The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ปก อันใหม่ๆๆๆๆ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nichanan9840, 2022-03-20 12:00:11

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ปก อันใหม่ๆๆๆๆ

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ปก อันใหม่ๆๆๆๆ

หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกสป ก

G

O

F
O
R
I

T

หนงั สอื “ จิตวิทยากับการแขง ขัน ” (The psychology of
competition) เลมนผี้ จู ัดทํามีวตั ถุประสงคเ พื่อใชใ นการใหความรแู กผ ูอานที่มี
ความสนใจเก่ียวกบั เร่ืองจิตวิทยาสาํ หรับการแขง ขัน เนือ่ งจากจิตวทิ ยากบั การ
แขงขันนั้นเปนศาสตรแ ขนงหน่งึ ท่ไี ดน าํ ทฤษฎี รวมถึงหลักการทางจติ วิทยามา
ประยกุ ตใ ชใ นการกีฬาใหเ กดิ ประโยชนสูงสดุ

โดยเนื้อหาของหนงั สอื เลมนจี้ ะกลาวถึง ในเร่ืองของจติ วิทยากฬี า และ
ความหมาย บทบาทความสําคัญของจิตวทิ ยาการแขง ขนั จติ วิทยาการแขงขนั
ชนิดของกีฬาและวธิ ีการฝกจิตวทิ ยาทีเ่ หมาะสม การฝกทักษะทางจิตวทิ ยา
การแขงขนั จนไปถึงการนําจิตวทิ ยาการแขงขันไปใช

ทางผูจดั ทาํ หวงั เปนอยางย่งิ วา หนังสอื เลม นี้ จะสามารถนําไปใชไ ดจริง
และเปนประโยชนแกผูอานที่ตองการศกึ ษา ในเรื่องจติ วทิ ยากบั การแขง ขนั
มากขึ้น ทั้งนี้ทางผจู ดั ทาํ ขอขอบพระคุณ หนงั สือ/บทความวิชาการ/บทวิจยั /
เอกสารอืน่ ๆ คณะอาจารย และบุคคลที่นาํ มาอางองิ ในหนงั สอื ดังกลาวดว ย
ความเคารพเปน อยางสงู ยิง่ หากมีขอผิดพลาดประการใดทางผูจ ัดทําขออภยั
มา ณ ที่นี่ดวย

นิชนันท ทะจะกนั

CONTENT

01 ความหมายและบทบาทของจิตวทิ ยากีฬา

บทนาํ
ความหมายของจติ วิยากฬี า
จดุ มุงหมายของจิตวิทยากฬี า
บทบาทความสําคญั ของจิตวิทยากฬี า

02 จติ วทิ ยากับการแขง ขัน

จติ วทิ ยากอ นการแขงขนั
จิตวทิ ยาระหวา งการแขง ขัน
จติ วทิ ยาหลังการแขงขนั

03 วิธกี ารฝก จิตวทิ ยาทเ่ี หมาะสม

ชนดิ ของกีฬาและวธิ ีการฝกจิตวิทยาทเี่ หมาะสม

04 การฝกทักษะทางจติ วทิ ยา

ประเภทของการฝกจติ วทิ ยากีฬา
เทคนิคการจินตภาพ (Imagery)
เทคนิคการรวบรวมสมาธิ (Concentration)
เทคนิคการต้งั เปาหมาย (Goal Setting)

05 การนําจิตวิทยาไปใช

แรงจงู ใจ
ความเช่อื มัน่ ในตนเอง
การรวบรวมสมาธิและความต้ังใจ
การตั้งจุดมงุ หมาย

… แบบทดสอบ

บรรณนุกรม

A WINNER

is a

DREAMER

Who NEVER

GIVES UP

Nelson Mandela
Africa's first black former president

“ความหมายและพื้ นฐานของ

จิตวิทยาการกีฬา

01DEFINITIONAND
BASICS OF
COMPETITIVE
PSYCHOLOGY

บทนํา (Introduction)

