The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

18-นิชนันท์ ทะจะกัน-e book-แก้รอบที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nichanan9840, 2022-04-29 00:40:16

18-นิชนันท์ ทะจะกัน-e book-แก้รอบที่ 1

18-นิชนันท์ ทะจะกัน-e book-แก้รอบที่ 1

THE
psychology

OF COMPETITION

จิตวิทยากับการแขง่ ขนั



สารบญั

G
O
F
O
R
I
T

หนังสอื “ จติ วิทยากบั การแขงขนั ” (The psychology of
competition) เลม นผี้ จู ัดทาํ มวี ตั ถปุ ระสงคเ พ่ือใชในการใหค วามรแู กผูอานท่ีมี
ความสนใจเกยี่ วกับเร่ืองจติ วิทยาสาํ หรบั การแขง ขัน เนอ่ื งจากจิตวทิ ยากับการ
แขง ขันนน้ั เปน ศาสตรแ ขนงหน่ึงทไี่ ดน ําทฤษฎี รวมถึงหลักการทางจิตวทิ ยามา
ประยกุ ตใชใ นการกีฬาใหเกดิ ประโยชนส ูงสดุ

โดยเนอ้ื หาของหนงั สอื เลม นจี้ ะกลา วถงึ ในเรื่องของจิตวทิ ยากฬี า และ
ความหมาย บทบาทความสําคญั ของจติ วิทยาการแขงขนั จติ วิทยาการแขงขัน
ชนดิ ของกีฬาและวิธกี ารฝก จิตวทิ ยาทเ่ี หมาะสม การฝกทักษะทางจิตวทิ ยา
การแขง ขัน จนไปถึงการนาํ จิตวิทยาการแขงขันไปใช

ทางผจู ดั ทาํ หวงั เปนอยางย่งิ วา หนงั สอื เลม นี้ จะสามารถนําไปใชไ ดจริง
และเปน ประโยชนแ กผ ูอา นที่ตอ งการศกึ ษา ในเรื่องจติ วทิ ยากับการแขง ขนั
มากขึน้ ทั้งน้ีทางผูจดั ทาํ ขอขอบพระคุณ หนงั สือ/บทความวิชาการ/บทวิจัย/
เอกสารอื่น ๆ คณะอาจารย และบุคคลท่ีนาํ มาอา งอิงในหนังสอื ดงั กลาวดวย
ความเคารพเปนอยางสูงย่งิ หากมีขอผิดพลาดประการใดทางผจู ัดทําขออภยั
มา ณ ท่นี ีด่ วย

นิชนนั ท ทะจะกนั

i

CONTENT

01 ความหมายและบทบาทของจติ วิทยากีฬา 2
3
บทนํา 5
ความหมายของจิตวยิ ากฬี า 8
จุดมุงหมายของจติ วทิ ยากฬี า 9
บทบาทความสําคญั ของจติ วิทยากีฬา

02 จติ วทิ ยากับการแขง ขัน 12

จิตวทิ ยากอ นการแขงขนั 14
จติ วิทยาระหวางการแขง ขนั 17
จิตวทิ ยาหลงั การแขง ขนั 17

03 วธิ กี ารฝกจติ วิทยาทเี่ หมาะสม 18

ชนิดของกีฬาและวธิ ีการฝกจิตวิทยาท่ีเหมาะสม 19

ii

04 การฝก ทกั ษะทางจิตวิทยา 22
23
ประเภทของการฝกจติ วทิ ยากีฬา 25
เทคนิคการจินตภาพ (Imagery) 27
เทคนคิ การรวบรวมสมาธิ (Concentration) 29
เทคนิคการตง้ั เปา หมาย (Goal Setting)

05 การนําจิตวิทยาไปใช 32
33
แรงจงู ใจ 35
ความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง 36
การรวบรวมสมาธแิ ละความตั้งใจ 37
การตง้ั จดุ มุงหมาย
38
… แบบทดสอบ 39

บรรณนกุ รม

iii

Now.

― Let’s start
TOGETHER

ii

A WINNER

is a

DREAMER

Who NEVER

GIVES UP

Nelson Mandela
Africa's first black former president

iii

“ความหมายและพื้ นฐานของ

จิตวทิ ยาการกฬี า

DEFINITION AND
BASICS OF
COMPETITIVE

01PSYCHOLOGY

ii

บทท่ี 1 ความหมายและบทบาทของจิตวิทยากีฬา

บทนาํ (Introduction)

จติ วิทยาการกีฬา (Sports Psychology) เปน ประเด็นท่ีอาจไมค อยจะ
เปน ที่เขาใจกันวาเรือ่ งของการกีฬาทําไมตองมเี รอื่ งจิตวทิ ยามาเกีย่ วของ ซ่ึงใน
ความเปนจริงแลว ความสามารถทางดา นจติ ใจจะมตี อสมรรถนะการเลน กีฬา
เปนอยางมาก เพราะการมจี ติ ใจท่รี ัก หรอื ใจที่อยากเลนกีฬา ก็เปน จดุ เรม่ิ ตนของ
การมาเลน และฝกฝนกีฬา และการมจี ติ ใจมงุ มัน่ ท่จี ะเลนใหเ ปน เลิศ กจ็ ะเปน
หลกั ชัยท่ีมชี ยั ไปกวา คร่งึ

ดงั นน้ั การใชอ งคประกอบของการ เริ่มตงั้ แตการเขาสู การเลน กีฬาใน
มีทกั ษะทางจิตวทิ ยา มาใชป ระกอบ ระดบั เยาวชนและคอย ๆ พัฒนา
ในการฝกฝน เชน การมีสมาธแิ ละ ฝกฝน จนกระท่งั เขาสูการแขง ขนั
มงุ มน่ั กบั การเลน ความตัง้ ใจ ความ ในระดับสงู ข้นึ เพ่ือใหมีการเกิดการ
ม่นั ใจในตัวของนกั กีฬา การควบคุม เรยี นรู รวมถงึ นาํ ไปปฏบิ ตั ไิ ดอยาง
ความตน่ื เตน ใหอ ยูใ นระดบั ท่ีพรอ ม อัตโนมัติ จติ วทิ ยาการกฬี านน้ั ไม
ในสถานการณที่ต่ืนเตน และกดดนั เพยี งแตจะชว ยให นกั กีฬาประสบ
ทกั ษะทางดานจติ วิทยาน้ี สามารถ ความสาํ เรจ็ ทางการกีฬาเทา นั้นแต
ทําใหเ กิดขึน้ ไดผ า นกระบวนการฝก ยังมีสว นชว ยพัฒนา ดานคุณธรรม
เรยี กวา การฝกทักษะทางจิตวิทยา จริยธรรมและความมนี า้ํ ใจนกั กีฬา
การกีฬาก็จะทําใหเกิดผลความเปน ควบคกู นั ไปดว ย
เลศิ ในการเลนกีฬาในแตล ะประเภท

