มค่า โดยใช้งานอย่างระมัดระวัง ดูแลรักษาตาม
คมู่ ือการใชง้ าน และมีการซ่อมแซมเพอ่ื ช่วยยืดอายุการใช้งานผลิตภัณฑ์
3. ไม่ควรท้ิงขยะอิเล็กทรอนิกส์ปนกับขยะทั่วไป รวมท้ังไม่เผา ฝังดิน หรือ
ทิ้งลงในท่อระบายน้�ำ/แหล่งน�้ำสาธารณะ เพราะอาจท�ำให้สารอันตรายจาก
ขยะอเิ ล็กทรอนกิ ส์เหลา่ นัน้ ปนเป้ือนสสู่ ่ิงแวดล้อมไดโ้ ดยงา่ ย
4. ควรทงิ้ ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ ามสถานทหี่ รอื เวลาทกี่ ำ� หนด เชน่ การนำ� โทรศพั ท์
มือถอื ไปทิ้งยังสถานทห่ี รอื จดุ รบั ทง้ิ ทผ่ี ู้ผลติ หรือผู้ใหบ้ ริการเครือข่ายโทรศพั ท์
มอื ถือจดั ไว้ให้
5. ไม่ควรแกะหรือแยกชิ้นส่วนซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
รวมท้ังแบตเตอร่ีมือถือ แบตเตอร่ีรถยนต์ อย่างไม่ถูกวิธีเน่ืองจากอาจเกิด
การรว่ั ไหลของสารอันตราย ซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อสขุ ภาพและสง่ิ แวดล้อมได้

ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี 19

บรรณานุกรม

กรมควบคุมมลพษิ . 2558. คูม่ อื การจดั การซากผลติ ภณั ฑ์เครอื่ งใช้ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์. [ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา http://infofile.pcd.go.th/haz/
handbookelect.pdf (2 มถิ นุ ายน2558).

ชมพูนุท พรหมภักด์ิ. 2558 .แนวทางการรับมือปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ใน
ประเทศไทย [ระบบออนไลน]์ .แหลง่ ทมี่ า http://library.senate.go.th/docu-
ment/Ext4246/4246717_0002.PDF (1 มิถนุ ายน 2558).

มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง. 2558. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในการ
ท�ำงาน. [ระบบออนไลน์].แหล่งท่ีมา http://e-book.ram.edu/e-book/h/
HA233/chapter6.pdf (1 มถิ ุนายน 2558).

ศนู ยว์ ทิ ยาเพอื่ การศกึ ษาขอนแกน่ . 2558. ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส.์ [ระบบออนไลน]์ .
แหล่งที่มาhttp://www.kksci.com/UserFiles/File/ขยะอิเล็คทรอนิค.pdf
(1 มถิ นุ ายน 2558).

อรวรรณ พู่พิสุทธิ์ และศุลีพร แสงกระจ่าง. 2558. ความเป็นพิษของขยะ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส.์ [ระบบออนไลน]์ .แหลง่ ทมี่ า http://www.thaitox.org/media/
upload/file/Journal/2010-1/08paper.pdf (2 มถิ ุนายน 2558).

20 ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี

e-Stewards Certification Program. 2558.Environmental Impacts.
[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา http://e-stewards.org/learn-more/for-
consumers/overview/where-does-your-e-waste-go/ (2 มิถุนายน
2558).
e-Stewards Certification Program. 2558.Lifecycle of Electronics.
[ระบบออนไลน]์ .แหลง่ ที่มา http://e-stewards.org/learn-more/for-
consumers/overview/where-does-your-e-waste-go/ (2 มิถุนายน
2558).

ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี 21

คณะท่ีปรกึ ษา

ดร.นายแพทยพ์ รเทพ ศริ ิวนารงั สรรค ์ อธบิ ดกี รมอนามัย
รองอธิบดกี รมอนามยั
นายพษิ ณุ แสนประเสรฐิ ผ้อู ำ� นวยการ
ส�ำนักอนามยั สิง่ แวดลอ้ ม
นางปริยะดา โชควิญญู นกั วิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ
พิเศษ


นางปรียานชุ บูรณะภกั ดี



ผู้เรยี บเรียง

นางสาววราภรณ์ บุญภกั ดี นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏิบัตกิ าร

คณะผู้รว่ มจดั ท�ำ

นางสาวปรียนติ ย์ ใหมเ่ จรญิ ศรี นกั วชิ าการสาธารณสขุ ช�ำนาญการ
นางสาวมลฤดี ตรวี ยั นักวิชาการสาธารณสขุ ช�ำนาญการ
นางสาวกฤษณา กาทอง นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏบิ ัติการ
นางสาวภาวินี แสนสำ� ราญ นกั วิชาการสาธารณสุข

ชื่อหนังสอื : คมู่ อื ประชาชนขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส.์ ..ของเสยี ทมี่ าพรอ้ มเทคโนโลยี
พิมพ์คร้ังที่ 1 : สงิ หาคม 2558
จ�ำนวน : 4,500 เลม่
พมิ พ์ท ี่ : โรงพิมพส์ �ำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ

22 ขยะอิเล็กทรอนิกส์...ของเสียที่มาพร้อมเทคโนโลยี

Note

Note

Note

Note

Note

Note

Note

Note

Note

Note

Note

Note


Click to View FlipBook Version