The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยการประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินท์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sthamangklang, 2023-11-14 01:37:06

วิจัยการประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินท์

วิจัยการประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินท์

43 เร�่อง การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูป การบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุร�นทร ทีมนักว�จัยเขตนครชัยบุร�นทร และกองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โครงการผลสำเร็จการบร�หารจัดการภายใตŒนโยบายการปฏิรูป เขตพัฒนาพ�เศษดŒานสุขภาพ : ประเด็นมุ‹งเนŒนของเขตสุขภาพที่ 9 ประจำป‚งบประมาณ พ.ศ. 2565


ถอดบทเร�ยนการบร�หารจัดการการถ‹ายโอนภารกิจ สถานีอนามัยเฉล�มพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี และโรงพยาบาลส‹งเสร�มสุขภาพตำบล ใหŒแก‹ องคการบร�หารส‹วนจังหวัด (ตุลาคม 2565 - มกราคม 2566) 1 เร�่อง การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูป การบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุร�นทร โครงการผลสำเร็จการบร�หารจัดการภายใตŒนโยบายการปฏิรูป เขตพัฒนาพ�เศษดŒานสุขภาพ : ประเด็นมุ‹งเนŒนของเขตสุขภาพที่ 9 ประจำป‚งบประมาณ พ.ศ. 2565


E-book ดาวนโหลดเอกสาร PDF.


กิตติกรรมประกาศ การว�จัยเร�่อง การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบริหารจัดการ ของเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร สำเร็จลงได ผูวิจัยตองขอขอบพระคุณหนวยงานที่เกี่ยวของทุกหนวยงาน ไดแก ผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 สาธารณสุขนิเทศก เขตสุขภาพที่ 9 นายแพทย สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ ผูอำนวยการโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไป ทุกแหงในเขตสุขภาพที่ 9 เจาหนาที่สาธารณสุข และผูรับบริการทุกทาน ผูŒว�จัย ขอขอบพระคุณ กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ใหคำปรึกษาและสนับสนุนกระบวนการเชิงวิชาการใหเกิดความสมบูรณมากขึ้น สุดทŒาย ผูวิจัยหวังไวอยางยิ่งวาขอคนพบที่เกิดขึ้นจากการวิจัยครั้งนี้จะถูกเผยแพรและนำไปใช ในการพัฒนาการบริหารจัดการที่นำไปสูการพัฒนาเขตสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขตอไป ทีมนักว�จัยเขตนครชัยบุร�นทร สิงหาคม 2566 การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร ก


บทคัดย‹อ ผลการวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงผสมผสาน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาการดำเนินงาน ของกระบวนการบริหารจัดการ ตามนโยบายการปฏิรูปเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร (2) ประเมินผลสัมฤทธิ์ และผลลัพธการดำเนินงานตามประเด็นมุงเนนของเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร กลุมตัวอยางในการวิจัย ประกอบดวย บุคลากรในสำนักงานเขตสุขภาพที่ 9 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้ง 4 แหง ผูอำนวยการ โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไป ผูปฏิบัติ และผูรับบริการ จำนวน 530 คน เครื่องมือในการวิจัย ไดแก แบบวิเคราะหเอกสาร แบบสัมภาษณเชิงลึก และแบบสอบถาม การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ โดยการจำแนก แยกแยะ จัดหมวดหมูขอมูลที่เปนขอคนพบ สวนการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ โดยนำเสนอคารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาความสัมพันธ Chi-squared test ผลการวิจัยพบวา 1) เขตสุขภาพที่ 9 ไดดำเนินงานภายใตวิสัยทัศนพรอมทั้งแปลงนโยบาย สูการปฏิบัติดำเนินงานขับเคลื่อนตามนโยบายการปฏิรูปเขตสุขภาพที่ 9 จำนวน 6 ประเด็น ไดแก (1) ดานกำลังคน มีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับเขตสุขภาพ ซึ่งในระดับจังหวัด จะมีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับจังหวัดดวยเชนกัน (2) ดานขอมูลและเทคโนโลยี สุขภาพ ไดพัฒนาขอมูลและเทคโนโลยีสุขภาพ เพื่ออำนวยความสะดวกใหผูรับบริการสามารถเขาถึง ระบบบริการสุขภาพไดสะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น (3) ดานการเงินการคลัง มีการบูรณาการงบประมาณ ภายในระดับเขต (4) ดานภาวะผูนำ มีการแตงตั้งคณะกรรมการอำนวยการระดับเขต โดยวิธีรับสมัครคัดสรร ตามหลักเกณฑและตามองคประกอบที่กำหนด (5) ดานการอภิบาลระบบ ไดมีการกำหนดนโยบายยุทธศาสตร และแผนงานกิจกรรม/โครงการรวมถึงตัวชี้วัดในการบริหารงานระดับเขตสุขภาพที่สะทอนความตองการ ของทุกภาคสวน (6) ดานการบริหารแผนยุทธศาสตรเขตสุขภาพที่ 9 สำนักงานเขตสุขภาพที่ 9 ไดจัดทำ แผนยุทธศาสตรเขตสุขภาพที่ 9 ระยะ 3 ป สวนประเด็นมุงเนนของเขตสุขภาพที่ 9 มีจำนวน 6 ประเด็น ไดแก (1) การจัดการภาวะฉุกเฉินโรคติดตออุบัติใหม (โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019) มีการกำหนดนโยบาย ของผูบริหารที่นำสูการปฏิบัติที่ชัดเจน (2) การควบคุมปองโรคไมติดตอ การนำกลุมเสี่ยงเขาคายปรับเปลี่ยน พฤติกรรม (3) การพัฒนาสุขภาพผูสูงอายุ การดำเนินงานชมรมผูสูงอายุคุณภาพผานเกณฑ 5 ชมรม คิดเปนรอยละ 100.00 (4) การพัฒนาระบบประกันสุขภาพ หนวยบริการมีการนำระบบเครื่องอานบัตรประชาชน สมาทการดมาใชในการลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพ (5) การดำเนินการตามนโยบาย 30 บาท รักษาทุกที่ หนวยบริการทุกแหงมีศูนย 30 บาทรักษาทุกที่ และใหบริการประชาชนตามสิทธิทุกกรณี (6) โครงการมหัศจรรย 1,000 วันแรกแหงชีวิต ดำเนินงานตามกิจกรรมสำคัญตามแนวทางการดำเนินงาน มหัศจรรย 1,000 วันแรกของชีวิตในสถานบริการสาธารณสุข 2) สามารถพัฒนาคัมภีร ตามประเด็นมุงเนน ของเขตสุขภาพ จำนวน 6 ประเด็น และยังสามารถพัฒนาคัมภีรในประเด็นอื่น ๆ เพิ่มเติมอีก 7 คัมภีร รวมเปน 13 คัมภีร โดยประกาศใหยึดถือปฏิบัติในเขตสุขภาพที่ 9 ดานผูมารับ บริการมีความคิดเห็นวา ปจจุบันสถานพยาบาลมีความสะดวก รวดเร็ว มากกวาเมื่อกอนที่เคยมารับบริการ โดยมีความพึงพอใจมาก ในดานที่ผูใหบริการมีความสุภาพ มีกริยามารยาทเหมาะสม สวนขอเสนอแนะ ควรเพิ่มชองทางการสื่อสาร มากขึ้น เพื่อใหสามารถเขาถึงการรับบริการไดทุกชวงวัย และควรมีการกำกับติดตามผลการดำเนินงาน ของ 13 คัมภีร คำสำคัญ: การประเมินผล; กระบวนการบริหารจัดการ; การปฏิรูปเขตสุขภาพ; ผลสัมฤทธิ์; ผลลัพธ การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร ข


Abstract This research is a mixed-methods study with the objectives of (1) studying the performance of the management process. According to the reform policy of Regional Health 9 (Nakhon Ratchasima, Chaiyaphum, Buriram, Surin, or Nakhon-Chai-Bu-Rin), (2) evaluate achievements and operational results according to the focus areas of Regional Health 9 (Nakhon-Chai-Bu-Rin). The sample group in the research consisted of personnel in nine regional health offices, all four provincial public health offices, the director of the center hospital, the director of the general hospital, practitioners, and 530 service recipients in that hospital. Research instruments include document analysis, in-depth interviews, and questionnaires. Qualitative data analysis involves classifying and categorizing the findings. Quantitative data analysis section by presenting the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Chi-squared test for the correlation test. The results showed that 1) regional Health 9 operates under the vision along with converting policies into practice. Implement six issues in accordance with the regional Health 9 reform policy. : (1) Manpower: The Area Health Human Resources Management Committee has been appointed, while at the provincial level, the Human Resources Management Committee will be established as well. (2) Information and health technology have developed health information and technology. To facilitate service recipients access to the health service system conveniently and more quickly. (3) Finance Budgets are integrated at the zone level. (4) Leadership: A district-level steering committee was appointed by recruiting and selecting according to the criteria and the specified components. (5) System Governance: Policies, strategies, plans, activities, and projects are established. Including indicators for management at the regional health level that reflect the needs of all sectors. (6) Regional Health 9 Strategic Plan Administration: The Regional Health 9 Office has prepared a 3-year strategic plan. There are six focus areas of regional health. : (1) Emerging Infectious Disease Emergencies Management; and Coronavirus Disease 2019. There is a policy of the executive that leads to clear implementation. (2) Control and prevention of non-communicable diseases by bringing at-risk groups to behavior change camps. (3) Elderly health development: operation of five quality elderly clubs that passed the criteria, accounting for 100% (4) Health insurance system development The service unit uses a smart card reader system to register health insurance rights. (5) Implementation of the policy: 30 baht to treat everywhere, every service unit has a 30-baht center to heal everywhere and provide services to people according to their rights in every case. การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร ค


Abstract (6) The miracle project, the first 1,000 days of life Implementation of important activities according to the first 1,000 days of life in a public health facility 2) Be able to develop scriptures according to the focus issues of regional health, amounting to six issues, and can also develop scriptures on other issues. Seven additional scriptures, totaling 13 scriptures, were published in the practice of regional health 9. On the side of service users, there is an opinion that the current hospital is more convenient and faster than before when receiving services. They were very satisfied in the sense that the service providers were polite and had proper etiquette. The suggestion section should add more communication channels in order to be able to access the services of all ages, and there should be supervision and monitoring of the performance of the 13 scriptures. Keywords: Evaluation; Management Process; Regional Health Reform; Achievement; Results การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร ง


สารบัญ กิตติกรรมประกาศ บทคัดย‹อภาษาไทย สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทคัดย‹อภาษาอังกฤษ ……………………………………………………………………………………………………………… บทที่ 1 บทนำ ความเปนมาและความสำคัญ วัตถุประสงค คำถามนำการวิจัย ขอบเขตการวิจัย นิยามศัพท ผลที่คาดวาจะไดรับ ……………………………………………………………………………………………………………… บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง แนวคิดเกี่ยวกับระเบียบกระทรวงสาธารณสุขวาดวยการจัดตั้ง เขตสุขภาพเพื่อการปฏิรูปการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ พ.ศ. 2564 ทฤษฎีและแนวคิดการนำนโยบายสาธารณะดานสุขภาพไปปฏิบัติ ทฤษฎีการประเมินผล CIPP Model แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารมุงผลสัมฤทธิ์ แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการวางแผนแบบมีสวนรวม งานวิจัยที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิดการวิจัย การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร จ ก ข ค จ หนŒา ซ ฌ 1 5 1 5 5 6 8 9 9 30 49 56 70 73 76


สารบัญ บทที่ 3 ระเบียบว�ธีว�จัย รูปแบบและวิธีการวิจัยระยะที่ 2 ประชากรและกลุมตัวอยาง กระบวนการวิจัย เครื่องมือการวิจัย การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการวิจัย การปกปองสิทธิ์ของกลุมตัวอยาง การเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัย การวิเคราะหขอมูลการวิจัย ……………………………………………………………………………………………………………… บทที่ 4 ผลการว�จัย ผลการดำเนินงานกระบวนการบริหารจัดการตามนโยบายการปฏิรูป เขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร การประเมินผลสัมฤทธิ์และผลลัพธการดำเนินงานตามประเด็นมุงเนน ของเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร ……………………………………………………………………………………………………………… บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขŒอเสนอแนะ สรุปผล อภิปรายผล ขอเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………… บรรณานุกรม ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร ฉ 77 หนŒา 77 77 79 80 85 87 87 88 89 89 126 160 160 176 184 187


สารบัญ ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณเชิงลึกสำหรับผูบริหารระดับจังหวัด ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณเชิงลึกสำหรับผูปฏิบัติ ภาคผนวก ค แบบสอบถามสำหรับผูรับบริการ ภาคผนวก ง การปกปองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย ……………………………………………………………………………………………………………… รายชื่อนักว�จัย ……………………………………………………………………………………………………………… EFFICIENCY การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร ช 190 หนŒา 204 212 216 219


