The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา รายวิชา ทร 11001

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสือเรียนทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา รายวิชา ทร11001

หนังสือเรียนทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา รายวิชา ทร 11001

Keywords: ทักษะการเรียนรู้ ทร 11001

91

ขอให้ผเู้ รียนนาบนั ทึกความเขา้ ใจท่ีไดศ้ ึกษาเรื่อง คิดเป็ น ในกิจกรรมท่ี 1 และ 2 ไปปรึกษาครู
วา่ ท่านมีความเขา้ ใจเรื่องคิดเป็นมากนอ้ ยเพยี งใด ครูใหค้ ะแนนผเู้ รียนแตล่ ะคนดว้ ยเคร่ืองหมาย 

เขา้ ใจดีมาก เขา้ ใจดีพอควร

ให้ผูเ้ รียนได้ศึกษาเรื่องของคิดเป็ นและกระบวนการคิดเป็ นต่อไปน้ีอย่างช้า ๆ ไม่ตอ้ งรีบร้อน
แลว้ ใหค้ ะแนนความเขา้ ใจของตวั เองดว้ ยเครื่องหมาย  ลงในกรอบการประเมินหลงั จากการทาความ
เขา้ ใจเสร็จแลว้

คิดเป็ นและกระบวนการคดิ เป็ น

“คิดเป็ น” เป็ นคาไทยส้ัน ๆ ง่าย ๆ ที่ดร.โกวิท วรพิพฒั น์ ใช้เพื่ออธิบายถึงคุณลักษณะท่ี
พงึ ประสงคข์ องคนในการดารงชีวติ อยใู่ นสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว รุนแรง และซบั ซอ้ นไดอ้ ยา่ ง
ปกติสุข “คิดเป็ น” มาจากความเชื่อพ้ืนฐานเบ้ืองตน้ ที่วา่ คนมีความแตกต่างกนั เป็ นธรรมดา แต่ทุกคนมีความ
ต้องการสูงสุดเหมือนกันคือความสุขในชีวิต คนจะมีความสุขได้ก็ต่อเม่ือมีการปรับตวั เองและสังคม
ส่ิงแวดลอ้ มใหเ้ ขา้ หากนั อยา่ งผสมกลมกลืนจนเกิดความพอดี นาไปสู่ความพอใจและมีความสุข อยา่ งไรก็ตาม
สังคมสิ่งแวดลอ้ มไม่ไดห้ ยดุ น่ิง แต่จะมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วและรุนแรงอยตู่ ลอดเวลาก่อให้เกิดปัญหา
เกิดความทุกข์ ความไม่สบายกายไมส่ บายใจข้ึนไดเ้ สมอ กระบวนการปรับตนเองกบั สังคมส่ิงแวดลอ้ มให้ผสม
กลมกลืนจึงตอ้ งดาเนินไปอยา่ งต่อเนื่องและทนั การ คนที่จะทาไดเ้ ช่นน้ีตอ้ งรู้จกั คิด รู้จกั ใช้สติปัญญา รู้จกั
ตวั เองและธรรมชาติสังคมส่ิงแวดลอ้ มเป็ นอย่างดี สามารถแสวงหาขอ้ มูลท่ีเก่ียวขอ้ งอย่างหลากหลายและ
พอเพียง อยา่ งนอ้ ย 3 ประการ คือ ขอ้ มูลทางวิชาการ ขอ้ มูลทางสังคมสิ่งแวดลอ้ ม และขอ้ มูลที่เก่ียวขอ้ งกบั
ตนเองมาเป็ นหลกั ในการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อเลือกแนวทางการตัดสินใจที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหา หรือ
สภาพการณ์ที่เผชิญอยู่อย่างรอบคอบ จนมีความพอใจแล้วก็พร้อมจะรับผิดชอบการตดั สินใจน้ันอย่าง
สมเหตุสมผล เกิดความพอดีความสมดุลในชีวิตอยา่ งสันติสุข เรียกไดว้ า่ “คนคิดเป็ น” กระบวนการ คิดเป็ น
อาจสรุปไดด้ งั น้ี

92

“คดิ เป็ น”

ปัญหา กระบวนการคิดเป็ น ความสุข

ขอ้ มลู ท่ีตอ้ งนามาพจิ ารณา

ตนเอง สงั คม วชิ าการ

ไม่พอใจ พอใจ

การวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหข์ อ้ มลู
ที่หลากหลายและพอเพยี ง
อยา่ งละเอียดรอบคอบ

ลงมือปฏิบตั ิ การตดั สินใจ ลงมือปฏิบตั ิ
เลือกแนวทางปฏิบตั ิ

ท่านอาจารย์ ดร.โกวทิ วรพพิ ฒั น์ เคยกล่าวไวว้ า่ “คิดเป็ น” เป็นคาเฉพาะที่หมายรวมทุกอยา่ ง
ไวใ้ นตวั แลว้ เป็ นคาที่บรู ณาการเอาการคิด การกระทา การแกป้ ัญหา ความเหมาะสม ความพอดี ความเช่ือ
วฒั นธรรมประเพณี คุณธรรมจริยธรรม มารวมไวใ้ นคาวา่ “คิดเป็ น” หมดแลว้ นน่ั คือ ตอ้ งคิดเป็น คิดชอบ
ทาเป็น ทาชอบ แกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีคุณธรรมและความรับผดิ ชอบ ไม่ใช่เพยี งแคค่ ิดอยา่ งเดียว เพราะเร่ือง
ดงั กล่าวเป็นขอ้ มูลที่ตอ้ งนามาประกอบการคิด การวเิ คราะห์อยา่ งพอเพยี งอยแู่ ลว้

กระบวนการเรียนรู้ตามทิศทางของ “คิดเป็ น” น้ี ผเู้ รียนสาคญั ที่สุด ผสู้ อนเป็ นผจู้ ดั โอกาส
จดั กระบวนการ จดั ระบบขอ้ มูล และแหล่งการเรียนรู้ รวมท้งั การกระตุน้ ใหก้ ระบวนการคิด การวเิ คราะห์
ได้ใช้ขอ้ มูลอย่างหลากหลาย ลึกซ้ึงและพอเพียง นอกจากน้ัน “คิดเป็ น” ยงั ครอบคลุมไปถึงการหล่อ
หลอมจิตวิญญาณของคนทางาน กศน. ที่ปลูกฝังกนั มาจากพ่ีสู่น้องนับสิบ ๆ ปี เป็ นตน้ ว่า การเคารพ
คุณคา่ ของความเป็นมนุษยข์ องคนอยา่ งเทา่ เทียมกนั การทาตวั เป็นสามญั เรียบง่าย ไม่มีมุม ไมม่ ีเหลี่ยม ไม่

93

มีอตั ตา ใหเ้ กียรติผอู้ ื่นดว้ ยความจริงใจ มองในดีมีเสีย ในเสียมีดี ในขาวมีดา ในดามีขาว ไม่มีอะไรที่ขาว
ไปท้งั หมด และไม่มีอะไรที่ดาไปท้งั หมด ท้งั น้ีตอ้ งมองในส่วนดีของผอู้ ื่นไวเ้ สมอ

จากแผนภูมิดงั กล่าวน้ี จะเห็นวา่ คิดเป็ นหรือกระบวนการคิดเป็ นน้นั จะตอ้ งประกอบดว้ ย
องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. เป็ นกระบวนการเรียนรู้ท่ีประกอบดว้ ยการคิด การวเิ คราะห์ และสังเคราะห์ขอ้ มูลประเภท
ต่าง ๆไม่ใช่การเรียนรู้จากหนงั สือหรือลอกเลียนจากตาราหรือรับฟังการสอนการบอกเล่า
ของครูแตเ่ พียงอยา่ งเดียว

2. ขอ้ มูลที่นามาประกอบการคิด การวเิ คราะห์ต่าง ๆ ตอ้ งหลากหลาย เพียงพอ ครอบคลุม
อย่างน้อย 3 ดา้ น คือ ขอ้ มูลทางวิชาการ ขอ้ มูลเก่ียวกบั ตนเอง และขอ้ มูลเกี่ยวกบั สังคม
สิ่งแวดลอ้ ม

3. ผเู้ รียนเป็ นคนสาคญั ในการเรียนรู้ ครูเป็ นผจู้ ดั โอกาสและอานวยความสะดวกในการจดั การ
เรียนรู้

4. เรียนรู้จากวถิ ีชีวติ จากธรรมชาติและภูมิปัญญา จากประสบการณ์และการปฏิบตั ิจริง ซ่ึงเป็ น
ส่วนหน่ึงของการเรียนรู้ตลอดชีวติ

5. กระบวนการเรียนรู้เป็ นระบบเปิ ดกวา้ ง รับฟังความคิดของผอู้ ่ืนและยอมรับความเป็ นมนุษย์
ที่ศรัทธาในความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ดงั น้นั เทคนิคกระบวนการที่นามาใชใ้ นการเรียนรู้
จึงมกั จะเป็นวธิ ีการสานเสวนา การอภิปรายถกแถลง กลุ่มสัมพนั ธ์หรือกลุ่มสนทนา

6. กระบวนการคิดเป็ นน้นั เมื่อมีการตดั สินใจ ลงมือปฏิบตั ิแลว้ จะเกิดความพอใจ มีความสุข
แต่ถา้ ลงมือปฏิบตั ิแลว้ ยงั ไม่พอใจก็จะมีสติไม่ทุรนทุรายไม่เดือดเน้ือร้อนใจ แต่จะกลบั ยอ้ น
ไปหาสาเหตุแห่งความไม่สาเร็จ ไม่พึงพอใจกบั การตดั สินใจดงั กล่าว แลว้ แสวงหาขอ้ มูล
เพ่ิมเติม เพ่ือหาทางเลือกในการแกป้ ัญหาแลว้ ทบทวนการตดั สินใจใหม่จนกวา่ จะพอใจกบั
การแกป้ ัญหาน้นั

ท่านเขา้ ใจเร่ืองของคิดเป็ น และกระบวนการคิดเป็ นหรือยงั ? อยา่ ลืมใส่เคร่ืองหมาย  เพ่ือประเมิน
ตนเองดว้ ย

เขา้ ใจดี เขา้ ใจพอสมควร

94

เรื่องท่ี 4 ฝึ กทกั ษะการคดิ เป็ น

คิดเป็น เป็นเรื่องของการสร้างสมประสบการณ์ท่ีจะทาความเขา้ ใจกบั ความจริงของชีวิต
คิดเป็นนอกจากจะเป็นการทาความเขา้ ใจกบั หลกั การและแนวคิดแลว้ กระบวนการเรียนรู้จะเนน้ หนกั ไป
ท่ีการฝึ กปฏิบตั ิจากกรณีตวั อย่าง และจากการปฏิบตั ิจริงในวิถีการดารงชีวิตประจาวนั รวมท้งั การได้
แลกเปล่ียนความคิดและประสบการณ์ จากการสานเสวนาหรืออภิปรายถกแถลงกบั เพ่ือนในกลุ่มดว้ ย
คนมีทกั ษะสูงก็จะสามารถมองเห็นทางเลือกและช่องทางในการแกป้ ัญหาไดร้ วดเร็วและคล่องแคล่วมาก
ข้ึน ฉะน้นั การฝึ กปฏิบตั ิบ่อยคร้ัง และดว้ ยวธิ ีท่ีหลากหลายก็จะช่วยใหก้ ารแกป้ ัญหาไม่ผิดพลาดมากนกั
ในตอนสุดทา้ ยน้ีเป็ นการเสนอกิจกรรมตวั อย่างให้ครูและผูเ้ รียนได้ร่วมกนั ปฏิบตั ิเพ่ือเพ่ิมพูนทกั ษะ
“คิดเป็ น” ให้เข้มแข็ง เฉียบคม ฉับไว จนเกิดสภาพคล่องเป็ นธรรมชาติ และใช้เวลาในการคิด
การตดั สินใจท่ีรวดเร็วข้ึนดว้ ย

กจิ กรรมฝึ กทกั ษะที่ 1 กรณตี วั อย่างเรื่อง “ชาวบ้านบางระจัน”
ในราวปี พ.ศ. 2310 พม่าขา้ ศึกไดย้ กทพั มาโจมตีกรุงศรีอยุธยาที่อยใู่ นสภาพอ่อนแอขาดความ

