oสnื่อlกinารeสอEน P-boowoekrใPชoโ้ ปinรtแกรม Pubhtml5
เรื่อง ศาสนพธิ ี
รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและรวหฒั สั นวธิชรารสม ๓๑๑๐๑ (พระพทุ ธศาสนา)
จดั ทำโดย นำงสำวพรทิพย์ พลกิจ
ครูชำนำญกำรพเิ ศษ
โรงเรยี นแหลมสิงหว์ ิทยำคม จ.จนั ทบรุ ี
สำนกั งำนเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำเขต ๑๗
คานา
สื่อการสอน PowerPoint เร่ือง ศาสนพธิ ี ใช้เป็ นส่ือการเรียนการสอน
ในรายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหัสวชิ า ส ๓๑๑๐๑
ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ใช้เวลาสอน ๔ ชั่วโมง
ทางผ้จู ดั ทาหวงั ว่าสื่อการสอน PowerPoint
เร่ือง ศาสนพธิ ี คงเป็ นประโยชน์ต่อนักเรียนและคุณครูผู้สอนรายวชิ าสังคมศึกษา
ศาสนาและวฒั นธรรมได้พอสมควร
หลกั ธรรมท่ีเกีย่ วเนื่องในวันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนา
“ วนั มาฆบชู า ”
ตรงกบั วันเพ็ญเดือน ๓ ของทุกปี
(ถ้าปีใดมีเดือน ๘ สองหนกเ็ ล่อื นไปเป็นวันเพญ็ เดือน ๔)
ถอื เป็น “วนั พระธรรม”
พระพทุ ธองคท์ รงแสดง โอวาทปาฏโิ มกข์
ประมวลหลักคาสอน ๓ ประการ
• การไมท่ าความช่ัว
• การทาแต่ความดี
• การทาจิตใจให้สะอาดบรสิ ุทธ์ิ
ชว่ งเชา้ ช่วงค่า
• ทาบุญตกั บาตร • เวยี นเทยี น
• รักษาศีล
• ฟงั ธรรม
“ วนั วสิ าขบูชา ”
ตรงกบั วันเพ็ญเดอื น ๖ ของทกุ ปี
(ถา้ ปใี ดมีเดอื น ๘ สองหนก็เลือ่ นไปเปน็ วันเพญ็ เดอื น ๗)
เปน็ วันคลา้ ยวันประสตู ิ ตรสั รู้ และปรนิ ิพพาน
ของพระพทุ ธเจา้
หลักธรรมสาคญั คอื อรยิ สัจ ๔
เปน็ หวั ใจสาคัญของพระพทุ ธศาสนา
• ทุกข์ (สภาพท่ีทนได้ยาก)
• สมทุ ยั (เหตุแหง่ ความทกุ ข์)
• นิโรธ (ความดับทุกข์)
• มรรค (ขอ้ ปฏิบัติใหถ้ ึงความดบั ทุกข์)
ช่วงเช้า ช่วงค่า
• ทาบญุ ตกั บาตร • เวยี นเทยี น
• ฟงั ธรรมเทศนา
“ วันอัฏฐมบี ูชา ”
ตรงกบั วนั แรม ๘ คา่ เดอื น ๖ หรือเดือน ๗
นบั ถัดจากวันวสิ าขบูชาไป ๗ วัน
เป็นวันคล้ายวันถวายพระเพลงิ พระพทุ ธสรีระ
หลักธรรมสาคญั
• อัปปมาทะ (ความไมป่ ระมาท)
• การบูชา ๒ ประการ
- อามิสบชู า (การบูชาด้วยวตั ถุสงิ่ ของ)
- ปฏิบัติบูชา (การบูชาด้วยการประพฤติตนตามหลกั ธรรมคาสอน)
“ วนั อาสาฬหบชู า ”
เป็นการบูชาในวนั เพญ็ เดอื น ๘
มีความสาคญั โดยสรุปได้ ๓ ประการ
• เปน็ วันที่พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงปฐมเทศนา
• เป็นวันทมี่ พี ระสงฆ์เกิดขน้ึ องคแ์ รกในพระพทุ ธศาสนา