จิตวิทยาการกีฬา (Sports Psychology) เปนประเดน็ ที่อาจไมค อยจะ
เปนทเี่ ขา ใจกนั วาเรื่องของการกฬี าทําไมตองมีเรื่องจติ วิทยามาเกี่ยวของ ซงึ่ ใน
ความเปนจรงิ แลว ความสามารถทางดานจติ ใจจะมีตอสมรรถนะการเลน กีฬา
เปนอยางมาก เพราะการมีจิตใจท่รี กั หรอื ใจท่ีอยากเลน กีฬา ก็เปนจดุ เริม่ ตน ของ
การมาเลนและฝก ฝนกีฬา และการมจี ติ ใจมุง มั่นทีจ่ ะเลน ใหเปน เลิศ ก็จะเปน
หลกั ชัยทม่ี ีชยั ไปกวา ครงึ่

ดงั นนั้ การใชองคประกอบของการ เริ่มตัง้ แตการเขา สู การเลน กีฬาใน
มที ักษะทางจิตวทิ ยา มาใชป ระกอบ ระดับเยาวชนและคอย ๆ พัฒนา
ในการฝกฝน เชน การมสี มาธแิ ละ ฝกฝน จนกระทงั่ เขาสกู ารแขงขนั
มุงมน่ั กับการเลน ความตั้งใจ ความ ในระดับสงู ข้นึ เพื่อใหมีการเกิดการ
ม่นั ใจในตวั ของนกั กฬี า การควบคมุ เรยี นรู รวมถึงนําไปปฏบิ ัติไดอยา ง
ความตื่นเตน ใหอยใู นระดับท่ีพรอ ม อัตโนมัติ จิตวิทยาการกีฬานนั้ ไม
ในสถานการณท่ตี ่นื เตน และกดดัน เพยี งแตจ ะชวยให นกั กีฬาประสบ
ทักษะทางดา นจติ วทิ ยานี้ สามารถ ความสําเรจ็ ทางการกีฬาเทาน้ันแต
ทําใหเกิดข้ึนไดผ านกระบวนการฝก ยงั มีสว นชวยพฒั นา ดานคณุ ธรรม
เรียกวา การฝกทักษะทางจิตวิทยา จริยธรรมและความมีนาํ้ ใจนักกฬี า
การกีฬากจ็ ะทําใหเ กดิ ผลความเปน ควบคกู นั ไปดวย
เลิศในการเลนกีฬาในแตละประเภท

องคป์ ระกอบความสําเร็จทางการกฬี า

การที่นักกฬี าจะประสบความสําเรจ็ สงู สดุ นน้ั ประกอบดวย 3 องคประกอบ
สมรรถภาพตา ง ๆ มกี ารแปรเปล่ยี นไปตามสถานการณ ไดนอยมากตรงกนั ขาม
กบั สมรรถภาพทางจิตทส่ี ามารถแปรเปลยี่ นไปตามสถานการณไ ดม ากกวา

สมรรถภาพทางกาย (Physical fitness)
สมรรถภาพทางจิต (Psychological fitness)

ทกั ษะกีฬา (Sport Skills) สมรรถภาพ

ภาพที่ 1 องคป ระกอบความสาํ เรจ็ ทางการกฬี า

ท่ีมา : กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ งเท่ียวและกีฬา (2556)

ความหมายของ

จิตวทิ ยากีฬา

จิตวิทยาการกีฬาจัดเปนศาสตรแขนงใหมท่ีกําลัง
ต่ืนตัว และเปนท่ีสนใจของวงการกีฬาอยางกวางขวาง ซ่ึงถือวามี
ความสําคัญและมีความจําเปนอยางย่ิงในการสงเสริม และพัฒนา
ความสามารถใหกับนักกีฬาจิตวิทยาการกีฬาเกิดมาจากความ
พยายามที่จะประยกุ ต หลักทฤษฎี หลักการ