สมานฉันทส์ ามคั คี แต่มีชาวบา้ นบางระจนั กลุ่มหน่ึงมีผนู้ าสาคญั เช่น ขุนสวรรค์ พนั เรือง นายทองแสง
ใหญ่ นายแท่น นายดอก นายทองเหม็น และนายจนั หนวดเข้ียว ผูม้ ีฝี มือทางการรบโดยมีพระอาจารย์
ธรรมโชติ พระสงฆผ์ แู้ ก่กลา้ ทางคาถาอาคมเป็นศูนยร์ วมขวญั กาลงั ใจไดร้ วมกาลงั กนั เขา้ โจมตีพม่าขา้ ศึก
จนไดร้ ับชยั ชนะถึง 7 คร้ัง ท้งั ๆ ท่ีมีกาลงั นอ้ ยกวา่ มากต่อมาก จนพม่าไม่กลา้ ออกจากค่ายมารบดว้ ย แต่
ใชว้ ิธียิงปื นใหญ่มาทาลายค่ายของชาวบา้ นบางระจนั จนเสียหาย ผคู้ นลม้ ตายไปมาก ชาวบา้ นบางระจนั
ส่งคนไปขอปื นใหญ่จากกรุงศรีอยุธยาก็ไม่ได้รับการอนุญาตเพราะกลัวพม่าจะแย่งชิงระหว่างทาง
ชาวบ้านบางระจนั จึงรวบรวมโลหะท่ีมีอยู่หล่อปื นใหญ่เอง แต่ความท่ีขาดวิชาการความรู้ การหล่อ
ปื นใหญ่จึงไม่ประสบความสาเร็จ ในที่สุดชาวบา้ นบางระจนั ซ่ึงถนัดในการรบแบบใช้กาลงั ฝี มือก็ไม่
สามารถเอาชนะพม่าขา้ ศึกได้ ตอ้ งถูกโจมตีแตกพา่ ยไป

ประเด็น
1. ถา้ ท่านเป็ นคนไทยในสมยั น้ัน ท่านคิดจะไปช่วยชาวบา้ นบางระจนั ต่อสู้กบั ขา้ ศึกหรือไม่
เพราะเหตุใด
2. หากท่านจะใชก้ ระบวนการ “คิดเป็ น” ในการตดั สินใจคร้ังน้ี ท่านจะใชข้ อ้ มูลประกอบการ
ตดั สินใจอยา่ งไรบา้ ง
1) ขอ้ มลู ตนเอง (ตวั ทา่ นและชาวบา้ นบางระจนั )
2) ขอ้ มลู สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม
3) ขอ้ มูลทางวชิ าการ

95

กจิ กรรมฝึ กทกั ษะท่ี 2 กรณตี ัวอย่าง เรื่อง ข่าวทนี่ ่าสนใจ
ให้ผเู้ รียนและผสู้ อนร่วมกนั สนทนาถึงข่าวสารท่ีไดร้ ับการกล่าวขวญั และวิพากษว์ จิ ารณ์ทางสื่อ

ในปัจจุบนั แลว้ เลือกข่าวที่น่าสนใจมา 1 ข่าว ท่ีบุคคลในข่าวไดต้ ดั สินใจกระทาการอยา่ งใดอย่างหน่ึงไป
ตามท่ีปรากฏในข่าวน้นั สมมติวา่ ผูเ้ รียนเป็ นบุคคลในข่าวน้นั ผูเ้ รียนจะตดั สินใจ เหมือนบุคคลในข่าว
หรือไม่ เพราะอะไร ใหแ้ สดงวธิ ีการแยกแยะขอ้ มูลท้งั 3 ดา้ นประกอบการคิดการตดั สินใจใหช้ ดั เจนดว้ ย

สาระของข่าว
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
การตดั สินใจของทา่ น
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
เพราะขอ้ มลู ที่ศึกษา มีดงั น้ี

ขอ้ มูลทางวชิ าการ
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

ขอ้ มูลทางสังคมส่ิงแวดลอ้ ม.
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

ขอ้ มูลเก่ียวกบั ตนเอง
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

96

กจิ กรรมฝึ กทกั ษะที่ 3 กรณตี ัวอย่างเรื่อง “เหตุเกดิ ทโ่ี นนหมากมุ่น”
ผมสิบตรีมน่ั มีเขียน ประจาอยู่ ร.พนั 11 ขณะน้ีปฏิบตั ิการอยทู่ ี่อรัญประเทศ คืนน้นั ผมกบั เพ่ือน

อยหู่ มวดลาดตระเวน เราจะตอ้ งแบ่งกนั ออกลาดตระเวนเป็ นหมู่ ๆ ในขณะที่เรารออยใู่ นบงั เกอร์ บางคน
ก็นงั่ บางคนก็เอนนอน ... คุยกนั อยา่ งกระซิบกระซาบ เสียงปื นดงั อยู่เป็ นจงั หวะไม่ไกลนกั เราจะตอ้ ง
ออกลาดตระเวนตรวจดูว่า พวกขา้ ศึกท่ีชายแดนจะรุกล้าเขา้ มาหรือไม่ เราไม่เคยนึกดอกครับว่า ทหาร
ญวนกบั เขมรเสรีที่กาลงั ตอ่ สู่กนั น้นั จะรุกล้าเขา้ มาในเขตของเราแมเ้ ขากาลงั รบติดพนั กนั อยู่

พอไดเ้ วลาหมู่ของเราตอ้ งออกไปลาดตระเวน เดือนก็มืด คนั นาที่เราเหยยี บย่ามาน้นั เราเห็นเป็ น
เส้นดา ๆ ยดื ยาว... ขา้ งหนา้ คือหมบู่ า้ นโนนหมากมุน่

เราเดินอยา่ งแน่ใจวา่ จะไม่มีอะไรเกิดข้ึน เพราะเราไม่ไดอ้ ยทู่ ี่เส้นก้นั เขตแดน ทนั ใดน้นั เองเสียงปื น
ดงั ข้ึน จากขา้ งซา้ ย จากขา้ งขวา ดูเหมือนจะมาท้งั สามดา้ น อะไรกนั นี่ เกิดอะไรข้ึนท่ีบา้ นโนนหมากมุ่น
เราจะทาอย่างไร ผมคิดว่าเสียงปื นมาจากปื นหลายกระบอกจานวนมากกว่าปื นเราหลายเท่านัก
ผมกระโดดลงในปลกั ควายขา้ งทาง ลูกนอ้ งของผมก็กระโดดตาม ทุกคนคิดถึงตวั เองก่อน หลบกระสุน
เอาตวั รอด มือผมกุมปื นไว้ ผมจะทาอยา่ งไร ส่ังสู้รึ อาจจะตายหมด ถอยรึ ไม่ได้ ไม่ได้ เราอาจจะถอย
ไมร่ อด มนั มืดจนไม่รู้วา่ เราตกอยใู่ นสถานการณ์อยา่ งไร เพ่ือนผมล่ะ ผมเป็ นหวั หนา้ หมู่ตอ้ งรับผดิ ชอบ
ลูกน้องของผมด้วย เราทุกคนมีปื นคนละกระบอก มีกระสุนจากัด จะสู้ หรือจะถอย ค่ายทหารอยู่
ไม่ห่างไกลนกั ช่วยผมทีเถอะครับ ผมตอ้ งรับผิดชอบต่อหน้าที่ลาดตระเวน ผมต้องรับผิดชอบชีวิต
ลูกนอ้ งผมทุกคน ผมจะทาอยา่ งไร โปรดช่วยผมตดั สินใจวา่ ผมจะส่ังสู้หรือสงั่ ถอย

ประเดน็
1. ถา้ ทา่ นเป็น ส.ต.มนั่ มือเขียน จะตดั สินใจอยา่ งไร เพราะอะไร
2. ในการท่ีท่านจะตดั สินใจน้นั ท่านตอ้ งใชข้ อ้ มลู อะไรบา้ ง

วธิ ีดาเนินการ
1. วทิ ยากรเล่าเหตุการณ์บา้ นโนนหมากมุ่น
2. แบง่ กลุ่มสมาชิกออกเป็น 5 - 6 กลุ่ม เพ่อื ร่วมกนั คิดและร่วมอภิปรายถกแถลงตามประเดน็
ในเหตุการณ์ท่ีเกิดท่ีบา้ นโนนหมากมุ่น ประมาณ 10 นาที
3. ใหท้ ุกกลุ่มไดน้ าเสนอผลการคิด วเิ คราะห์ตามประเดน็ ที่กาหนด
4. สรุปประเด็นในกลุ่มใหญ่

97

กจิ กรรมฝึ กทกั ษะท่ี 4 กรณตี ัวอย่างเร่ือง “เร่ืองของฉันเอง”
ใหผ้ เู้ รียนทุกคนคิดถึงปัญหาท่ีเกิดข้ึน หรือเคยเกิดข้ึนกบั ตนเองมา 1 เรื่อง และแสดงวธิ ีการ

แกป้ ัญหาน้นั อยา่ งคนคิดเป็น โดยการแสวงหาขอ้ มูลท้งั 3 ดา้ น อยา่ งพอเพียงมาประกอบการพจิ ารณา
ในการแกป้ ัญหาน้นั ใหช้ ดั เจน และบนั ทึกกระบวนการดงั กล่าวไวด้ ว้ ย

1. ลกั ษณะของปัญหาท่ีนาไปสู่กระบวนการแกป้ ัญหาแบบคนคิดเป็น คืออะไร
2. ขอ้ มูลท้งั 3 ประการ ท่ีจะนามาเป็นขอ้ มลู ประกอบการคิดการตดั สินใจเป็นอยา่ งไร ใหเ้ สนอ

รายละเอียดของขอ้ มูลตามสมควร
3. กระบวนการวิเคราะห์ปัญหาเพอ่ื การกาหนดทางเลือกในการแกป้ ัญหาทาอยา่ งไร มีทางเลือก

ก่ีทาง อะไรบา้ ง
4. ทา่ นตดั สินใจเลือกทางเลือกขอ้ ไหน เพราะเหตุใด
5. ท่านจะนาทางเลือกไปปฏิบตั ิอยา่ งไร
6. ทา่ นพอใจและมีความสุขกบั การแกป้ ัญหาน้นั หรือไม่ อยา่ งไร

กจิ กรรมท้ายเล่ม
1. ใหค้ รูและผเู้ รียนท้งั กลุ่มช่วยกนั เขียนบนั ทึกหรือบนั ทึกลงแผน่ ซีดีรอมสรุปกระบวนการ
เรียนรู้วชิ า “คิดเป็น” ของกลุ่มผเู้ รียนกลุ่มน้ี และใหแ้ สดงความคิดเห็นส้นั ๆ ต่อผลท่ีไดจ้ าก
การศึกษารายวชิ าน้ี
2. ใหผ้ เู้ รียนแตล่ ะคนอธิบายส้นั ๆ ถึงส่ิงท่ีไดเ้ รียนรู้เพิ่มข้ึนจากการเรียนรายวชิ าคิดเป็น
3. ครูและผเู้ รียนจดั ทาแฟ้ มสะสมงานของผเู้ รียนแต่ละคนในรายวชิ าคิดเป็ น เพือ่ เป็นการ
ประเมินผลการเรียนรายบุคคล

98

บทที่ 5
การวจิ ัยอย่างง่าย

สาระสาคญั

1. การวจิ ยั เป็นการหาคาตอบท่ีอยากรู้ อยา่ งมีระบบ เพื่อใหไ้ ดร้ ับคาตอบท่ีเช่ือถือได้
2. การวจิ ยั ทาใหเ้ กิดความรู้ใหม่ ๆ และผวู้ จิ ยั ไดฝ้ ึกการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งเป็ นระบบ
3. การวจิ ยั ทาไดโ้ ดยมีข้นั ตอนการวจิ ยั อยา่ งง่าย ๆ 3 ข้นั ตอน
4. การเขียนรายงานการวจิ ยั อยา่ งง่าย เป็นการเขียนใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจเหตุผลท่ีทาวิจยั วธิ ีการ/

ข้นั ตอนการทาวิจยั และผลการวจิ ยั

ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั

เม่ือจบบทน้ี ผเู้ รียนสามารถ
1. อธิบายความหมายและประโยชน์ของการวจิ ยั ได้
2. ระบุข้นั ตอนของการทาวจิ ยั ได้
3. อธิบายวธิ ีเขียนรายงานการวิจยั ง่าย ๆ ได้

ขอบข่ายเนือ้ หา

เร่ืองท่ี 1 วจิ ยั คืออะไร มีประโยชนอ์ ยา่ งไร
เรื่องท่ี 2 ทาวจิ ยั อยา่ งไร
เรื่องที่ 3 เขียนรายงานการวจิ ยั อยา่ งไร

สื่อการเรียนรู้

1. บทเรียนวจิ ยั ออนไลน์ (http://www.elearning.nrct.net/) ของสานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั
แห่งชาติ

2. เขา้ ไปคน้ ขอ้ มลู โดยพมิ พห์ วั เร่ืองวจิ ยั ท่ีตอ้ งการศึกษาใน http://www.google.co.th
3. วารสารเอกสาร งานวจิ ยั และวทิ ยานิพนธ์ตา่ ง ๆ