3

บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของจิตวทิ ยากฬี า

องค์ประกอบความสําเรจ็ ทางการกฬี า

การทน่ี ักกฬี าจะประสบความสําเร็จสูงสุดนั้น ประกอบดวย 3 องคป ระกอบ
สมรรถภาพตา ง ๆ มกี ารแปรเปลย่ี นไปตามสถานการณ ไดน อยมากตรงกันขา ม
กบั สมรรถภาพทางจิตท่ีสามารถแปรเปลี่ยนไปตามสถานการณไ ดม ากกวา

สมรรถภาพทางกาย (Physical fitness)

สมรรถภาพทางจิต (Psychological fitness)

ทกั ษะกีฬา (Sport Skills) สมรรถภาพ

ภาพท่ี 1 องคประกอบความสาํ เร็จทางการกีฬา

ทมี่ า : กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ งเท่ยี วและกีฬา (2556)

4

บทท่ี 1 ความหมายและบทบาทของจติ วทิ ยากฬี า

ความหมายของ

จิตวิทยากีฬา

จิตวิทยาการกีฬาจัดเปนศาสตรแขนงใหมที่กําลัง
ตื่นตัว และเปนที่สนใจของวงการกีฬาอยางกวางขวาง ซ่ึงถือวามี
ความสําคัญและมีความจําเปนอยางย่ิงในการสงเสริม และพัฒนา
ความสามารถใหกับนักกีฬาจิตวิทยาการกีฬาเกิดมาจากความ
พยายามทีจ่ ะประยุกต หลักทฤษฎี หลักการ

ความจริงทางจิตวิทยาน้นั ท่ีมี สวนทม่ี คี วามสัมพนั ธ
เกยี่ วกบั การแสดงออกของมนุษยในการออกกาํ ลังกาย หรือเลน กีฬา
ไปสกู ารปรบั ปรงุ เสริมสรางพัฒนาความสามารถทั้ง ทางดานรางกาย
และจิตใจของผูออกกําลงั กายของนักกีฬาหรอื ผฝู กสอนกีฬา เพอื่
ใหผลการฝก และเลน กีฬาประสบความสาํ เรจ็ ตามจุดมุงหมาย ทเี่ รา
ตงั้ เปาไวซ ง่ึ มผี เ ช่ยี วชาญใหค วามหมายทางจิตวิทยาการกฬี าไวดงั น้ี

วิดีโอประกอบเนอ้ื หาเรอ่ื ง
ความหมายของจติ วิทยากีฬา

5

บทท่ี 1 ความหมายและบทบาทของจติ วิทยากีฬา

บัทเลอร (Butler, 1997)

1 กลาววา จิตวทิ ยาการกฬี ามคี วามหมายเหมือนกับการฝก
ทักษะทางจิต ซ่งึ อธิบายไดในรูปแบบของการสรา งความคิด
ในทางบวก การสรางความม่ันใจในตนเอง การฝกสมาธิ การ
ควบคุมความเครียด การสรางจินตภาพ เปน ตน ซึ่งถอื เปน
สว นหนึง่ ของการปฏิบัติทางดานจิตวิทยา จิตวทิ ยาการกีฬา
สามารถทจ่ี ะเพิ่มทักษะความเปนเลศิ ในทางการกีฬา

คอ ก (ศราวุธ อินทราพงษ, 2543)

2 กลาววา จิตวทิ ยาการกีฬาเปนการศึกษา และการวิเคราะห
พฤติกรรม เพ่ือทจี่ ะสามารถเขาใจพฤติกรรมของบุคคลท่ี
เกย่ี วของกับการกีฬามาประยุกตใชใ นกจิ กรรมกีฬา และ
อธบิ ายถึงความสัมพันธท างจิตใจกบั สมรรถภาพทางกาย รวม
ไปถึงการงดเลน และการเลิกเลน กีฬา หรอื การออกกาํ ลังกาย
ของมนุษย

6

บทท่ี 1 ความหมายและบทบาทของจติ วิทยากฬี า

สมบตั ิ กาญจนกจิ (2532)

กลาววา จติ วิทยาการกีฬาเปนการศกึ ษาถึงการนําเอาหลัก

3 และทฤษฎี ทางจติ วทิ ยามาประยุกตใชในการกฬี า มี
วตั ถปุ ระสงคและเปาหมายเพื่อใหนักกฬี าใชความสามารถท้ัง
ทางดา น เทคนิค ทักษะ และความสามารถแสดงออก ซึ่ง
สมรรถภาพทางกายข้ันสงู สุดท่บี คุ คลสามารถจะแสดง
ออกมาได

นยั นา บุพพวงษ (2540)

4 กลาววา จิตวิทยาการกีฬาน้ันเปน การศึกษาพฤติกรรมของ
มนุษยใ นการแสดงออกทางจิตใจดา นกีฬา รวมถึงตลอดจน
สภาพแวดลอมและปจจยั ตาง ๆ ท่มี ผี ลสัมพันธเ กีย่ วขอ งกับ
การกีฬา

7

บทท่ี 1 ความหมายและบทบาทของจิตวทิ ยากฬี า

จุดมุ่งหมายของจติ วิยากฬี า

จิตวทิ ยาการกีฬานัน้ นอกจากจะตองมีบทบาทสําคัญในการชวยใหน กั กฬี าได
พฒั นาศักยภาพทางกีฬาของตนเองใหถึงขดี สงู สดุ น้นั แลวยงั ตอ งใหน ักกีฬาได
พัฒนา ความเปน มนุษยทส่ี มบรู ณอ กี ดว ย

การพัฒนาวธิ ีการเรยี นรู สรางแรงจูงใจใฝสมั ฤทธิต์ อ งการที่
รักทีจ่ ะแสวงหาเรยี นรู จะประสบผลสาํ เรจ็
และพฒั นาใหดีขน้ึ
แสดงถงึ ความเปนตวั ตนของตนเอง
แสวงหาความสมบูรณ ของนักกีฬา
แบบของตนเอง

แบงปนสมรรถภาพทาง สรางพลงั ใจสาํ รองสําหรบั ตัวเอง
จติ กบั เพ่ือนรวมทีม

พัฒนาสคู วามเปนเลศิ ความสนุก ความรูส ึกทา ทาย ความ
ทดสอบประสาทภายใตสภาวะความกดดัน ความมสี มาธิ
แสวงหาศักยภาพสงู สดุ ของตัวเอง และกลา ทีจ่ ะเผชิญหนา
และสนุกกบั ทกุ สง่ิ

8

บทท่ี 1 ความหมายและบทบาทของจิตวิทยากีฬา

บทบาทความสําคญั ของจิตวทิ ยา

จิตวทิ ยาการกีฬามบี ทบาทความสําคัญตอนักกีฬาอยา งมาก อนั ที่จะนาํ ความรู
ไปสูการปฏบิ ตั แิ ละนาํ ไปประยุกตใ ชกับการฝกซอม รวมถึงในการแขงขันเพื่อให
นักกีฬาไดพฒั นาทักษะ และแสดงสามารถทางกีฬาไดส งู สดุ