สารบัญตาราง ตารางที่ แสดงประชากร และกลุมตัวอยางในแตละจังหวัด แสดงหนวยงานและการดำเนินการบริหารจัดการตามนโยบายการปฏิรูป เขตสุขภาพที่ 9 แสดงแนวทางหรือโครงการสำคัญ และผลผลิตหรือผลลัพธดานกำลังคน แสดงแนวทางหรือโครงการสำคัญ และผลผลิตหรือผลลัพธดานขอมูล และเทคโนโลยีสุขภาพ แสดงแนวทางหรือโครงการสำคัญ และผลผลิตหรือผลลัพธดานการเงิน การคลัง แสดงแนวทางหรือโครงการสำคัญ และผลผลิตหรือผลลัพธดานภาวะผูนำ แสดงแนวทางหรือโครงการสำคัญ และผลผลิตหรือผลลัพธดานการอภิบาลระบบ แสดงแนวทางหรือโครงการสำคัญ และผลผลิตหรือผลลัพธดานการบริหาร แผนยุทธศาสตรเขตสุขภาพที่ 9 แสดงหนวยงานและการดำเนินการบริหารจัดการตามนโยบายการปฏิรูป เขตสุขภาพที่ 9 แสดงขอมูลทั่วไปดานคุณลักษณะของผูมารับบริการในสถานพยาบาล ของกลุมจังหวัดนครชัยบุรินทร (n=460) แสดงเปรียบเทียบ คาเฉลี่ยสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลผลประเด็น ความพึงพอใจรายขอตอการไดรับบริการในสถานพยาบาลของกลุมจังหวัด นครชัยบุรินทร (n=460) แสดงจำนวนและรอยละในภาพรวมของประเด็นความพึงพอใจตอการไดรับ บริการในสถานพยาบาลของกลุมจังหวัดนครชัยบุรินทร (n=460) แสดงความสัมพันธระหวางขอมูลทั่วไปของผูมารับบริการกับความพึงพอใจ ในการไดรับบริการในสถานพยาบาลของกลุมจังหวัดนครชัยบุรินทร (n=460) แสดงจำแนกปจจัยขอมูลทั่วไปของผูมารับบริการในดานที่มีความสัมพันธ กับระดับความพึงพอใจในการไดรับบริการในสถานพยาบาลของกลุมจังหวัด นครชัยบุรินทร (n=460) แสดงขอเสนอแนะเพิ่มเติม (n=80) 3.1 4.1 4.2 4.3 4.4 78 92 100 98 95 4.5 4.6 4.7 4.8 4.9 4.10 4.11 4.12 4.13 4.14 การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร ซ หนŒา 101 102 105 107 152 155 156 157 158 159


สารบัญภาพ ภาพที่ แสดงตนไมแหงการประเมิน (evaluation theory tree) กรอบแนวคิดการวิจัย แสดงระบบขอมูลสุขภาพรายบุคล (PHR R9 Health Connect : R9LineOA) แสดงการพัฒนาระบบบริหารจัดการขอมูลภายใตระบบ R9 Data Lake Management แสดงการใชงานระบบ R9 Health Station แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง งานโรคอุบัติใหมและโรคอุบัติซ้ำ แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง การจัดการภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุข เนนโรคติดตออุบัติใหม แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง การดูแลสุขภาพผูสูงอายุ แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง แนวทางการบริหารการเงินการคลัง แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง โครงการ 30 บาทรักษาทุกที่ นโยบายยกระดับระบบประกันสุขภาพ แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง แนวทางการดูแลสุขภาพแมและเด็ก แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง กัญชาทางการแพทย แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง การพัฒนาระบบบริการ แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง Time Line งานพัฒนาบุคลากร (HRD) เขตสุขภาพที่ 9 แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง Time Line การบริหารจัดการงบลงทุน เขตสุขภาพที่ 9 แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง การสงเสริมสุขภาพวัยเรียนวัยรุน แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง ตรวจสอบภายใน แสดงคัมภีรนครชัยบุรินทร เรื่อง PHR R9 Data Lake 2.1 2.2 4.1 4.2 4.3 54 76 98 97 4.5 4.6 4.7 4.8 4.9 4.10 4.11 4.12 4.13 4.14 4.4 4.15 4.16 การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร ฌ หนŒา 97 126 130 131 133 136 138 142 143 145 146 147 148 150


บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปšนมาและความสำคัญ ประเทศไทยกาวเขาสูการบริหารประเทศภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) โดยกำหนดทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ใหประเทศสามารถ กาวขามความทาทายตาง ๆ เพื่อให “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีแผนกลยุทธรายหมุดหมาย จำนวน 13 ประเด็น ซึ่งหมุดหมายที่ 4 ไทยเปนศูนยกลางทางการแพทยและสุขภาพมูลคาสูง โดยมีเปาหมายหลัก 4 ประการ ไดแก (1) การปรับโครงสรางภาคการผลิตและบริการสูเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม โดยการใช นวัตกรรมในการผลิตสินคาและจัดบริการทางการแพทยและสุขภาพ เพื่อสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ (2) การพัฒนาคนสำหรับโลกยุคใหมที่มีสมรรถนะสูงทางดานการแพทยและสาธารณสุข เพื่อไมให เปนอุปสรรคตอการยกระดับขีดความสามารถบริการทางการแพทยและสุขภาพ (3) การมุงสูสังคม แหงโอกาสและความเปนธรรมในการลดผลกระทบตอการเขาถึงบริการทางสาธารณสุขของคนไทย และ (4) การเสริมสรางความสามารถของประเทศในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและความเสี่ยง ภายใตบริบทโลกใหมในการวางแนวทางการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินดานสุขภาพ และระบบบริการสุขภาพ และเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคมในประเด็นเปาหมาย สรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในทุกมิติ ที่มุงเนน การสรางความเปนธรรมในการเขาถึงบริการสาธารณสุข (สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี, 2565) การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 1


บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปšนมาและความสำคัญ (ต‹อ) จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 ในหมุดหมายที่ 4 กลยุทธที่ 5 การบริหารจัดการบุคลากรทางการแพทยใหสอดคลองกับระบบบริการสุขภาพโดยสงเสริมใหเกิด การกระจายกำลังคนดานสุขภาพ พัฒนากลไกระบบหมุนเวียนกำลังคนใหรองรับทั้งในเชิงพื้นที่ ภาระงานและสาขาที่มีความขาดแคลน พรอมมีมาตรการจูงใจบุคลากรทางการแพทยใหคงอยู ในระบบสุขภาพ อาทิ การจัดทำเสนทางความกาวหนาในอาชีพที่ชัดเจน มีอัตราความกาวหนา และโอกาส การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในพื้นที่หางไกล การปรับภาระงานของแพทยเวชปฏิบัติ ทั่วไปใหเหมาะสม และการปรับปรุงระบบสวัสดิการพื้นฐานเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี แตจาก การดำเนินงานที่ผานมา พบวา ประเทศไทยประสบปญหาในระบบสุขภาพ คือ ความเหลื่อมล้ำ ทางดานสุขภาพ โดยนายแพทยพลเดช ปนประทีป ไดระบุสถานการณความเหลื่อมล้ำในระบบสุขภาพ ของประเทศไทยอยู 3 สถานการณ คือ (1) คุณภาพบริการมีความเหลื่อมล้ำ เนื่องจากบุคลากร โรงพยาบาลรัฐแบกภาระหนักมากเกินไป (2) คารักษาพยาบาลของเอกชนมีราคาแพงมากและไมสามารถ ควบคุมราคาได และ (3) ปญหาความเหลื่อมล้ำระหวางภูมิภาค เนื่องจากแพทยกระจุกตัวในเมืองใหญ ทั้งนี้ พบวา นับตั้งแตมีระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา คนไทยสามารถเขาถึงบริการรักษาพยาบาล ไดดีขึ้น (พลเดช ปนประทีป, 2562) จากขอมูลเฉพาะสวนของกระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 10 เมษายน 2566 ระบุวาในปงบประมาณ 2565 มีผูปวยนอกจำนวน 96.81 ลานคน ตรวจรักษา 341.20 ลานครั้ง (เฉลี่ย 3.52 ครั้งตอคน) สภาพการณแบบนี้ แสดงใหเห็นวามีจำนวนผูปวยลน โรงพยาบาลรัฐ เมื่อปริมาณผูปวยเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เชนนี้ โรงพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 896 แหง จึงเปนสวนที่ตองรับภาระหนักที่สุดปริมาณผูปวยที่ลนโรงพยาบาลรัฐทำใหบุคลากร ไมสามารถดูแลคุณภาพบริการไดเทาที่ควร เหตุการณดังกลาว สงผลใหประชาชนบางสวนที่มีกำลังจาย และไมอยากรอคิวการรักษาในโรงพยาบาลของรัฐ หันมาใชบริการโรงพยาบาลเอกชนมากขึ้น ทำให เกิดปญหาหนึ่งตามมา คือ คารักษาพยาบาลของโรงพยาบาลเอกชนมีราคาแพงเกินความเปนจริง เกิดชองวางในดานการบริการของรัฐ ปญหาการแยงชิงทรัพยากรบุคคลไปจากภาครัฐ โดยเฉพาะ วิชาชีพแพทย และพยาบาล ผูซึ่งสวนใหญจะยังคงทำงานในตัวเมืองใหญ ๆ (พลเดช ปนประทีป, 2562) รัฐบาลไดกำหนดนโยบายในการบริหารราชการแผนดิน 12 ดาน โดยนโยบายที่เกี่ยวของ กับดานสาธารณสุขโดยตรง คือ นโยบายดานที่ 9 การพัฒนาระบบสาธารณสุข และหลักประกัน ทางสังคมมุงเนนการจัดบริการสาธารณสุขและระบบความคุมครองทางสังคมที่ครอบคลุมประชากร ทุกกลุมอยางเหมาะสมนำไปสูความเสมอภาค ประกอบดวย (1) พัฒนาระบบบริการสาธารณสุข แพทยสมัยใหมและแพทยแผนไทย ใหมีประสิทธิภาพ ทันสมัย เปนที่ยอมรับในระดับสากล และมีคุณภาพทัดเทียมกันทั่วทุกพื้นที่ (2) สงเสริมการปองกันและควบคุมปจจัยเสี่ยงตอสุขภาพ โดยการพัฒนาองคความรูดานสุขภาวะที่ถูกตองของคนทุกกลุมวัย (3) พัฒนาและยกระดับ ความรูอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบาน (อสม.) ใหเปนหมอประจำบาน ควบคูกับการใช เทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย เรงพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพใหทั่วถึงและ ครอบคลุมประชากรทุกภาคสวน ลดความเหลื่อมล้ำของคุณภาพ การบริการในแตละระบบ การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 2


(4) สรางหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมดานการศึกษา สุขภาพ การมีงานทำที่เหมาะสมกับ ประชากรทุกกลุม และในการประชุมสื่อสารนโยบายมุงเนนกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ณ วันที่ 29 กันยายน 2565 นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการ กระทรวงสาธารณสุข ไดกลาววา กระทรวงสาธารณสุข จะเปนผูขับเคลื่อน เศรษฐกิจ โดยการสรางเสริม สุขภาพความแข็งแรงใหประชาชนมีพลังในการดำเนินชีวิต และใชความเขมแข็งทางสาธารณสุข สรางรายได สรางเศรษฐกิจของประเทศ สูเปาหมาย “ประชาชนแข็งแรง เศรษฐกิจไทยเขมแข็ง ประเทศไทยแข็งแรง” ผานการขับเคลื่อนนโยบาย โดยมุงเนน 5 ประการสำคัญ (1) ประชาชนเขาถึง บริการสุขภาพไดมากขึ้นเพิ่มความครอบคลุมการดูแลสุขภาพปฐมภูมิที่บานและชุมชน สรางโอกาส เขาถึงระบบบริการสุขภาพของรัฐอยางเปนธรรม สะดวก และรวดเร็ว พัฒนาโรงพยาบาลทุกแหง ใหเปน “โรงพยาบาลของประชาชน” (2) ยกระดับการเสริมสรางสุขภาพเพื่อคนไทยแข็งแรง ปรับเปลี่ยน การสื่อสารสุขภาพใหประชาชนสามารถเขาถึงไดงาย ถูกตอง ปลอดภัย ทันสมัย ประชาชนมีสวนรวม ดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวใหแข็งแรง สรางแรงจูงใจ เปลี่ยนคาใชจายในการรักษาคืนมูลคา ใหกับประชาชน (3) ผูสูงอายุตองไดรับการดูแลอยางเปนระบบและทั่วถึง สนับสนุนโรงพยาบาล ทุกระดับใหมีคลินิกผูสูงอายุเพื่อเปนชองทางที่สามารถเขาถึงบริการไดอยางสะดวกมากยิ่งขึ้น (4) นำสุขภาพขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สงเสริมผลิตภัณฑและบริการสุขภาพ สมุนไพร และภูมิปญญาไทย การแพทยแผนไทย การแพทยทางเลือกขยายสูการเปนศูนยกลางการบริการสุขภาพและการทองเที่ยว เชิงสุขภาพของภูมิภาคตอยอดเพิ่มรายไดของประชาชนและประเทศ (5) ขอมูลสุขภาพเปนของ ประชาชนและเพื่อประชาชน พัฒนาขอมูลดิจิทัลสุขภาพของประชาชนที่มีมาตรฐานและธรรมาภิบาล เชื่อมโยงเปนฐานขอมูลขนาดใหญของประเทศ ประชาชนไดประโยชนในการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถใชบริการสาธารณสุขไดทุกที่อยางตอเนื่อง สำนักงานเขตสุขภาพที่ 9 เปนอีกหนวยงาน ที่ประสบปญหาในระบบสุขภาพ ไดแก ปญหาดานสุขภาพของเขตสุขภาพที่ 9 พบวา สาเหตุการปวย ของผูปวยนอกแยกตามรหัสกลุมโรค (298 กลุมโรค) ไดแก (1) ความดันโลหิตสูงที่ไมมีสาเหตุนำ (2) เบาหวาน (3) เนื้อเยื่อผิดปกติ ตามลำดับ (สำนักงานเขตสุขภาพที่ 9, 2565) บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปšนมาและความสำคัญ (ต‹อ) การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 3