99

เร่ืองท่ี 1 วจิ ัยคอื อะไร มปี ระโยชน์อย่างไร

ความหมายของการวจิ ัย
ผเู้ รียนระดบั ประถมศึกษา 2 คน ที่ตอ้ งเรียนหวั ขอ้ การวิจยั อยา่ งง่ายในเทอมน้ี กาลงั พดู คุยอยา่ ง
วติ กกงั วลท่ีตอ้ งเรียนวิจยั ดงั น้ี
สมชาย “ทา่ จะแยเ่ ทอมน้ี ตอ้ งเรียนวิจยั ดว้ ย มนั คืออะไรก็ไม่รู้ แตค่ งยากมาก ๆ แน่เลย”
สมหญิง “ใช่ ๆ พ่เี ราที่อยมู่ หาวทิ ยาลยั บอกวา่ ปวดหวั มากเลย ทาวจิ ยั น่ีตอ้ งไปคน้ หนงั สือ
มากมาย ตอ้ งรู้เร่ืองสถิติ บอกวา่ กวา่ จะทาวจิ ยั เสร็จใชเ้ วลาเป็นปี ๆ เลยล่ะ”
สมชาย “แต่วิจยั ของเราแค่ระดบั ประถม และหัวขอ้ คือวิจยั อยา่ งง่าย คงไม่ยากเหมือนวิจยั ใน
มหาวทิ ยาลยั หรอก แต่ท่ีเราสงสัยคือ วจิ ยั คืออะไร แลว้ ทาไมพวกเราตอ้ งเรียนวจิ ยั ดว้ ย มีประโยชน์อะไร”
ผเู้ รียนหลายคน คงมีปัญหาขอ้ สงสยั เหมือนสมชายและสมหญิง เราลองมาหาคาตอบกนั เถอะวา่
วจิ ยั คืออะไร มีประโยชน์อยา่ งไร
วจิ ัยคืออะไร
การวจิ ยั เป็นการหาคาตอบที่สงสัยท่ีอยากรู้อยา่ งเป็นระบบ ไมใ่ ช่คาดเดา หรือสรุปเอาเอง คาตอบ
น้นั จึงจะเชื่อถือได้
ตัวอย่างเช่น สงสัยว่า ผูเ้ รียนระดบั ประถมศึกษาใน ศรช. แห่งน้ี ใช้เวลาว่างทาอะไร จะไป
สังเกตหรือสอบถามผเู้ รียนเพียง 2 - 3 คน แลว้ มาสรุปวา่ เวลาวา่ งผเู้ รียนใน ศรช. น้ี ชอบเล่นดนตรีก็คง
ไม่ได้ แต่ตอ้ งไปสังเกตหรือทาแบบสอบถามไปให้ผเู้ รียนที่มีจานวนมากพอจะเป็ นตวั แทนของ ผเู้ รียน
ท้งั หมดตอบแลว้ นามาสรุปวา่ ผเู้ รียนส่วนใหญ่ใชเ้ วลาวา่ งทาอะไร เป็นตน้
อีกตวั อยา่ งหน่ึง เช่น ถา้ ผเู้ รียนสงสัยวา่ ผกั บุง้ ท่ีชอบกินน้นั จะข้ึนไดเ้ จริญงอกงามในดินชนิดใด
ระหวา่ งดินทรายกบั ดินเหนียว ผเู้ รียนสามารถพสิ ูจน์ขอ้ สงสัย โดยทดลองปลูกผกั บุง้ ในดินท้งั 2 ชนิดน้นั
โดยตอ้ งควบคุมสภาพแวดลอ้ มทุกอย่างให้เหมือน ๆ กนั เช่น จานวนเมล็ดพนั ธุ์ผกั บุง้ ท่ีปลูก การรดน้า
การใส่ป๋ ุย เมื่อครบเวลาท่ีจะนาผกั บุง้ มาทาอาหารผูเ้ รียนก็จะสามารถสรุปไดว้ ่าผกั บุง้ สามารถข้ึนได้ดี
ในดินชนิดไหนมากกวา่ กนั
การทดลองเช่นน้ีเราเรียกว่า เป็ นการวิจยั เร่ือง “การเปรียบเทียบความเจริญเติบโตของผกั บุง้ ท่ี
ปลูกในดินทรายกบั ดินเหนียว” ซ่ึงเป็ นการศึกษาหาความจริงท่ีอยากรู้ โดยวิธีการทดลองปฏิบตั ิจริง และ
ท่ีสาคญั ท่ีผเู้ รียนตอ้ งทาเพ่อื ใหก้ ารตอบคาถามน้ีน่าเชื่อถือคือ การจดบนั ทึกทุกข้นั ตอนของการปลูกผกั บุง้
ในดินท้งั 2 ชนิด ต้งั แต่เริ่มตน้ เตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา ให้น้า ใส่ป๋ ุย และบนั ทึกผลเมื่อผกั บุง้
เร่ิมงอกจนเกบ็ มาทาอาหารได้ เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผกั บุง้ ในดินท้งั 2 ชนิด เกี่ยวกบั จานวนตน้
ท่ีงอก ความสูงของตน้ ความสมบูรณ์แขง็ แรง เป็นตน้

100

จากตวั อยา่ งท้งั 2 เร่ืองดงั กล่าว จะเห็นวา่ ที่เรียกวา่ การวจิ ยั น้นั ประกอบดว้ ยสิ่งสาคญั คือ
1. คาถาม ปัญหา หรือขอ้ สงสยั ตา่ ง ๆ เช่น อยากรู้วา่ เพื่อน ๆ ใน ศรช. ใชเ้ วลาวา่ งทาอะไร หรือ
สงสยั วา่ ผกั บุง้ จะข้ึนไดด้ ีในดินทรายหรือดินเหนียว
2. กระบวนการหาคาตอบที่เป็นระบบ ไม่ใช่การคาดเดา แต่ตอ้ งไปสงั เกต สอบถาม สัมภาษณ์
หรือทดลองปฏิบตั ิจริง โดยไปศึกษาวธิ ีปลูกผกั บุง้ การดูแลรักษา แลว้ มาปลูกจริง สังเกต บนั ทึกผล ที่
เกิดข้ึนทุกข้นั ตอน
3. รายงานผลการดาเนินงาน หรือเรียกวา่ รายงานการวจิ ยั เป็ นการเขียนใหผ้ อู้ ื่นทราบ วา่ ทาไม
จึงสนใจทาวจิ ยั เรื่องน้นั ๆ มีวธิ ีการและข้นั ตอนการทาวิจยั อยา่ งไร และผลสรุปท่ีไดจ้ ากการวจิ ยั เป็น
อยา่ งไร

กจิ กรรมท่ี 1
ใหผ้ เู้ รียนเขียนสรุปความหมายของการวจิ ยั ตามความเขา้ ใจของตนเองและนาเสนอในการพบกลุ่ม

ประโยชน์ของการวจิ ยั

ประโยชน์ของการวจิ ัย สาหรับผทู้ าวจิ ยั เอง มีหลายประการดงั น้ี
1. ทาใหม้ ีความสนใจ กระตือรือร้น สงสยั อยากรู้อยากเห็นในส่ิงรอบตวั
2. ฝึกการเป็นคนมีเหตุผล เมื่อมีปัญหา ขอ้ สงสัย ตอ้ งหาคาตอบท่ีถูกตอ้ ง ไม่ใช่การคาดเดาหรือ

สรุปเอง
3. ฝึกการศึกษาคน้ ควา้ จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ
4. ฝึกการเป็นคนช่างคิด ช่างสังเกต อดทน
5. ฝึกการจดบนั ทึก เขียนเรียบเรียงอยา่ งเป็นระบบ
6. ฝึกการทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืน
ประโยชน์ของการวจิ ัย สาหรับผอู้ ื่น/หน่วยงาน/สงั คม
1. ความรู้ใหม่ ท่ีนาไปใชใ้ นการพฒั นางานดา้ นตา่ ง ๆ
2. นวตั กรรมสิ่งประดิษฐใ์ หม่ ๆ

กจิ กรรมท่ี 2
ใหผ้ เู้ รียนไปศึกษาคน้ ควา้ และยกตวั อยา่ งวา่ มีนวตั กรรม หรือส่ิงประดิษฐใ์ หม่ ๆ อะไรบา้ ง

ที่เกิดข้ึนจากผลของการวจิ ยั

101

เรื่องท่ี 2 ทาวจิ ยั อย่างไร

ข้นั ตอนของการทาวจิ ัย

โดยทวั่ ไป การวจิ ยั อยา่ งง่าย มีข้นั ตอนท่ีเขียนเป็นแผนภูมิได้ ดงั น้ี

ข้นั ตอน

คาถามที่ตอ้ งการคาตอบ คืออะไร

วธิ ีการหาคาตอบที่ตอ้ งการรู้ ทาอยา่ งไร

รายงานผลการหาคาตอบ

ข้นั ตอนแรก คาถามท่ีตอ้ งการคาตอบคืออะไร เป็นข้นั ตอนที่สาคญั มาก เพราะการวจิ ยั จะเร่ิมตน้ จาก
ปัญหาความสนใจ ความตอ้ งการหาคาตอบในเร่ืองใดเรื่องหน่ึงของผวู้ จิ ยั เอง

ข้นั ตอนทส่ี อง วธิ ีการหาคาตอบท่ีตอ้ งการรู้ ทาอยา่ งไร ข้นั ตอนน้ีผวู้ จิ ยั ตอ้ งแสดงวา่ จะมีแนวทางวธิ ีการ
หาคาตอบอยา่ งไรบา้ ง โดยตอ้ งเขียนรายละเอียดใหผ้ อู้ า่ นมองเห็นภาพรวมของการ
ดาเนินการวจิ ยั ท้งั หมด

ข้นั ตอนทส่ี าม รายงานผลการหาคาตอบ เป็ นข้นั ตอนสุดทา้ ย เม่ือไดร้ ับคาตอบจากการวจิ ยั แลว้ นามา
เขียนเป็นรายงานใหผ้ อู้ ่ืนทราบวา่ ทาไมจึงสนใจทาวจิ ยั เร่ืองน้นั ๆ มีวธิ ีการทาวจิ ยั
อยา่ งไร และผลที่ไดจ้ ากการทาวจิ ยั เป็นอยา่ งไร

ในข้นั ตอนของการทาวจิ ยั ท้งั 3 ข้นั ตอนดงั กล่าว มีรายละเอียดและวธิ ีการดาเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี
1. คาถามทตี่ ้องการคาตอบ คืออะไร

เป็นข้นั ตอนแรกของการวิจยั ที่ผวู้ จิ ยั ตอ้ งตอบใหไ้ ดว้ า่ อยากรู้อะไร มีปัญหาขอ้ สงสัยอะไร
คาถามท่ีตอ้ งการคาตอบคืออะไร เรียกวา่ เป็ นคาถามการวิจยั

ตวั อยา่ งคาถามการวิจยั เช่น อาหารประเภทใดที่วยั รุ่นชอบกิน วยั รุ่นใชเ้ วลาวา่ งทาอะไร ลกั ษณะ
ครูท่ีวยั รุ่นชอบเป็นอยา่ งไร ผกั ชีข้ึนไดด้ ีในดินชนิดใด ฯลฯ เป็นตน้

ที่มาของคาถามการวิจยั ได้มาจากปัญหา ข้อข้องใจ ความสนใจของผูว้ ิจยั เอง หรื อได้มาจาก
การพดู คุยกบั ผอู้ ื่นแลว้ เกิดประเด็นคาถาม หรือไดม้ าจากการศึกษาคน้ ควา้ อ่านหนงั สือ แลว้ เกิดความสนใจท่ี
จะหาคาตอบ เป็นตน้

102

กจิ กรรมที่ 3
ใหผ้ เู้ รียนเขียนคาถามการวจิ ยั ตามความสนใจของตนเอง คนละ 3 คาถาม

2. วธิ ีการหาคาตอบทต่ี ้องการรู้ ทาอย่างไร

เมื่อผวู้ จิ ยั มีคาถามการวจิ ยั แลว้ ข้นั ตอนต่อไปผวู้ จิ ยั ตอ้ งเขียนแสดงใหเ้ ห็นวา่ จะมีแนวทาง/วธิ ีการ
หาคาตอบ ในเร่ืองที่สนใจหรืออยากรู้อยา่ งไร โดยเขียนรายละเอียดใหค้ รอบคลุมหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี

1. จะทาวจิ ยั เร่ืองอะไร (ชื่อเร่ืองที่วจิ ยั )
2. ทาไมจึงทาเร่ืองน้ี (เหตุผลท่ีสนใจทาวจิ ยั เร่ืองน้ีคืออะไร)
3. อยากรู้อะไรบา้ งจากการวจิ ยั (วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั )
4. มีวธิ ีการข้นั ตอนการวจิ ยั อยา่ งไร (อธิบายรายละเอียดของการดาเนินงานวจิ ยั ระยะเวลา