จิตวทิ ยาการกีฬาจึงเห็นคุณคาและความสาํ คญั พอสรุป ไดดังน้ี

01 02 03

จติ วิทยาการกีฬาชวย ชวยพัฒนาทักษะ และ ชว ยใหนกั กีฬาสามารถ
ในการเตรียมความ ขดี ความสามารถ นําหลกั การและเทคนิค
พรอมทางดา นจิตใจแก ทางดา นจิตวทิ ยาการ
นักกฬี ากอนลงแขงขัน ทางการกีฬาของนกั กฬี า
ใหมีประสิทธภิ าพ กีฬาไปใช

04 05 06

ชวยใหผ ฝู กสอนกีฬามี ชว ยในการตัดสนิ ใจ ชว ยในการจดั ระบบ
ความเขา ใจนักกีฬา ของผูฝก สอนกีฬาให ขอมูลท่ีเปนประโยชน
ของตนเองมากขน้ึ มคี วามม่นั คงและ ทางทฤษฎีหลักการ
รูจักสรา งแรงจงู ใจแก
เช่อื ถอื ได 9
นักกีฬา

บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของจิตวทิ ยากฬี า

Training is not
about being
better than
someone else.
It’s about
being better
than you used
to be.

10

“Genius is one percent

inspiration and ninety-nine
percent perspiration

Thomas A. Edison

11

จติ วทิ ยากบั

การ แขง่ ขนั

The
psychology

of competition

12

บทที่ 2 จติ วิทยากับการแขง ขัน

จติ วทิ ยากับการแข่งขัน

การแขงขันกีฬา ไมเ พียงแตจ ะตอ งมี ความพรอมทางรางกายเทา นนั้ อกี สงิ่
หน่งึ คอื ความพรอมทางจิตใจเปนสงิ่ ท่สี ําคญั มากดวยและอาจจะมากกวา
ทางรางกายดว ยซ้าํ เพราะถาใจลองไมส ูแลวทุกอยางกจ็ บกัน นกั กีฬาทุกคนท่ี
ลงแขงขนั จะตองมีความเครยี ด ความวิตกกังวลไมม ากกน็ อย

ภาพที่ 2 ความวิตกกงั วล
ในการแขงขันกฬี า

ท่มี า : https://blog.frontiersin.org
psychology-sport-steam/

จนมีสมรรถภาพสูงขึ้นกวา กอนการฝก ซอม ตรงกันขามกับนักกีฬาขาดความมั่นใจ
หรอื วติ กกงั วล จะทําใหความสามารถลดนอยลงไปไดมาก ๆ จนแทบไมน าเช่ือ
นกั กีฬาท่เี จนประสบการณมากยอมไดเปรยี บในแงการปรบั สภาพจิต ดา นสภาพ
ของอารมณ จนสามารถนําความเครียดความต่นื ตวั ท่ีพอเหมาะ มาชว ยเสริม
ความสามารถทางกายของตนเอง

13

บทที่ 2 จิตวิทยากบั การแขง ขนั

ภาพท่ี 3 นกั กีฬาฟตุ บอลขณะฝกซอม
ที่มา : https://www.pptvhd36.com/sport/news/124353

จิตวิทยากอนการแขงขนั

การฝก นักกฬี าเตรยี มใหมีความพรอมทางดา นสภาพจิตใจกอนการแขงขนั จะมีสวน
ชวยทาํ ใหน กั กีฬาเกิดความพรอมสําหรับการแขงขนั มากข้นึ เพราะการฝก จติ วทิ ยา
ดงั กลาวจะชว ยใหนักกีฬานน้ั รจู กั จกั การกบั ความเครียด และความวิตกกงั วลใหอ ยู
ในระดบั ท่ีเหมาะสมกอนทจ่ี ะการแขง ขนั จะเริ่มขน้ึ ไดจ ิตวทิ ยากอนการแขงขันนับวา
เปนเรอื่ งสาํ คญั มาก ๆ
ดงั น้นั ผฝู กสอนของนักกีฬาจงึ ควรสรางความพรอมทางดานจิตใจใหน ักกีฬา ซ่ึงจะมี
วิธกี ารปฏบิ ตั ิไดด ังน้ี

14

บทท่ี 2 จติ วิทยากบั การแขงขัน

1. กาํ ลังใจ

กาํ ลังใจเปน ส่ิงทสี่ ําคัญมาก อาจจะมากกวา ความสามรถทางกายดว ยซํา้ เพราะถา
ใจลองไมสูหรือไมอยากเลนแลว การจะฝก ไดอยา งหนักอยา งซา้ํ ๆ ซากๆ เปน
เดอื นเปนปยอมจะตองอาศัยกาํ ลงั ใจท่เี ขม แข็ง การมผี ูท่ีคอยใหกําลงั ใจ ไมว าจะ
เปน คนรกั ญาติพนี่ อง ฝูงชนทศ่ี รัทธาหรือสื่อมวลชน ที่สนับสนนุ ยอ มทําใหมี
กําลงั ใจที่จะเอาชนะใหไดไ มว าจะเหนือ่ ยยแคไหน เมอ่ื มกี ําลงั ใจยอ มตามมาดว ย
การฝกซอมทด่ี ีและเกิดผลทไี่ ดคอื ความเชือ่ มัน่ ในตนเองวาจะชนะ ยังรวมถึงเม่ือมี
ประสบการณรว มดว ยแลวก็ทําใหจดุ มงุ หมายเปนจรงิ ขนึ้ คือ สูตรแหง ความสําเรจ็

2. อารมณตาง ๆ

โดยเฉพาะความวติ กกังวล ความเครยี ด ความกลวั ซ่งึ ความจริงส่ิงเหลานกี้ ็ไมได
เลวรายไปหมดทีเดยี ว เพราะความกงั วลและความเครียดน้ันพอเหมาะกจ็ ะเปน แรง
กระตุนใหต อสู และทาทายจนประสบความสําเรจ็ ถาไมมคี วามตนื่ เตน เลยกจ็ ะดเู ปน
การแขงขนั ที่จดื ชดื ไป แตความกลวั วิตกกงั วล ถา มากเกนิ ไปแลว ก็เปน ปญ หากา
รบกวนการฝก ซอม และการแขง ขนั ไดม าก ๆ ทาํ ใหความสามารถทางกฬี าของเรา
ลดลงจากความเปน จรงิ จนทําใหเ ราแพไดงา ย ๆ ดงั กลา วขางตนอาการตา ง ๆ ที่ชวน
ใหส งสยั วานกั กีฬามีความเครียดความกังวลมากผิดปกติ เชน มีอาการแนน หนาอก
หายใจไมออก ทองเสีย ออนเพลยี หงดุ หงดิ ปวดศีรษะ นอนไมห ลับ เปน อาการ
เบื้องตน ทส่ี ามารถสังเกตได หรอื ในสว นนกั กีฬาหญงิ มปี ระจําเดือนผดิ ปกตยิ ่งิ ใกลว นั
แขงขนั เทาใดอารมณเครยี ดก็มากเปน เงาตามตัว

