The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

13.ประวัติ_น.3_พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา (5)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by คเชนทร์ ยินดี, 2023-01-02 23:11:29

13.ประวัติ_น.3_พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา (5)

13.ประวัติ_น.3_พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา (5)

3 พฒั นาการของอาณาจกั รอยุธยา

พฒั นาการของอาณาจกั รอยธุ ยา :
ดา้ นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศ

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัด

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย วฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาไทย มคี วามรกั
ความภูมิใจและธารงความเปน็ ไทย

ตัวชว้ี ัด

ส 4.3 ม.2/1 วเิ คราะหพ์ ฒั นาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีในด้านต่าง ๆ

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธิบายลักษณะของความสัมพนั ธ์ระหว่างอาณาจักรอยธุ ยากับรฐั อนื่ ๆ ได้ (K)
2. วเิ คราะหผ์ ลทเ่ี กิดขนึ้ ของการสานความสมั พนั ธ์กนั ระหว่างอยุธยากับรัฐอน่ื ๆ (P)
3. ตระหนักและเห็นคณุ คา่ ในการสานความสมั พนั ธร์ ะหว่างอยุธยากับรฐั อ่ืน ๆ และสามารถ

ประยุกตค์ วามเข้าใจเหลา่ นนั้ มาปรบั ใช้กับบริบทดา้ นความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเทศในปจั จบุ ันได้ (A)

คาถามชวนคิด

นักเรียนคิดวา่ ในอดตี กรุงศรอี ยุธยามีการตดิ ต่อกบั รัฐตา่ งชาตอิ ่นื ๆ
บา้ งหรอื ไม่ หลักฐานคืออะไร ?

คาถามชวนคิด

มรี ฐั ต่างชาติรัฐใดบา้ งทก่ี รุงศรอี ยธุ ยาตดิ ต่อดว้ ย
และติดตอ่ กันในลกั ษณะใด ?

ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศของอยธุ ยากบั รฐั อ่นื ๆ

ด้านความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ

นโยบายความสัมพันธข์ องอยุธยาต่อรฐั โดยรอบ

การขยายอทิ ธพิ ลออกไปครอบครองรฐั อ่นื ๆ

การแข่งขนั อทิ ธิพลกบั รัฐท่มี อี านาจทัดเทยี มกัน

การตดิ ตอ่ กบั รัฐอื่นทอี่ ยู่ห่างไกล

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอยธุ ยากับรฐั อืน่ ๆ

แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 กล่มุ ใหญ่ ๆ ดังน้ี

รฐั บนภาคพน้ื รัฐในทวปี เอเชีย ประเภทภาษี
เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ชแาลตะติ ระาวยนั ไตดก้
การคา้ กบั ตา่ งชาติ

ความสัมพนั ธก์ ับกล่มุ รัฐบนภาคพ้นื เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้

คาถามชวนคิด

ความสัมพนั ธข์ องอยุธยากับกลมุ่ รฐั บนภาคพ้นื เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้
เปน็ ไปในลกั ษณะใด ?

ความสมั พนั ธ์กับกลมุ่ รฐั บนภาคพ้นื เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้

ความสัมพันธ์ การขยายอทิ ธิพลไป
กับสุโขทัย ครอบครองรัฐอื่น ๆ

ความสมั พันธก์ บั กลุ่มรัฐบนภาคพื้นเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้

ความสัมพนั ธ์
กบั ล้านนา

ความสัมพันธ์ การขยายอิทธพิ ลไป
กับสโุ ขทัย ครอบครองรัฐอ่ืน ๆ

ความสัมพันธ์กับกลมุ่ รฐั บนภาคพ้นื เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้

ความสมั พนั ธ์ ความสมั พนั ธ์
กับลา้ นนา กบั ลา้ นช้าง

ความสมั พนั ธ์ การขยายอทิ ธพิ ลไป
กับสโุ ขทยั ครอบครองรฐั อื่น ๆ

ความสมั พันธ์กบั กลุ่มรัฐบนภาคพืน้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้

ความสมั พันธ์ ความสัมพนั ธ์
กับล้านนา กับล้านช้าง

ความสัมพนั ธ์ การขยายอิทธพิ ลไป ความสมั พันธ์
กับสโุ ขทยั ครอบครองรัฐอืน่ ๆ กบั มลายู

การแข่งขันอิทธพิ ลกับรัฐทม่ี อี านาจทดั เทยี มกนั

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างอาณาจักร ความสมั พนั ธ์กบั เขมร
อ ยุ ธ ย า แ ล ะ เ ข ม ร มี ทั้ ง ก า ร ท า
ศึกสงครามหลายครั้ง และการ
ถา่ ยทอดวัฒนธรรม