• เปน็ วนั ท่พี ระรตั นตรยั ครบบริบรู ณ์
หลกั ธรรมทแ่ี สดง คือ ธัมมจกั กัปปวัตตนสตู ร
ช่วงเช้า ชว่ งค่า
• ทาบญุ • เวยี นเทียน
• ตกั บาตร
หลกั ธรรมทเ่ี กี่ยวเนือ่ งในธรรมสวนะและเทศกาลสาคญั
วนั ธรรมสวนะ
• วนั ธรรมสวนะ หรอื วนั พระ ในหนึ่งเดือนมี ๔ วนั
วนั ขน้ึ ๘ ค่า
วันขน้ึ ๑๕ ค่า
วนั แรม ๘ ค่า
วนั แรม ๑๔ หรอื ๑๕ คา่
• หลกั ธรรมสาคญั คือ กาเลนธมั มสากัจฉา
(การสนทนาธรรมตามกาล)
• การฟังธรรมนิยมฟังกนั ในวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา
โดยเฉพาะวนั พระ และวันอน่ื ๆ
วนั เทศกาลสาคัญ
วนั เข้าพรรษา
๑ เรม่ิ วนั แรม ๑ ค่า เดือน ๘ ถึงวนั ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๑๑
๒ พระภกิ ษจุ ะพกั อาศยั อย่ใู นวดั ใดวัดหนงึ่ เป็นเวลา ๓ เดอื น
๓ เพอื่ ศกึ ษาพระธรรมวินยั ๓ หมวดใหญ่ เรยี กวา่ สทั ธรรม ๓
ปรยิ ัติสทั ธรรม ปฏบิ ตั ิสัทธรรม ปฏเิ วธสัทธรรม
วนั ออกพรรษาและวันตักบาตรเทโวโรหณะ
๑ ตรงกบั วันขน้ึ ๑๕ คา่ เดือน ๑๑ เป็นวนั สิน้ สุดระยะการจาพรรษา ๓ เดอื น
๒ เปน็ วนั ทพ่ี ระสงฆ์พรอ้ มใจกันทา ปวารณากรรม เปิดโอกาสให้มกี ารแนะนา
และตักเตือนระหวา่ งทป่ี ระชุมสงฆ์
๓ พทุ ธศาสนิกชนจะมีการทาบญุ ตกั บาตรเนื่องในโอกาสเป็นวันคลา้ ยวนั ที่พระพุทธเจ้า
เสด็จลงจากสวรรคช์ ัน้ ดาวดงึ ส์ หลังจากเสดจ็ ไปโปรดพระพุทธมารดา
๔ หลกั ธรรมสาคญั ที่พระสงฆพ์ งึ ปฏิบตั ใิ นวันน้ีเรยี กว่า อริยวงศ์ ๔ ไดแ้ ก่ จีวรสนั โดษ
ปณิ ฑปาตสันโดษ เสนาสนสันโดษ ภานาปหานารามตา
ศาสนพิธี
ประเภทของพุทธศาสนพธิ ี
กศุ ลพิธี พธิ ีกรรมตา่ งๆ อนั เกยี่ วดว้ ยการอบรมความดงี ามทางพระพทุ ธศาสนาเฉพาะตวั บุคคลแบง่ เปน็
บุญพธิ ี ๒ อย่าง คือ พธิ ีกรรมท่ีพุทธบรษิ ัทพงึ ปฏิบัติในเบอื้ งต้น และพธิ ีกรรมท่ีพระสงฆพ์ ึงปฏบิ ัติ
พธิ ีทาบญุ หรือทาความดี แบง่ ออกไดเ้ ปน็ ๒ ประเภท คือการทาบญุ งานมงคล เปน็ การทาบญุ
ในโอกาสและงานวนั สาคัญ และการทาบญุ งานอวมงคล เป็นการทาบุญเก่ียวกบั การตาย
ทานพธิ ี พธิ ีถวายทานแดพ่ ระสงฆ์ เรยี กวา่ ทานวัตถุ มี ๒ อยา่ ง ได้แก่ ปาฏิบคุ ลกิ ทาน คือ การถวาย
เจาะจงพระภกิ ษุ และสังฆทาน คอื การถวายไมเ่ จาะจงพระภิกษุ
ปกณิ กพธิ ี พิธที าบญุ บาเพ็ญกศุ ลเนื่องในวนั ประเพณีตา่ งๆ เช่น การทาบุญในพระราชพิธีฉตั รมงคล
วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา วนั ขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์