แผนการดาเนินงาน)
5. ประโยชน์ท่ีไดจ้ ากการวจิ ยั คืออะไร

กจิ กรรมท่ี 4
1. ใหผ้ เู้ รียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน
2. ในกลุ่มใหแ้ ต่ละคนนาเสนอคาถามการวจิ ยั ตามที่ตนเองสนใจที่เคยเขียนไวใ้ นกิจกรรมที่ 3
3. กลุ่มพิจารณาเลือกคาถามการวจิ ยั ที่น่าสนใจที่สุดมา 1 คาถาม
4. ระดมสมองในกลุ่มวา่ จากคาถามการวจิ ยั ท่ีเลือกมา จะทาวิจยั เรื่องอะไร ทาไม จึงทาเรื่องน้ี อยากรู้
คาตอบอะไร จะเกิดประโยชน์อยา่ งไร และมีแนวทาง/วธิ ีการทาวจิ ยั อยา่ งไรบา้ ง
5. ส่งตวั แทนไปนาเสนอรายละเอียดในขอ้ 4 ในการพบกลุ่มใหญ่

3. รายงานผลการหาคาตอบ

เป็นข้นั ตอนสุดทา้ ยของการวิจยั เมื่อทาวิจยั เสร็จเรียบร้อยแลว้ เรียกวา่ เป็ นรายงานการวจิ ยั
เขียนเพอ่ื ให้ผอู้ า่ นเขา้ ใจถึงเหตุผลท่ีทาวจิ ยั สิ่งที่อยากรู้ในการทาวจิ ยั วธิ ีการ/ข้นั ตอนของการทาวจิ ยั
และผลการวจิ ยั

103

เร่ืองที่ 3 เขยี นรายงานการวจิ ยั อย่างไร

การเขยี นรายงานการวจิ ัยอย่างง่าย ๆ
การเขียนรายงานการวจิ ยั อยา่ งง่าย ๆ ส่วนใหญจ่ ะประกอบดว้ ยหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี

1. ชื่อเรื่องที่วจิ ยั
2. ชื่อผวู้ จิ ยั
3. เหตุผลที่ทาวจิ ยั (ทาไมจึงทาวจิ ยั เรื่องน้ี)
4. อยากทราบอะไรจากการวจิ ยั (วตั ถุประสงคก์ ารวิจยั )
5. วธิ ีการดาเนินการวจิ ยั (ข้นั ตอน/วธิ ีการ/ระยะเวลาการวิจยั )
6. ผลการวจิ ยั (ขอ้ คน้ พบจากการวจิ ยั )

กจิ กรรมที่ 5
ใหผ้ เู้ รียนแบ่งกลุ่มไปศึกษาคน้ ควา้ รายงานการวจิ ยั ในเอกสารหรือเวบ็ ไซตแ์ ละเขียนสรุปรายงาน

การวจิ ยั ที่สนใจ ใหค้ รอบคลุมท้งั 6 หวั ขอ้ ขา้ งตน้ เป็ นรายงานกลุ่มส่งครูประจากลุ่ม

เฉลยกจิ กรรม

กจิ กรรมที่ 1
คาตอบอาจมีหลากหลาย แต่ท่ีสาคัญคือ ความหมายของการวิจัย ต้องการมีศึกษาค้นคว้า

หาคาตอบอยา่ งเป็นระบบ ไม่ใช่การคาดเดาหรือสรุปเอาเอง
กจิ กรรมที่ 2

คาตอบเป็ นไปตามส่ิงที่ผูเ้ รียน ไดไ้ ปศึกษาคน้ ควา้ และยกตวั อยา่ งเกี่ยวกบั นวตั กรรม ผลงาน
สิ่งประดิษฐท์ ี่เกิดข้ึนจากการวจิ ยั
กจิ กรรมที่ 3

คาตอบเป็ นไปตามคาถาม การวจิ ยั ของผเู้ รียนแต่ละคน
กจิ กรรมท่ี 4

คาตอบในขอ้ 4 ใหค้ รอบคลุมชื่อเร่ืองท่ีวิจยั เหตุผลความเป็นมาท่ีทาวจิ ยั วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั
วธิ ีการ/ข้นั ตอนการวจิ ยั ประโยชนไ์ ดร้ ับจากการวิจยั
กจิ กรรมท่ี 5

คาตอบใหค้ รอบคลุมชื่อเร่ืองท่ีวจิ ยั ชื่อผวู้ จิ ยั เหตุผลที่ทาวจิ ยั วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั วธิ ีการ
ดาเนินการวจิ ยั ผลการวจิ ยั

104

บทที่ 6
ทกั ษะการเรียนรู้และศักยภาพหลกั ของพนื้ ทใี่ นการพฒั นาอาชีพ

ในปัจจุบนั โลกมีการแขง่ ขนั กนั มากข้ึน โดยเฉพาะการประกอบอาชีพต่าง ๆ จาเป็ นตอ้ งมีความรู้
ความสามารถ ความชานาญการ ท้งั ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ ผทู้ ่ีประสบผลสาเร็จในอาชีพของตนเอง จะตอ้ ง
มีการคน้ ควา้ หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ความสามารถให้สอดคลอ้ งกบั การ
เปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา การที่จะจดั การอาชีพให้ไดผ้ ลสาเร็จน้นั จาเป็ นตอ้ งมีปัจจยั หลายดา้ น การ
เรียนรู้ปัจจยั ดา้ นศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนท่ี เป็นเร่ืองที่สาคญั เร่ืองหน่ึงที่ตอ้ งเรียนรู้

เร่ืองที่ 1 ความหมาย ความสาคัญของศักยภาพหลกั ของพนื้ ทใ่ี นการพฒั นาอาชีพ

ศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนที่ คือ ทกั ษะการเรียนรู้ที่สาคญั ท่ีจะตอ้ งนามาพฒั นา เป็ นขอ้ มูลหลกั ในการ
ประกอบอาชีพ หรือพฒั นาอาชีพเป็นขอ้ มลู สาคญั ท่ีจะทาใหก้ ารประกอบอาชีพ หรือการพฒั นาอาชีพน้นั ๆ
เพ่ิมขีดความสามารถในการยกระดบั คุณภาพชีวิตและสังคม เป็ นทกั ษะการเรียนรู้ท่ีคานึงถึงสภาพแต่ละ
พ้ืนที่ที่มีความแตกต่าง และมีความตอ้ งการของทอ้ งถ่ินไม่เหมือนกนั ความสาเร็จในการประกอบอาชีพ
ในพ้ืนที่หน่ึง อาจไม่เป็ นความสาเร็จในอีกพ้ืนที่หน่ึงได้ การศึกษาเร่ืองการประกอบอาชีพหรือพฒั นา
อาชีพจึงตอ้ งเนน้ การศึกษาศกั ยภาพหลกั ของพ้นื ท่ีเป็นสาคญั

ในสภาพปัจจุบนั ดว้ ยพลวตั หรือการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและการสื่อสารเทคโนโลยี
ของโลกเป็ นไปอยา่ งรวดเร็วและรุนแรง ส่งผลต่อสังคมไทย ท้งั การแข่งขนั ในระดบั ชาติ และระดบั โลก
ท้งั ระดบั ภมู ิภาคอาเซียน และทุกภมู ิภาคอื่น ๆ ของโลกดว้ ย การจดั การศึกษาดา้ นอาชีพในปัจจุบนั จึงตอ้ ง
เป็ นการพฒั นาประชากรของประเทศให้มีความรู้ความสามารถ และทกั ษะการเรียนรู้ในการประกอบ
อาชีพ เป็ นการแก้ปั ญหาการว่างงานและส่ งเสริ มความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซ่ึ ง
กระทรวงศึกษาธิการไดก้ าหนดยทุ ธศาสตร์ 2555 ภายใตก้ รอบเวลา 2 ปี ท่ีจะพฒั นา 5 ศกั ยภาพ ของพ้ืนท่ี
ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ สามารถแข่งขนั ไดใ้ น 5 ภูมิภาคหลกั ของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทนั เพื่อแข่งขนั ไดใ้ น
เวทีโลก” และกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดภารกิจท่ีจะพฒั นายกระดบั การจดั การศึกษา เพ่ือพฒั นา
ศกั ยภาพ และขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ท่ีมน่ั คงเป็ นบุคคลที่มี
ระเบียบวินยั เปี่ ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมภายใต้
หลกั การพ้ืนฐาน ที่คานึงถึงศกั ยภาพและบริบทของพ้ืนท่ีท่ีแตกต่างกนั โดยเนน้ การประกอบอาชีพให้
สอดคลอ้ งกบั หลกั การพ้ืนที่และการพฒั นา 5 ศกั ยภาพหลกั ของพ้นื ท่ีใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพ
ดา้ นเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจดั การและบริการ ตาม
ยทุ ธศาสตร์ 2555 ของกระทรวงศึกษาธิการไดอ้ ยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยเนน้ 5 ศกั ยภาพของพ้นื ท่ี

105

คือ ศกั ยภาพของธรรมชาติในแต่ละพ้ืนที่ ศกั ยภาพของศิลปวฒั นธรรม ประเพณี องคค์ วามรู้ ภูมิปัญญา
และวถิ ีชีวติ ของแตล่ ะพ้นื ท่ี และศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษยใ์ นแต่ละพ้ืนที่

เรื่องที่ 2 การวเิ คราะห์ศักยภาพหลกั ของพนื้ ทใ่ี นการพฒั นาอาชีพ

1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพนื้ ท่ี หมายถึง สิ่งต่าง ๆ(สิ่งแวดลอ้ ม) ท่ีเกิดข้ึนเอง
ตามธรรมชาติและมนุษย์ สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน น้า ป่ าไม้ ทุ่งหญา้ สัตวป์ ่ า
แร่ ธาตุ พลังงาน และกาลังแรงงานมนุษย์ เป็ นต้น ดังน้ัน การแยกแยะเพ่ือนาเอาศักยภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพ้ืนที่เพื่อนามาใช้ประโยชน์ในด้านการประกอบอาชีพต้องพิจารณาว่า
ทรัพยากรทางธรรมชาติท่ีจะตอ้ งนามาใชใ้ นการประกอบอาชีพในพ้ืนท่ีมีหรือไม่มีเพียงพอหรือไม่ ถา้ ไม่มี
ผปู้ ระกอบการตอ้ งพิจารณาใหม่วา่ จะกอบอาชีพที่ตดั สินใจเลือกไวห้ รือไม่ เช่น การผลิตน้าแร่ธรรมชาติ
แต่ในพ้ืนท่ีไม่มีตาน้าไหลผา่ นและไม่สามารถขุดน้าบาดาลได้ ซ่ึงผปู้ ระกอบการจะตอ้ งพิจารณาวา่ ยงั จะ
ประกอบอาชีพน้ีอีกหรือไม่ และถา้ ตอ้ งการประกอบอาชีพน้ีจริง ๆ เนื่องจากตลาดมีความตอ้ งการมา
กต็ อ้ งพิจารณาวา่ การลุงทุนหาแร่ธาตุที่จะมาใชใ้ นการผลิตคุม้ หรือไม่

2. ศักยภาพของพนื้ ทต่ี ามหลกั ภูมอิ ากาศ หมายถึง ลกั ษณะของลมฟ้ าอากาศท่ีมีอยปู่ ระจาทอ้ งถิ่นใด
ทอ้ งถิ่นหน่ึงโดยพิจารณาจากค่าเฉล่ียของอุณหภูมิประจาเดือนและปริมาณน้าฝนในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ
ของปี เช่น ภาคเหนือของประเทศไทยมีอากาศหนาวเยน็ หรือเป็ นแบบสะวนั นา (Aw) คือ อากาศร้อนช้ืน
สลบั กบั ฤดูแลง้ เกษตรกรรม กิจกรรมท่ีทารายไดต้ ่อประชากรในภาคเหนือ ไดแ้ ก่ การทาสวน ทาไร่
ทานา และเล้ียงสัตว์ ภาคใตเ้ ป็ นภาคที่มีฝนตกตลอดท้งั ปี ทาให้เหมาะแก่การปลูกพืชเมืองร้อนท่ีตอ้ งการ
ความชุ่มช้ืนสูง เช่น ยางพารา ปาล์มน้ามนั เป็ นตน้ ดงั น้นั การประกอบอาชีพอะไรก็ตามจาเป็ นพิจารณา
สภาพภูมิอากาศดว้ ย

3. ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลทต่ี ้ังของแต่ละพนื้ ท่ี หมายถึง ลกั ษณะของพ้ืนที่และทาเล
ที่ต้งั ในแต่ละจงั หวดั ซ่ึงมีลกั ษณะแตกตา่ งกนั เช่น เป็นภเู ขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่ม ท่ีราบชายฝั่ง สิ่งที่เราตอ้ ง
ศึกษาเกี่ยวกบั ลกั ษณะภูมิประเทศ เช่น ความกวา้ ง ความยาว ความลาดชนั และความสูงของพ้ืนท่ี เป็ นตน้
ซ่ึงในการประกอบอาชีพใด ๆ ก็ตามไม่ว่าจะเป็ นการผลิต การจาหน่าย หรือการให้บริการก็ตาม
จาเป็นตอ้ งพิจารณาถึงทาเลที่ต้งั ที่เหมาะสม

4. ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ ของแต่ละพืน้ ท่ี จากการที่ประเทศไทย
มีสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศและทรัพยากรธรรมชาติท่ีแตกต่างกันออกไปในแต่ละภาค จึงมีความ
แตกตา่ งกนั ในการดารงชีวติ ของประชากรท้งั ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณีและการประกอบอาชีพ ระบบการ
เกษตรกรรม สงั คมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม (agrarian society) กล่าวคือ ประชากรร้อยละ 80 ประกอบ
อาชีพเกษตรกรรม หรือกล่าวอีกนยั หน่ึงไดว้ า่ คนไทยส่วนใหญม่ ีวถิ ีชีวติ ผกู พนั กบั ระบบการเกษตรกรรม

106

และระบบการเกษตรกรรมน้ีเองได้เป็ นที่มาของวฒั นธรรมไทยหลายประการ เช่น ประเพณีขอฝน
ประเพณีลงแขกและการละเล่นเตน้ การาเคียว เป็นตน้

5. ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพนื้ ท่ี หมายถึง เป็ นการนาศกั ยภาพของแต่ละบุคคล
ในแต่ละพ้ืนที่มาใช้ ในการปฏิบตั ิงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสร้างให้แต่ละบุคคลเกิดทศั นคติท่ีดี
ต่อองคก์ าร ตลอดจนเกิดความตระหนกั ในคุณค่าของตนเอง เพื่อนร่วมงานและองคก์ าร เมื่อพิจารณาถึง
ทรัพยากรมนุษยใ์ นแต่ละพ้ืนท่ี โดยเฉพาะภูมิปัญญาไทย แมว้ ่ากาลเวลาจะผา่ นไป ความรู้สมยั ใหม่จะ
หลั่งไหลเข้ามามาก แต่ภูมิปัญญาไทยก็สามารถปรับเปล่ียนให้เหมาะสมกับยุคสมัย เช่นการรู้จัก
นาเครื่องยนตม์ าติดต้งั กบั เรือ ใส่ใบพดั เป็ นหางเสือ ทาให้เรือสามารถแล่นไดเ้ ร็วข้ึน เรียกวา่ เรือหางยาว
การรู้จกั ทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟ้ื นคืนธรรมชาติให้อุดมสมบูรณ์แทนสภาพเดิมที่ถูก
ทาลายไป การรู้จกั ออมเงิน สะสมทุนให้สมาชิกกู้ยืม ปลดเปล้ืองหน้ีสิน และจดั สวสั ดิการแก่สมาชิก
จนชุมชนมีความมน่ั คง เขม้ แข็ง สามารถช่วยตนเองไดห้ ลายร้อยหมู่บา้ นทว่ั ประเทศ เช่น กลุ่มออมทรัพย์
คีรีวง จงั หวดั นครศรีธรรมราชจดั ในรูปกองทุนหมุนเวยี นของชุมชน

จะเห็นไดว้ า่ การวิเคราะห์ศกั ยภาพมีความสาคญั และจาเป็ นต่อการพฒั นาอาชีพให้เขม้ แขง็ มาก
หากไดว้ ิเคราะห์แยกแยะศกั ยภาพของตนเองอย่างรอบด้าน ปัจจยั ภายในตวั ตนผูป้ ระกอบการ ปัจจยั
ภายนอกของผูป้ ระกอบการ โอกาสและอุปสรรคในการประกอบธุรกิจการคา้ ย่ิงวิเคราะห์ไดม้ ากและ
ถูกตอ้ งแม่นยามาก จะทาให้ผปู้ ระกอบการรู้จกั ตนเอง อาชีพของตนเองไดด้ ีย่ิงข้ึนเหมือนคากล่าว รู้เขา
รู้เรา รบร้อยคร้ัง ชนะท้งั ร้อยคร้ัง

เรื่องท่ี 3 ตัวอย่างอาชีพทส่ี อดคล้องกบั ศักยภาพหลกั ของพนื้ ที่

1. กล่มุ อาชีพใหม่ด้านเกษตรกรรม
กลุ่มการผลิต เช่น การผลิตไมด้ อกเพ่ือการคา้ การผลิตป๋ ุยอินทรีย์ การผลิตไก่อินทรีย์
กลุ่มแปรรูป เช่น การแปรรูปปลานิลแดดเดียว การแปรรูปทาไส้กรอกจากปลาดุก
กลุ่มเศรษฐกิจพอเพยี ง เช่น การเกษตรแบบยงั่ ยนื การเกษตรผสมผสานตามแนวทาง

เกษตรทฤษฎีใหมแ่ ละแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
การฝึกอบรมเกษตรทางเลือก ภายใตเ้ ศรษฐกิจพอเพยี ง

107

ตวั อย่างอาชีพ การปลกู พชื ผกั โดยวธิ ีเกษตรธรรมชาติ

ปัจจุบนั การเพาะปลูกของประเทศไทยประสบปัญหาหลายประการท่ีสาคญั ประการแรกคือ
พ้ืนท่ีทาการเกษตรส่วนใหญ่เป็ นดินท่ีขาดความอุดมสมบูรณ์ ประการท่ีสองเกษตรกรประสบปัญหา
แมลงศตั รูรบกวนและหนทางท่ีเกษตรกรเลือกใช้แก้ปัญหาส่วนใหญ่ก็คือสารเคมีฆ่าแมลง ซ่ึงเป็ น
อนั ตรายต่อเกษตรกรผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภค และเกิดมลพิษในสภาพแวดลอ้ ม ทางการแกป้ ัญหาดงั กล่าว
ตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) ก็คือ “แนวทาง
การเกษตรธรรมชาติแบบยงั่ ยนื ” ซ่ึงจะเป็ นแนวทางที่จะทาใหด้ ินเป็ นดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ เป็ นดินท่ี
มีชีวติ มีศกั ยภาพในการผลิตและใหผ้ ลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภยั จากสารพิษต่าง ๆ ทางการเกษตร
ดงั น้นั ผเู้ รียนควรมีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคติเก่ียวกบั แนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) หลกั เกษตรธรรมชาติ การปรับปรุงดินโดยใชป้ ๋ ุยอินทรีย์
และป๋ ุยชีวภาพ ดินและอินทรียวตั ถุในดิน ชมแปลงสาธิต - ทดลองเกษตรธรรมชาติ การป้ องกนั และ
กาจดั ศตั รูพืชโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ การทาสมุนไพรเพ่ือป้ องกนั และกาจดั ศตั รูพืช มาตรฐานเกษตร
ธรรมชาติ ศฝก. ฝึกปฏิบตั ิการทาป๋ ุยหมกั ป๋ ุยน้าชีวภาพและน้าสกดั ชีวภาพ ฝึ กปฏิบตั ิการเพาะกลา้ และฝึ ก
ปฏิบตั ิงานในแปลงเกษตร มาตรฐานเกษตรธรรมชาติ MOA มาตรฐานเกษตรธรรมชาติ ศฝก. การจดั
ดอกไม้ การแปรรูปผลผลิตการเกษตร การวางแผนการปลูกพืชผกั โดยวธิ ีเกษตรธรรมชาติในอนาคต การ
ติดตามผลและใหค้ าแนะนา

การวเิ คราะห์ 5 ศักยภาพของพนื้ ที่ ในกลุ่มอาชีพใหม่ด้านเกษตรกรรม

ที่ ศักยภาพ รายละเอยี ดทค่ี วรพจิ ารณาในประเดน็
1 การวเิ คราะห์ ทรัพยากรธรรมชาติ
- ดินมีความสมบูรณ์
ในแตล่ ะพ้นื ที่ - ไม่มีแมลงศตั รูรบกวน
- มีแหล่งน้า และลกั ษณะภมู ิประเทศท่ีเป็นท่ีราบลุ่มแม่น้า
2 การวเิ คราะห์ พ้ืนท่ีตามลกั ษณะ ท่ีอุดมสมบูรณ์เหมาะสมในการทาการเกษตร
ภูมิอากาศ ฤดูกาล ภูมิอากาศเหมาะสมตอ่ การปลูกพืชผกั เช่น ไม่อยใู่ นพ้นื ท่ี
น้าท่วม มีอากาศเยน็ ไม่ร้อนจดั

108

ที่ ศักยภาพ รายละเอยี ดทคี่ วรพจิ ารณาในประเดน็
3 การวเิ คราะห์ ภมู ิประเทศและทาเลท่ีต้งั - เป็นฐานการผลิตทางการเกษตร
- มีแหล่งชลประทาน
ของแต่ละพ้ืนท่ี - ไมม่ ีความเส่ียงจากภยั ธรรมชาติท่ีมีผลความเสียหายรุนแรง
- มีพ้นื ที่พอเพียงและเหมาะสม
4 การวเิ คราะห์ ศิลป วฒั นธรรม ประเพณี - มีการคมนาคมท่ีสะดวก
และวถิ ีชีวติ ของแต่ละพ้ืนท่ี - มีวถิ ีชีวติ เกษตรกรรม
- ประชาชนสนใจในวถิ ีธรรมชาติ
5 การวเิ คราะห์ทรัพยากรมนุษย์ - มีภูมิปัญญา/ผรู้ ู้ เกี่ยวกบั เกษตรธรรมชาติ
ในแตล่ ะพ้ืนท่ี - มีกระแสการสนบั สนุนเกษตรธรรมชาติจากสังคมสูง

2. กลุ่มอาชีพใหม่ด้านอตุ สาหกรรม

ภาคการผลติ ได้แก่
กล่มุ ไฟฟ้ าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เช่น ช่างไฟฟ้ าอุตสาหกรรม ช่างเชื่อมโลหะดว้ ย
ไฟฟ้ าและแกส๊ ช่างเช่ือมเหล็กดดั ประตู หนา้ ต่าง ช่างเดินสายไฟฟ้ าภายในอาคาร ช่างเดินสายและติดต้งั
อุปกรณ์ไฟฟ้ า
กลุ่มเสื้อผ้า ส่ิงทอ เช่น การทาซิลคส์ กรีน การทาผา้ มดั ยอ้ มและมดั เพนท์ การทาผา้
ดว้ ยกี่กระตุก การทาผา้ บาติค
กลุ่มเครื่องยนต์ เช่น การซ่อมรถจกั รยานยนตแ์ ละเครื่องยนต์ ช่างเครื่องยนตช์ ุมชน
ช่างเคาะตวั ถงั รถยนต์
กลุ่มศิลปะประดิษฐ์และอัญมณี เช่น การแกะสลกั วสั ดุอ่อนเบ้ืองตน้ การข้ึนรูป
กระถางตน้ ไมด้ ว้ ยแป้ นหมุน การทาของชาร่วยดว้ ยเซรามิค การออกแบบเครื่องโลหะและรูปภณั ฑ์อญั มณี

ตัวอย่างอาชีพ การเป็ นตวั แทนจาหน่ายทพ่ี กั และบริการท่องเทยี่ วในแหล่งท่องเทยี่ ว
เชิงวฒั นธรรม ในกล่มุ ประเทศภูมภิ าคอาเซียนโดยใช้คอมพวิ เตอร์อนิ เตอร์เน็ต

สืบเน่ืองจากความเปลี่ยนแปลงของประชาคมโลกท่ีมีการติดต่อส่ือสารกนั มากข้ึนอยา่ งรวดเร็ว
และกลุ่มประเทศอาเซียนไดม้ ีนโยบายใหเ้ กิดประชาคมอาเซียนข้ึน ซ่ึงหมายถึงคนในภูมิภาค ดงั กล่าวจะ
ติดต่อไปมาหาสู่กนั มากข้ึน และในการน้ีการเดินทางท่องเที่ยวของประชาชนก็จะมีมากข้ึนจากความ
สนใจใคร่รู้ใคร่เห็นเกี่ยวกบั ประเพณีวฒั นธรรมของชาติเพอื่ นบา้ น การท่องเท่ียวเป็ นอุตสาหกรรมบริการ