การแข่งขนั อทิ ธิพลกบั รัฐที่มอี านาจทัดเทียมกนั

ความสมั พนั ธก์ บั พม่า การทาสงคราม เพื่อชิงความ
เปน็ มหาอานาจเหนือดนิ แดนมอญ
และล้านนา ซึ่งมีความสาคัญ
ด้านเศรษฐกิจ ทั้งเป็นชุมทาง
การค้าและแหล่งปลูกข้าวทส่ี าคญั

ความสมั พนั ธก์ บั รฐั ในทวีปเอเชยี

คาถามชวนคิด

ความสัมพนั ธข์ องอยธุ ยากับรฐั ในทวปี เอเชยี
เปน็ ไปในลกั ษณะใด ?

ความสมั พนั ธ์กับจนี เคร่อื งลายครามของจีน
เป็นของสะสมราคาแพงในหมู่
• อยุธยาและจีนมีความสัมพันธ์ท่ีแนบแน่นมาก ส่วนใหญ่เป็น
เร่ืองการค้าขาย เพราะชาวจีนเข้ามาตั้งหลักแหล่งในดินแดน ชนชัน้ สงู ชาวยุโรป
ล่มุ แมน่ ้าเจา้ พระยาต้งั แต่เร่ิมก่อต้ังอาณาจกั ร

• สมัยอยุธยาตอนต้น กษัตริย์อยุธยาส่งทูตพร้อมพระราชสาส์น
ไปถวายจักรพรรดิจีนในสมัยราชวงศ์หมิง เพราะต้องการ
ค้าขายทีเ่ มืองจนี

• หลังจากน้ันกษัตริย์อยุธยาเกือบทุกรัชกาลได้ส่งทูตไปเจริญ
พระราชไมตรีและส่งบรรณาการไปถวายจักรพรรดิ ทาให้จีน
คดิ ว่าอยธุ ยาเป็นรัฐบรรณาการ

• ระบบรัฐบรรณาการก็เท่ากับจีนให้การรับรองความเป็นกษัตริย์
ทส่ี มบูรณแ์ ละชว่ ยทาใหอ้ ยธุ ยามีรายไดจ้ ากการคา้ กบั จนี

ความสมั พนั ธ์กับญ่ปี ุน่

• รฐั ไทยมีการติดต่อคา้ ขายกบั ญีป่ ุ่นเปน็ เวลานานต้งั แต่ก่อนท่จี ะมกี ารตดิ ต่อทางการทูต
• ความสัมพนั ธ์ทางการทตู เรม่ิ ตน้ ในสมยั สมเด็จพระเอกาทศรถ ซึ่งตรงกับสมยั โชกนุ โทะกงุ ะวะ

ญี่ปนุ่ อนญุ าตให้สาเภาไทยไปทาการคา้ ไดโ้ ดยเสรี
• สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมและสมเดจ็ พระเชษฐาธริ าช มีการสง่ สาส์นและทตู ตดิ ต่ออีกหลายคร้งั
• สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองได้มีการกาจดั ชาวญ่ปี ุน่ ออกจากอยธุ ยา ต่อมาญีป่ ุ่นประกาศปิด

ประเทศ ทาให้ความสัมพนั ธท์ างการทูตระหวา่ งอยธุ ยาและญ่ปี ุน่ ยุติลง แตย่ งั คงมกี ารค้าขายของ
เอกชนเปน็ ครงั้ คราว

ความสัมพันธ์กับรัฐมุสลิม

• อยุธยามีการติดต่อกับรัฐหรืออาณาจักรที่อยู่ทางตะวันตกของ
คาบสมุทรมลายูมาช้านาน โดยเรียกผู้คนท่ีมาจากบริเวณนี้ว่า แขก
โดยจะเป็นพอ่ คา้ ที่มีท้งั อินเดยี เปอร์เซีย และอาหรับ

• ต้ังแต่สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ขุนนางกรมพระคลัง กรมท่า
และเมืองท่าสาคัญ ๆ ส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิม เพื่อทาหน้าท่ีประสาน
ประโยชนก์ บั จักรวรรดิมุสลิม

• สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มุสลิมค้าขายเสรีและรับราชการ
อยู่ในอาณาจักรเป็นจานวนมาก ต่อมาถูกคอนสแตนติน ฟอลคอน
กาจัดอทิ ธิพลทางการค้าขาย ทาใหก้ ารคา้ ของพ่อค้ามสุ ลิมเริม่ ตกต่า