คณุ คา่ และประโยชน์ของศาสนพธิ ี
เป็นเครื่องยึดเหน่ียวจิตใจของศาสนิกชนใหใ้ ฝ่ในคณุ งามความดี
ทาให้เกดิ ความสามคั คี
มีส่วนชว่ ยรักษาเอกลกั ษณ์ของชาติ
ก่อให้เกิดความศรทั ธาตอ่ พระพุทธศาสนา
ศาสนพิธีเน่อื งดว้ ยพุทธบญั ญัติ
พิธีเวยี นเทยี น : ระเบยี บปฏิบัติ
เมือ่ ถึงเวลา ทางวัดจะตรี ะฆงั สัญญาณให้พทุ ธบริษทั มาประชมุ
พรอ้ มกันทีห่ น้าพระอโุ บสถหรือลานพระเจดีย์ โดยภิกษุยนื แถวหนา้
ถดั ไปเป็นสามเณร ทา้ ยสุด คอื อุบาสกและอุบาสกิ า โดยใหท้ ุกคน
ถอื ดอกไมธ้ ปู เทยี น
พระภกิ ษุผเู้ ปน็ ประธานนาจดุ ธปู เทียนและนากลา่ ว “นโม…”
พร้อมกนั ๓ จบ และคาบชู าพระรตั นตรยั ตามแบบท่ีกาหนดไว้
พระภิกษผุ ้เู ปน็ ประธานเดนิ นาแถวไปทางขวามอื ของสถานทเี่ วียน
เทยี น ในการเดนิ เวียนเทยี นแตล่ ะรอบควรราลกึ ถงึ พระคุณของพระ
รัตนตรัยตาม
เดนิ เวียนรอบที่ ๑
ให้ราลกึ พระพุทธคณุ โดยการสวดบท “อิติปโิ ส ภควา…”
เดนิ เวียนรอบท่ี ๒
ใหร้ าลึกพระธรรมคณุ โดยการสวดบท “สวากฺขาโต ภควตา
ธมโฺ ม…”
เดินเวยี นรอบที่ ๓
ให้ราลึกพระสังฆคุณ โดยการสวดบท “สปุ ฏิปนฺโน ภควโต
สาวกสงฺโฆ…”
เมอื่ เดินครบ ๓ รอบแลว้ …… นาดอกไม้ธปู เทยี นไปปกั บูชา จากนัน้ จงึ เข้าไปประชมุ พรอ้ มกนั ในพระอุโบสถ วหิ าร
หรือศาลาการเปรยี ญ แล้วสวดมนต์ทาวัตรพร้อมกนั หลังจากนนั้ ฟังพระธรรมเทศนา เปน็ อันเสรจ็ พธิ ี
พิธถี วายสังฆทาน : ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิ
สังฆทาน (ทานท่อี ุทศิ แกพ่ ระสงฆ์โดยมไิ ดเ้ จาะจงพระภกิ ษุรปู ใดรปู หนึง่ )
๑ เตรยี มภัตตาหารและเคร่อื งไทยธรรมให้เรียบรอ้ ย จะถวายกี่รปู กไ็ ด้ตาม ความศรทั ธา
๒ นิมนตพ์ ระภกิ ษุกีร่ ปู ก็ได้ แต่ท่ีสาคญั คือ ต้องไมเ่ จาะจงพระภกิ ษรุ ูปใดรูปหนงึ่ อาจจะ
เป็นพระภกิ ษทุ ่ีกาลงั ออกบณิ ฑบาตอยกู่ ไ็ ด้
๓ การจดั สถานที่ ถ้าเปน็ ในบ้านควรจัดหอ้ งใดห้องหนึ่งให้เรยี บรอ้ ย ถา้ มีพระพุทธรูป
ควรต้ังท่บี ูชาดว้ ยพอสมควร เม่อื พระสงฆ์มาพร้อมกันแล้วใหน้ าภตั ตาหารต้ังตรงหนา้
พระสงฆอ์ าราธนาศีลแล้วกลา่ วคาถวายสงั ฆทาน
๔ ขณะกลา่ วคาถวาย พระสงฆ์จะประนมมอื พอผู้ถวายกลา่ วจบ ผูร้ ่วมพิธีกจ็ ะรับ
“สาธุ” พร้อมกนั ต่อจากน้ันผูถ้ วายจะประเคนภตั ตาหารและของบรวิ าร (ถา้ ม)ี
แดพ่ ระสงฆ์
๕ พระสงฆส์ วดคาอนุโมทนา ขณะทพี่ ระสงฆ์สวดวา่ “ยถา…” ให้ผู้ถวายกรวดนา้ กะให้