ความจริงทางจิตวทิ ยาน้นั ที่มี สว นที่มคี วามสมั พนั ธ
เก่ียวกบั การแสดงออกของมนุษยใ นการออกกาํ ลังกาย หรือเลนกฬี า
ไปสกู ารปรับปรุงเสริมสรา งพัฒนาความสามารถทั้ง ทางดานรางกาย
และจิตใจของผูออกกาํ ลังกายของนักกีฬาหรือผฝู ก สอนกีฬา เพื่อ
ใหผ ลการฝก และเลน กีฬาประสบความสําเรจ็ ตามจุดมุงหมาย ทเ่ี รา
ตัง้ เปา ไวซ ง่ึ มีผเชี่ยวชาญใหค วามหมายทางจติ วิทยาการกฬี าไวดังน้ี

ความหมายของจิตวทิ ยา

จดุ ม่งุ หมายของจิตวิยากีฬา

จติ วิทยาการกีฬาน้ัน นอกจากจะตองมบี ทบาทสําคญั ในการชวยใหน กั กฬี าได
พัฒนาศักยภาพทางกีฬาของตนเองใหถึงขดี สูงสุดน้ัน แลว ยงั ตอ งใหน ักกีฬาได
พัฒนา ความเปน มนษุ ยทส่ี มบรู ณอกี ดว ย

การพัฒนาวิธีการเรียนรู สรางแรงจงู ใจใฝสัมฤทธ์ติ อ งการที่
รกั ที่จะแสวงหาเรยี นรู จะประสบผลสําเรจ็
และพัฒนาใหดขี น้ึ
แสดงถงึ ความเปนตวั ตนของตนเอง
แสวงหาความสมบรู ณ ของนักกีฬา
แบบของตนเอง

แบง ปนสมรรถภาพทาง สรา งพลังใจสํารองสาํ หรบั ตัวเอง
จิตกบั เพ่ือนรว มทีม

พฒั นาสคู วามเปน เลิศ ความสนุก ความรูสกึ ทา ทาย ความ
ทดสอบประสาทภายใตส ภาวะความกดดนั ความมสี มาธิ
แสวงหาศกั ยภาพสงู สดุ ของตัวเอง และกลา ทีจ่ ะเผชิญหนา
และสนกุ กบั ทุกส่งิ

บทบาทความสําคญั ของจิตวทิ ยา

จติ วทิ ยาการกีฬามีบทบาทความสําคญั ตอนกั กีฬาอยางมาก อันทจ่ี ะนาํ ความรู
ไปสกู ารปฏิบตั แิ ละนาํ ไปประยุกตใ ชกับการฝกซอม รวมถึงในการแขงขนั เพื่อให
นักกฬี าไดพฒั นาทักษะ และแสดงสามารถทางกีฬาไดสงู สดุ

จติ วิทยาการกีฬาจึงเหน็ คุณคาและความสําคญั พอสรุป ไดดังน้ี

01 02 03

จติ วิทยาการกีฬาชวย ชว ยพัฒนาทกั ษะ และ ชว ยใหน กั กฬี าสามารถ
ในการเตรียมความ ขีดความสามารถ นําหลักการและเทคนิค
พรอ มทางดา นจิตใจแก ทางดา นจติ วิทยาการ
นักกฬี ากอนลงแขงขนั ทางการกฬี าของนักกีฬา
ใหม ปี ระสิทธภิ าพ กฬี าไปใช

04 05 06

ชวยใหผ ฝู กสอนกฬี ามี ชวยในการตัดสินใจ ชว ยในการจัดระบบ
ความเขา ใจนักกีฬา ของผูฝก สอนกีฬาให ขอมูลที่เปน ประโยชน
ของตนเองมากข้ึน มคี วามมัน่ คงและ ทางทฤษฎหี ลักการ
รจู กั สรา งแรงจงู ใจแก
เชือ่ ถอื ได
นกั กีฬา