ความสมั พนั ธ์กบั หมเู่ กาะต่าง ๆ

• การติดต่อค้าขายและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างคาบสมุทรและหมู่เกาะมีต่อเน่ืองยาวนาน เป็นผลให้
อิทธิพลด้านศาสนา ศิลปกรรม วรรณกรรม แผ่ขยายข้ึนมาที่ภาคใต้ของไทย และมีการค้าระหว่างกัน
แม้กระท่ังในยุคที่หมู่เกาะเหล่าน้ีตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก วัฒนธรรมจากหมู่เกาะเหล่านี้ท่ีมี
ชื่อเสียงท่สี ุด คือ วรรณกรรมเร่อื ง อเิ หนา ซงึ่ เป็นนิทานพ้นื บ้านของเกาะชวา

ความสัมพนั ธก์ บั ลงั กา

• ความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับลังกาที่เด่นชัดคือ ด้านพระพุทธศาสนา โดยพระพุทธศาสนาในไทย
มีความเจริญรุ่งเรืองจนเปรียบเสมือนศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาในภูมิภาคน้ี แต่พระพุทธศาสนาใน
ลังกากลับเสื่อมลงทุกขณะ เน่ืองจากลังกาตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก เป็นผลให้คณะสงฆ์ลังกา
ไดส้ ่งสมณทูตมายังกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เพ่ือขอพระภิกษุไทยไปฟ้นื ฟกู ิจการ
พระพุทธศาสนา โดยเป็นพระอุปัชฌาย์ให้แก่พระบวชใหม่ในลังกา ทาให้พระพุทธศาสนาในลังกาเกิด
นิกายใหมจ่ ากคณะพระภิกษไุ ทย เรยี กว่า นิกายสยามวงศห์ รอื อบุ าลวี งศ์

ความสัมพนั ธก์ ับชาตติ ะวนั ตก

คาถามชวนคิด

เพราะเหตุใดชาตติ ะวนั ตกจงึ เข้ามาติดตอ่ กบั อยธุ ยา ?

ปจั จัยท่สี ่งเสริมให้ชาตติ ะวนั ตกเข้ามาตดิ ต่อกับอยธุ ยา

ชาติตะวันตกต้องการ กรุงศรีอยุธยามีทตี่ ั้ง การเผยแผศ่ าสนา
สนิ ค้าในภูมภิ าคเอเชยี เหมาะสมและมีนโยบาย ครสิ ต์ เน่ืองจาก
อยุธยาไมป่ ิดกน้ั
ตะวนั ออกเฉียงใต้ ขยายการคา้ กับชาติ
และเอเชยี ตะวันออก ตะวันตก เรื่องศาสนา

คาถามชวนคิด

เพราะเหตุใดอยุธยาจึงต้องติดต่อกับชาตติ ะวันตก ?

ปจั จัยท่อี ยธุ ยาตดิ ตอ่ กบั ชาตติ ะวันตก

ผลประโยชนท์ างการค้า ผลประโยชน์ทางการเมอื ง

อยุธยาต้องการซ้ือสินค้าประเภทอาวุธปืน เพือ่ หามิตรถว่ งดลุ อานาจ เชน่ การสาน
จากพ่อค้าชาติตะวันตก เพ่ือรักษาความ ไมตรกี ับชาติตะวันตกชาตหิ นึ่ง เพ่ือคาน
ม่ันคงของประเทศ รวมถึงการติดต่อค้าขาย อานาจกับชาตติ ะวันตกอกี ชาตหิ นง่ึ
ยังทาให้มีรายไดจ้ ากการจัดเกบ็ ภาษตี า่ ง ๆ

คาถามชวนคิด

การตดิ ตอ่ ของอาณาจักรอยุธยากบั ชาติตะวนั ตกเปน็ ไปในลกั ษณะใด ?

ความสมั พนั ธ์กับโปรตุเกส

อยุธยาและโปรตุเกสมีการติดต่อกันครั้งแรกใน
ประเดน็ เรอ่ื งมะละกา มีการส่งทูตและแลกเปล่ียนบรรณาการ
ตอ่ กันหลายคร้ัง ท่ีสาคัญคือ สามารถตกลงทาสนธสิ ัญญาทาง
พระราชไมตรีฉบับแรกกับชาติตะวันตกได้ ทาให้การค้า
ระหว่างกันเจริญรุ่งเรือง ยังมีกองทหารอาสาชาวโปรตุเกส
นาเทคนคิ วิธกี ารใชอ้ าวธุ ปนื มาถ่ายทอดใหท้ หารอยธุ ยาด้วย