บทที่ 1 บทนำ กระทรวงสาธารณสุข และคณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานสาธารณสุขรวมทั้งองคกร ดานสุขภาพอื่นที่เกี่ยวของ ไดเล็งเห็นความสำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมการปฏิรูป (Big Rock) ในพื้นที่เขตสุขภาพดวยการจัดทำแผนการปฏิรูปเขตสุขภาพใหพัฒนาสูการเปนเขตพัฒนาพิเศษ ดานสุขภาพ ซึ่งถือเปนอีกหนึ่งภารกิจหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรดานสาธารณสุข เพื่อเปน การปฏิรูปการบริหารจัดการใหเขตสุขภาพมีการบริหารจัดการที่เปนเอกภาพ คลองตัว และสามารถ ปรับระบบบริการใหประชาชนไดรับบริการดานสุขภาพที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มุงเนน ใหความสำคัญในการกระจายอำนาจใหกับเขตสุขภาพโดยการกำหนดใหทุกเขตสุขภาพเปนพื้นที่ เปาหมาย (setting) ในการขับเคลื่อนและดำเนินการตามกิจกรรมปฏิรูป ซึ่งในป พ.ศ. 2563 เขตสุขภาพที่ 9 เปนเขตนำรองในการปฏิรูประบบบริหารจัดการและบูรณาการ และไดรับมอบหมาย ใหกำกับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิรูประบบบริหารจัดการและบูรณาการของเขตสุขภาพที่ 9 เพื่อรายงานใหผูบริหารระดับกระทรวงรับทราบผลการดำเนินงาน (คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ดานสาธารณสุข, 2565) จากสถานการณปญหาดังที่กลาวขางตน สำนักงานเขตสุขภาพที่ 9 ผนวกกับการปฏิรูประบบ บริหารจัดการและบูรณาการของเขตสุขภาพที่ 9 สงผลใหสำนักงานเขตสุขภาพที่ 9 จึงไดดำเนินการ วิจัยเรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบริหารจัดการของเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลการดำเนินงานของกระบวนการบริหารจัดการ ตามนโยบายการปฏิรูปเขตสุขภาพที่ 9 พรอมทั้งประเมินผลสัมฤทธิ์และผลลัพธการดำเนินงาน ตามประเด็นมุงเนนของเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร เปนการสนองแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 13 และเพื่อเปนการตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขอยางเปนรูปธรรม อันเปนการพัฒนาระบบสุขภาพของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 9 ตอไป การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 4


บทที่ 1 บทนำ 1.2 วัตถุประสงค 1.2.1 เพื่อศึกษาผลการดำเนินงานของกระบวนการบริหารจัดการตามนโยบายการปฏิรูป เขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร 1.2.2 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์และผลลัพธการดำเนินงานตามประเด็นมุงเนนของเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร 1.3 คำถามนำการว�จัย 1.3.1 ผลการดำเนินงานของกระบวนการบริหารจัดการตามนโยบายการปฏิรูปเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร เปนอยางไร 1.3.2 ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธการดำเนินงานตามประเด็นมุงเนนของเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร เปนอยางไร 1.4 ขอบเขตการว�จัย 1.4.1 ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง 1) เปนผูบริหารและหัวหนากลุมงานในสำนักงานเขตสุขภาพที่ 9 ผูบริหาร ศูนยวิชาการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 4 จังหวัด ผูอำนวยการโรงพยาบาล ชุมชนใน 4 จังหวัด สาธารณสุขอำเภอใน 4 จังหวัด ผูปฏิบัติใน 4 จังหวัด และผูรับบริการ ณ จุดใหบริการตาง ๆ ใน 4 จังหวัด 2) กลุมตัวอยาง คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ประกอบดวย 3 กลุม ไดแก กลุมที่ 1 ผูบริหารในเขตสุขภาพที่ 9 ประกอบดวย ผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 สาธารณสุขนิเทศเขตสุขภาพที่ 9 นายแพทยสาธารณสุขจังหวัด ทั้ง 4 จังหวัด และผูบริหารศูนยวิชาการ จำนวน 9 คน กลุมที่ 2 ผูปฏิบัติ ในเขตสุขภาพที่ 9 ประกอบดวย หัวหนากลุมงานในเขตสุขภาพที่ 9 จำนวน 5 คน หัวหนากลุมงานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่เกี่ยวของ จำนวน 16 คน ผูอำนวยการโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 4 คน สาธารณสุขอำเภอ จำนวน 4 คน และผูปฏิบัติ จำนวน 32 คน รวมทั้งสิ้น 61 ทาน กลุมที่ 3 ผูรับบริการ 460 คน แบงเปน จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 181 คน จังหวัดบุรีรัมย จำนวน 108 คน จังหวัดสุรินทร จำนวน 94 คน และจังหวัดชัยภูมิ จำนวน 77 คน การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 5


บทที่ 1 บทนำ 1.4.2 ขอบเขตดานพื้นที่ศึกษา การวิจัยนี้มุงศึกษาผลการดำเนินงานของกระบวนการบริหารจัดการ ตามนโยบายการปฏิรูปเขตสุขภาพที่ 9 ประเมินผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ การดำเนินงานตามประเด็นมุงเนนของเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร โดยการนำแนวคิดเกี่ยวกับแผนปฏิรูปประเทศดานสาธารณสุข (ฉบับปรับปรุง) และนโยบายการดำเนินงานสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข ประจำป พ.ศ. 2564 แนวคิดการนำนโยบายสาธารณะดานสุขภาพไปปฏิบัติ ทฤษฎี การประเมินผล CIPP Model มาเปนกรอบในการดำเนินงาน 1.4.3 ขอบเขตดานระยะเวลา ดำเนินการวิจัยตั้งแตเดือนตุลาคม 2565 ถึง เดือนกันยายน 2566 รวมระยะเวลา 1 ป 1.5 นิยามศัพท 1.5.1 การปฏิรูปเขตสุขภาพ หมายถึง การกำหนด ยุทธศาสตร กลยุทธ กลวิธี รูปแบบ ระบบ ที่เขตสุขภาพที่พัฒนาขึ้น ภายใตการบริหารจัดการ 5 ดานตามหลักการ Sand Box ไดแก ดานกำลังคน ดานขอมูลสารสนเทศ ดานเทคโนโลยีสุขภาพ ดานการเงินการคลัง และดาน ภาวะผูนำและการอภิบาลระบบ เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดานระบบบริการสุขภาพ ตามโครงการสำคัญตามนโยบายการปฏิรูปเขตสุขภาพที่ 9 1.5.2 กระบวนการบร�หารตามนโยบายการปฏิรูปเขตสุขภาพ หมายถึง กระบวนการ ดำเนินงานตามแนวทางการบริหารจัดการ ตามหลักการ Sand Box และการบริหาร แผนยุทธศาสตรดานสุขภาพ ไดแก กำลังคน, ขอมูลสารสนเทศ, เทคโนโลยีสุขภาพ, การเงินการคลัง, การอภิบาลระบบสุขภาพ และการบริหารแผนยุทธศาสตรดานสุขภาพ 1.5.3 ประเด็นมุ‹งเนŒนของเขตสุขภาพที่ 9 หมายถึง โครงการที่เขตสุขภาพที่ 9 ใหความสำคัญ จำนวน 6 เรื่อง (Big Rock) ไดแก (1) การจัดการภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุขเนนโรคติดตอ อุบัติใหม (2) การควบคุมปองโรคไมติดตอ (3) การพัฒนาสุขภาพผูสูงอายุ (4) การพัฒนา ระบบประกันสุขภาพและกองทุนที่เกี่ยวของ (5) โครงการ 30 บาท รักษาทุกที่ (6) การพัฒนา สุขภาพกลุมแมและเด็ก ภายใตโครงการมหัศจรรย 1,000 วันแรกแหงชีวิต การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 6


บทที่ 1 บทนำ 1.5 นิยามศัพท (ต‹อ) 1.5.4 การนำนโยบายสาธารณะดŒานสุขภาพไปปฏิบัติ หมายถึง การตัดสินใจตามนโยบาย เพื่อบริหารขั้นตอนในการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบริหารจัดการเขตสุขภาพ สูการเปนเขตพัฒนาพิเศษดานสุขภาพ โดยมุงใหเกิดความสำเร็จและบรรลุผลอยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 1.5.5 การประเมินผล CIPP Model หมายถึง กระบวนการรวบรวมและวิเคราะหขอมูล เพื่อการตัดสินใจดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบริหารจัดการเขตสุขภาพสูการเปน เขตพัฒนาพิเศษดานสุขภาพ โดยวัดผลความสําเร็จหรือความลมเหลวของงาน โดยนําผล ที่ประเมินไดมาปรับปรุงวิธีการดําเนินงานการปฏิรูปการบริหารจัดการเขตสุขภาพ เพื่อใหแผนงานหรือโครงการบรรลุวัตถุประสงค 1.5.6 Six Building Blocks หมายถึง การแบงหมวดหมูองคประกอบภายใตระบบสุขภาพ ซึ่งประกอบดวย 6 องคประกอบ ไดแก การใหบริการ กำลังคนดานสุขภาพ ขอมูลและระบบ สารสนเทศ เทคโนโลยีดานสุขภาพ การเงินการคลัง ภาวะผูนำและการอภิบาลระบบ โดยการวิจัยในครั้งนี้ พิจารณาองคประกอบที่เกี่ยวของกับการวิจัยได 5 องคประกอบ ไดแก กำลังคนดานสุขภาพ ขอมูลและระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีดานสุขภาพ การเงินการคลัง ภาวะผูนำและการอภิบาลระบบ 1.5.7 13 คัมภีร หมายถึง แนวทางหรือวิธีการการดำเนินงานที่เกิดจากการระดมสมองรวมกัน ของผูเกี่ยวของ เพื่อใหการดำเนินงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 13 เรื่อง ไดแก (1) การจัดการ ภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุขเนนโรคติดตออุบัติใหม (2) การดูแลสุขภาพผูสูงอายุ (3) การควบคุม ปองกันโรคไมติดตอ (4) แนวทางการบริหารการเงินการคลัง (5) โครงการ 30 บาทรักษาทุกที่ นโยบายยกระดับระบบประกันสุขภาพ (6) การพัฒนาสุขภาพกลุมแมและเด็ก (7) กัญชา ทางการแพทย (8) การพัฒนาระบบบริการ (9) การสงเสริมสุขภาพวัยเรียนวัยรุน (10) งานพัฒนา บุคลากร (HRD) เขตสุขภาพที่ 9 (11) การบริหารจัดการงบลงทุน เขตสุขภาพที่ 9 (12) ตรวจสอบ ภายใน (13) PHR R9 Data Lake การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 7


บทที่ 1 บทนำ 1.5 นิยามศัพท (ต‹อ) 1.5.9 ผลลัพธการดำเนินงานตามประเด็นมุ‹งเนŒนของเขตสุขภาพที่ 9 หมายถึง ผลที่เกิดขึ้น จากการเขารับบริการของผูปวย ณ จุดใหบริการตาง ๆ ไดแก (1) ARI Clinic (2) คลินิก เบาหวานและคลินิกความดันโลหิตสูง (3) คลินิกผูสูงอายุ (4) จุดบริการผูปวยนอก และ (5) จุดบริการ คลินิกฝากครรภ คลินิกสุขภาพเด็กดี 1.6 ผลที่คาดว‹าจะไดŒรับ 1.6.1 ไดผลการดำเนินงานของกระบวนการบริหารจัดการตามนโยบาย การปฏิรูปเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนา แผนการดำเนินงานของเขตสุขภาพที่ 9 ใหมีความถูกตอง เหมาะสม มากยิ่งขึ้น 1.6.2 ไดนวัตกรรมที่เกิดจากประเด็นมุงเนนของเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร ซึ่งสามารถเปนตนแบบในการดำเนินงานของเขตสุขภาพที่ 9 1.6.3 เกิดขอเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตร เพื่อใหสามารถพัฒนา เขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร ใหสามารถบริหารงานในระดับเขตสุขภาพ ไดอยางมีประสิทธิภาพ 1.5.8 ผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานตามประเด็นมุ‹งเนŒนของเขตสุขภาพที่ 9 หมายถึง ผลผลิต ที่สามารถนําไปใชประโยชนไดอยางแทจริงหรือเปนที่พึงพอใจซึ่งในงานวิจัยเรื่องนี้ หมายรวมถึง 13 คัมภีร ไดแก (1) การจัดการภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุข เนนโรคติดตอ อุบัติใหม (2) การดูแลสุขภาพผูสูงอายุ (3) การควบคุมปองกันโรคไมติดตอ (4) แนวทาง การบริหารการเงินการคลัง (5) โครงการ 30 บาทรักษาทุกที่ นโยบายยกระดับระบบประกัน สุขภาพ (6) การพัฒนาสุขภาพกลุมแมและเด็ก (7) กัญชาทางการแพทย (8) การพัฒนา ระบบบริการ (9) การสงเสริมสุขภาพวัยเรียนวัยรุน (10) งานพัฒนาบุคลากร (HRD) เขตสุขภาพที่ 9 (11) การบริหารจัดการงบลงทุน เขตสุขภาพที่ 9 (12) ตรวจสอบภายใน (13) PHR R9 Data Lake การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 8


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง แนวคิดและทฤษฎีหลักที่เกี่ยวของกับการวิจัยเรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานกระบวนการ บริหารจัดการตามนโยบายการปฏิรูปเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร โดยมีรายละเอียดของ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้ แนวคิดเกี่ยวกับระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว‹าดŒวยการจัดตั้งเขตสุขภาพ เพ�่อการปฏิรูปการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ พ.ศ. 2564 2.1 2.1.1 ความเปšนมาของการพัฒนานวัตกรรมภาครัฐรูปแบบใหม‹ (Sandbox) คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานสาธารณสุข นำโดย ศ.คลินิก นพ.อุดม คชินทร ประธานกรรมการ พรอมดวยคณะกรรมการปฏิรูปฯ อาทิ ศ.กิตติคุณ นพ.ภิรมย กมลรัตนกุล นพ.ณรงคศักดิ์ อังคะสุวพลา นพ.โสภณ เมฆธน นพ.สุขุม กาญจนพิมาย นพ.ทวีศิลป วิษณุโยธิน และ นพ.นพพร ชื่นกลิ่น พรอมดวย คณะอนุกรรมการจากหนวยงานที่เกี่ยวของประชุมพิจารณาขอเสนอการขับเคลื่อนเขตสุขภาพมีเปาหมาย ใหเกิดการพัฒนาเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการแบบบูรณาการของหนวยงานในพื้นที่อยางประสิทธิภาพ ดวยการพัฒนานวัตกรรมภาครัฐรูปแบบใหม (Sandbox) ซึ่ง Sandbox จะชวยใหเกิดความคลองตัว ในการบริหารจัดการโดยปลดล็อคอุปสรรคของระเบียบกฎเกณฑทางราชการใหสามารถดำเนินการทดสอบ หรือพัฒนานวัตกรรมไดอยางอิสระ โดยเปนการทดลองในวงจำกัด ซึ่งจะมีหนวยงานที่เกี่ยวของกำกับดูแล และควบคุมความเสี่ยงตาง ๆ คูขนานไปดวย เพื่อใหเกิดประสบการณและการเรียนรูกอนการขยายผล หรือปรับปรุงกฎหมายตลอดจนเปนการสานพลังความรวมมือของภาคสวนตาง ๆ ไปพรอมกันตอไป การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 9 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับระเบียบกระทรวงสาธารณสุขวาดวยการจัดตั้งเขตสุขภาพเพื่อการปฏิรูป การขับเคลื่อนระบบสุขภาพ พ.ศ. 2564 2.2 ทฤษฎีและแนวคิดการนำนโยบายสาธารณะดานสุขภาพไปปฏิบัติ 2.3 ทฤษฎีการประเมินผล CIPP Model 2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารมุงผลสัมฤทธิ์ 2.5 แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการวางแผนแบบมีสวนรวม 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.7 กรอบแนวคิดการวิจัย โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้