“Genius is one percent

inspiration and ninety-nine
percent perspiration

Thomas A. Edison

จติ วทิ ยากบั

การ แขง่ ขนั

The
psychology

of competition

จิตวทิ ยากบั การแขง่ ขัน

การแขง ขนั กีฬา ไมเ พยี งแตจะตอ งมี ความพรอมทางรางกายเทา นนั้ อีกส่งิ
หน่งึ คือ ความพรอมทางจิตใจเปนส่ิงท่ีสาํ คญั มากดวยและอาจจะมากกวา
ทางรา งกายดว ยซํา้ เพราะถาใจลองไมสแู ลวทุกอยางก็จบกัน นกั กีฬาทุกคนท่ี
ลงแขงขนั จะตองมีความเครยี ด ความวติ กกังวลไมม ากกน็ อย

ภาพที่ 2 ความวิตกกังวล
ในการแขงขันกฬี า

ที่มา : https://blog.frontiersin.org
psychology-sport-steam/

จนมสี มรรถภาพสงู ขน้ึ กวากอนการฝก ซอม ตรงกันขามกับนกั กีฬาขาดความมัน่ ใจ
หรือวิตกกังวล จะทําใหค วามสามารถลดนอยลงไปไดมาก ๆ จนแทบไมน า เช่ือ
นักกฬี าทีเ่ จนประสบการณมากยอ มไดเปรียบในแงก ารปรบั สภาพจติ ดานสภาพ
ของอารมณ จนสามารถนําความเครียดความต่นื ตวั ที่พอเหมาะ มาชวยเสริม
ความสามารถทางกายของตนเอง

ก่อน

ระหวา่ ง

หลงั

#03

Types of sports
and proper
psychology
training methods

ชนิดของกีฬา
และวิธีการฝกจิตวิทยาที่เหมาะสม

ชนดิ ของกฬี าและวธิ กี ารฝกึ จิตวทิ ยา

ลักษณะทางจติ วิทยาที่จะทาํ ใหเ กิดการเลน กีฬาทไ่ี ดซ ึ่งความสามารถสูงสุด ก็
คอื เทคนิคของการฝกจนิ ตนภาพ การฝกสมาธิเทคนิคการผอนคลาย และยัง
รวมไปถงึ เทคนิคการสะกดจิตทีส่ ามารถนําไปใชใ นการกีฬา

1 กีฬาท่ีใชพลังระเบดิ และใชระบบแอนแอโรบิก เชน การวงิ่ ระยะส้นั นน้ั
ตอ งการการกระตุน (Intensity) และการมุง สนใจ (Focus)

กีฬาท่ีใชความทนทานและใชระบบแอโรบกิ เชน การจักรยาน มกั จะ 2
เก่ยี วขอ งกันกับระดบั การ กระตุน (Intensity) และการมุง สนใจ (Focus)
ซ่งึ จะแตกตา งออกไป

3 กฬี าท่ีใชทกั ษะทางกลไกแบบซบั ซอ น เชน ฟกเกอรสเกต เนน การมุง สนใจ
(Focus) และ ความไววางใจ (Trust)

กีฬาท่ีใชทักษะทางกลไกไมซ ับซอน เชน powerlifting ตอ งการการจูงใจ 4

(Motivation) และ การกระตุน (Intensity)

กีฬาท่ีใชระยะเวลานอยกวา 1 นาทีเชน ว่ิงหรือสปด สเก็ต มกั เนนการ

5 กระตนุ (Intensity)และ การมุง สนใจ (Focus)

6 กีฬาที่ใชระยะเวลานาน เชน ว่งิ มาราธอน ตอ งการความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง
(Confidence) และ การกระตนุ (Intensity)

กีฬาท่ีแสดงความสามารถเปนรอบ เชน มวยปล้ํา เนนการควบคมุ การ 7

กระตนุ (Intensity) และการมุงสนใจ (Focus)