พอดีนา้ ลืน่ ไหลหมด เม่ือพระสงฆส์ วดรับพรอ้ มกันวา่ “สพพฺ ตี ิโย…” ก็ให้ผูถ้ วาย
ประนมมือรบั พรไปจนจบเป็นอันเสรจ็ พิธี
พธิ ถี วายผา้ อาบนาฝน
ผา้ อาบนาฝน ผ้าสาหรบั ผลัดเปลย่ี นอาบนาของพระสงฆ์
กาหนดเวลาการถวายผา้ อาบนา้ ฝนจะเร่ิมตั้งแต่วันแรม ๑ ค่า เดือน ๗ จนถึง วันขน้ึ ๑๕ คา่ เดอื น ๘
แตส่ ่วนมากนิยมถวายในวันข้ึน ๑๕ คา่ เดือน ๘
พิธีถอดกฐิน : ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ
• การทอดกฐนิ เป็นประเพณที ่นี ิยมทากันตง้ั แตว่ ันแรม ๑ ค่า เดอื น ๑๑ ไปจนถึงกลางเดือน ๑๒
• การทอดกฐนิ การนาผา้ กฐนิ ไปวางไว้ตอ่ หน้าพระสงฆ์อย่างน้อย ๕ รูป แลว้ ให้พระสงฆร์ ปู หน่ึงที่ไดร้ ับเลือก
จากคณะสงฆ์โดยเอกฉนั ทเ์ ปน็ ผู้รบั ผา้ กฐิน
๑ เจา้ ภาพผูม้ จี ิตศรทั ธาหากประสงคท์ ี่จะทอดกฐนิ ท่วี ดั ใด ตอ้ งไปกราบเรียนแสดง
ความจานงตอ่ เจา้ อาวาสวัดนน้ั ตกลงวันเวลาท่ีแน่นอนเพอ่ื การทอดกฐิน
๒ เจา้ ภาพเตรียมเคร่อื งกฐินให้พรอ้ ม
๓ เจา้ ภาพนาเครื่องกฐินไปถวายพระสงฆท์ ่วี ัดตามวันเวลาที่กาหนด เม่ือพระภิกษุสงฆ์
ประชุมพรอ้ มกันแล้ว เร่ิมถวายผ้ากฐินด้วยการกล่าว “นโม…” ๓ จบ แล้วกล่าวคา
ถวายผ้ากฐนิ
๔ เมือ่ กล่าวคาถวายจบแล้วพระสงฆร์ ับพร้อมกันว่า “สาธ”ุ เจา้ ภาพนาผ้ากฐนิ ไปถวาย
พระสงฆ์รปู ทีจ่ ะรับครองกฐิน ต่อจากน้ันจะเป็นพิธีสงั ฆกรรมท่ีพระสงฆป์ ฏิบตั ิตาม
หลักพระธรรมวนิ ัยตอ่ ไป
พธิ ปี วารณา
• ตรงกับวนั ขน้ึ ๑๕ คา่ เดือน ๑๑
• การปวารณา การทพ่ี ระสงฆเ์ ปดิ โอกาสใหม้ ีการวา่ กล่าวตักเตอื นกัน เมือ่ ไดฟ้ ัง ได้เหน็ หรือมีข้อรังเกยี จในความ
ประพฤติของกันและกนั เมอ่ื สงสัยในความประพฤตริ ะหวา่ งที่อยู่รว่ มกันตลอดพรรษา ก็ใหม้ กี ารว่ากลา่ วตกั เตอื นกนั ได้
• พุทธศาสนกิ ชนในวนั น้อี าจมีการทาบญุ ตักบาตร สมาทานศลี และฟงั พระธรรมเทศนา เพอื่ อบรมกาย วาจา และใจ
ศาสนพิธีท่ีนาพระพทุ ธศาสนาเขา้ ไปเก่ียวเนื่อง
การทาบญุ เลยี งพระในงานมงคล มีขั้นตอนในการปฏิบตั ิ ดังน้ี
การเตรียมการ
• อาราธนาพระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ นยิ มเป็นจานวนค่ี เช่น ๕ รูป ๗ รูป หรอื ๙ รูป
• เตรียมที่ตั้งพระพทุ ธรปู พรอ้ มเครื่องบูชา
• ตกแต่งสถานท่ีบรเิ วณพิธี
• วงด้ายสายสิญจนโ์ ดยรอบอาคารหรอื จะวงทีฐ่ านพระพทุ ธรูป แล้วโยงมาท่ีภาชนะสาหรบั นา้ มนต์กไ็ ด้
• อญั เชิญพระพุทธรูปมาตง้ั บนท่ีบูชา
• ปอู าสนะสาหรบั พระสงฆ์