15

บทท่ี 2 จติ วทิ ยากับการแขง ขนั

3. การกนิ อยู การหลับนอน

การไปแขง ขันในสถานที่ซ่ึงตา งออกไป ย่ิงเปน คนละประเทศ ซ่งึ มธี รรมเนยี ม
ประเพณี ภูมิอากาศ และการกินอยูคนละแบบ เวลาหลบั นอนคนละเวลาดว ย
แลวบางครั้งก็กอ ใหเกดิ ปญ หาไดม าก ๆ ทั้งการกนิ อาหารไมค อยได นอนไม
คอยหลบั และเปนอยูขณะซอมไมมีสขุ แลว สภาพจติ ใจก็จะถูกรบกวนไปได
มาก ๆ จนสมรรถภาพลดลงอยางเหน็ ไดช ัด

4. การเตรยี มใจและฝกใจใหพรอม
รวมทง้ั การหัดผอนคลายความตงึ เครียด การเตรยี มใจใหพรอมทจี่ ะแขงขันเปน
สงิ่ สาํ คญั มากเชน กนั วิธกี ารเตรียมจิตใหพ รอมสําหรบั การแขง ขัน กลา วคอื ทาํ
จติ ใหมีภาวะเครียดใกลเ คียงกับภาวะเครยี ดจริง ๆ ทจ่ี ะไดรับเมอื่ เวลาแขงการ
ฝกสนามจรงิ ๆ ทจ่ี ะแขง การมปี ระสบการณจ ะชว ยไดมากในเร่อื งน้หี ลายคนจะ
เลนไดดีเม่ือมเี สียงเชยี รห รือคนดูมาก ๆ แตผไู มเจนสนามยอมต่นื เตน คมุ สติไม
อยู จนอาจจะทําใหก ารแขงไมไ ดด เี ทา ทค่ี วร วางแผนท้งั ทางจิตรวมทงั้ ทบทวน
เทคนคิ และรายละเอียดตา ง ๆ ของการแขงขันจนข้ึนใจ

16

บทที่ 2 จิตวิทยากบั การแขง ขนั

จติ วิทยาระหวางการแขง ขัน

จติ วิทยาระหวางการแขง ขนั เปนส่ิง หรือย่ัวยฝุ า ยตรงขามใหโ กรธนกั กีฬาที่
สาํ คัญอยางมาก เพราะจะทําใหไ ดเปรียบ ฝก มาดีจะ สามารถควบคุมสตอิ ารมณ
หรือเสยี เปรียบคู แขง ขนั การสรางความ ไดต ลอดการแขง ขัน แมว าจะโดยคู
เช่ือมนั่ ของตนเอง ปลุกกําลงั ใจโดยใช ตอ สรู วน หรอื แกลง เอา ก็ยงั รกั ษา
การกระตุนท่เี หมาะสม การฝกสมาธิและ อารมณ ไดเสมอ ไมโ กรธตอบไมรวน
การแขง ขันทีต่ องตอสู ปะทะกนั โดยตรง และยงั เลน กีฬาตอไปอยางสขุ ุมต้ังใจ
การขม ขวัญคูตอสใู หห วาดกลัว ย่วั ยุให บคุ คลเหลา นล้ี วนเปน ผูที่นายกยอ งทงั้
ฝายตรงขามโมโห หรอื เสียสมาธกิ ็เปน สิง่ สน้ิ ตวั อยา งเชน จอหน เปนตน จงึ ไม
ท่พี อเห็นไดเ สมอ โดยเฉพาะกีฬามวย นา แปลกใจเลยทีน่ ักกีฬาบางคนแมจ ะ
หรือมวยปลํ้า ซง่ึ บางทีเราจะเห็นนักกีฬา เลนแพแ ตกช็ นะใจคนดูตรง ขา ม
บางคน มีทาทกี วนๆ แปลกๆ การจอ งตา นกั กฬี าบางคนแมจะชนะเกมการ
จองหนา ขม ขวญั แขงขนั แตโดนผดู -ู ผูชม เกลยี ดหรอื
สาปแชง เอาก็มี

จิตวทิ ยาหลังการแขงขนั

เมือ่ การแขง ขันสิ้นสดุ ลงแลว น้นั ผทู ี่กาํ กบั เสน ชัยซึ่งมเี พยี งไมก ่คี นเทา นัน้ จะเปนผูท่ี
มคี วามสุข มีความปรีดาปราโมทย สวนทเี่ หลือนอกจากน้นั ลว นตอ งพบกบั ความ
ผิดหวงั มากบาง ไมว า จะสมควรแพห รอื ไมส มควรแพแพเ พราะความผดิ พลาด
พลง้ั เผลอไปเพียงเล็กนอย หรอื บางก็วาถกู โกง อยา งไรก็ดีการยอมรบั ความพายแพ
นั้น ดจู ะเปน หนทางทด่ี ที ส่ี ุดอันหนง่ึ ของหลักจิตวิทยา

17

บทที่ 2 จิตวทิ ยากบั การแขง ขนั

#03

Types of sports
and proper
psychology
training methods

ชนดิ ของกีฬา
และวิธีการฝก จติ วทิ ยาที่เหมาะสม

18

บทที่ 3 วธิ ีการฝก จติ วิทยาทเ่ี หมาะสม

ชนดิ ของกีฬาและวธิ กี ารฝึกจิตวทิ ยา

ลกั ษณะทางจิตวิทยาทจี่ ะทาํ ใหเกิดการเลนกีฬาท่ไี ดซ ่ึงความสามารถสูงสุด ก็
คอื เทคนิคของการฝกจินตนภาพ การฝก สมาธิเทคนิคการผอ นคลาย และยงั
รวมไปถงึ เทคนคิ การสะกดจติ ทีส่ ามารถนาํ ไปใชใ นการกีฬา

1 กฬี าที่ใชพ ลังระเบดิ และใชร ะบบแอนแอโรบกิ เชน การว่ิงระยะส้ัน นนั้
ตอ งการการกระตนุ (Intensity) และการมงุ สนใจ (Focus)

กฬี าท่ีใชความทนทานและใชร ะบบแอโรบกิ เชน การจักรยาน มักจะ 2
เก่ียวขอ งกนั กบั ระดับการ กระตุน (Intensity) และการมุง สนใจ (Focus)
ซึ่งจะแตกตา งออกไป

3 กีฬาที่ใชทักษะทางกลไกแบบซับซอ น เชน ฟก เกอรส เกต เนนการมุงสนใจ
(Focus) และ ความไววางใจ (Trust)