109

ที่มีการเจริญเติบโตอยา่ งรวดเร็วทว่ั โลก โดยมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ซ่ึงแตกต่างจากอุตสาหกรรมประเภท
อื่น ๆ คือการสร้างรายไดเ้ ป็นเงินตราต่างประเทศเขา้ ประเทศเป็ นจานวนมหาศาล เมื่อเทียบกบั รายไดจ้ าก
สินคา้ อื่นๆ การขยายตวั ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวดงั กล่าว ทาใหธ้ ุรกิจท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การท่องเที่ยว
ไดแ้ ก่ ธุรกิจโรงแรม ร้านอาหาร คมนาคม และขนส่ง มีการขยายตวั ตามไปดว้ ยและการท่องเที่ยวยงั ถูกใช้
เป็นเคร่ืองมือในการกระจายรายไดแ้ ละความเจริญไปสู่ภูมิภาคต่าง ๆ ก่อใหเ้ กิดการสร้างงานสร้างอาชีพ
ใหแ้ ก่ชุมชนในทอ้ งถิ่น และยงั มีบทบาทในการกระตุน้ ให้เกิดการผลิตและการนาเอาทรัพยากรธรรมชาติ
ต่าง ๆ มาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์อยา่ งเหมาะสม โดยอยใู่ นรูปของสินคา้ และบริการเกี่ยวกบั การท่องเท่ียว
ดงั น้นั การรวบรวมนาเสนอขอ้ มูลการใหบ้ ริการเกี่ยวกบั การท่องเท่ียวโดยการเป็ นตวั กลางระหวา่ งสถาน
ประกอบการ/ผูป้ ระกอบการกบั ผูใ้ ช้บริการ จึงเป็ นอาชีพท่ีน่าสนใจและมีโอกาสก้าวหน้าสูง ดงั น้นั
ผเู้ รียนจึงควรมีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติเก่ียวกบั ธุรกิจที่พกั และการให้บริการการท่องเท่ียว
เชิงวฒั นธรรมในกลุ่มประเทศอาเซียน การใชค้ อมพวิ เตอร์อินเตอร์เน็ตสาหรับการเป็ นตวั แทนจาหน่าย
ระหวา่ งเจา้ ของ/ผปู้ ระกอบการการท่องเที่ยวเชิงวฒั นธรรมกบั ผใู้ ชบ้ ริการผา่ นทางอินเตอร์เน็ต การเจรจา
ตอ่ รองในฐานะตวั แทนจาหน่าย การประเมินผลและพฒั นาธุรกิจของตน

การวเิ คราะห์ 5 ศักยภาพของพนื้ ที่ ในกลุ่มอาชีพใหม่ด้านอุตสาหกรรม

ท่ี ศักยภาพ รายละเอยี ดทค่ี วรพจิ ารณาในประเดน็
1 การวเิ คราะห์ทรัพยากรธรรมชาติ ขอ้ มูลของแหล่งทอ่ งเท่ียว

ในแตล่ ะพ้ืนท่ี แหล่งท่องเที่ยวมีบรรยากาศท่ีเหมาะสม
2 การวเิ คราะห์พ้นื ท่ีตามลกั ษณะภูมิอากาศ มีทาเลที่ต้งั ในชุมชน สังคม ที่มีการคมนาคมสะดวก
3 การวเิ คราะห์ภูมิประเทศ และทาเลท่ีต้งั
- ทุนทางสังคมและวฒั นธรรม การบริโภคของตลาดโลก
ของแต่ละพ้นื ที่ มีแนวโนม้ กระแสความนิยมสินคา้ ตะวนั ออกมากข้ึน
4 การวเิ คราะห์ศิลป วฒั นธรรม ประเพณี - มีศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ แบบด้งั เดิม
และเป็นเอกลกั ษณ์
และวถิ ีชีวติ ของแตล่ ะพ้นื ที่ แรงงานมีทกั ษะฝีมือและระบบประกนั สังคม และมีความสามารถ
ในการใชเ้ ทคโนโลยี
5 การวเิ คราะห์ทรัพยากรมนุษย์
ในแตล่ ะพ้ืนที่

110

3. กลุ่มอาชีพใหม่ด้านพาณชิ ยกรรม
การค้าและเศรษฐกจิ พอเพยี ง ได้แก่
กลุ่มพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ การออกแบบและพฒั นาบรรจุภณั ฑเ์ พือ่ ชุมชน

การพฒั นาผลิตภณั ฑเ์ พ่อื ชุมชน การพฒั นาและออกแบบผลิตภณั ฑ์
การขายสินค้าทางอนิ เทอร์เน็ต (e-Commerce) การสร้างร้านคา้ ทางอินเทอร์เน็ต
กล่มุ ผ้ปู ระกอบการ เช่น การประกอบการธุรกิจชุมชน ร้านคา้ ปลีกกลุ่มแม่บา้ น

และวสิ าหกิจชุมชน

ตวั อย่างอาชีพ โฮมสเตย์

อาชีพโฮมสเตย์ เป็ นการประกอบอาชีพโดยนาตน้ ทุนทางสังคม คือ ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ มมาบริหารจดั การเพ่ือเพ่ิมมูลค่าจูงใจให้นกั ท่องเที่ยวเขา้ มาสัมผสั กบั การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
ในรูปแบบโฮมสเตย์ ในการจดั การศึกษาวิชาอาชีพโฮมสเตย์ ยึดหลกั การของการศึกษาตลอดชีวิต
โดยให้สังคมเขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา เนน้ การพฒั นาสาระและกระบวนการเรียนรู้โดยใช้
ชุมชนเป็ นฐาน ควบคู่กบั สร้างองค์ความรู้ในการประกอบอาชีพโฮมสเตย์ ภายใตย้ ุทธศาสตร์การใช้
ตน้ ทุนทางธรรมชาติ ทุนทรัพยากรบุคคล ทุนภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้ ทุนทางวฒั นธรรม ทุน
งบประมาณของรัฐ และทุนทางความรู้มาใช้จดั กิจกรรมการเรียนรู้ การจดั การศึกษาอาชีพโฮมสเตย์
เป็ นการจดั การกิจกรรมการเรียนรู้ที่เสริมสร้างศกั ยภาพให้ผูเ้ รียนไดม้ ีความรู้ และสามารถพฒั นาตนเอง
และกลุ่มไปสู่การบริหารจดั การท่ีมีมาตรฐาน เป็นไปตามหลกั การของโฮมสเตย์ นาไปสู่การเชื่อมโยงองค์
ความรู้ท่ีหลากหลาย ซ่ึงเกิดจากฝึ กประสบการณ์โดยการจดั ทาโครงการประกอบอาชีพโฮมสเตย์ ดงั น้นั
ผูเ้ รียนจึงควรมีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคติเก่ียวกบั สถานการณ์การท่องเที่ยว นโยบายการ
ท่องเท่ียวของประเทศไทย ความรู้พ้ืนฐาน และมาตรฐานการจดั การโฮมสเตย์ การจดั กิจกรรม นาเที่ยว
การตอ้ นรับนกั ท่องเท่ียว การบริการ มคั คุเทศก์ การสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวโฮมสเตย์ การประกอบ
อาหาร การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ภาษาองั กฤษเพ่ือการทอ่ งเที่ยวและ การบริหารจดั การ

111

การวเิ คราะห์ 5 ศักยภาพของพนื้ ที่ ในกลุ่มอาชีพใหม่ด้านพาณชิ ยกรรม

ที่ ศักยภาพ รายละเอยี ดทคี่ วรพจิ ารณาในประเดน็

1 การวเิ คราะห์ทรัพยากรธรรมชาติ - มีแหล่งทอ่ งเที่ยวท่ีเป็นจุดสนใจ ชวนใหผ้ คู้ นมาเท่ียว

ในแตล่ ะพ้ืนท่ี และพกั คา้ งคืน

- มีโปรแกรมที่น่าสนใจในการศึกษาธรรมชาติ และพกั ผอ่ นท่ีดี

- ไมถ่ ูกรบกวนจากแมลงและสัตวอ์ ื่น ๆ

2 การวเิ คราะห์พ้ืนท่ีตามลกั ษณะภูมิอากาศ - ใกลแ้ หล่งน้า ทะเล มีทิวทศั น์ท่ีสวยงาม

- ภมู ิอากาศไมแ่ ปรปรวนบ่อย ๆ

3 การวเิ คราะห์ภมู ิประเทศ และทาเลที่ต้งั - มีทาเลที่ต้งั พอดีไม่ใกลไ้ กลเกินไป

ของแตล่ ะพ้นื ท่ี - มีการคมนาคมสะดวกในการเดินทาง

- ขอ้ มูลแตล่ ะพ้ืนที่ที่เราเลือกอยใู่ กลจ้ ุดทอ่ งเท่ียวหรือไม่ สะดวก

ในการเดินทางดว้ ยความปลอดภยั เพยี งใด มีคู่แข่งท่ีสาคญั หรือไม่

4 การวเิ คราะห์ศิลป วฒั นธรรม ประเพณี เป็นแหล่งท่องเท่ียวทางวฒั นธรรมที่เป็ นธรรมชาติ อยใู่ นพ้ืนท่ีมี

และวถิ ีชีวติ ของแตล่ ะพ้ืนที่ การประชาสัมพนั ธ์ที่ดีจากองคก์ รท่องเท่ียว

5 การวเิ คราะห์ทรัพยากรมนุษย์ - มีผปู้ ระกอบการ และแรงงานท่ีมีความรู้ความสามารถ

ในแต่ละพ้นื ที่ - มีความร่วมมือจากชุมชนในดา้ นการเป็นมิตรกบั แขกท่ีมาใช้

บริการ

4. กลุ่มอาชีพใหม่ด้านความคดิ สร้างสรรค์
คอมพวิ เตอร์และธุรการ ได้แก่
Software
กล่มุ ออกแบบ เช่น โปรแกรม AUTO CAD เพอื่ งานออกแบบก่อสร้าง ออกแบบชิ้นส่วน

อุตสาหกรรม เขียนแบบเคร่ืองกลดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ Solid Work
กล่มุ งานในสานักงาน เช่น Office and Multimedia การจดั ทาระบบขอ้ มูลทางการเงิน

และบญั ชีดว้ ยโปรแกรม Excel และโปรแกรมบญั ชีสาเร็จรูปเพอ่ื ใชใ้ นการทางานทางธุรกิจ
การใช้คอมพวิ เตอร์ในสานกั งานดว้ ยโปรแกรม Microsoft Office
การพฒั นาโปรแกรมด้วย MS Access โดยใชร้ ะบบงานบุคคล
การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร สาหรับการประกอบธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต

Hardware
ช่างคอมพวิ เตอร์ เช่น ซ่อม ประกอบ ติดต้งั ระบบบารุงรักษาคอมพิวเตอร์และเครือขา่ ย

112

ตวั อย่างอาชีพ ภาพเคลอื่ นไหว (Animation) เพอ่ื ธุรกจิ

ในปัจจุบนั เทคโนโลยกี า้ วเขา้ มามีบทบาทในชีวิตประจาวนั ของมนุษย์มากข้ึน ส่ิงหน่ึงที่เห็นได้
ว่ามีการเติบโตอย่างรวดเร็วน่ันคือ ธุรกิจอุตสาหกรรมด้าน Animation การสร้างความบนั เทิง และ
งานสร้างสรรคก์ ารออกแบบโดยการใชค้ อมพิวเตอร์ หลกั สูตรทางดา้ น Animation จึงน่าจะตอบสนอง
ความตอ้ งการของกลุ่มธุรกิจ Animation หลกั สูตร Animation เพอื่ ธุรกิจ เป็นหลกั สูตรอาชีพท่ีสร้างสรรค์
สามารถนาไปประกอบอาชีพท่ีสร้างรายไดเ้ ป็ นอย่างดี ท้งั ในปัจจุบนั และอนาคต ดงั น้นั ผูเ้ รียนควรมี
ความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคติเก่ียวกับความหมาย ความสาคญั และประโยชน์ของความคิด
สร้างสรรค์ เทคนิคการคิดเชิงสร้างสรรค์ การกาจดั ส่ิงกีดก้นั ความคิดเชิงสร้างสรรค์ ความรู้เบ้ืองตน้
เก่ียวกบั Animation เพ่ือธุรกิจ การออกแบบ Animation เพ่ือธุรกิจ Animation Workshop ประโยชน์และ
โทษของการใช้คอมพิวเตอร์ จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ งเก่ียวกบั การ
ประกอบอาชีพ การทาธุรกิจ Animation

การวเิ คราะห์ 5 ศักยภาพของพนื้ ท่ี ในกล่มุ อาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์

ที่ ที่ ศักยภาพ รายละเอยี ดทค่ี วรพจิ ารณาในประเดน็

1 การวเิ คราะห์ทรัพยากรธรรมชาติ ขอ้ มลู ของทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีพอเพียง และสะดวก

ในแต่ละพ้นื ที่ ในการเขา้ ถึง

2 การวเิ คราะห์พ้นื ท่ีตามลกั ษณะ - อุณหภมู ิ ความช้ืน ความกดอากาศ ลม และปริมาณน้าฝน

ภมู ิอากาศ รวมไปถึงปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ งอ่ืนในทางอุตุนิยมวทิ ยา