กฬี าท่ีใชการเตรยี มตัวนอ ยและไมหนัก เชน ยงิ ธนูตอ งการการมงุ สนใจ

8 และการกระตนุ ที่ นอ ย กีฬาท่ีใชก ารเตรยี มตวั นานและหนักกอ นการ

แขงขัน เชน ขวา งจกั ร มกั ตองการการกระตุน (Intensity) และการจูงใจ

กีฬาท่ีตอ งแสดงความสามารถในระยะสั้นและมีชว งพักระหวางการแขงขนั 9
เชน ยงิ ปน เทนนิส มักตองการความเช่ือม่ันในตนเอง(Confidence) และ
การควบคมุ การกระตนุ (Intensity)

0P 4sychological
S kills
Training
การฝกึ ทกั ษะทางจติ วทิ ยา

การฝกึ ทักษะทางจิตวิทยากฬี า

การฝกทักษะทางจิตวิทยาการกีฬาเปน แนวโนม ใหม ท้ัง
ในทางดา นงานวจิ ยั คนควา การฝก ปฏิบตั ิ การเตรยี ม
นกั กีฬาอยา งเปนระบบเพ่ือท่ีจะใหนักกฬี าไดแ สดงออก
ซึ่งความสามารถสงู สุด (Optimization Performance)

การฝก ปฏิบตั ิทักษะทางจิตวทิ ยาใน สืบสาย บญุ วีรบุตร (2541) ได
กฬี าน้ัน การกีฬาใหป ระโยชนกับ
นกั กฬี าทุกกลมุ ระดับความสามารถ จําแนกประเภท ของการฝก เทคนคิ
ทุกเพศ ทุกวัย ในการฝก กีฬาเพ่อื ให
พฒั นาจนถึงจุดสูงสดุ ทางจิตวิทยาการกฬี าแบงเปน 2

หากนกั กีฬากลมุ เริ่มเลน กีฬารูจัก ประเภท ไดแ ก การฝกแบบจิตสกู าย
กําหนดจุดมงุ หมายอยา งท่ีกาวหนา
มกี ารพฒั นาความเชอ่ื มนั่ มกี าร หรอื จิตคมุ กาย (Cognitive
สรางภาพความสําเร็จ รวมทั้งการ
ตอบสนองตอ ความผิดพลาด หรือ Techniques หรือ Mind to
ความลมเหลวทเ่ี หมาะสม มีการฝก
ทจี่ ะควบคุมอารมณความคดิ ตัวเอง Muscle) และ การฝก แบบกายเพื่อ
ภายใตสภาวะท่มี แี รงกดดันสูง
จิต หรือการคมุ จติ (Arousal

Control หรือ Muscle to Mind)

การฝกแบบจิตสูกาย หรือจิตคุมกาย ( Cognitive Techniques )

เปน วธิ ีการจัดปรับกระบวนการความคดิ ซ่ึงมีผลตออารมณความรสู กึ และ
แรงจงู ใจในการกระทาํ ซ่งึ แนน อนทสี่ ดุ มผี ลตอความสามารถในการเลน
กฬี านัน่ เอง โดยการฝกแบบจิตสูก าย ประกอบดวย นกึ ภาพหรือการสรา ง
จินตภาพ การรวบรวมสมาธิการพูดกบั ตัวเอง และการกาํ หนดเปาหมาย

การฝก กายเพอื่ จิต หรอื กายคมุ จิต (Arousal Control หรือ Muscle

เปนการสรา งสมดลุ ทางสรรี วิทยา (Physiological Self- Regulation)
เมื่อมีแรงกระตนุ สูง จนเกิดเปน ความกดดนั และความวิตกกงั วล มักเกดิ
การเปลี่ยนแปลงทางสรีระ เชน หัวใจเตนเรว็ กลา มเนอ้ื เครียดเกรง็ สมาธิ
และ ความตัง้ ใจเสียไป ดังนน้ั วิธกี ารควบคุมแรงกระตุนที่เกดิ จากการ
เปลี่ยนแปลงทางสรรี ะใหม ีระดับทีเ่ หมาะสม วิธีการเหลา น้ี เพื่อใหก าร
เลน เปน ไปไดอยา งมีประสิทธิภาพ โดยการฝกกายเพ่ือจิตแบบกายคุมจิต
ประกอบดว ย การผอ นคลายกลา มเนื้อ , การกาํ หนดและควบคุมลม
หายใจ การรวบรวมสมาธิ การกระตนุ การสะกดจิต ไบโอฟดแบ็ค ออโตจี
นคิ เปน ตน