กีฬาท่ีใชทกั ษะทางกลไกไมซับซอน เชน powerlifting ตองการการจูงใจ 4

(Motivation) และ การกระตุน (Intensity)

กีฬาท่ีใชระยะเวลานอ ยกวา 1 นาทเี ชน วิ่งหรอื สปด สเก็ต มักเนน การ

5 กระตนุ (Intensity)และ การมุงสนใจ (Focus)

19

บทที่ 3 วิธกี ารฝกจิตวิทยาทเี่ หมาะสม

6 กฬี าท่ีใชระยะเวลานาน เชน วิง่ มาราธอน ตอ งการความเชื่อมนั่ ในตนเอง
(Confidence) และ การกระตนุ (Intensity)

กฬี าที่แสดงความสามารถเปน รอบ เชน มวยปลํา้ เนน การควบคุมการ 7

กระตนุ (Intensity) และการมุงสนใจ (Focus)

กฬี าท่ีใชก ารเตรยี มตัวนอ ยและไมห นัก เชน ยิงธนตู อ งการการมงุ สนใจ

8 และการกระตุนที่ นอย กีฬาทใ่ี ชการเตรียมตัวนานและหนกั กอนการ

แขง ขัน เชน ขวางจกั ร มกั ตองการการกระตนุ (Intensity) และการจูงใจ

กฬี าที่ตองแสดงความสามารถในระยะสน้ั และมีชวงพักระหวางการแขงขัน 9
เชน ยงิ ปน เทนนิส มกั ตอ งการความเชื่อมนั่ ในตนเอง(Confidence) และ
การควบคุมการกระตุน (Intensity)

กลาวโดยรวมท้ังหมด คือ ลกั ษณะทางจติ วทิ ยาทีจ่ ะทาํ ใหเกิดการเลน กีฬาทไ่ี ดซ ่ึง
ความสามารถสงู สุด ก็คือ เทคนคิ ของการฝกจนิ ตนภาพ การฝกสมาธเิ ทคนคิ การ
ผอ นคลาย เทคนคิ การเสรมิ สรา งพลังจิต ความสามารถทต่ี กต่ําและความเบื่อหนาย
การวเิ คราะหการปองกันและการแกไข และยังรวมไปถงึ เทคนิคการสะกดจิตที่
สามารถนําไปใชใ นการกีฬา

20

To be number one ,

you have to train

like you’re number
two

21

บทที่ 3 วิธกี ารฝก จิตวทิ ยาท่เี หมาะสม

0P 4sychological
S kills
Training
การฝกึ ทกั ษะทางจติ วทิ ยา

22

บทที่ 4 การฝก ทักษะทางจิตวิทยา

การฝึกทักษะทางจิตวิทยากีฬา

การฝก ทักษะทางจิตวทิ ยาการกฬี าเปน แนวโนม ใหม ทัง้
ในทางดา นงานวิจัย คน ควา การฝกปฏบิ ตั ิ การเตรียม
นักกีฬาอยางเปนระบบเพ่ือท่ีจะใหนักกฬี าไดแ สดงออก
ซง่ึ ความสามารถสงู สุด (Optimization Performance)

การฝกปฏบิ ัติทักษะทางจติ วิทยาใน สืบสาย บญุ วีรบุตร (2541) ได
กีฬาน้นั การกีฬาใหประโยชนกบั
นกั กฬี าทกุ กลุม ระดับความสามารถ จําแนกประเภท ของการฝก เทคนคิ
ทุกเพศ ทุกวยั ในการฝก กีฬาเพอื่ ให
พฒั นาจนถงึ จดุ สงู สดุ ทางจิตวทิ ยาการกฬี าแบง เปน 2

หากนกั กีฬากลมุ เร่ิมเลนกีฬารจู ัก ประเภท ไดแ ก การฝกแบบจิตสกู าย
กําหนดจดุ มุงหมายอยางท่ีกาวหนา
มกี ารพัฒนาความเชือ่ ม่ัน มกี าร หรือจิตคมุ กาย (Cognitive
สรา งภาพความสาํ เรจ็ รวมทั้งการ
ตอบสนองตอความผดิ พลาด หรอื Techniques หรือ Mind to
ความลม เหลวท่ีเหมาะสม มีการฝก
ท่ีจะควบคุมอารมณความคิดตัวเอง Muscle) และ การฝกแบบกายเพอ่ื
ภายใตส ภาวะที่มีแรงกดดนั สูง
จิต หรอื การคมุ จิต (Arousal

Control หรือ Muscle to Mind)

23

บทท่ี 4 การฝก ทักษะทางจิตวิทยา

การฝกแบบจิตสูกาย หรือจติ คมุ กาย ( Cognitive Techniques )
เปน วิธกี ารจัดปรับกระบวนการความคดิ ซง่ึ มผี ลตออารมณความรสู ึก และ
แรงจูงใจในการกระทาํ ซึง่ แนนอนที่สุด มผี ลตอความสามารถในการเลน
กฬี านัน่ เอง โดยการฝกแบบจติ สกู าย ประกอบดว ย นึกภาพหรอื การสราง
จินตภาพ การรวบรวมสมาธิการพดู กับตวั เอง และการกําหนดเปาหมาย

การฝกกายเพ่อื จิต หรอื กายคมุ จติ (Arousal Control หรอื Muscle
เปนการสรา งสมดลุ ทางสรรี วิทยา (Physiological Self- Regulation)
เมอ่ื มีแรงกระตนุ สงู จนเกดิ เปน ความกดดันและความวิตกกังวล มักเกดิ
การเปลย่ี นแปลงทางสรีระ เชน หัวใจเตนเรว็ กลามเน้อื เครียดเกร็ง สมาธิ
และ ความตั้งใจเสยี ไป ดังน้ันวธิ ีการควบคมุ แรงกระตนุ ท่ีเกดิ จากการ
เปล่ยี นแปลงทางสรีระใหมีระดับทเ่ี หมาะสม วิธีการเหลา นี้ เพอ่ื ใหการ
เลน เปนไปไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ โดยการฝกกายเพื่อจิตแบบกายคุมจิต
ประกอบดว ย การผอ นคลายกลามเนอื้ , การกําหนดและควบคุมลม
หายใจ การรวบรวมสมาธิ การกระตนุ การสะกดจิต ไบโอฟดแบค็ ออโตจี
นิค เปนตน

24

บทที่ 4 การฝก ทกั ษะทางจิตวิทยา

เทคนิคการฝึกจินตภาพ (Imagery)