บทที่ 2 ทั้งนี้ ขอเสนอการขับเคลื่อนเขตสุขภาพเกิดขึ้นจากปญหาความเหลื่อมล้ำการเขาถึงบริการสุขภาพ ของประชาชน และการดำเนินงานที่เปนอยูไมไดแกปญหาของแตละพื้นที่ สวนใหญเปนการแกปญหา จากสวนกลาง อำนาจการบริหารจัดการของแตละเขตไมเบ็ดเสร็จ แยกสวน การจัดสรรทรัพยากรดานกำลังคน มีความเหลื่อมล้ำ ตลอดจนการบริหารจัดการขาดการมีสวนรวมจากภาคประชาชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังนั้นการจัดทำกลไกการบูรณาการและการจัดการเขตสุขภาพในรูปแบบ Sandbox จึงเปนกลไกหนึ่ง ที่สำคัญของการปฏิรูปประเทศดานสาธารณสุข การขับเคลื่อนเขตสุขภาพที่สำคัญแบงเปน 5 มิติ ไดแก (1) ดานกำลังคน (2) ดานขอมูลสารสนเทศ (3) ดานเทคโนโลยีสุขภาพ (4) ดานการเงินการคลัง (5) ดาน ภาวะผูนำและอภิบาลระบบ ซึ่งทั้ง 5 มิติดังกลาวจะนำไปสูระบบบริการเขตสุขภาพที่พึงประสงคหลัก 5 เรื่อง ไดแก (1) การควบคุมและปองกันโรคติดตอ (2) โรคไมติดตอเรื้อรัง (NCD) (3) ผูสูงอายุ (4) หลักประกันสุขภาพ และกองทุนที่เกี่ยวของ (5) นโยบาย 30 บาทรักษาทุกที่ ที่สงผลโดยรวมใหสุขภาวะของประชาชนดีขึ้น มีการตอบสนองความตองการดานสุขภาพมีการปองกันความเสี่ยงทางการเงินและทางสังคม รวมถึง เพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการสุขภาพ แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 2.1.1 ความเปšนมาของการพัฒนานวัตกรรมภาครัฐรูปแบบใหม‹ (Sandbox) (ต‹อ) โดยเสนอ 4 เขตสุขภาพนำรอง ไดแก เขตสุขภาพที่ 1,4,9,12 ซึ่งคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ดานสาธารณสุขมีประเด็นแลกเปลี่ยนที่นาสนใจ อาทิ มิติของ Sandbox ควรเพิ่มระบบบริการ เนื่องจาก ระบบบริการมีผลตอการประเมินความสำเร็จของระบบบริหารจัดการ การบริหารแบบแบงเปนเขต จะเห็นชองวางในการพัฒนาไดเปนอยางดี และควรนำ Six building blocks มาเปนกรอบในการดำเนินงาน ประเด็นการสงเสริมปองกันโรคตองทำใหชัดเจนมากขึ้น สำหรับการดำเนินงานในรูปแบบ Sandbox ควรมีการระบุพื้นที่การดำเนินงาน เปาหมายและผูรับผิดชอบใหชัดเจน เปนตน โดยคาดวาการขับเคลื่อน ขอเสนอดังกลาวจะแลวเสร็จ และเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา Sandbox เขตสุขภาพ ภายในเดือน มิถุนายน 2564 ซึ่งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) จะเตรียมการจัดสรรงบประมาณดานการวิจัย คูขนานใหกับการดำเนินโครงการที่ผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานสาธารณสุขแลว การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 10


บทที่ 2 2.1.1 ความเปšนมาของการพัฒนานวัตกรรมภาครัฐรูปแบบใหม‹ (Sandbox) (ต‹อ) นอกจากนี้ในที่ประชุมยังไดมีการนำเสนอเรื่องการสงเสริมนวัตกรรมดานใหม (innovation Sandbox) เพื่อสรางโอกาสจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีใหกับประเทศ ซึ่งตามพระราชบัญญัติของสภานโยบาย การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ มาตรา 14 กำหนดใหสามารถจัดตั้ง Sandbox เพื่อสงเสริมการวิจัยและสงเสริมนวัตกรรมดานใหมและพัฒนากำลังคนระดับสูงเฉพาะทาง โดยใหไดรับ การสงเสริมและรับสิทธิประโยชน ตลอดจนไดรับการยกเวนการบังคับใชกฎหมายที่เปนอุปสรรค ซึ่งการดำเนินการวิจัยและสงเสริมนวัตกรรมดานใหมเปนการผสานแนวคิดระหวางการวิจัย นวัตกรรม และรูปแบบธุรกิจที่มีความสำคัญและสงผลตอการพัฒนาประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพในอนาคตตอไป 2.1.2 นโยบายการดำเนินงานสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข ประจำป‚ พ.ศ. 2564 แผนงาน/โครงการ และตัวชี้วัดประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงสาธารณสุข ไดดำเนินการจัดทำขึ้น ภายใตแผนปฏิบัติราชการประจำป โดยผานการทบทวน ศึกษาและวิเคราะหขอมูล สถานการณ แนวโนม ปจจัยที่สงผลตอระบบสุขภาพ และผลการดำเนินงานในปที่ผานมาอยางบูรณาการ รวมกันระหวางหนวยงานในสังกัดและในกำกับกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งใหมีความสอดรับกับ ยุทธศาสตรชาติ 20 ป นโยบายรัฐบาล เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององคการสหประชาชาติ (sustainable development goals: SDGs) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 แผนการปฏิรูปประเทศ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข นโยบายรัฐมนตรี ชวยวาการกระทรวงสาธารณสุขและนโยบายปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำหรับใชเปนกรอบแนวทาง ในการดำเนินงานของหนวยงานทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค เพื่อใหบรรลุเปาหมาย “ประชาชนสุขภาพดี เจาหนาที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน” โดยกระบวนการจัดทำแผนงาน/โครงการ และตัวชี้วัด ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงสาธารณสุข (กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข, 2563) มีดังตอไปนี้ แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 11


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 1. แตงตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานจัดทำแผนงาน/โครงการและตัวชี้วัด ของกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยปลัด กระทรวงสาธารณสุข เปนประธานคณะกรรมการ รองปลัดกระทรวง สาธารณสุขดานบริหาร เปนประธานคณะทำงาน 2. จัดทำหลักเกณฑและแนวทางในการพิจารณาแผนงาน/โครงการ และตัวชี้วัด ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงสาธารณสุข 3. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการทบทวนแผนงาน/โครงการ และตัวชี้วัด ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงสาธารณสุข ในระดับพื้นที่ (สำนักงานเขตสุขภาพ, สสจ., รพศ., รพท.) เพื่อเปดโอกาสใหหนวยงาน ในระดับพื้นที่มีสวนรวมในการเสนอความเห็นและขอเสนอแนะตอแผนงาน/ โครงการ และตัวชี้วัดฯ ผานทางแบบสอบถามออนไลน (Google from) 4. รวบรวม วิเคราะหความเห็นและขอเสนอแนะตอแผนงาน/โครงการ และตัวชี้วัดประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงสาธารณสุข ในระดับพื้นที่ และนำมาใชประกอบการจัดทำรางแผนงาน/โครงการ และตัวชี้วัดฯ 5. นำเสนอรางแผนงาน/โครงการ และตัวชี้วัด ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงสาธารณสุขตอคณะทำงานคณะกรรมการจัดทำ แผนงาน/โครงการ และตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 และเสนอตอที่ประชุมผูบริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข (BMW) เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2563 เพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบแผนงาน/ โครงการ และตัวชี้วัดฯ ทั้งนี้ แผนงาน/โครงการ และตัวชี้วัด ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงสาธารณสุขมีจำนวนรวมทั้งสิ้น 15 แผนงาน 42 โครงการ และ 75 ตัวชี้วัด โดยสามารถจำแนกตามแนวทาง การพัฒนา 4 ดาน ดังนี้ 4 แผนงาน 7 โครงการ 19 ตัวชี้วัด 5 แผนงาน 24 โครงการ 37 ตัวชี้วัด 1 แผนงาน 3 โครงการ 4 ตัวชี้วัด 5 แผนงาน 8 โครงการ 15 ตัวชี้วัด 4 ยุทธศาสตร ความเปšนเลิศ PP&P Excellence Governance Excellence People Excellence Service Excellence การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 12


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 2.1.3 มอบอำนาจใหŒผูŒตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 1 เขตสุขภาพที่ 4 เขตสุขภาพที่ 9 และเขตสุขภาพที่ 12 ปฏิบัติราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยที่กระทรวงสาธารณสุขไดดำเนินการตามนโยบายการปฏิรูปประเทศดานสาธารณสุข จึงไดกำหนด ใหมีการปฏิรูปการบริหารในเขตสุขภาพเพื่อใหเปนไปตามแผนปฏิรูปประเทศดานสาธารณสุขอันจะกอใหเกิด ความคลองตัวและตอบสนองตอการใหบริการดานสาธารณสุขไดอยางทั่วถึงในเขตสุขภาพ ปลัดกระทรวง จึงมีคำสั่งไว ดังตอไปนี้ ขŒอ 1 มอบอำนาจในการสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินการอื่น ที่ปลัดกระทรวงสาธารณสุขจะพึงปฏิบัติ หรือดำเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คำสั่ง หรือมติ คณะรัฐมนตรีใหผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 1 เขตสุขภาพที่ 4 เขตสุขภาพที่ 9 และเขตสุขภาพที่ 12 ปฏิบัติราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข ดังตอไปนี้ 1.1) งานตรวจราชการและติดตามประเมินผลในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 1.2) การรวมมือหรือประสานงานกับสวนราชการอื่นในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีหนวยงานตั้งอยูในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ 1.3) การบริหารงานบุคคลในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ 1.4) ราชการอื่น ๆ ตามที่ไดรับมอบหมายในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ ขŒอ 2 การมอบอำนาจตามขอ 1 อยูภายใตเงื่อนไขหรือหลักเกณฑเฉพาะดังตอไปนี้ 2.1) เรื่องที่เปนราชการประจำและพัฒนา 2.2) เรื่องที่ไมเปนปญหาในทางนโยบาย 2.3) เรื่องที่ไมมีคำสั่งกำหนดไวเปนอำนาจหนาที่ของคณะกรรมการคณะใดคณะหนึ่งโดยเฉพาะ 2.4) การดำเนินการจัดซื้อจัดจาง การดำเนินการจางที่ปรึกษา การดำเนินการงานจางออกแบบ หรือควบคุมงานกอสราง ตามกฎหมายวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ 2.5) การดำเนินการจัดซื้อจัดจาง การดำเนินงานจางที่ปรึกษา การดำเนินงานจางออกแบบ หรือควบคุมงานกอสราง การดำเนินการทำขอตกลงเปนหนังสือหรือสัญญา การบริหารสัญญาและ การตรวจรับพัสดุการพิจารณาและวินิจฉัยอุธรณ ทุกวิธี ทุกขั้นตอน ตามกฎหมายวาดวยการจัดซื้อ จัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐในสำนักงานเขตสุขภาพใหผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ครั้งหนึ่งเกิน 5,000,000 บาท (หาลานบาทถวน) แตไมเกิน 500,000,000 บาท (หารอยลานบาทถวน) 2.6) การบริหารขอตกลงหรือสัญญาที่อยูในอำนาจของปลัดกระทรวงสาธารณสุขตามกฎหมาย วาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ 2.7) การบริหารพัสดุตามกฎหมายวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ เฉพาะกรณี การยืมพัสดุภายในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 13


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง ขŒอ 2 2.8) การบริหารงานบุคคลในเขตพื้นที่อยูในความรับผิดชอบ ไดแก การบริหารกรอบอัตรากำลัง การคัดเลือกขาราชการเพื่อแตงตั้งใหดำรงตำแหนง การบรรจุแตงตั้งขาราชการ 2.9) การประเมินผลการปฏิบัติราชการใหพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการ ผูดำรงตำแหนงตาง ๆ ที่อยูในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ 2.10) การบริหารวงเงินและการเลื่อนเงินเดือนขาราชการ 2.11) การสั่งใหขาราชการไดรับเงินเพิ่มพิเศษสำหรับแตงตั้งที่มีเหตุพิเศษตำแหนงนิติกร (พ.ต.ก) ทุกระดับ 2.12) การสั่งใหลูกจางประจำไปปฏิบัติราชการ การยายลูกจางประจำ กรณีขามจังหวัดภายใน เขตพื้นที่ 2.13) การตรวจสอบขอเท็จจริงและพิจารณาสั่งการ กรณีการรองเรียนหรือรองขอความเปนธรรม ซึ่งมิใชการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณหรือการรองทุกขตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการ พลเรือน พ.ศ. 2551 2.14) การพิจารณาอนุมัติหรืออนุญาตลาและอนุมัติการเดินทางไปราชการทั้งในและตางประเทศ และใหรวมถึงการอนุมัติคาใชจายในการเดินทางไปราชการดังกลาวของสาธารณสุขนิเทศก ผูชวย ผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข และผูอำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพ 2.15) พิจารณากลั่นกรองเสนอความเห็นเกี่ยวกับบุคคลและคำขอประเมินบุคคลเพื่อประกอบ การพิจารณาในการดำรงตำแหนงทางวิชาการ 2.16) รวมพิจารณาความดีความชอบ 2.17) รวมพิจารณาจัดสรรงบประมาณในงานบริการสาธารณสุขระดับเขต 2.18) ปฏิบัติงานในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล กำกับดูแล หรือดำเนินการเกี่ยวกับ การบริหารเขตสุขภาพ 2.19) การอนุมัติโครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมการแกไขหรือเปลี่ยนแปลงโครงการหรือ หลักสูตรการฝกอบรม การอนุมัติใหจัดการฝกอบรม การจัดงานที่เกี่ยวกับงานหรือภารกิจในหนาที่ ของเขตสุขภาพหรือสำนักงานเขตสุขภาพ และการอนุมัติใหเขารวมกิจกรรมดังกลาว การอนุมัติ การเบิกจายคาใชจายในการฝกอบรม การจัดงาน และการพิจารณาเทียบตำแหนงเพื่อเบิกคาใชจาย ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคาใชจายในการฝกอบรม การจัดงานและการประชุมระหวาง ประเทศ พ.ศ. 2549 และที่แกไขเพิ่มเติม สำหรับการฝกอบรมหรือการจัดงานที่สำนักงานเขตสุขภาพ เปนผูจัดหรือจัดรวมกับหนวยงานอื่น 2.20) การลงนามในหนังสือหรือบันทึกขอตกลง (MOU) ที่เกี่ยวกับงานหรือภารกิจในหนาที่ ระหวางเขตพื้นที่หรือหนวยงานในพื้นที่กับหนวยงานอื่น ๆ 2.21) พิจารณาดำเนินการในสวนที่เกี่ยวของ ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขวาดวยการบริหาร และจัดหาระบบคอมพิวเตอรของกระทรวงสาธารณสุข 2.22) การลงนามในหนังสือราชการเพื่อแจงเวียนหนังสือ การเชิญประชุมผูอำนวยการสำนักงาน เขตสุขภาพ หรือประสานความรวมมือภายในเขตพื้นที่ การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 14