APPLYING
SPORTS
PSYCHOLOGY

การนาํ จติ วทิ ยากฬี าไปใช้

05

การนาํ จติ วิทยากฬี าไปใช้

จิตวิทยาการกีฬาเปนสิ่งท่ีจําเปนตอ ผฝู กสอนเปน
อยางมาก ดังนน้ั ในสว นของผฝู ก สอนจงึ ตองเปน ผทู ีม่ ีความ
ละเอยี ดออ น รักการศกึ ษาคนควา เปนคนชา งสงั เกตและ
ตอ งเปนผทู ี่มีคความสนใจดา นการวิจยั อยูตลอดเวลา เพ่อื ท่ี
สามารถนาํ ความรูดานจติ วทิ ยาการกีฬามาประยุกตใช

1. แรงจงู ใจ

แรงจูงใจเปน สว นหนงึ่ ทมี่ สี ําคัญตอนกั กีฬาเปน อยา งมาก
และเกย่ี วของกบั นกั กีฬาอยูต ลอดเวลาตง้ั แต ในเริ่มเลน กีฬา
จนถงึ การหยดุ เลน แรงจงู ใจเปนตวั อยา งพฤติกรรมตา ง ๆ
ของมนุษยน อกจากนย้ี งั สงผลตอ ความสามารถ ในการเลน
กฬี าดว ย จึงจาํ เปนอยางยงิ่ ท่ีผูฝก สอนจะตองเขาใจหลกั การ
ของแรงจงู ใจดงั นี้

ประเภทของแรงจูงใจตามหลักการของนักจิตวทิ ยาแลวน้ันสามารถแบง
แรงจูงใจออกเปน 2 ประเภท คอื

1. แรงจงู ใจภายใน (Intrinsic Motivation) คือ แรงจูงใจที่
เกดิ ขึ้นจากองคประกอบภายในตวั บคุ คล เชน ทําเพราะสนใจ
หรอื สนุกกบั งานนนั้ ความสําเร็จในการทาํ กิจกรรมจะเปน
รางวลั ในตัวเองจึงไมต อ งมสี ิ่งอืน่ มาเปน ส่งิ ลอ ซงึ่ นับวามี
ความสําคญั มากตอนักกีฬา

2. แรงจงู ใจภายนอก (Extrinsic Motivation) คอื แรงจงู ใจ
ที่เกิดข้นึ จากองคป ระกอบภายนอกตัว บคุ คล องคประกอบ
ดงั กลา วอาจเปน สิ่งชวนใจ (Intensive) รางวัล ชัยชนะหรือ
กิจกรรมตา ง ๆ ทไี่ มมคี วามสัมพนั ธกับพฤติกรรม

2. ความเชือ่ มนั่ ในตนเอง

ความเชื่อมัน่ ในตนเอง คอื ความรสู ึกวาตนเองจะพบกับความประสบ
ความสําเรจ็ หรอื สามารถที่จะแสดงความสามารถไดอยางเต็มที่ เปน ปจ จัยที่
สาํ คัญอยางหนึ่งทจ่ี ะทําใหน ักกฬี าประสบความสําเรจ็ ดังนน้ั ผูฝ ก สอน จงึ
ควรใหค วามสําคัญตอการสรางความเชื่อม่ันในตัวเองใหนกั กีฬา โดยจะมี
ทฤษฎีทเี่ กี่ยวขอ งดงั น้ี