ในการกีฬาจนิ ตภาพ คอื การสรา งภาพการเคล่ือนไหวในใจกอนการแสดงทักษะจรงิ
ถา ภาพในใจทสี่ รางข้นึ ชดั เจน และมีชีวิตชวี ามากกจ็ ะชวยใหการแสดงทักษะจรงิ
ไดผลดขี ึน้ ไปดว ย ดงั นั้นการรับรูต า ง ๆ เหลาน้จี ะชวยใหนกั กีฬาในการสรางจนิ ต
ภาพใหชดั เจนย่งิ ขน้ึ นอกจากนี้การสรา งจนิ ตภาพยังชวยในการควบคุมความวิตก
กงั วล ความโกรธหรือความเจ็บปวดอีกดวย นักกฬี าจึงควรมีความสามารถในการ
สรา ง อารมณเ หลา นี้ในใจไดเพราะเมื่อสรา งไดน ักกีฬาจะหาวิธกี ารแกไ ขวา ทําไมจึง
เกิดความวติ กกังวล และทําใหค วามวติ กกังวลนีท้ ําใหก ารเลนของเขาเสยี ไป

วธิ ีการฝกเทคนิคจนิ ตภาพ 1. จินตภาพรูปแบบการเคลื่อนไหว
และข้ันตอนการแสดง ทัก ษ ะ
การฝกจินตภาพพื้นฐานน้นั นักกีฬา รวมทัง้ สงิ่ แวดลอ ม
แตล ะคนมีความสามารถแตกตา งกนั
ควรมกี ารสรางสมรรถภาพ ทางจนิ ต 2. จินตภาพการแสดงทักษะที่ประสบ
ภาพ เปน ทักษะการเรียนรูทางจติ ความสําเรจ็ และพัฒนาข้ึนเรือ่ ยๆ
และถานําไปปฏิบัติ จะเกิดประโยชน
ตอ การ แสดงความสามารถทางกาย 3. จินตภาพการเตรียมตัวเชนเดียวกับ
ไดหลายรูปแบบ และมีการฝก การแขงขนั
ดงั ตอไปน้ี
4. ใชภาพยนตหรือวิดีโอชวยในการ
ฝก จนิ ตภาพ

5. ฝกฝนจินตภาพทุกเวลาและทุก
สถานทที่ ่มี ีโอกาส

25

บทที่ 4 การฝกทักษะทางจติ วิทยา

ประโยชนข องจินตภาพ

จินตภาพมีคุณประโยชนตอ กันแสดงทักษะทางดา นกีฬา ดังน้ี
1. ชว ยเพ่ิมการประสานงานในการเคล่ือนไหวของรา งกายไดอยา งมี

ประสิทธภิ าพการรับรูตําแหนงตางๆ
2. จุดจาํ ขนั้ ตอนการแสดงทกั ษะทีถ่ กู ตอง
3. สามารถสรปุ การใชพลังงานของกลา มเนือ้ ในการปฏิบัติทักษะไดอยา ง

แมนยาํ
4. ชว ยปรับปรงุ ความผดิ พลาดใหถูกตอง
5. สามารถพัฒนาจิตใจโดยการสรางความหนักแนนทางจติ ใจตอสู

อปุ สรรคตางๆเพื่อการพฒั นาทกั ษะใหประสบผลสําเร็จสูงสดุ
6. ชว ยลดความวิตกกงั วลความกลวั เพ่ิมระดับการกระตนุ ทเ่ี หมาะสม
7. จนิ ตภาพตอ งมกี ารฝกหัดจนสามารถสรา งภาพเคลื่อนไหวในใจได

ชดั เจนจึงนาํ ไปใชใ หเ กิดประโยชนก บั ทกั ษะทางกายไดเ ปน อยางดี
สรปุ ไดวา กระบวนเทคนคิ การจินตภาพมสี ว นชวยทาํ ใหก ารแสดง

ทกั ษะทางกายมีประสทิ ธิภาพสงู ยง่ิ ข้ึนโดยมผี ลในดานความจํา การจัด
กระบวนการทางความคิด และนําไปใชไ ดใ นขณะฝก ซอมและแขงขัน จงึ กลา ว
ไดวา จนิ ตภาพน้นั เปนเทคนิคทางจิตอยางหนึง่ ท่ีมคี วามสาํ คัญตอ การเลนกีฬา
อยางย่ิง

26

บทที่ 4 การฝก ทักษะทางจติ วิทยา

เทคนิคการรวบรวมสมาธิ (Concentration)

การรวบรวมสมาธิ เปนส่งิ สาํ คญั และมีความจําเปนอยางยิ่งในการ
ฝก ซอ มและแขง ขนั กฬี า องคประกอบท่ีสําคญั ของการทาํ ใหเรามี
สมาธิ กค็ ือ ความสามารถในการมุง หรือรวบรวมในที่ความสนใจ ใน
สิ่งท่กี าํ ลงั กระทําโดยที่ ไมถกู รบกวนจากสง่ิ แวดลอ มภายนอก

วธิ ีการฝก เทคนคิ การ สาเหตขุ องการขาดสมาธิ
รวบรวมสมาธิ
ปญหาทที่ าํ ใหเสยี สมาธิ คอื ปจจัยภายใน ไดแก
วิธกี ารภายนอกและ ความรูส ึก ความคิด กบั ความเกนิ ไป ความวิตกกังวล
การประยุกตใชเพื่อฝก ความสับสน หรอื กงั วล กบั การเลนท่ีเสียท่ผี า นมา และที่
และรวบรวมสมาธิ รวมถงึ ปจ จัยภายนอก ไดแก วิเคราะหสถานการณมาก
เกนิ ไปจนเกดิ ทาํ ใหตัดสินใจเลือกวธิ ีทดี่ ีที่สุดในการเลน
ขนาดนัน้ ไมไ ด

การฝกจัดการแขงขนั จริง

โคชควรมีการแนะนํานักกฬี าใหมีการสํารวจและรับรูความรูสกึ ตนเองเพอ่ื
พัฒนาวิธีการรวบรวมสมาธิในสถานการณที่มีความกดดนั สูง เชน การแขง ขนั
จรงิ ใหเ รยี นรูสรา งความเคยชินและประสบการณในการจดั การ กับสิง่ รบกวน
ทงั้ ภายในและภายนอกน้นั ไดอยางเหมาะสม

27

บทท่ี 4 การฝก ทักษะทางจิตวิทยา

การจําลองการแขง ขัน การลองซอมในใจ

เพื่อใหเ กดิ ความคนุ เคยกับ เพ่ือรวบรวมและสรา งสมาธิ
ส่งิ รบกวนนกั กีฬาขณะทําการ การลองซอมในใจเปน การมงุ
แขง ขัน ทัง้ สถานการณท่ี ความสนใจ ทน่ี ึกทบทวนสรา ง
เลียนแบบการแขงขันจริง การ ภาพพิธีการและลาํ ดับการเลน
จดั การกับตัวเองในสถานการณ และสรา งความเชื่อมัน่ กอน
ท่มี สี ภาพท่ีมคี วามเครียดมาก การเลน ตลอดจนเปน การ
ๆ เชน การแขง ขันท่ีตอง ตดั สินรบกวนทง้ั ภายในและ
รวบรวมสมาธทิ ามกลาง เสยี ง ภายนอกออกไป
ประกาศ เสียงของผูชม เปนตน