• เตรยี มเครอื่ งรบั รองพระสงฆต์ ามควรแก่ฐานะ
• ตั้งภาชนะสาหรับทานา้ มนต์
การดาเนนิ พิธี
• เมอ่ื พระสงฆม์ าถงึ แล้ว นมิ นตพ์ ระสงฆน์ งั่ บนอาสนะ แลว้ ประเคนเคร่อื งรับรอง
• เจ้าภาพหรอื ผแู้ ทนจดุ ธูปเทยี นท่ีโตะ๊ หมบู่ ูชา แล้วกราบเบญจางคประดิษฐ์
• อาราธนาศีลและรบั ศลี
• อาราธนาพระปริตร
• พระสงฆเ์ จริญพระพทุ ธมนต์
• ถวายภตั ตาหารแด่พระสงฆ์ เสร็จแล้วถวายเคร่ืองไทยธรรม
• พระสงฆ์อนุโมทนา ขณะท่พี ระสงฆ์วา่ บท “ยถา…” ใหเ้ รม่ิ กรวดน้าใหเ้ สร็จก่อนจบบท พอพระสงฆว์ า่ บท
“สพพฺ ีติโย…” ใหน้ ง่ั ประนมมอื รบั พรตลอดไปจนจบ
• พระสงฆป์ ระพรมน้าพระพุทธมนต์ เป็นอันเสร็จพิธี
การทาบุญเลยี งพระในงานอวมงคล
การทาบญุ เกยี่ วกบั เร่ืองการตาย นิยมทากันอยู่ ๒ อย่าง คอื การทาบุญหนา้ ศพ หรอื ท่ีเรยี กกนั ว่า ทาบญุ ๗ วัน ๕๐ วนั หรือ
๑๐๐ วนั กับ การทาบญุ อัฐิ หรอื การทาบุญในวนั คล้ายวนั ตายของผลู้ ่วงลบั มีขน้ั ตอนและการปฏิบัติเหมอื นกับการทาบุญเลย้ี ง
พระในงานมงคล แตม่ ีขอ้ แตกตา่ งกนั คอื
การทาบุญงานอวมงคล
• การอาราธนาพระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ นิยมจานวน ๘ หรือ ๑๐ รูป แลว้ แตก่ รณี แตต่ ้องเป็นจานวนคู่
และการอาราธนาพระสงฆ์สาหรับทาบุญงานอวมงคลไม่ใชค้ าว่า “ขออาราธนาเจรญิ พระพทุ ธมนต์” เหมอื น
อยา่ งทาบญุ งานมงคล แต่ใชค้ าว่า “ขออาราธนาสวดพระพุทธมนต์”
• ไม่ต้องวงด้ายสายสญิ จน์ และไม่ตอ้ งตงั้ ภาชนะสาหรับทาน้ามนต์
• เตรยี มสายโยงหรือภษู าโยงต่อจากศพหรืออฐั ไิ ว้เพื่อใช้บงั สกุ ลุ
• เมอ่ื พระสงฆ์มาถงึ ตามกาหนดเวลา มีข้อพึงปฏิบตั พิ เิ ศษ คือ มีการจดุ ธปู เทยี นท่โี ตะ๊ หมบู่ ชู ากับการจดุ ธูป
เทียนท่หี นา้ ศพ
• วันเล้ยี งพระมีการปฏิบัติเช่นเดียวกบั งานมงคล เพยี งแตห่ ลงั จากพระสงฆฉ์ ันเสรจ็ แล้วนยิ มใหม้ กี ารบังสุกุล
แลว้ จึงถวายไทยธรรม เมือ่ พระสงฆ์อนุโมทนา จึงกรวดน้าอุทิศส่วนกุศลต่อไป
บทสวดมนตข์ องนกั เรียน
บทสวดมนตไ์ หว้พระประจาวนั ทกุ เช้าหลังเคารพธงชาติ
ผู้นานกั เรยี นจะนาสวดมนต์ บท “อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา” จนจบถงึ บท “สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมาม”ิ
บทสวดมนตไ์ หวพ้ ระกอ่ นเลิกเรียนในวันสุดสปั ดาห์
บทนมัสการพระรตั นตรยั ข้ึนตน้ ดว้ ย “นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธัสสะ” ว่า ๓ ครัง้