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง ขŒอ 3 ในการปฏิบัติราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุขตามคำสั่งนี้ ใหรวมถึงการสั่งการรวมมือ ประสานงานกับสวนราชการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขหรือการรวมมือหรือประสานงานกับกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ นอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขตามอำนาจและหนาที่ที่กำหนดไวในขอ 1 ดวย ขŒอ 4 ในการดำเนินการตามคำสั่งนี้ ใหผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรีหรือหลักเกณฑและแนวทางปฏิบัติที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด โดยเครงครัด ขŒอ 5 คำสั่งมอบอำนาจใดขัดหรือแยงคำสั่งมอบอำนาจนี้ ใหใชคำสั่งมอบอำนาจนี้แทน ขŒอ 6 ในกรณีที่ผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขคนหนึ่งคนใดไมอยูหรืออยูแตไมอาจปฏิบัติ ราชการได และมิไดมีการแตงตั้งผูรักษาการในตำแหนงไว ใหสาธารณสุขนิเทศกในเขตสุขภาพนั้น ปฏิบัติราชการแทน ขŒอ 7 ใหผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำป (ถามี) ตามที่ ไดรับมอบหมายตามคำสั่งนี้ เสนอปลัดกระทรวงสาธารณสุขเพื่อพิจารณาอนุมัติภายใน 3 เดือน นับแตวันออกคำสั่ง หรือนับแตวันที่ไดรับมอบหมายแลวแตกรณีและใหจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปตอ ๆ ไป ทุกปเสนอกอนขึ้นปงบประมาณใหมไมนอยกวา 1 เดือน ขŒอ 8 ใหผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขรายงานผลการปฏิบัติราชการแทนปลัดกระทรวง สาธารณสุขพรอมดวยปญหา อุปสรรคและขอเสนอตาง ๆ ใหปลัดกระทรวงสาธารณสุขทราบทุก 3 เดือน เวนแตเปนเรื่องสำคัญใหรายงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทราบทันที ขŒอ 9 ตามคำสั่งมอบอำนาจคำวา “เขตพื้นที่” หมายความวา เขตตรวจราชการ และใหหมายความถึง เขตสุขภาพหรือเขตพื้นที่การบริหารจัดการในลักษณะเดียวกันตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 15


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 2.1.4 การจัดตั้งเขตสุขภาพเพ�่อการปฏิรูปการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขวาดวยการจัดตั้งเขตสุขภาพเพื่อการปฏิรูปการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ พ.ศ. 2566 และคำสั่งกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง จัดตั้งสำนักงานเขตสุขภาพที่ 1 – 12 (ฉบับที่ 2) โดยแจง การแกไขเพิ่มเติมองคประกอบของคณะกรรมการที่บริหารจัดการในแตละเขตสุขภาพ และขอกำหนด ที่เกี่ยวของ รายละเอียดตามสำเนาระเบียบกระทรวงสาธารณสุขวาดวย การจัดตั้งเขตสุขภาพเพื่อการปฏิรูป การขับเคลื่อนระบบสุขภาพ พ.ศ. 2566 เพื่อใหสอดคลองกับบทบาทภารกิจในปจจุบัน โดยมีรายละเอียด ดังตอไปนี้ 2.1.4.1 ผูŒอํานวยการสำนักงานเขตสุขภาพ หนŒาที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะหัวหนาหนวยงานระดับกองหรือสำนัก ในราชการบริหารสวนกลางที่ตั้งในสวนภูมิภาคหรือตำแหนงหัวหนา หนวยงานอื่นที่มีลักษณะงานเกี่ยวกับการวางแผนบริหารจัดการ จัดระบบงาน อํานวยการ สั่งราชการ มอบหมาย กำกับ แนะนํา ตรวจสอบ ประเมินผลงาน ตัดสินใจแกปญหา เกี่ยวกับงานของหนวยงานที่รับผิดชอบ ซึ่งลักษณะหนาที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมากเปนพิเศษ ตามหลักเกณฑและเงื่อนไข ที่ ก.พ.กำหนด และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ไดรับมอบหมายลักษณะงานที่ปฏิบัติในดานตาง ๆ ดังนี้ 1) ดานแผนงาน 1.1) วางแผนงาน/โครงการ หรือแผนการปฏิบัติงาน รวมทั้งเปาหมายและผลสัมฤทธิ์ของหนวยงาน ใหสอดคลองกับนโยบายและแผนกลยุทธของสวนราชการที่สังกัด 1.2) ติดตามเรงรัด การดำเนินกิจกรรมตาง ๆ ที่มีความหลากหลายและความยุงยากซับซอนมาก ใหเปนไปตามแผนงาน/โครงการ หรือแผนการปฏิบัติงาน ตลอดจนประเมินผลและรายงาน 1.3) บริหารโครงการขนาดใหญ โดยมีการบูรณาการแผนงาน กิจกรรม ขั้นตอนสำคัญเพื่อใหเปนไป ตามเปาหมายและผลสัมฤทธิ์ของหนวยงานตามที่กำหนดไว การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 16


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 2) ดานบริหารงาน 2.1) กำหนดกลยุทธ ระบบงานและวิธีการปฏิบัติราชการของหนวยงาน เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติราชการ ของเจาหนาที่ในหนวยงานที่รับผิดชอบ 2.2) มอบหมาย กำกับดูแล ตรวจสอบ ติดตาม ใหคำแนะนํา ปรับปรุงแกไขในเรื่องตาง ๆ ที่เกี่ยวของ กับภารกิจที่หลากหลายและเบ็ดเสร็จของหนวยงานเพื่อใหการปฏิบัติงานบรรลุเปาหมายและผลสัมฤทธิ์ ตามที่กำหนดไว 2.3) วินิจฉัย สั่งการเรื่องที่มีขอบเขตผลกระทบในวงกวาง หรือมีความซับซอนของประเด็นปญหา ซึ่งตองพิจารณาอนุมัติ อนุญาตการดำเนินงานตาง ๆ ตามภารกิจที่หนวยงานรับผิดชอบเพื่อใหบรรลุ เปาหมาย และผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว 2.4) ติดตอประสานงานกับหนวยงานหรือองคกรภาครัฐ เอกชนและบุคคลที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิด ความรวมมือหรือบูรณาการงานใหเกิดผลสัมฤทธิ์และเปนประโยชนตอประชาชน ผูรับบริการ 2.5) ชี้แจงขอเท็จจริง พิจารณาใหความเห็น ขอเสนอแนะในที่ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานตาง ๆ ที่ไดรับแตงตั้ง หรือเวทีเจรจาตาง ๆ ในระดับหนวยงานหรือองคกรทั้งในประเทศ และตางประเทศ ในฐานะเปนผูมีบทบาทหลักเพื่อรักษาผลประโยชนของราชการและประเทศชาติ 3) ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล 3.1) จัดระบบงานและอัตรากําลังเจาหนาที่ในหนวยงานที่มีความหลากหลายทั้งในเชิงปริมาณ และคุณภาพใหสอดคลองกับภารกิจ เพื่อใหปฏิบัติราชการเกิดประสิทธิภาพและความคุมคา 3.2) ติดตามและประเมินผลงานของเจาหนาที่ในบังคับบัญชาเพื่อใหการปฏิบัติงานสอดคลอง กับวัตถุประสงคของหนวยงาน และบรรลุเปาหมาย และผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว 3.3) ใหคำปรึกษา แนะนํา ปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ในบังคับบัญชา ใหมีความสามารถและสมรรถนะที่เหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติ 3.4) ปรับปรุงหรือหาแนวทางวิธีการใหม หรือกลยุทธในการบริหารทรัพยากรบุคคลในการพัฒนา กระตุนเรงรัดเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานในการผลิตผลงาน 4) ดานการบริหารทรัพยากรและงบประมาณ 4.1) วางแผนการใชทรัพยากรและงบประมาณของหนวยงาน ที่ตองรับผิดชอบสูงเพื่อใหสอดคลอง กับนโยบาย พันธกิจ และเปนไปตามเปาหมายของสวนราชการ 4.2) ติดตาม ตรวจสอบการใชทรัพยากรและงบประมาณ ในจำนวนที่สูงมาก ใหเกิดประสิทธิภาพ และความคุมคา ใหเปนไปตามเปาหมาย และผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 17


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 2.4.1.2 รองผูŒอํานวยการสำนักงานเขตสุขภาพ หนŒาที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะผูปฏิบัติงานที่มีความเชี่ยวชาญในงาน โดยใชความรู ความสามารถ ประสบการณ และความเชี่ยวชาญในทาง วิชาการ ปฏิบัติงานที่ตองตัดสินใจ หรือแกปญหาในทางวิชาการที่ยาก และซับซอนมาก และมีผลกระทบในวงกวาง และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ไดรับมอบหมาย หรือปฏิบัติงาน ในฐานะผูปฏิบัติงาน ใหคำปรึกษา ของสวนราชการระดับกระทรวง กรม ซึ่งใชความรู ความสามารถ ประสบการณและความเชี่ยวชาญ ในทางวิชาการสาธารณสุข ปฏิบัติงาน ที่ตองตัดสินใจหรือแกปญหาในทางวิชาการที่ยากและซับซอนมาก และมีผลกระทบในวงกวาง และดานบริหารปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับ มอบหมายลักษณะงานที่ปฏิบัติงานในดานตาง ๆ ดังนี้ 1) ดานการปฏิบัติการ 1.1) ควบคุม กำกับ ดานวิชาการ ตองอาศัยความรูทางวิชาการ หรือประสบการณสูง เชน การสงเสริม สุขภาพ การเฝาระวังโรค การควบคุมปองกันโรคและภัยสุขภาพและการฟนฟูสภาพ รวมทั้งการดูแล รักษาพยาบาล การจัดบริการสุขภาพ และการบริหารจัดการ 1.2) วิเคราะหสถานการณสภาพปญหาในเขตสุขภาพและวางแผนแกไขปญหา ใหเปนไปตามเปาหมาย ที่กำหนด 1.3) กำหนดแนวทางการประเมินผลการดำเนินงานในโครงการตาง ๆ เพื่อใหทราบผลการดําเนินงาน และนํามาปรับปรุงรายงานใหมีประสิทธิภาพ และเปนไปตามเปาหมายที่กำหนด 1.4) กำหนดแนวทางการพัฒนาวิชาการ และแนวทางการจัดบริการในเขตสุขภาพ รวมทั้งการสื่อสาร ประชาสัมพันธ เพื่อเผยแพรใหกับประชาชน 1.5) ประเมินและวิเคราะหงาน เพื่อประกอบการวางมาตรการและมาตรฐานงานในการปรับปรุง ระบบงานใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น 1.6) จัดตั้งระบบขอมูลเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวของ รวมกับภาคีเครือขายทั้งภาครัฐ และเอกชน เพื่อปรับปรุงระบบงานบริหารและบริการใหมีประสิทธิภาพ 1.7) ใหคำปรึกษาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับระบบบริหารและบริการในเขตสุขภาพ การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 18


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 2) ดานการวางแผน วางแผนหรือรวมดำเนินการวางแผนโดยเชื่อมโยงหรือบูรณาการแผนงาน โครงการในระดับกลยุทธ ของสวนราชการระดับกรม มอบหมายงานแกไขปญหาในการปฏิบัติงานติดตามประเมินผล เพื่อใหบรรลุ ตามเปาหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด 3) ดานการประสานงาน 3.1) ประสานการทำโครงการตาง ๆ กับบุคคล หนวยงานหรือองคกรอื่นโดยมีบทบาทในการจูงใจ โนมนาวเพื่อใหเกิดความรวมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว 3.2) ใหขอคิดเห็น และคำแนะนําแกหนวยงานระดับกอง หรือสำนักรวมทั้งที่ประชุม ทั้งในและตางประเทศ เพื่อเปนประโยชนและเกิดความรวมมือในการดําเนินงานรวมกัน 4) ดานการบริการ 4.1) สนับสนุนการใหคำปรึกษา แนะนํา เผยแพรความรูดานสาธารณสุข แกประชาชน และผูประกอบการตาง ๆ เพื่อใหมีความเขาใจที่ถูกตองในระบบการจัดการดานสาธารณสุข 4.2) เปนที่ปรึกษาและใหคำแนะนําเปนวิทยากรอบรม ใหคำแนะนํา ปรึกษา ในงานดานวิชาการ และการปฏิบัติแกเจาหนาที่ระดับรองลงมา และบุคลากรดานสาธารณสุขภายในและภายนอกหนวยงาน เพื่อเปนความรูและใหสามารถดําเนินงานใหมีประสิทธิภาพ 4.3) วางแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองคกร เพื่อใหเปนบุคลากรที่มีความชํานาญ และปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 4.4) นิเทศงานดานสาธารณสุขระดับจังหวัด เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานในพื้นที่ไดอยางถูกตอง และมีประสิทธิภาพ 2.4.1.3 รายละเอียดอำนาจหนŒาที่ของสำนักงานเขตสุขภาพดังนี้ สำนักงานเขตเขตสุขภาพ แบงออกเปน 5 กลุมงาน ดังนี้ กลุ‹มงาน ยุทธศาสตร และสารสนเทศ กลุ‹มงาน บร�หารการเง�น และการคลัง กลุ‹มงาน บร�หารทรัพยากร บุคคล กลุ‹มงาน พัฒนาระบบบร�การ สุขภาพ กลุ‹มงาน อํานวยการ การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 19 โดยมีบทบาทและภารกิจ ดังนี้