28

บทท่ี 4 การฝกทักษะทางจิตวทิ ยา

เทคนคิ การตง้ั เปา้ หมาย (Goal Setting)

การต้งั เปา หมายเปน เทคนคิ ท่ีสําคญั ประการหนึง่ ที่จะชว ยใหทางนักกีฬาไดพฒั นา
ทกั ษะจนไปถงึ จดุ ที่ตองการ ซงึ่ หากนกั กีฬาไดม ีการฝก ฝนการตงั้ เปาหมายไดอยาง
ถกู ตองและชัดเจนแลว ประโยชนท่ีจะไดรับ คือ

• ชว ยพฒั นาทกั ษะของนักกีฬา ใหดีขึ้น
• ชว ยใหก ารฝกฝนทักษะมีคุณภาพมากข้นึ
• ชวยให ใหก ารคาดหวังตรง ตามความเปน จรงิ มากย่ิงขึน้
• ชว ยใหก ารฝก ฝนเปนของนกั กีฬา ไปอยา งทาทายสนุกสนานไมเ บ่ือหนาย
• ชว ยเพิม่ แรงจงู ใจภายในและนาํ ไปสูความสาํ เร็จ
• ชว ยใหน ักกฬี าเกิดความภาคภูมิใจและเกิดความเช่อื มนั่ ในตนเอง

ลกั ษณะของเปา หมายทางการกีฬาสามารถแบง ออกไดสามประการดังน้ี

• เปา หมายท่เี ปน ผลแขงหรือกระทาํ (Outcome goal)
การกาํ หนดเปาหมายน้ีจะเนน ทผ่ี ลการแขงขนั สําหรบั การเลน ในแต

ละครง้ั นั้น ๆ โดยปกติจะเก่ยี วของกบั การเปรยี บเทยี บระหวางกัน เชน เขา ท่ี
หนงึ่ ในการวง่ิ 400 เมตร

• เปาหมายทเี่ ปน การแสดงออก (Performance goal)
เปนการกําหนดเปาหมายทเ่ี ฉพาะเจาะจงทีผ่ ลของการเลนทเี่ กดิ จาก

การเลน หรอื แสดงออกทด่ี ี ถกู ตอง หรอื ความพยายามที่ไมไดเ กย่ี วของหรือ
เสียเปรยี บกบั ใคร เชน วิ่ง400 เมตรในเวลาท่ีกําหนดไวเอง

29

บทที่ 4 การฝกทักษะทางจติ วิทยา

• เปาหมายที่เปนขบวนการในการทาํ (Process goal)
เปนการกําหนดเปา หมายท่เี นนเฉพาะขบวนการหรือวิธีการท่ีควรทาํ

เพอื่ ใหบรรลตุ ามท่ตี ั้งใจไวข ณะท่ที ํากิจกรรมน้ัน ๆ อยู เชน รกั ษาตาํ แหนงของ
การยืนที่สามารถเห็นลูกไดตลอดเวลา การแดะตวั ขณะอยูเ หนือคาน

สอ่ื นําเสนอเนอื้ หาเรือ่ ง
การฝกทกั ษะทางจิตวิทยา

30

“ Reach
For
The
star

31

บทท่ี 4 การฝก ทักษะทางจิตวทิ ยา

APPLYING
SPORTS
PSYCHOLOGY

การนาํ จติ วทิ ยากฬี าไปใช้

05

32

บทท่ี 5 การนําจติ วทิ ยาไปใช

การนาํ จติ วทิ ยากฬี าไปใช้

จิตวทิ ยาการกีฬาเปน สงิ่ ทจี่ าํ เปนตอผฝู กสอนเปน
อยางมาก ดงั นนั้ ในสว นของผูฝ ก สอนจึงตอ งเปน ผูท ่มี ีความ
ละเอยี ดออ น รักการศกึ ษาคนควา เปน คนชา งสงั เกตและ
ตองเปนผูท ี่มีคความสนใจดานการวิจัยอยตู ลอดเวลา เพื่อท่ี
สามารถนําความรูดานจิตวิทยาการกีฬามาประยุกตใ ช

1. แรงจูงใจ

แรงจงู ใจเปนสวนหน่งึ ทม่ี สี ําคัญตอนักกฬี าเปน อยางมาก
และเก่ียวของกับนักกีฬาอยตู ลอดเวลาตั้งแต ในเรมิ่ เลน กีฬา
จนถงึ การหยุดเลน แรงจูงใจเปน ตัวอยางพฤติกรรมตาง ๆ
ของมนษุ ยน อกจากนย้ี ังสงผลตอความสามารถ ในการเลน
กฬี าดวย จงึ จําเปน อยา งยิ่งที่ผฝู กสอนจะตองเขาใจหลกั การ
ของแรงจูงใจดังน้ี

33

บทที่ 5 การนําจิตวทิ ยาไปใช

ประเภทของแรงจงู ใจตามหลักการของนักจิตวทิ ยาแลว นั้นสามารถแบง
แรงจูงใจออกเปน 2 ประเภท คือ

1. แรงจงู ใจภายใน (Intrinsic Motivation) คือ แรงจูงใจที่
เกิดขึ้นจากองคประกอบภายในตัวบุคคล เชน ทาํ เพราะสนใจ
หรอื สนกุ กบั งานนน้ั ความสําเรจ็ ในการทาํ กจิ กรรมจะเปน
รางวัลในตวั เองจงึ ไมต อ งมสี ิ่งอน่ื มาเปน สิ่งลอ ซง่ึ นับวามี
ความสาํ คัญมากตอนกั กีฬา

2. แรงจงู ใจภายนอก (Extrinsic Motivation) คือ แรงจงู ใจ
ที่เกิดข้ึนจากองคป ระกอบภายนอกตวั บุคคล องคประกอบ
ดงั กลา วอาจเปน สิง่ ชวนใจ (Intensive) รางวัล ชัยชนะหรือ
กจิ กรรมตาง ๆ ทีไ่ มมีความสัมพันธก บั พฤติกรรม

34

บทท่ี 5 การนําจติ วทิ ยาไปใช

2. ความเชื่อมนั่ ในตนเอง

ความเช่ือม่นั ในตนเอง คือ ความรูสกึ วาตนเองจะพบกบั ความประสบ
ความสาํ เรจ็ หรือสามารถท่ีจะแสดงความสามารถไดอยางเต็มท่ี เปนปจ จยั ท่ี
สาํ คัญอยางหน่ึงทจ่ี ะทําใหนักกีฬาประสบความสาํ เรจ็ ดงั น้ันผฝู กสอน จงึ
ควรใหค วามสาํ คัญตอการสรางความเช่ือม่ันในตัวเองใหน กั กีฬา โดยจะมี
ทฤษฎที ี่เกยี่ วขอ งดงั น้ี