กองทหารอาสาโปรตเุ กส

ความสมั พันธ์กบั สเปน

ผู้สาเร็จราชการสเปนได้ส่งคณะทูตจากเมืองมะนิลามาเจริญพระราชไมตรี แต่ความสัมพันธ์ระหว่าง
สองชาติไม่ราบรื่นนัก เน่ืองด้วยสเปนต้องการยึดครองเขมรซึ่งเป็นประเทศราชของกรุงศรีอยุธยา จึงนับว่ามี
ความสัมพนั ธ์ต่อกนั ค่อนขา้ งนอ้ ย

ความสมั พันธ์กบั ฮอลนั ดา

ฮอลันดาส่งทูตเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีเพ่ือความ เรอื รบของบรษิ ัทอนิ เดียตะวนั ออกของดตั ช์ หรอื V.O.C ราว ค.ศ. 1714
สะดวกทางการค้ากับปัตตานี ต่อมาจึงมีการต้ังสถานีการค้า
และส่งคณะทูตเจริญไมตรีระหว่างกัน ด้วยผลประโยชน์ทาง
การค้ามหาศาล ทาให้เกิดข้อพพิ าทกับอยุธยาในสมัยสมเด็จ-
พระเจ้าปราสาททอง และพระนารายณ์มหาราช การค้าของ
ฮอลันดาเร่ิมเส่ือมลงในปลายสมัยพระนารายณ์มหาราช และ
สิ้นสดุ เมื่อสนิ้ กรุงศรอี ยุธยาครงั้ ท่ี 2

ความสมั พันธ์กบั องั กฤษ

ความสัมพันธ์ระหว่างอยธุ ยากบั อังกฤษไม่ค่อยราบร่ืนนัก เน่ืองด้วยอิทธพิ ลทางการค้าของท้ังฮอลันดาและ
ฝร่งั เศส ซ่ึงทั้งสองชาติยโุ รปนีพ้ ยายามกีดกันองั กฤษไมใ่ ห้เขา้ มาค้าขายกับกรุงศรีอยุธยาไดโ้ ดยง่าย ทาให้การค้าขาย
กับอังกฤษนับว่าประสบความสาเร็จน้อยหากเทียบกับการค้าขายกับฮอลันดาและฝร่ังเศส แต่ก็ยังมีพ่อค้าอิสระ
เดินทางเข้ามาค้าขายจนส้นิ สดุ กรงุ ศรอี ยุธยา

ความสมั พันธก์ ับฝร่งั เศส ภาพวาดสีน้าของหอดูดาวเมอื งลพบรุ ีเมอื่ คร้ังยงั สมบรู ณ์ สมเด็จพระนารายณ์
มหาราชทรงสร้างสถานทแี่ หง่ น้ีพระราชทานให้กบั บาทหลวงชาวฝรง่ั เศส
ความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับฝรั่งเศส เพื่อการศึกษาค้นคว้าวชิ าดาราศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์
มีมูลเหตุจากการท่ีอยุธยาต้องการแสวงหาพันธมิตร หอดดู าวใชง้ านไดจ้ รงิ เม่อื ราว พ.ศ. 2229
เพ่ือถ่วงดุลอานาจของฮอลันดาและพ่อค้ามุสลิม
ส่วนฝร่ังเศสต้องการต้ังสถานีการค้า และการเผยแผ่
ศาสนาในภูมิภาคนี้ ในระยะแรกมีความสัมพันธ์อันดี
ต่อกัน ฝร่ังเศสได้สิทธิพิเศษมากมายในการค้าขาย
กับอยุธยา แต่ก็ทาให้ขุนนางในอยุธยารวมถึง
พระเพทราชาเกิดความไม่ไว้วางใจเนื่องด้วยเกรงว่า
ฝรั่งเศสจะเข้ายึดกรุงศรีอยุธยา เม่ือสิ้นรัชสมัยสมเด็จ
พระนายรายณ์มหาราชชาวฝร่ังเศสจึงถูกผลักดันให้
เดนิ ทางกลบั ประเทศ

กรุงศรอี ยุธยาเปน็ ศูนย์กลางการค้าระหว่างภูมิภาคท่ีสาคัญ
มาต้ังแต่อดีต เป็นเมืองท่าที่เป็นชุมทางการค้าที่สาคัญ ส่งผลให้
กรุงศรีอยุธยาได้รับผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและเกิดความ
เจรญิ กา้ วหนา้ ทางด้านวิทยาการตา่ ง ๆ


Click to View FlipBook Version