- ท่ีต้งั ตามแนวละติจูด ความใกลไ้ กลจากทะเล

- มีขอ้ มลู ของภูมิอากาศ

3 การวเิ คราะห์ภมู ิประเทศ และทาเล มีขอ้ มูลภูมิประเทศ และทาเลท่ีต้งั ต่าง ๆ

ที่ต้งั ของแตล่ ะพ้ืนที่

4 การวเิ คราะห์ศิลป วฒั นธรรม มีขอ้ มูลเก่ียวกบั วฒั นธรรม ประเพณี ท่ีผสมผสานของ

ประเพณี และวถิ ีชีวติ ของแต่ละพ้ืนที่ หลายพ้นื ท่ี

5 การวเิ คราะห์ทรัพยากรมนุษย์ มีแรงงานที่มีทกั ษะฝีมือ ความรู้ ความสามารถในการใช้

ในแต่ละพ้ืนที่ เทคโนโลยี การส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาอยา่ งตอ่ เน่ือง

113

5. กล่มุ อาชีพใหม่ด้านบริหารจัดการและการบริการ
กล่มุ ท่องเทยี่ ว ไดแ้ ก่ การอบรมมคั คุเทศก์ พนกั งานบริการอาหารและเครื่องดื่ม

พนกั งานผสมเครื่องด่ืม การทาอาหารวา่ งนานาชาติ การฝึกอบรมภาษา และธุรกิจโฮมสเตย์
กล่มุ สุขภาพ ไดแ้ ก่ การนวดแผนไทย นวดลูกประคบ สปา การดูแลเดก็ และผสู้ ูงอายุ
กลุ่มการซ่อมแซม และบารุงรักษา การซ่อมเครื่องปรับอากาศรถยนต์ การซ่อม

เครื่องยนตด์ ีเซล การซ่อมเครื่องยนตเ์ บนซิน การซ่อมเครื่องยนตเ์ ล็กเพื่อการเกษตร การซ่อมจกั ร
อุตสาหกรรม

คมนาคมและการขนส่ ง
วชิ าชีพด้าน Logistics หรือการขนส่งสินคา้ ทางอากาศและทางเรือ
การก่อสร้าง
กล่มุ ช่างต่าง ๆ เช่น การปูกระเบ้ือง ช่างไมก้ ่อสร้าง ช่างสีอาคาร
กล่มุ การผลติ วสั ดุก่อสร้าง เช่น การทาบล็อคคอนกรีต การผลิตซีเมนต์

ตวั อย่างอาชีพ การพฒั นากล่มุ อาชีพทอผ้าพนื้ เมอื ง

ในปัจจุบันน้ี ผา้ พ้ืนเมืองของไทยในภาคต่าง ๆ กาลงั ไดร้ ับการอนุรักษฟ์ ้ื นฟู และพฒั นา รวมท้งั
ไดร้ ับการส่งเสริมให้นามาใชส้ อยในชีวิตประจาวนั กนั อยา่ งกวา้ งขวางมาก ดงั น้นั จึงเกิดมีการผลิตผา้
พ้ืนเมืองในลกั ษณะอุตสาหกรรมโรงงาน โดยมีบริษทั จา้ งช่างทอ ทาหนา้ ที่ทอผา้ ดว้ ยมือตามลวดลายท่ี
กาหนดให้ โรงงานหรือบริษทั จดั เส้นไหมหรือเส้นดา้ ยที่ยอ้ มสีเสร็จแลว้ มาให้ทอ เพ่ือเป็ นการควบคุม
คุณภาพ บางแห่งจะมีคนกลางรับซ้ือผา้ จากช่างทออิสระซ่ึงเป็ นผปู้ ่ันดา้ ย ยอ้ มสี และทอตามลวดลายท่ี
ตอ้ งการเองที่บา้ น แต่คนกลางเป็ นผกู้ าหนดราคาตามคุณภาพและลวดลายของผา้ ที่ตลาดตอ้ งการในบาง
จงั หวดั มีกลุ่มแม่บา้ นช่างทอผา้ ท่ีรวมตวั กนั ทอผา้ เป็ นอาชีพเสริม และนาออกขายในลกั ษณะสหกรณ์
เช่น กลุ่มทอผา้ ของศิลปาชีพ อย่างไรก็ตามในสภาพที่ไดก้ ล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ น้ันเป็ นการทอเพื่อขาย
เป็ นหลกั การทอผา้ พ้ืนบา้ นพ้ืนเมืองหลายแห่งยงั ทอลวดลายสัญลกั ษณ์ด้งั เดิม โดยเฉพาะในชุมชนที่มี
เช้ือสายชาติพนั ธุ์บางกลุ่มที่กระจายตวั กนั อยใู่ นภาคต่างๆ ของประเทศไทย ศิลปะการทอผา้ ของกลุ่มชน
เหล่าน้ีจึงนบั วา่ เป็ นเอกลกั ษณ์เฉพาะกลุ่มอย่จู นถึงทุกวนั น้ี หากจะแบ่งผา้ พ้ืนเมืองของกลุ่มชนเหล่าน้ี
ตามภาคต่าง ๆ เพ่ือให้เห็นภาพชดั เจนข้ึนในภูมิภาคต่าง ๆ และมีการปรับปรุงพฒั นาสีสัน คุณภาพ และ
ลวดลาย ให้เขา้ กับรสนิยมของตลาด ดงั น้ัน ผูเ้ รียนจึงควรมีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะและเจตคติ
เก่ียวกบั การวิเคราะห์สภาพกลุ่มอาชีพ/ธุรกิจของกลุ่มอาชีพทอผา้ พ้ืนเมือง และวิเคราะห์สถานภาพของ
กลุ่มอาชีพ/ธุรกิจ

114

การวเิ คราะห์ 5 ศักยภาพของพนื้ ที่ ในกลุ่มอาชีพใหม่ด้านบริหารจัดการและการบริการ

ท่ี ศักยภาพ รายละเอยี ดทค่ี วรพจิ ารณาในประเดน็

1 การวเิ คราะห์ทรัพยากรธรรมชาติ มีทรัพยากรธรรมชาติท่ีสามารถนามาเป็นวตั ถุดิบ

ในแต่ละพ้ืนท่ี

2 การวเิ คราะห์พ้นื ท่ีตามลกั ษณะภมู ิอากาศ มีภมู ิอากาศท่ีเหมาะสม

3 การวเิ คราะห์ภมู ิประเทศ และทาเลที่ต้งั - เป็ นศูนยก์ ลางหตั ถอุตสาหกรรม

ของแต่ละพ้นื ที่ - มีถนนท่ีเอ้ือตอ่ การบริการดา้ นการคา้ การลงทุน และ

การท่องเท่ียวเชื่อมโยงกบั ประเทศเพอื่ นบา้ น สามารถติดต่อคา้ ขาย

กบั ประเทศเพือ่ นบา้ น มีพ้ืนที่ชายแดนติดกบั ประเทศเพื่อนบา้ น

มีอาณาเขตติดตอ่ กบั ประเทศเพอื่ นบา้ น การคา้ ชายแดน

4 การวเิ คราะห์ศิลป วฒั นธรรม ประเพณี มีแหล่งอุตสาหกรรมท่ีเก่ียวขอ้ ง ทุนทางสงั คมและวฒั นธรรม

และวถิ ีชีวติ ของแต่ละพ้ืนที่

5 การวเิ คราะห์ทรัพยากรมนุษย์ มีภูมิปัญญา และฝีมือแรงงาน

ในแต่ละพ้ืนที่

กจิ กรรม
1. ใหผ้ เู้ รียนรวมกลุ่ม และอภิปรายวา่ ศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนที่ในการพฒั นาอาชีพในพ้ืนที่ชุมชน

ของตนเองควรจะเนน้ ศกั ยภาพใดเป็นพิเศษ เพราะเหตุใด
2. ให้ผเู้ รียนรวมกลุ่ม และอภิปรายว่าอาชีพความคิดสร้างสรรคใ์ นพ้ืนที่ของชุมชนของตนเอง

ควรเนน้ จะเนน้ เร่ืองใดเป็นพิเศษ เพราะเหตุใด

115

บรรณานุกรม

กลุ ขณิษฐ์ ราเชนบุณขวทั น.์ เอกสารประกอบการบรรยายเร่ืองกระบวนการวจิ ัย. ในการประชุมสัมมนา
งานวจิ ยั โครงการวิจยั พฒั นาคุณภาพ กศน. ปี งบประมาณ 2552 (วนั ท่ี 29 - 30 มิถุนายน 2552).

คณาพร คมสนั . 2540 การพฒั นารูปแบบการเรียนรู้ด้วยการนาตนเองในการอ่านภาษาองั กฤษเพอื่ ความเข้าใจสาหรับ
นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาหลกั สูตรและการสอน,
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

ชยั ฤทธ์ิ โพธิสุวรรณ. 2541. รายงานการวจิ ัย เร่ือง ความพร้อมในการเรียนรู้โดยการชี้นาตนเองของผู้เรียนผู้ใหญ่ของ
กจิ กรรมการศึกษาผู้ใหญ่บางประเภท. กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
. 2544. การศึกษาผ้ใู หญ่ : ปรัชญาตะวนั ตกและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.

ชยั ยศ อ่ิมสุวรรณ์. “คิดเป็ นคอื คิดพอเพยี ง”. วารสาร กศน., มีนาคม 2550, หนา้ 9 - 11.
ชุมพล หนูสง และคณะ 2544. ปรัชญาคิดเป็ น (หนงั สือรวบรวมคาบรรยายและบทสัมภาษณ์ ดร.โกวิท

วรพิพฒั น์ ในโอกาสตา่ ง ๆ) กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ กั ษรไทย
ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ. “คดิ เป็ น : เพอ่ื นเรียนรู้สู่อนาคต”. วารสาร กศน. มีนาคม 2550, หนา้ 12 - 16.
นดั ดา องั สุโวทยั . 2550. การพฒั นารูปแบบการเรียนการสอนวชิ าเคมที เ่ี น้นกระบวนการเรียนรู้แบบนาตนเองของ

นักศึกษาระดับปริญญาตรี. วทิ ยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบนั ฑิต สาขาวชิ า วทิ ยาศาสตรศึกษา, มหาวทิ ยาลยั
ศรีนครินทรวโิ รฒ.
บุญใจ ศรีสถิตนรากรู . ระเบยี บวธิ ีการวจิ ัยทางพยาบาลศาสตร์. พมิ พค์ ร้ังที่ 3 กรุงเทพฯ : บริษทั ยแู อนด์
ไออินเตอร์มีเดีย จากดั , 2547.
บุญศิริ อนนั ตเศรษฐ. 2544. การพฒั นากระบวนการเรียนการสอนเพอ่ื เสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้ด้วย
ตนเองของผู้เรียนในระดบั มหาวทิ ยาลยั . วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบณั ฑิตสาขาอุดมศึกษา, จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .
บซู าน, โทนี. ใช้หัวคดิ , 2541. (ธญั ญา ผลอนนั ต์ ผแู้ ปล). กรุงเทพฯ : ขวญั ข้าว ’95.
ฝ่ ายวชิ าการบสิ คิต. 2550. ฟัง คิด อ่าน เขยี น. กรุงเทพฯ : สานักพมิ พ์บิสคิต.
พนิต เขม็ ทอง. เอกสารประกอบการบรรยายเร่ือง มโนทศั น์การวจิ ัยในช้ันเรียน. ในการประชุมสัมมนา
งานวจิ ยั โครงการวิจยั พฒั นาคุณภาพ กศน. ปี งบประมาณ 2552 (วนั ที่ 29 - 30 มิถุนายน 2552).
พสิ ณุ ฟองศรี. วจิ ัยช้ันเรียน หลกั การและเทคนิคปฏบิ ตั ิ. พิมพค์ ร้ังท่ี 7. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพมิ พ,์
2551.
ไมตรี บุญทศ. คู่มือการทาวจิ ัยในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : สุวรี ิยาสาส์น, 2549.