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 1) กลุมงานยุทธศาสตรและสารสนเทศ 1.1) งานยุทธศาสตรและสารสนเทศ 1.1.1) ศึกษา วิเคราะหนโยบายกระทรวงสาธารณสุข นโยบาย เขตสุขภาพและหนวยงานที่เกี่ยวของพิจารณาความสอดคลอง กับสภาพปญหาและความตองการของเขตสุขภาพ เพื่อจัดทำขอเสนอ แนวทางการดําเนินงานเขตสุขภาพ 1.1.2) จัดทำแผนยุทธศาสตรเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพ ของเขตสุขภาพโดย (1) จัดทำคำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร (2) ประสานเตรียมขอมูลประกอบการจัดทำแผนยุทธศาสตรของเขตสุขภาพ (3) อํานวยการ การประชุมคณะกรรมการยุทธศาสตรในการจัดทำแผนยุทธศาสตรของเขตสุขภาพ และจัดทำตัวชี้วัดการดําเนินงานตามยุทธศาสตร (4) สื่อสาร ถายทอดนโยบายและแผนยุทธศาสตร เพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพของเขต แกหนวยงานที่เกี่ยวของทุกระดับ (5) กำกับติดตามความกาวหนาการดําเนินงานตามแผน (6) ประสานการจัดทำรายงานความกาวหนาของผลการดําเนินงานตามแผน (7) สรุปปญหา ขอเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงบริหารเสนอตอคณะกรรมการยุทธศาสตร และผูบริหารของเขตเพื่อใชในการปรับปรุงพัฒนางาน 1.1.3) จัดทำแผนบูรณาการเขตสุขภาพ (1) จัดทำคำสั่งคณะกรรมการแผนบูรณาการเขตสุขภาพ (2) ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของ สงขอมูลแผนงาน/โครงการที่สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรเขต เพื่อจัดทำแผนบูรณาการเขตสุขภาพ (3) อํานวยการ การประชุมคณะกรรมการแผนบูรณาการเขตสุขภาพในการจัดทำแผนบูรณาการ เขตตามยุทธศาสตร และจัดทำตัวชี้วัดการดําเนินงานตามแผน (4) สื่อสาร ถายทอดแผนบูรณาการเขตสุขภาพแกหนวยงานที่เกี่ยวของ (5) ประสานการจัดทำรายงานความกาวหนาการดําเนินงานตามแผน (6) สรุปปญหา ขอเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงบริหารเพื่อใชในการปรับปรุงงาน 1.1.4) งานแผนปฏิบัติงานประจำปของสำนักงานเขตสุขภาพ (1) แตงตั้งคณะงานทำจัดทําแผนปฏิบัติงานประจําปของสํานักงานเขตสุขภาพ (2) รวบรวมขอมูลที่จําเปนในการจัดทําแผนปฏิบัติการ ไดแก ผลการปฏิบัติงานที่ผานมา แผนยุทธศาสตร แผนบูรณาการเขตสุขภาพ การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 20


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง (3) ประชุมคณะทำงานเพื่อรวมกันวิเคราะห และกำหนดโครงการสําคัญ เพื่อตอบสนอง ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด (4) ประสานผูรับผิดชอบงานในสำนักงานเขตสุขภาพ จัดทำโครงการเพื่อเสนอของบประมาณ (5) ประชุมคณะทำงานเพื่อพิจารณาจัดสรรงบประมาณในแตละโครงการ (6) จัดทำรูปเลม และเผยแพรใหบุคลากรในสำนักงานเขตสุขภาพไดรับทราบ และนําไปปฏิบัติ (7) ติดตามกำกับการดําเนินงานตามแผน และสรุปประเมินผลการใชจายงบประมาณ รายไตรมาส และสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ 1.1.5) จัดทำคําของบประมาณรายจายประจำปสำนักงานเขตสุขภาพ (1) ทบทวนการดําเนินงานและกำหนดเปาหมายการใหบริการของหนวยงานยอยในสำนักงาน เขตสุขภาพ (2) จัดทำประมาณการรายจายขั้นต่ำที่จําเปน เชน คาใชจายบุคลากรตามระเบียบคาใชจาย ประจำของสำนักงานเขตสุขภาพ (3) ประสานผูรับผิดชอบงานในสำนักงานเขตสุขภาพจัดทำรายละเอียดวงเงินคําของบประมาณ ที่เกี่ยวของกับงานที่รับผิดชอบในสำนักงานเขตสุขภาพ เชน งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจายอื่น (4) รวบรวมรายละเอียดวงเงินคำขอของผูรับผิดชอบงานทุกงานในสำนักงานเขตสุขภาพ เพื่อจัดทำคําของบประมาณรายจายประจำปของสำนักงานเขตสุขภาพ (5) เสนอคําของบประมาณรายจายประจำปสำนักงานเขตสุขภาพไปยังหนวยงาน ที่เกี่ยวของพิจารณา 1.2) งานติดตามและประเมินผล 1.2.1) อํานวยการ การประชุมคณะกรรมการ และคณะ อนุกรรมการชุดตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ในการวางแนวทางการติดตาม กำกับและประเมินผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนดไวในแผน 1.2.2) ดำเนินการติดตาม กำกับ และประเมินผลการดําเนินงาน ตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว ในแผนเขตสุขภาพของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ไดแก แผนยุทธศาสตร เขตสุขภาพ แผนบูรณาการเขตสุขภาพ แผนปฏิบัติงานประจำป เขตสุขภาพ 1.2.3) รวบรวมผลการประเมินการดําเนินงานตามแผน 1.2.4) วิเคราะหผลการดําเนินงาน 1.2.5) สรุปผลการติดตาม กำกับ ประเมินผลการดําเนินงาน และเผยแพรผูเกี่ยวของ เพื่อรับทราบนําไปพัฒนาปรับปรุงงานสาธารณสุขในพื้นที่ตอไป การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 21


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 1.3) งานโครงการพิเศษ 1.3.1) ประสานงาน สนับสนุนงานโครงการพิเศษ ในเขตสุขภาพตามนโยบายเรงดวนของผูบริหารระดับสูง ของกระทรวงสาธารณสุขหรือโครงการพิเศษอื่นที่ไดรับ มอบหมาย 1.3.2) อํานวยการ การประชุมคณะกรรมการอํานวยการ เขตสุขภาพ และคณะกรรมการเขตสุขภาพ ที่เกี่ยวของกับ การดําเนินงานตามโครงการ 1.3.3) ติดตาม กำกับและประเมินผลการดําเนินงานตามโครงการ 1.3.4) รวบรวมผลการดําเนินงานตามโครงการ 1.3.5) วิเคราะห และสรุปผลการดําเนินงานตามโครงการ 2) กลุมงานบริหารการเงินและการคลัง 2.1) รวบรวมขอมูลดานการบริหารจัดการ การเงินการคลัง กองทุนตาง ๆ ของหนวยงาน ที่เกี่ยวของในเขตสุขภาพ 2.2) ศึกษา วิเคราะหขอมูลดานการเงินการคลังของเขตสุขภาพ เพื่อจัดทำนโยบาย และยุทธศาสตร ในการพัฒนาดานการเงินการคลังของเขตสุขภาพใหสอดคลองกับนโยบายของประเทศ 2.3) จัดทำคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการการเงินการคลังของเขตสุขภาพ 2.4) อํานวยการ การประสาน และสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการเงิน การคลังของเขตสุขภาพ ดังนี้ 2.4.1) งานบริหารจัดการกองทุน (1) พัฒนานโยบายและยุทธศาสตรระบบประกันสุขภาพ ของเขตจากทุกสิทธิ ไดแก (1.1) กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (1.2) สิทธิสวัสดิการขาราชการ (1.3) กองทุนประกันสังคม (1.4) กองทุนประกันสุขภาพคนตางดาว (1.5) กองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปญหาสถานะ และสิทธิ (1.6) กองทุน พ.ร.บ.ผูประสบภัยจากรถ (1.7) กองทุนรักษาพยาบาลพนักงานองคกรปกครอง สวนทองถิ่นและครอบครัว CREDIT CARD การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 22


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง (2) แปลงนโยบายสูการปฏิบัติ และวางแผน จัดระบบ กำหนดแนวทางการดําเนินงาน (3) กำกับติดตาม ประเมินผล การดําเนินงานดานประกันสุขภาพของหนวยบริการ และหนวยบริหารในเขตสุขภาพ (4) พัฒนาภาคีเครือขายการประกันสุขภาพในระดับเขต 2.4.2) งานการจัดการงบประมาณ (1) รวบรวม วิเคราะหขอมูล การจัดสรรเงินสนับสนุน ของกองทุนตาง ๆ เพื่อจัดทำแผน (2) ประสานหนวยบริการในการบริหารจัดการเงินงบประมาณ ใหเปนไปตามแผน (3) อํานวยการ การประสาน สงเสริม และสนับสนุน การแกไขปญหาดานประกันสุขภาพของหนวยบริการและ หนวยบริหารในเขตสุขภาพ (4) ติตตาม กำกับ การใชจายงบประมาณของหนวยบริการ ใหเปนไปตามแผน (5) ประมวลผลการดําเนินงานตามแผนงบประมาณ และจัดทำรายงานผลเสนอผูบริหาร 3) กลุมงานบริหารทรัพยากรบุคคล 3.1 งานบริหารจัดการทรัพยากรสุขภาพ 3.1.1) ศึกษา วิเคราะหขอมูลสารสนเทศทรัพยากร ดานกําลังคนของเขตสุขภาพ 3.1.2) สํารวจความตองการในการพัฒนากําลังคน ของหนวยบริการสุขภาพที่เกี่ยวของภายในเขต 3.1.3) จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนากําลังคนดานสุขภาพ ของเขต 3.1.4) จัดทำแผนยุทธศาสตร และแผนพัฒนากําลังคน ดานสุขภาพ ครอบคลุม ตามความตองการของหนวยงานที่เกี่ยวของ 3.1.5) อํานวยการ การประชุมคณะกรรมการพัฒนากําลังคนดานสุขภาพของเขต รวมทั้ง ประสาน สงเสริม สนับสนุนการพัฒนากําลังคนดานสุขภาพของเขต ใหเปนไปตามแผนที่กำหนด 3.1.6) ติดตาม กำกับการดําเนินงานตามแผน และรวบรวมผลการดําเนินงาน 3.1.7) ประมวลผล สรุป และเผยแพรผลการดําเนินงาน การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 23


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 3.2) งานจัดการความรู (KM) 3.2.1) แตงตั้งคณะกรรมการจัดการความรูระดับเขต 3.2.2) ทบทวน วิเคราะหและรวบรวมองคความรูที่เกี่ยวของ เพื่อสนับสนุนการดําเนินงาน 3.2.3) จัดประชุมคณะกรรมการ เพื่อหารูปแบบ แนวทาง การจัดการความรูสำหรับเขตสุขภาพ พรอมทั้งจัดทำแผน การจัดการความรู เขตสุขภาพ 3.2.4) อํานวยความสะดวกและสนับสนุนใหคณะกรรมการ ไดมีการดําเนินงานตามแผนที่กำหนด 3.2.5) ติดตาม กำกับการดำเนินงานตามแผน และรวบรวมผลการดำเนินงาน 3.2.6) จัดประชุมวิชาการ/เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูของเขตสุขภาพ 3.2.7) ถอดบทเรียนการดําเนินงานของเขต 3.2.8) ประมวลผล สรุปและเผยแพรผลการดำเนินงาน 3.3) งานวิจัยและพัฒนา (R&D) 3.3.1) ทบทวน และรวบรวมขอมูลการดําเนินงาน ของเขตสุขภาพที่ผานมา 3.3.2) ประสาน ศูนยศึกษาและพัฒนาระบบสุขภาพ เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อขอการสนับสนุนขอมูล ที่เกี่ยวของตามความตองการ และรวมดำเนินการสํารวจและรวบรวม ขอมูลความตองการการใชขอมูลสำคัญของผูเกี่ยวของในเขตสุขภาพ 3.3.3) ประสานผูเกี่ยวของเขารวมในการจัดทำโครงรางงานวิจัยตามหัวขอที่กำหนด โดยสงเสริม สนับสนุนใหมีการวิจัยประเมินผลดานเทคโนโลยีสุขภาพ รวมทั้งสนับสนุน สงเสริมบุคคล หรือองคกรอื่น ๆ ที่ขอความรวมมือในการดำเนินงานวิจัยในเขตสุขภาพ 3.3.4) แตงตั้งคณะทำงาน เพื่อวิเคราะหปญหา คัดเลือกหัวขอในการดําเนินงาน โครงการ วิจัยและพัฒนา และกำหนดทีมนักวิจัยตามหัวขอเรื่องที่กำหนด 3.3.5) เสนอโครงรางงานวิจัยใหผูบริหารพิจารณาเห็นชอบ 3.3.6) อํานวยความสะดวก และสนับสนุนการดําเนินงานตามกระบวนการงานวิจัยของทีม นักวิจัย 3.3.7) ติดตาม กำกับ การดําเนินงานของทีมนักวิจัยใหเปนไปตามกระบวนการวิธีการวิจัย ที่กำหนด 3.3.8) ติดตามผลการวิจัยของทีมนักวิจัย และสนับสนุนการเผยแพรผลงานการวิจัย การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 24