ภาพท่ี 4 แสดงความรสู กึ ท่ีดตี อ ตนเอง (self-esteem)
ท่มี า : นฤพนธ วงศจตุรภัทร (2539)

ทฤษฎคี วามม่ันใจเฉพาะอยาง (Self- ทฤษฎีความรสู ึกทด่ี ตี อตนเอง (Self-
Efficacy) หมายถึง ความเช่อื ของ Esteem) หมายถึง การรูสึกวาตนเอง
บุคคลวา ตนเองมีความ ความมนั่ ใจ มี ความสาํ คญั ซง่ึ เปน การสรางความ
เฉพาะอยา งเปนตวั ชกั นาํ ท่ีจะมใี หเกดิ มัน่ ใจไดวิธหี นง่ึ ซงึ่ จะเกดิ จากปจจยั ที่
พฤติกรรมหรือการกระทาํ กจิ กรรม ซง่ึ สาํ คญั 2 ประการ คือสวนปจ จัย
ผฝู กสอนสามารถ เสรมิ สรางการรับรู ภายใน และสว นปจจยั ภายนอกซง่ึ
วาตนมคี วามมัน่ ใจเฉพาะอยาง แสดง โครงสรางได

35

บทท่ี 5 การนาํ จิตวทิ ยาไปใช

3. การกําหนดจุดมงุ่ หมาย

การกาํ หนดจุดมงุ หมายเปนเทคนคิ การสรางแรงจูงใจที่ดี และไดรบั การ
ยอมรบั จากผลงานวจิ ยั มากมาย ซ่ึงการต้งั จดุ มุงหมายเปน เทคนคิ ในการสราง
แรงจูงใจ ซึ่งจะมผี ลในการเพ่ิมความสามารถในการแสดงออกสามารถ
นําไปใชไดทง้ั ในดานอตุ สาหกรรม ธรุ กิจศกึ ษา และกีฬานความสาํ คญั ของ
การตงั้ จดุ มุง หมายในการเลน และการแขงขนั กีฬาไว 4 ประการดงั นี้

การตง้ั จุดมงุ หมายจะชว ยสรา งบรรยากาศของการฝกรวมกันเปนทมี
จุดมงุ หมายวาจะเลน เพ่ือทมี จึงตองฝกและทําใหดขี ้นึ

การต้ังจดุ มุงหมายชว ยสรา งความเขาใจ ระหวางกนั ภายในกลมุ หรอื ภายในทีมเม่ือ
ตอ งทําใหต นเอง บรรลจุ ดุ มุงหมายจึงตอ งทํางานรว มกนั

การต้ังจดุ มงุ หมายทําใหเกิดความคิดเปน ผใู หญมากขึน้ คอื เปน คนทีม่ ีกฎเกณฑ
สามารถบงั คับ ตนเองไดแ ละมกี ฎเกณฑในตวั เองมากข้ึน

การตงั้ จุดมงุ หมายชว ยทาํ ใหท ุกคนมีโอกาสประสบความสําเร็จไดม ากขนึ้

36

บทท่ี 5 การนําจิตวิทยาไปใช

4. การพู ดดกี บั ตัวเอง

ในการแขงขนั กฬี าความกดดัน เปนสง่ิ ที่ตอ งเกิดขน้ึ แกนักกีฬาอยางแนน อน
อยางเลี่ยงไมไดข น้ึ อยูกับวานักกฬี า จะสามารถควบคุมอารมณของตนเองได
อยางไร

แนวทางในการพูดดีกบั ตนเองประกอบดวย

01 การเลกิ คิดในทางลบ ควรเลิกคดิ สิ่งเกย่ี วกับสงิ่ ที่จะมีผล
ตอ ตนเองในทางลบ

02 การเปลยี่ นความคิดจากลบเปนบวก

03 การเผชิญหนากบั ความคิด นักกีฬาบางคนไมช อบหา
เหตผุ ลมาลบลาง จงึ คงความคดิ ในทางลบไว ควรหา
เหตผุ ลเพอ่ื หาการแกไขตอไปท่ดี กี วา

37

แบบทดสอบ

แบบทดสอบ

หลงั จากไดศกึ ษาจนจบบทเรียนแลว ใหผ ูเรียนตอบคาํ ถามตอไปนี้ โดย
อาศยั หลกั วชิ าการและความคิดเห็นของผเู รยี นประกอบในการตอบคาํ ถาม
1. จงอธิบายความหมายของจิตวทิ ยากฬี า
2. จงอธิบายถึงบทบาทความสาํ คญั ของจิตวิทยากีฬามาใหเขาใจ
3. จงอธิบายถงึ ประโยชนข องการนาํ จติ วิทยาไปใช
4. จงระบแุ ละอธบิ ายถงึ จิตวิทยาการ กอน ระหวา ง และหลังการแขงแขง ขัน
5. จงยกตวั อยา งชนิดของกีฬาและวธิ กี ารฝกจติ วทิ ยาทเ่ี หมาะสม อยา งนอย 3
ตวั อยา ง
6. จงระบุและอธบิ ายถงึ ประเภทของการฝกเทคนคิ ทางจิตวิทยากฬี า
7. จงยกตัวอยางพรอมทง้ั อธิบายถงึ เทคนิคการฝกทางจิตวทิ ยากฬี าตาง ๆ
อยางนอย 2 เทคนิค

38

บรรณานุกรม

สมบตั ิ กาญจนกจิ และ สมหญงิ จนั ทรุไทย. (2542). จิตวิทยาการกฬี า แนวคดิ ทฤษฎสี ู
การปฏบิ ัต.ิ กรงุ เทพฯ : สาํ นกั งานพฒั นาการกีฬาและนนั ทนาการ จฬุ าลงกรณ
มหาวิทยาลัย

ชาญวิทย ผลชวี ิน. (2558). คมู ือการฝกสอนกีฬาฟุตบอล. กรงุ เทพฯ : กองวชิ าการกฬี าแหง
ประเทศไทย

ถนอม กฤษณเ พช็ ร. (2536). แนวคดิ และทิศทางของวทิ ยาศาสตรการกีฬาในประเทศไทย.
กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั

ภษู ณพาส สมนลิ . (2558). วชิ าจติ วิทยาการกฬี าและการออกกาํ ลงั กาย Sports and
Exercise Psychology. สบื คน 6 มกราคม 2565. จาก
http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf

รณชยั คงสกนธ. (ม.ป.ป.) จิตวทิ ยาการกีฬา (Sports Psychology). สืบคน 6 มกราคม
2565. จาก http://61.19.241.96/w3c/senate/pictures/comm

สุปราณี ขวญั บญุ จันทร. (2541). จิตวทิ ยาการกีฬา. สมุทรปราการ : ไทยวัฒนาพานชิ
จาํ กดั

Butler, R.J. 1997. Sport Psychology in Performance. Oxford : Butterworth-
Heinemann

39

40

บรรณานกุ รม

Just Do it !

41


Click to View FlipBook Version