บทพระพทุ ธคุณ ขน้ึ ตน้ ด้วย “อิติปิโส ภะคะวา” ไปจนจบถงึ “พทุ โธ ภะคะวาติ”
คานมสั การพระพุทธคณุ ขึ้นต้นดว้ ย “องคใ์ ดพระสมั พทุ ธวิสุทธสนั ดาน” จนถึง “ญภาพน้ันนิรันดร”
บทพระธรรมคณุ ข้ึนต้นดว้ ย “สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม” จนถงึ “ปจั จตั ตัง เวทติ พั โพ วิญญูหีติ”
คานมสั การพระธรรมคณุ ขึ้นตน้ ด้วย “ธรรมะคอื คุณากร” จนถึง “ด้วยจติ และกายวาจา”
บทพระสังฆคุณ ขนึ้ ต้นด้วย “สปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ” จนถงึ “อะนตุ ตะรัง ปญุ ญักเขตตงั
โลกัสสาติ”
คานมสั การพระสงั ฆคณุ ขึ้นตน้ ด้วย “สงฆ์ใดสาวกศาสดา รับปฏิบตั ิมา” จนถึง “จงช่วยขจดั โพยภยั อนั ตรายใดใด
จงดบั และกลับเสอ่ื มสูญ”
พธิ บี รรพชาอปุ สมบท
การบรรพชา
การบวชเปน็ เณร เป็นการลาจากชีวิตฆราวาสแล้วหนั มาดาเนนิ ชวี ิตแบบสนั โดษตามหลกั อริยมรรคมีองค์ ๘ เพือ่ บรรลถุ งึ
ความหลดุ พ้นจากกเิ ลสอนั เปน็ จดุ หมายปลายทางของชีวติ
เปน็ ชายมอี ายไุ มต่ ่ากวา่ ๗ ปีบริบรู ณ์ ไมเ่ ป็นโรคติดต่อ โรครา้ ยแรง
คุณสมบตั ิ
ของผทู้ ีจ่ ะบรรพชา
เป็นผู้ทม่ี อี วยั วะครบถว้ นสมบรู ณ์ ไมเ่ ปน็ ผตู้ อ้ งห้ามตามพระวนิ ัย
การอปุ สมบท
การบวชเป็นพระด้วยวิธีญัตติจตตุ ถกรรมวาจา อุปสัมปทา คือ การอปุ สมบทโดยสงฆ์สวดประกาศและยอมรับเขา้ หมู่
ในทป่ี ระชมุ สงฆ์
เป็นชายมอี ายุครบ ๒o ปบี ริบูรณ์ ไม่เปน็ บุคคลทีห่ า้ มบวช
ไม่เป็นโรคตดิ ตอ่ มรี ่างกายสมบรู ณ์ คณุ สมบัติ ไมต่ อ้ งโทษแผน่ ดิน
ของผู้ท่ีจะอุปสมบท
ไดร้ บั อนญุ าตจากบิดามารดา ถ้าเป็นข้าราชการต้องได้รบั อนุญาตจากตน้ สังกัด
มคี ณุ สมบัตติ ามการปกครองของคณะสงฆ์
ประโยชน์ของ การบรรพชา
• เยาวชนได้รบั การอบรมเกีย่ วกับหลักธรรมเพือ่ เป็นแนวทางการปฏิบัตติ น
• เยาวชนได้รับการฝกึ อบรมกริ ิยามารยาททัง้ ทางกาย วาจา และใจ ให้สารวมเรียบรอ้ ย
• เยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์อย่างคุ้มค่า
• เป็นการสบื ทอดประเพณที างพระพทุ ธศาสนา
ประโยชนข์ อง การอปุ สมบท
• ประโยชนต์ อ่ ตนเอง ทาให้ไดเ้ รยี นรู้พระธรรมวนิ ัย สง่ ผลใหเ้ ปน็ ผูม้ คี วามสารวมกาย วาจา และใจ อยู่ในวนิ ยั
• ประโยชน์ต่อสังคม พระสงฆเ์ ปน็ ผู้ชี้แนะแนวทางการปฏบิ ัติตนอยา่ งถกู ต้องและเหมาะสมให้แก่พุทธศาสนกิ ชน
• ประโยชนต์ อ่ พระพทุ ธศาสนา การอปุ สมบทเป็นภิกษุเป็นการสบื ทอดพระพทุ ธศาสนา โดยนาพระธรรมคาสอน
ของพระพทุ ธเจา้ ไปเผยแผ่แกป่ ระชาชนท่วั ไป