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 4) กลุมงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 4.1) ศึกษา วิเคราะหนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข และแปลงนโยบายสูการปฏิบัติในเขตสุขภาพ เสนอตอคณะกรรมการอํานวยการเขตสุขภาพพิจารณากำหนด นโยบายในการดําเนินงานของเขตสุขภาพ 4.2) อํานวยการการจัดประชุมชี้แจงนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของกระทรวง สาธารณสุข เพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของไดรับทราบแนวทางการดําเนินงาน 4.3) จัดทำคำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของเขตสุขภาพ 4.4) อํานวยการ ประสาน และสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการในการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพของเขตสุขภาพ ดังนี้ 4.4.1) งานยุทธศาสตรการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (1) วิเคราะหขอมูล และปญหาดานระบบบริการสุขภาพ ของเขตสุขภาพ (2) จัดทำยุทธศาสตร และแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ มีการกำหนดเปาหมาย และตัวชี้วัด (3) เผยแพร และถายทอดแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ของเขตสุขภาพ ลงสูผูปฏิบัติทุกระดับ (4) ติดตาม กำกับประเมินผลการดําเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามแผนพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ และนโยบายที่สำคัญในหนวยบริการทุกระดับ (5) สรุปผลการดําเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ และนโยบายที่สำคัญของเขตสุขภาพ 4.4.2) งานบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพ (service plan) (1) ประสาน สงเสริม และสนับสนุนหนวยบริการในเขตสุขภาพ ในการบริหารจัดการการดําเนินงานดานการจัดบริการของหนวยบริการ ใหเกิดประสิทธิภาพ มีคุณภาพ ไดมาตรฐานและเปนธรรม (2) อํานวยความสะดวกใหหนวยบริการภายในเขตสุขภาพ ในการประสานความรวมมือการพัฒนาระบบบริการสุขภาพใหเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ (3) สนับสนุนขอมูลการจัดระบบบริการสุขภาพใหแก หนวยบริการที่เกี่ยวของทุกระดับ (4) รวบรวมขอมูล และสรุปผลการดําเนินงานตามแผนเสนอผูบริหาร เพื่อประกอบการตัดสินใจ และวางแผนการพัฒนาตอไป การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 25


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 4.4.3) งานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (1) วิเคราะหขอมูลพื้นฐาน ขอมูลระบบบริการและขอมูล สุขภาพของเขตสุขภาพ (2) ประสาน สนับสนุนหนวยงานที่เกี่ยวของในเขตสุขภาพ จัดทำแผนการพัฒนาระบบบริการตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ระบบบริการของเขต (3) ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของในการรวมจัดทำแนวทาง/ มาตรการการดําเนินงานตามแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เพื่อยกระดับและพัฒนาขีดความสามารถของหนวยบริการทุกระดับ ในเขตสุขภาพ (4) รวบรวมขอมูลการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ และสรุปผลการดําเนินงานประจำป 4.4.4) งานขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ (1) ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดบริการรวม เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ในเขตสุขภาพ (2) ประสาน สนับสนุนหนวยงานที่เกี่ยวของในเขตสุขภาพ ในการดำเนินงาน พัฒนาระบบบริการของหนวยงานใหเปนไปตาม แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบบริการของเขต (3) ดำเนินการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตามแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพใหมีความเชื่อมโยงในหนวยบริการ ทุกภาคสวน (4) ติดตาม กำกับ ประเมินผล และรายงานผลการขับเคลื่อน ระบบสุขภาพของเขต 4.4.5) งานสงเสริมสุขภาพ (1) สงเสริม สนับสนุน การพัฒนาสุขภาพตามกลุมวัย (2) สงเสริม สนับสนุนงานอนามัยโรงเรียน (3) สงเสริม สนับสนุนงานสุขภาพจิต (4) สงเสริม สนับสนุนงานฟนฟูสมรรถภาพผูสูงอายุ (5) สงเสริม สนับสนุนงานทันตสาธารณสุข การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 26


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 4.4.6) งานควบคุมปองกันโรค โรคติดตอ และโรคไมติดตอ (1) สงเสริม สนับสนุนเฝาระวังและปองกันโรค ภัยสุขภาพ และตอบโตภาวะฉุกเฉิน ทั้งกรณีโรคอุบัติใหมและอุบัติซ้ำ (2) สงเสริม สนับสนุนปองกันควบคุมโรคติดตอและไมติดตอ (3) สงเสริม สนับสนุนเฝาระวังสถานการณและรายงานโรค (4) ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ 4.4.7) งานคุมครองผูบริโภค (1) สงเสริมงานมาตรฐานและสถานประกอบการดานบริการ สุขภาพ (2) สนับสนุนงานคุมครองสิทธิผูบริโภคดานสาธารณสุข (3) สงเสริม สนับสนุนงานพัฒนาระบบยาและเวชภัณฑ (4) ประสานการซื้อเวชภัณฑยา เวชภัณฑมิใชยา และวัสดุ วิทยาศาสตร และการแพทยรวมระดับเขต เพื่อลดตนทุนคาใชจาย ของหนวยบริการภายในเขตสุขภาพ 4.5) ประสานสนับสนุนคณะกรรมการในการสรุปขอมูลการพัฒนาระบบบริการของเขตสุขภาพ 4.6) อํานวยการ การจัดทำรายงานประจำป เพื่อรวบรวมผลการดําเนินงานการพัฒนา ระบบบริการของเขตสุขภาพ เสนอผูบริหาร และเผยแพรแกหนวยงานทุกระดับ 5) กลุมงานอํานวยการ 5.1) งานบริหาร 5.1.1) อํานวยการควบคุม กำกับรายงาน จัดขอมูล วิเคราะห และประเมินผลงาน ตลอดจนพัฒนางานของสำนักงานเขตสุขภาพ ใหกาวหนาและมีประสิทธิภาพ 5.1.2) จัดระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง 5.1.3) ควบคุมการใชเงินงบประมาณที่ไดรับการจัดสรร ใหถูกตองตามระเบียบ และระยะเวลาที่กำหนด 5.1.4) ควบคุม กำกับ การดําเนินงานภายในกลุมใหมีประสิทธิภาพ 5.1.5) สรุปและประเมินผลการใชเงินงบประมาณ 5.1.6) การนิเทศ ติตตาม ประเมินผลการบริหารงานทั่วไป การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 27


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 5.2) งานสารบรรณ และธุรการ 5.2.1) งานรับหนังสือ งานเก็บหนังสือ งานพิมพหนังสือ งานคนหาหนังสือ งานทำลายหนังสือ 5.2.2) รับ-สง หนังสือราชการทั้งชองทางปกติและชองทาง อิเล็กทรอนิกส (electronic) 5.2.3) จัดทำทะเบียนรับ - ทะเบียนสงหนังสือราชการ 5.2.4) รางหนังสือตอบโตตาง ๆ 5.2.5) ติดตามเรื่องใหทันกําหนดเวลา 5.2.6) จัดทำสถิติวันลาและรายงานการมาปฏิบัติราชการ 5.3) งานการเงินและบัญชี 5.3.1) ดำเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การงบประมาณ ของสำนักงานเขตสุขภาพ หรือที่อยูในอำนาจหนาที่ 5.3.2) ดำเนินการดานบริหารการเงิน การบัญชี การงบประมาณ ของสำนักงานเขตสุขภาพ 5.3.3) ใหคำปรึกษา แนะนํา แกไขปญหาและเสนอความเห็น ดานการเงิน การบัญชี การงบประมาณของสำนักงานเขตสุขภาพ ตอผูบริหารและหนวยงานที่เกี่ยวของ 5.4) งานพัสดุและยานพาหนะ 5.4.1) งานพัสดุ (1) ดำเนินการเกี่ยวกับการพัสดุของสำนักงานเขตสุขภาพ หรือที่อยูในอำนาจหนาที่ (2) ดำเนินการดานบริหารพัสดุของสำนักงานเขตสุขภาพ (3) ใหคำปรึกษา แนะนํา แกไขปญหาและเสนอความเห็น ดานการพัสดุของสำนักงานเขตสุขภาพตอผูบริหาร และหนวยงาน ที่เกี่ยวของ 5.4.2) งานยานพาหนะ จัดวางระบบและควบคุม การใชยานพาหนะ การเบิกจายน้ำมันเชื้อเพลิงการบำรุงรักษา และการพัสดุตาง ๆ ที่เกี่ยวกับยานพาหนะ การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 28


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 5.5) งานนิติการ 5.5.1) ติดตามผลการบังคับใชกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ทั้งภายในสำนักงานเขตสุขภาพและจังหวัดในเขตสุขภาพ ทั้งนี้ ใหรวมถึงงานดานการจัดทำนิติกรรมและสัญญาดวย 5.5.2) งานคดีและบังคับคดี มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ คดีแพง คดีอาญา คดีลมละลาย คดีปกครองหรือคดีประเภทอื่น ที่หนวยงานไดฟองรองหรือถูกฟองรองจากหนวยงานรัฐหรือเอกชน การพิจารณาเกี่ยวกับความรับผิดชอบในการละเมิดของเจาหนาที่ ทั้งภายในสำนักงานเขตสุขภาพและจังหวัดในเขตสุขภาพ 5.5.3) งานวินัย สอบสวนและอุทธรณ มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ ตรวจสอบขอเท็จจริง กรณีการรองเรียนหรือรองทุกขเกี่ยวกับดำเนินการสอบหาขอเท็จจริงหรือการสอบสวนทางวินัยบุคลากร งานเผยแพรความรูความเขาใจเกี่ยวกับวินัยการดำเนินการทางวินัยแกบุคลากรทั้งภายในสำนักงาน เขตสุขภาพและจังหวัดในเขตสุขภาพ 5.5.4) งานขอรองเรียน การจัดทำหนังสือหรือตอบขอรองเรียนที่เกี่ยวกับหนวยงานทั้งภายใน สำนักงานเขตสุขภาพและจังหวัดในเขตสุขภาพ 5.5.5) งานใหคำปรึกษาหรือใหคำแนะนําแกหนวยงาน หรือบุคลากร ทั้งภายในสำนักงาน เขตสุขภาพและจังหวัดในเขตสุขภาพ ผูวิจัยนำแนวคิดเกี่ยวกับระเบียบกระทรวงสาธารณสุขวาดวยการจัดตั้งเขตสุขภาพ เพื่อการปฏิรูปการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ พ.ศ. 2564 จนถึงปจจุบัน มาใชในการวิจัยเรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานกระบวนการบริหารจัดการตามนโยบายการปฏิรูปเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร เพื่อสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจัดตั้งเขตสุขภาพเพื่อการปฏิรูป การขับเคลื่อนระบบสุขภาพ และยังใชเปนแนวทางในการพัฒนาเครื่องมือการวิจัยตอไป การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 29


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 2.2 ทฤษฎีและแนวคิดการนำนโยบายสาธารณะดŒานสุขภาพไปปฏิบัติ 2.2.1 ความหมายนโยบายสาธารณะและนโยบายสาธารณะดŒานสุขภาพ หมายถึง กิจกรรมตาง ๆ ที่รัฐหรือสิ่งที่รัฐบาลกระทำหรือการปฏิบัติ โดยผานหนวยงานของรัฐบาล กิจกรรมที่ถือเปนนโยบายสาธารณะนั้น ครอบคลุมถึงกิจกรรมทั้งใน และตางประเทศ โดยการกระทำของรัฐบาลที่เรียกวานโยบายสาธารณะจะตองมีจุดมุงหมายชัดเจน ทั้งนี้ นโยบายสาธารณะมีลักษณะเปนกระบวนการ โดยเริ่มตั้งแตกระบวนการทางนิติบัญญัติ การบริหาร และการปฏิบัติ เพื่อใหรวมเขาเปนกระบวนการของนโยบายสาธารณะอยางชัดเจน เปนการกระทำของรัฐบาล ภายใตสิ่งแวดลอมที่ประกอบไปดวยปญหา (problems) อุปสรรค (obstacles) และโอกาส (opportunity) ซึ่งนโยบายถูกนำเสนอ เพื่อนำไปใชประโยชนในการแกปญหาใหประชาชนโดยมุงที่จะกระทำใหบรรลุ เปาหมายหรือเปาประสงค (goal) วัตถุประสงค (objective) และจุดมุงหมาย (purpose) โดยมี การดำเนินการอยางตอเนื่อง มิฉะนั้น จะไมบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงคอยางแนนอน (สันติ ทวยมีฤทธิ์, 2556) นโยบายสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมตาง ๆ ที่รัฐหรือสิ่งที่รัฐบาลกระทำหรือการปฏิบัติ สำหรับความหมายของ “สุขภาพ” หรือ “health” นั้น องคการ อนามัยโลก (world health organization : WHO) ไดใหความหมายไววา สภาวะที่มีความสมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ และมีความเปนอยูทางสังคมที่ดี (World Health Organization, 2010) ดังนั้น “นโยบายดานสุขภาพ” หรือ “health public policy” จึงนาจะนิยามไดวา เปนกระบวนการหรือแบบแผนของกิจกรรมที่เกี่ยวของกับสุขภาพ ซึ่งรัฐไดกำหนดขึ้นตามแนวทาง นิติบัญญัติ การบริหาร และการปฏิบัติ เพื่อใหเกิดกิจกรรมในการทำใหประชาชนมีสุขภาวะที่ดี ทั้งดานรางกาย จิตใจ ปญญา และสังคม เชื่อมโยงกันเปนองครวมดวยความสมดุล การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 30