ภาพที่ 4 แสดงความรสู กึ ทดี่ ตี อตนเอง (self-esteem)
ทม่ี า : นฤพนธ วงศจตรุ ภทั ร (2539)

ทฤษฎคี วามมน่ั ใจเฉพาะอยาง (Self- ทฤษฎคี วามรูสึกทด่ี ีตอตนเอง (Self-
Efficacy) หมายถึง ความเชอ่ื ของ Esteem) หมายถึง การรูสกึ วาตนเอง
บคุ คลวา ตนเองมีความ ความมัน่ ใจ มี ความสาํ คญั ซ่ึงเปนการสรางความ
เฉพาะอยางเปนตัวชกั นาํ ทจ่ี ะมใี หเกิด ม่ันใจไดวิธหี นง่ึ ซึ่งจะเกดิ จากปจจัยท่ี
พฤติกรรมหรือการกระทาํ กจิ กรรม ซง่ึ สาํ คญั 2 ประการ คือสว นปจ จยั
ผฝู ก สอนสามารถ เสรมิ สรางการรับรู ภายใน และสวนปจจัยภายนอกซง่ึ
วา ตนมีความมัน่ ใจเฉพาะอยา ง แสดง โครงสรางได

3. การกาํ หนดจดุ มงุ่ หมาย

การกาํ หนดจุดมงุ หมายเปน เทคนคิ การสรางแรงจงู ใจทด่ี ี และไดรับการ
ยอมรบั จากผลงานวิจยั มากมาย ซ่ึงการตงั้ จดุ มุงหมายเปน เทคนิคในการสราง
แรงจงู ใจ ซง่ึ จะมีผลในการเพิ่มความสามารถในการแสดงออกสามารถ
นาํ ไปใชไดทง้ั ในดา นอุตสาหกรรม ธรุ กจิ ศกึ ษา และกีฬานความสาํ คญั ของ
การตง้ั จดุ มุง หมายในการเลนและการแขงขันกีฬาไว 4 ประการดงั น้ี

การต้ังจุดมุงหมายจะชวยสรา งบรรยากาศของการฝก รว มกันเปนทมี
จุดมงุ หมายวา จะเลนเพื่อทมี จึงตองฝก และทําใหด ีข้นึ

การต้ังจดุ มงุ หมายชวยสรา งความเขา ใจ ระหวางกันภายในกลุมหรอื ภายในทีมเมื่อ
ตอ งทาํ ใหต นเอง บรรลจุ ุดมุง หมายจึงตองทาํ งานรว มกัน

การต้ังจดุ มุงหมายทาํ ใหเกิดความคดิ เปนผูใหญมากขน้ึ คือ เปน คนท่ีมีกฎเกณฑ
สามารถบงั คับ ตนเองไดและมกี ฎเกณฑใ นตัวเองมากข้ึน

การตัง้ จดุ มุง หมายชวยทําใหท ุกคนมโี อกาสประสบความสาํ เร็จไดม ากขึน้

4. การพู ดดกี บั ตัวเอง

ในการแขงขนั กฬี าความกดดัน เปนสง่ิ ทีต่ องเกดิ ขึ้นแกน ักกีฬาอยา งแนนอน
อยางเลี่ยงไมไ ดข ้ึนอยกู บั วานักกีฬา จะสามารถควบคุมอารมณของตนเองได
อยา งไร

แนวทางในการพดู ดีกบั ตนเองประกอบดวย

01 การเลกิ คิดในทางลบ ควรเลิกคิดสิง่ เกย่ี วกบั สิง่ ท่จี ะมีผล
ตอตนเองในทางลบ

02 การเปลี่ยนความคิดจากลบเปนบวก

03 การเผชิญหนากับความคิด นกั กีฬาบางคนไมช อบหา
เหตผุ ลมาลบลาง จึงคงความคดิ ในทางลบไว ควรหา
เหตุผลเพื่อหาการแกไขตอไปทด่ี กี วา


















Click to View FlipBook Version