116

ยดุ า รักไทย และปานจิตต์ โกญจนาวรรณ. 2550. พดู อย่างฉลาด. กรุงเทพฯ : ซีเอด็ ยเู คชน่ั จากดั .
ราชบณั ฑิตยสถาน. 2546. พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุค๊ ส์พบั ลิเคชนั่ ส์.
รุ่งอรุณ ไสยโสภณ. 2550. การจัดกจิ กรรมทเี สริมสร้างความพร้อมในการเรียนรู้โดยการชี้นาตนเองและความสามารถ

ในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา. วทิ ยานิพนธ์ศิลปศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาอาชีวศึกษา,
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
วนิษา เรซ. 2551. อจั ฉริยะ...เรียนสนุก. กรุงเทพ ฯ : อจั ฉริยะสร้างได้ จากดั .
วกิ ร ตณั ฑวฑุ โฒ. 2536. หลกั การเรียนรู้ของผู้ใหญ่. กรุงเทพฯ : สานกั ส่งเสริมและฝึกอบรม
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
วชิ ยั วงษใ์ หญ่. 2542. “ยกเครื่องเร่ืองเรียนรู้ : การเรียนรู้คือส่วนหนึ่งของชีวติ ทกุ ลมหายใจคือการเรียนรู้”
สานปฏิรูป. 20 (พฤศจิกายน 2542) : 55 - 61.
วภิ าดา วฒั นนามกลุ . 2544. การพฒั นาระบบการเรียนด้วยตนเองสาหรับนักศึกษาสาขาวชิ าชึพสาธารณสุข.
วทิ ยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน, มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น.
ศรัณย์ ขจรไชยกลุ . 2542. การใช้โปรแกรมการแนะแนวกล่มุ ต่อการเพม่ิ ความพร้อมของการเรียนรู้โดยการชี้นาตนเอง
ของนักศึกษารอพนิ ิจช้ันปี ท่ี 2 มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพ. วทิ ยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาจิตวทิ ยา
การศึกษาและการแนะแนว, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
ศนั ศนีย์ ฉตั รคุปต.์ 2545. รายงานการวจิ ัย เรื่อง การเรียนรู้รูปแบบใหม่ : ยทุ ธศาสตร์ด้านนโยบายและการใช้
ทรัพยากร. กรุงเทพ ฯ : หา้ งหุน้ ส่วนจากดั ภาพพิมพ.์
ศิริรัตน์ วีรชาตินานุกลู . ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกบั สถติ แิ ละการวจิ ัย. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพฯ,
2545
สนอง โลหิตวเิ ศษ, 2544. ปรัชญาการศึกษาผ้ใู หญ่และการศึกษานอกระบบ. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั

ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร.
สมคิด อิสระวฒั น.์ 2538. รายงานการวจิ ัย เรื่อง ลกั ษณะการเรียนรู้ด้วยตนเองของคนไทย. กรุงเทพ ฯ : คณะ

สงั คมศาสตร์และมนุษยศ์ าสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล.
. 2541 . รายงานการวจิ ัย เร่ือง ลกั ษณะการอบรมการเรียนรู้ด้วยตัวเองของคนไทย. กรุงเทพ ฯ :
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล.
สมเจตน์ ไวทยาการณ์. หลกั และการวจิ ัย. นครปฐม : โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั ศิลปากร, 2544.
สมบตั ิ สุวรรณพิทกั ษ.์ 2541. เทคนิคการสอนแนวใหม่สาหรับการศึกษานอกโรงเรียน. กรุงเทพ ฯ : กองพฒั นาการ
ศึกษานอกโรงเรียน.

117

สุนทรา โตบวั . 2546. การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพอ่ื เสริมสร้างลกั ษณะการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษา
พยาบาล. วทิ ยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบณั ฑิต สาขาการวจิ ยั และพฒั นาหลกั สูตร,
มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ.

สุรางค์ โคว้ ตระกลู . 2544. จิดวทิ ยาการศึกษา. (พมิ พค์ ร้ังท่ี 5). กรุงเทพ ฯ : สานกั พมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
สุวฒั น์ วฒั นวงศ.์ 2544. จิตวทิ ยาเพอื่ การฝึ กอบรมผู้ใหญ่. กรุงเทพ ฯ : ธีระป้ อมวรรณกรรม.

. 2546. การเรียนรู้ด้วยการนาตนเองของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องสายอาชีพ. วทิ ยานิพนธ์
ศิลปะศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาอาชีวศึกษา, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2545. แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2559). (พมิ พค์ ร้ังที่ 2 ).
กรุงเทพ ฯ : บริษทั พริกหวานกราฟฟิ ค จากดั .
สานกั งานคณะกรรมการอาชีวศึกษา. วจิ ัยแผ่นเดยี ว : เส้นทางสู่คุณภาพการอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ
: สานกั งานวจิ ยั และพฒั นาการอาชีวศึกษา, 2547.
. ม.ป.ป. 2545. พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545.
กรุงเทพ ฯ : บริษทั พริกหวานกราฟฟิ ค จากดั .
สานกั บริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน. 2549. แนวคิดสู่การปฏบิ ตั ิ : การเรียนรู้โดยการชี้นาตนเองสาหรับผ้ใู หญ่.
กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพอ์ กั ษรไทย.
อญั ชลี ชาติกิติสาร. 2542. การพฒั นาคุณลกั ษณะการเรียนรู้ด้วยตนเองของคนไทย. วทิ ยานิพนธ์ ศึกษาศาสตร
มหาบณั ฑิต สาขาการศึกษาผใู้ หญ่และการศึกษาต่อเนื่อง, มหาวทิ ยาลยั มหิดล.
อุน่ ตา นพคุณ, 2528. แนวคิดทางการศึกษานอกโรงเรียนและการพฒั นาชุมชน เรื่อง คิดเป็น. กรุงเทพฯ :

กรุงสยามการพิมพ.์
หน่วยศึกษานิเทศก,์ 2552. คมั ภรี ์ กศน. เอกสารหลกั การและแนวคิดประกอบการดาเนินงาน กศน.

กรุงเทพฯ : หน่วยศึกษานิเทศก์, สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั .
“________________”, 2546. ใต้ร่มไทร (หนงั สือเกษียณอายรุ าชการ ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ). กรุงเทพฯ :

โรงพิมพอ์ งคก์ ารรับส่งสินคา้ และพสั ดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.)
Brockett, R. G. and R. Hiemstra. 1991 . Self-direction in Learning : Perspectives in theory, research and

practice. London : Routledge.
. 1993. Seft-Direction in Adult Learning. (2 ed.n).dSan Francisco : Champman and Hall, Inc. Brookfield,
S.D. 1984. “Self-Directed Learning : A Critical Paradigm” Adult Education Quarterly. 35(2) : 59-71 .
Caffarella, R.S. 1983. “Fostering Self-Directed Learning in Post-secondary Education” An Omnibus
Of Practice and Research. (November 1983) : 7-26.

118

Candy, P.C. 1991. Self-Directed Learning. San Francisco : Jossey-Bass Publishers. Good, C. V. 1973.
Dictionnary of Education. (3 edrd.). New York : Mcgraw-Hill Book.
Griffin, C. 1983. Curriculum Theory in Adult Lifelong Education. London : Crom Helm.
Guglielmino, L. M. 1997. Development of the Self-directed Learning Readiness Scale. Georgia :

Unpublished Doctoral Dissertation, University of Georgia.
Knowles, M.S. 1975. “Self-Directed Learning : A Guide for Learner and Teacher. New York :

Association Pess.
Oddi, L.F. 1987. “Perspectives on Self-Directed Learning” Adult Education Quarterly. 38 (1987) :

97-107.
Skager, R. 1977. Curriculum Evaluation for Lifelong Education. Toronto : Pergamon Press.

. 1978. Lifelong Education and Evualuation Practice. Hamburg : Pergamon Pess and the
UNESCO Institution for Education.
Tough, A.1979. The Adult’s Learning projects. Toronto, Ontario Institute for Studies in Education.

119

ทปี่ รึกษา บุญเรือง คณะผ้จู ดั ทา
1. นายประเสริฐ อิ่มสุวรรณ์
2. ดร.ชยั ยศ จาปี เลขาธิการ กศน.
3. นายวชั รินทร์ แกว้ ไทรฮะ รองเลขาธิการ กศน.
4. ดร.ทองอยู่ ตณั ฑวฑุ โฒ รองเลขาธิการ กศน.
5. นางรักขณา ท่ีปรึกษาดา้ นการพฒั นาหลกั สูตร กศน.
ผอู้ านวยการกลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ผ้เู ขียนและเรียบเรียง
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
1. บทที่ 1 การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ดร.รุ่งอรุณ ไสยโสภณ
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. บทที่ 2 การใชแ้ หล่งเรียนรู้
ที่ปรึกษาดา้ นการพฒั นาหลกั สูตร กศน.
ดร.รุ่งอรุณ ไสยโสภณ
ขา้ ราชการบานาญ
3. บทท่ี 3 การจดั การความรู้
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ดร.รุ่งอรุณ ไสยโสภณ
รักษาการในตาแหน่งผอู้ านวยการ
4. บทท่ี 4 คิดเป็น สานกั งาน กศน. จงั หวดั เพชรบุรี
สถาบนั ส่งเสริมและพฒั นานวตั กรรมการเรียนรู้
ดร.ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ
สานกั งาน กศน.จงั หวดั สมุทรสงคราม
5. บทท่ี 5 การวจิ ยั อยา่ งง่าย สถาบนั การศึกษาและพฒั นาตอ่ เน่ืองสิรินธร

นางศิริพรรณ สายหงษ์ ท่ีปรึกษาสานกั งาน กศน

ผ้บู รรณาธิการ และพฒั นาปรับปรุง
1. บทที่ 1 การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

ดร.รุ่งอรุณ ไสยโสภณ
2. บทที่ 2 การใชแ้ หล่งเรียนรู้

นายธวชั ชยั ใจชาญสุขกิจ

นางสาวสุพตั รา โทวราภา

3. บทท่ี 3 การจดั การความรู้

นางอจั ฉรา ใจชาญสุขกิจ

นางณฐั พร เช้ือมหาวนั

4. บทที่ 4 คิดเป็น

ดร.ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ

120

5. บทท่ี 5 การวจิ ยั อยา่ งง่าย ขา้ ราชบานาญ
นางศิริพรรณ สายหงษ์ ขา้ ราชบานาญ
นางพิชญาภา ปิ ติวรา
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ผู้พฒั นาและปรับปรุงคร้ังที่ 2 กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
คณะทางาน กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นายสุรพงษ์ มนั่ มะโน กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป์
3. นางสาววรรณพร ปัทมานนท์ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศริญญา กลุ ประดิษฐ์ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
5. นางสาวเพชรินทร์ เหลืองจิตวฒั นา กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ผู้พมิ พ์ต้นฉบับ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน

1. นางปิ ยวดี คะเนสม กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน

2. นางสาวเพชรินทร์ เหลืองจิตวฒั นา

3. นางสาวกรวรรณ กววี งษพ์ พิ ฒั น์

4. นางสาวชาลีนี ธรรมธิษา

5. นางสาวอริศรา บา้ นชี

ผู้ออกแบบปก ศรีรัตนศิลป์
นายศุภโชค

121

คณะผู้พฒั นาและปรับปรุง คร้ังที่ 2

ทปี่ รึกษา บุญเรือง เลขาธิการ กศน.
1. นายประเสริฐ อ่ิมสุวรรณ์ รองเลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชยั ยศ จาปี รองเลขาธิการ กศน.
3. นายวชั รินทร์ จนั ทร์โอกลุ ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นการพฒั นาส่ือการเรียนการสอน
4. นางวทั นี ผาตินินนาท ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นเผยแพร่ทางการศึกษา
5. นางชุลีพร ธรรมวธิ ีกุล หวั หนา้ หน่วยศึกษานิเทศก์
6. นางอญั ชลี งามเขตต์ ผอู้ านวยการกลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
7. นางศุทธินี

ผู้พฒั นาและปรับปรุง คร้ังท่ี 2

1. ดร.ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ ที่ปรึกษา กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
หวั หนา้ กลุ่มพฒั นาการเรียนการสอน
2. ดร.รุ่งอรุณ ไสยโสภณ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
3. นายสมชาย ฐิติรัตนอศั ว์ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน

4. นางสาววรรณพร ปัทมานนท์

5. นางสาวชาลินี ธรรมธิษา

122

คณะผู้ปรับปรุงข้อมูลเกยี่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย์ ปี พ.ศ. 2560

ทป่ี รึกษา จาจด เลขาธิการ กศน.
1. นายสุรพงษ์ หอมดี ผตู้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
2. นายประเสริฐ ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีรองเลขาธิการ กศน.
สุขสุเดช ผอู้ านวยการกลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบ
3. นางตรีนุช และการศึกษาตามอธั ยาศยั

ผ้ปู รับปรุงข้อมูล อินทราย กศน.เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
นางสาวกรรณิการ์

คณะทางาน มนั่ มะโน กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
1. นายสุรพงษ์ ศรีรัตนศิลป์ ตามอธั ยาศยั
2. นายศุภโชค อาไพศรี กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
3. นางสาวเบญ็ จวรรณ ปิ่ นมณีวงศ์ ตามอธั ยาศยั
4. นางเยาวรัตน์ เพช็ รสวา่ ง กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
5. นางสาวสุลาง วงคเ์ รือน ตามอธั ยาศยั
6. นางสาวทิพวรรณ อมรเดชาวฒั น์ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
7. นางสาวนภาพร สังขพ์ ิชยั ตามอธั ยาศยั
8. นางสาวชมพนู ท กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั


Click to View FlipBook Version