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 2.2.2 ทฤษฎีการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ Walter Williams (1971) อธิบายไววา การนำนโยบายไปปฏิบัติ คือ สมรรถนะขององคการ ในการปฏิบัติภารกิจที่ไดรับมอบหมายใหบรรลุผลอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล Pressman and Wildavsky (1973) ไดใหคำนิยามของการนำนโยบายไปปฏิบัติไววา เปนการดำเนินงานขององคการราชการ ที่จะตองรับผิดชอบในการนำนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติใหประสบความสำเร็จลุลวง ครบถวน เกิดผลผลิต และสมบูรณในทุกดานตามวัตถุประสงคที่กำหนดไว และกอใหเกิดผลผลิตที่พึงปรารถนา สวน Van Meter and Van Horn (1975) กลาววา การนำนโยบายไปปฏิบัติ หมายถึง การดำเนินการโดยบุคคลหรือกลุมบุคคล ในภาครัฐและเอกชน ซึ่งการดำเนินการดังกลาวมุงที่จะกอใหเกิดความสำเร็จโดยตรงตามวัตถุประสงค จากการตัดสินใจดำเนินนโยบายที่ไดกำหนดไวกอนหนานั้นแลว และ Van Horn และ Van Meter (1975) กลาวถึงการนำนโยบายไปปฏิบัติไววา เปนความครอบคลุมกิจกรรมทั้งมวลที่กระทำโดยรัฐบาลและเอกชน ทั้งปจเจกบุคคลและกลุมบุคคล ซึ่งมีผลตอการบรรลุความสำเร็จตามวัตถุประสงคที่กำหนดไวลวงหนา จากการตัดสินใจนโยบาย ทั้งนี้ แนวคิดวาการศึกษาเกี่ยวกับการนำนโยบายไปปฏิบัตินั้นไมมีตนแบบใด เพียงตนแบบเดียว ที่สามารถอธิบายความซับซอนของกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติไดทั้งหมด Bardach (1980) กลาววา การนำนโยบายไปปฏิบัติ เปนเกมของกระบวนการทางการเมืองที่เกี่ยวของกับแนวความคิด ทฤษฎี และการวิจัยการนำนโยบายไปปฏิบัติ เปนกิจกรรมทางสังคมที่เกิดขึ้นและเปนไปตามขอกำหนด ของนโยบายซึ่งเนนความสำคัญของกระบวนการอยางชัดเจน การนำนโยบายไปปฏิบัติครอบคลุมกระบวนการ แปลงนโยบายที่เปนนามธรรมใหเปนแผนงานรูปธรรมที่สามารถนำไปปฏิบัติและตรวจสอบวัดระดับ ความสำเร็จได การนำนโยบายไปปฏิบัติ คือ การนำนโยบายหรือแผนงานไปปฏิบัติใหบรรลุผลสำเร็จ สวน March และ Olson (1989) ไดอธิบายวา การนำนโยบายไปปฏิบัติเปนขั้นตอนสำคัญในกระบวนการ นโยบายสาธารณะ และเปนการนำการตัดสินใจนโยบายที่ไดกระทำไวไปปฏิบัติใหประสบผลสำเร็จ และเปนการรวมกันทำงานภายใตกฎหมายที่ผานความเห็นชอบของฝายนิติบัญญัติ หรือคำสั่งของฝายบริหาร หรือผูมีอำนาจในระดับตาง ๆ ซึ่งการตัดสินใจนโยบาย คือ การบงชี้ปญหา การกำหนดวัตถุประสงค และการกำหนดโครงสรางกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติ โดยกระบวนการกำหนดนโยบายไปปฏิบัติ ประกอบดวยขั้นตอนหลายขั้นตอน เริ่มดวยการกำหนดกฎพื้นฐานสำหรับการปฏิบัติการคาดหมายผลลัพธ จากการนำนโยบายไปปฏิบัติการยินยอมปฏิบัติตามของกลุมเปาหมาย การพิจารณาผลกระทบจากผลลัพธ ที่เกิดขึ้นทั้งที่เจตนาและไมไดเจตนา ผลกระทบจากการตัดสินใจของหนวยปฏิบัติ และการปรับปรุงกฎระเบียบ พื้นฐานที่ใชในการนำนโยบายไปปฏิบัติใหเหมาะสมกับกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติ สำหรับ วรเดช จันทรศร (2543) เปนเรื่องของการศึกษาวาองคกร บุคคล หรือกลุมบุคคลที่เกี่ยวของสามารถนำ และกระตุนใหทรัพยากรทางการบริหารทั้งมวลปฏิบัติงานใหบรรลุตามนโยบายที่ระบุไวหรือไมเพียงใด การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 31


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง จะเห็นวาการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติเปนการตัดสินใจตามนโยบายเพื่อบริหารขั้นตอน ในการดำเนินงานตามนโยบายจากรัฐบาลขององคการหนวยงานราชการโดยมุงใหเกิดความสำเร็จ และบรรลุผลอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งในการศึกษาแนวคิดการนำนโยบายไปปฏิบัตินั้น Richard Elmore (1979) ไดใหแนวคิดวาการศึกษาเกี่ยวกับการนำนโยบายไปปฏิบัตินั้น ไมมีตนแบบใด เพียงตัวเดียวที่สามารถอธิบายความซับซอนของกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติไดทั้งหมด และตอมา deLeon (2002) กลาวถึง วรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการนำนโยบายไปปฏิบัติวาไดกอใหเกิดความเห็นพอง รวมกันทางทฤษฎี และการนำไปประยุกตใชการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกิดขึ้นอยางกวางขวาง โดยมิไดกอใหเกิดความเสียหายตอการศึกษาการนำนโยบายไปปฏิบัติแตอยางใด ดังนั้น จึงมีผูเชี่ยวชาญ ไดเสนอแนวทางการศึกษาในเรื่องดังกลาวไดอยางนาสนใจ ดังนี้ 1) แนวทางการศึกษาโครงสรŒางองคการ (structural approach) ปจจุบันการศึกษาจะเนนที่ความเหมาะสมของโครงสรางที่แตกตางกันภายใตภารกิจและสิ่งแวดลอม ที่หลากหลาย ซึ่งในเรื่องนี้สามารถทำใหเห็นไดชัดเจนดวยความหมายของคำวาการวางแผนการเปลี่ยนแปลง (planning of change) กลาวคือ การวางแผนการเปลี่ยนแปลงเปนความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายใน องคการ โดยกระบวนการควบคุมทิศทาง เวลา สายการบังคับบัญชา ลักษณะงาน และความสัมพันธระหวาง ปจจัยตาง ๆ ดังกลาวอยางชัดเจน สวนการวางแผนเพื่อการเปลี่ยนแปลงเปนความเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวของ กับสภาพแวดลอมภายนอกองคการ หรือเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ยากตอการควบคุมและคาดการณ และการนำนโยบายไปปฏิบัติจะเปนไปในลักษณะของความสัมพันธแบบตอเนื่องระหวางนโยบาย - การปฏิบัติ - นโยบาย (policy - action - policy continues) แสดงใหเห็นความสัมพันธเชิงพลวัตอยางชัดเจน (สันติ ทวยมีฤทธิ์, 2556) การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 32


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 2) แนวทางการจัดการและระเบียบว�ธีการ (procedural and managerial approaches) การกำหนดโครงสรางที่เหมาะสมสำหรับการนำนโยบายไปปฏิบัติอาจมีความสำคัญนอยกวาการพัฒนา กระบวนการ (processes) และระเบียบวิธีการ (procedures) รวมทั้งระบบการจัดการ (managerial system) ใหมีความเหมาะสมและสอดคลองกับเทคนิคที่ใชอาจพิจารณาโดยใชแนวความคิดเกี่ยวกับการวางแผน การเปลี่ยนแปลง และการวางแผนเพื่อการเปลี่ยนแปลง เปนแนวทางในการวิเคราะห กลาวคือ ในกรณีการวางแผน การเปลี่ยนแปลงเห็นวาการนำนโยบายไปปฏิบัติเปนปญหาทางเทคนิค และการจัดการระเบียบวิธีการที่ใช จะเกี่ยวของกับการกำหนดตารางการทำงาน (scheduling) การวางแผน (planning) และการควบคุม (control) ดังนั้น หลังจากที่ระบุสภาพปญหาและการเลือกนโยบายที่มีประสิทธิผล (effective policy) สูงสุดแลว ขั้นตอนการนำนโยบายไปปฏิบัติจะมี 3 ขั้นตอน (สันติ ทวยมีฤทธิ์, 2556) ดังนี้ 2.1) ออกแบบแผนงานใหสอดคลองกับผลที่ตองการโดยกำหนดวัตถุประสงค มาตรฐานการปฏิบัติงาน และเวลาที่ตองการใหชัดเจน 2.2) การนำแผนงานไปปฏิบัติโดยดำเนินงานตาง ๆ ใหเหมาะสม ไดแก การจัดโครงสรางการปฏิบัติงาน และการคัดเลือกเจาหนาที่ การจัดหางบประมาณ และทรัพยากรและการกำหนดระเบียบวิธีปฏิบัติ 2.3) กำหนดตารางเวลาการปฏิบัติ (scheduling) กำกับ (monitoring) และเครื่องมือการควบคุม (control devices) เพื่อสรางความมั่นใจวาการดำเนินแผนงานตามความตั้งใจที่กำหนด การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 33


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 3) แนวทางการว�เคราะหพฤติกรรม (behavioral approach) ความพยายามในการประยุกตใชการวิเคราะหเชิงพฤติกรรมที่รูจักกันแพรหลายที่สุด คือ การพัฒนาองคการ (organizational development : OD) ซึ่งเปนรูปแบบของการใหคำปรึกษาทางการจัดการ โดยใหคำปรึกษา มีบทบาทในการมีอิทธิพลตอวัฒนธรรมองคการ (organizational culture) โดยรวมถึงทัศนคติ และพฤติกรรม ของบุคลากรสำคัญในองคการ โดยเนนวิเคราะหกระบวนการในการแสวงหาแนวทางการแกไขปญหา มากกวา การเสนอแนะคำตอบในการแกปญหา Hogwood และ Gunn (1984) ใหแนวคิดวา การใชเทคนิคการจัดการ โดยวัตถุประสงค (management by objective – MBO) ของภาคเอกชนมาสูภาครัฐ เปนปญหาวาสามารถ ใชไดหรือไม ซึ่งหากมีวัตถุประสงคจำนวนมาก ที่ขาราชการถูกกำหนดใหนำไปปฏิบัติ ผูปฏิบัติเหลานี้ สวนใหญ จะขาดอำนาจในการควบคุมโดยตรงตอทรัพยากรที่จำเปนสำหรับการนำนโยบายไปปฏิบัติ การใชเทคนิค MBO จะตองคำนึงถึงองคประกอบ 3 ประการ (สันติ ทวยมีฤทธิ์, 2556) คือ 3.1) การจัดลำดับชั้นของเปาประสงค หรือวัตถุประสงคตามลำดับสำคัญเพื่อใหเปาหมายของผูจัดการ แตละคนสอดคลอง และสนับสนุนวัตถุประสงคขององคการ 3.2) MBO ตองมีลักษณะของการปฏิสัมพันธ (interactive) บนพื้นฐานของการใหคำปรึกษา 3.3) MBO ตองมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อใหทราบวาบรรลุวัตถุประสงคในระดับใด ควรมีการปรับปรุงกลยุทธการปฏิบัติอะไรบาง การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 34


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานว�จัยที่เกี่ยวขŒอง 4) แนวทางการเมือง (political approach) นอกจากแนวทางเกี่ยวกับโครงสรางองคการ ระเบียบวิธีการ และพฤติกรรมขององคการแลว แนวทาง การเมืองเปนอีกแนวทางหนึ่งซึ่งมีความสำคัญเปรียบเสมือนเปนรากฐานสำคัญในการวิเคราะหการนำนโยบาย ไปปฏิบัติ ความหมายของการเมือง มิใชจำกัดอยูแตเพียงการเมืองของพรรคการเมืองเทานั้น แตหมายรวมถึง รูปแบบของอำนาจและอิทธิพลทั้งระหวางองคการและภายในองคการ ซึ่งอาจพิจารณาไดโดยงาย ในกรณีที่ การนำนโยบายไปปฏิบัติไดรับการวางแผน การกำหนดระเบียบวิธีการ การจัดการ และการใชเทคนิคเกี่ยวกับ พฤติกรรมองคการอยางเหมาะสมทั้งหมด แตหากขาดความสนใจตออำนาจที่แทจริงทางการเมือง อาจทำให การนำนโยบายไปปฏิบัติไมประสบความสำเร็จ จะเห็นไดวาการกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติ มีลักษณะของการพึ่งพาซึ่งกันและกัน ดังนั้น นักวิเคราะหจึงตองพิจารณาควบคูกันไปเสมอ นักการเมือง ก็เชนกัน ตองยอมรับความจำเปนในการใหความสนใจอยางตอเนื่องตอการนำนโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งอาจตองมี การแกไขขอผิดพลาดในกฎหมายหรือระเบียบที่เสนอเพื่อใหการนำนโยบายไปปฏิบัติมีโอกาสประสบความสำเร็จ ตามเปาประสงค (สันติ ทวยมีฤทธิ์, 2556) 5) แนวทางการพ�จารณาจากบนลงล‹าง (top – down approach) Younis และ Davidson (1990) เรียกวาขอเสนอแนะเพื่อความสำเร็จ (prescriptions for success) ในขณะเดียวกัน Barrett (2004) เรียกวาแนวทางศูนยกลางนโยบาย (policy – central approach) โดยให ความหมายวาเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจากทัศนียภาพของผูกำหนดนโยบาย ทั้งนี้ เพราะเปนเรื่องที่ใหความสำคัญ กับสิ่งที่ผูกำหนดนโยบายพยายามจะทำ หรืออาจกลาวไดวาแนวทางการพิจารณาจากบนลงลาง เห็นวานโยบาย ถูกกำหนดขึ้นจากสวนบน และถูกแปลงไปสูการปฏิบัติเพื่อใหผูปฏิบัติระดับลางนำไปปฏิบัติ Sabatier (1986) ใหความเห็นวา ฐานคติของแนวทางจากบนลงลางที่วา การนำนโยบายไปปฏิบัติจะไดผลสูงสุดจากความชัดเจน ของสถาบันที่กำหนดนโยบายและขอบังคับ นอกจากนี้ แนวทางนี้ยังสอดคลองกับแนวคิดเกี่ยวกับตัวแบบ การบริหารที่สมบูรณ (model of perfect administration) ซึ่ง Hood (2004) ไดนำเสนอไววา เงื่อนไข จากความเปนไปไดในการจัดหาทรัพยากรจากภายนอกและการยอมรับทางการเมือง ผสมผสานกับการบริหาร เพื่อกำหนดการนำนโยบายไปปฏิบัติที่สมบูรณและเปนสิ่งที่เกิดขึ้นได Van (1975) ไดอธิบายเพิ่มเติม การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการบร�หารจัดการของเขตสุขภาพที่9 นครชัยบุร�นทร 35


Click to View FlipBook Version