The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียน วิชาสังคม ป.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ssr., 2021-04-22 23:35:44

หนังสือเรียน วิชาสังคม ป.3

หนังสือเรียน วิชาสังคม ป.3

สังคมศึกษา หนงั สือเรียนรายวิชาพน้ื ฐาน

ศาสนา และวฒั นธรรม

ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมบรษิ ัท สรา งสรรคส ือ่ เพ่ือการเรยี นรู (สสร.) จํากัด
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU(SSR.)CO.,LTD

คณะผเู้ รียบเรยี ง บริษัท สรางสรรคส ่ือเพอ่ื การเรียนรู (สสร.) จํากดั

ดร.เปีย่ มจันทร์ ดวงมณี .SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD
มโนธรรม ทองมหา
ดร.สชุ าดา ทองมาลัย จัดพิมพ์และจ�าหนา่ ยโดย พิมพ์คร้ังที่ ๑
คชพล เชษฐ์ชาติพรชยั
มนพัทธ์ สขี าว บริษทั สร้างสรรค์สอ่ื เพอ่ื การเรียนรู้ (สสร.) จา� กัด สงวนลิขสทิ ธ์ติ ามพระราชบัญญตั ิ
๑๕๑๘/๗ ถนนประชาราษฎร์ ๑ แขวงวงศส์ วา่ ง เขตบางซ่อื กรงุ เทพฯ ๑๐๘๐๐ ISBN 978-616-7768-68-7 ปีทีพ่ มิ พ์ ๒๕๖๓
คณะผ้ตู รวจ โทรศพั ท์ : ๐-๒๕๘๗-๗๙๗๒, ๐-๒๕๘๖-๐๙๔๘, ๐-๒๕๘๗-๙๓๒๒-๒๖ จ�านวนที่พิมพ์ ๑๐,๐๐๐ เลม่
โทรสาร : ๐-๒๐๔๔-๔๔๗๒
ผศ. ดร.อุเทน ทองทิพย์ E-mail : [email protected]
บญุ เลิศ ส่มุ ประเสรฐิ
ธนกฤต ธรรมวณชิ ย์

บรรณาธกิ าร

พชิ าติ แก้วพวง

บริษทั สร้างสรรคส์ ือ่ เพอ่ื การเรยี นรู้ (สสร.) จา� กดั
SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD.

คา� ชแี้ จงการใชส้ อ่ื การเรยี นรู้

องคป์ ระกอบตา งๆในแตล ะหนว ยการเรยี นรู้

ภาพประกอบ ชือ่ หนวยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
หนวยการเรียนรู้ และตวั ชี้วดั
ภาพประกอบที่เชื่อมโยง
หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่
กําหนดให้สอดคล้องในแต่ละหน่วย
การเรียนรู้

บรษิ ัท สรา งสรรคส อื่ เพอ่ื การเรียนรู (สสร.) จาํ กัด สรปุ

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

สาระส�าคญั แผนผังสาระการเรยี นรู้ เปนการสรุปเน้ือหาของแต่ละหน่วยการเปลย่ี นแปลงทด่ี ขี องชมุ ชนลว้ นขนึ้ อยกู่ บั การตดั สนิ ใจรว่ มกนั
ใจความสําคัญของ เปนการกําหนดหัวข้อให้กับผู้เรียน ของสมาชกิ ในชมุ ชน ดงั นนั้ การเลอื กผนู้ า� มาเปน็ ตวั แทนของชมุ ชน เพอ่ื ทา�
เน้ือหาที่ทําให้ผู้เรียน
เข้าใจง่าย การเรยี นรู้ เพื่อให้ผูเ้ รียนไดท้ บทวนหน้าที่แทนสมาชิกจงึ ควรเลอื กตวั แทนท่ีมีความรู้ ความสามารถ มคี วาม
ซอ่ื สตั ย์ และมีความเสียสละ เหน็ ประโยชน์สว่ นรวมมาก่อนเสมอ
หนา้ นา� เขา้ สบู ทเรยี น
เพ่ือกระตนุ้ ผู้เรยี นให้เกดิ ความรู้ก่อนทํากิจกรรมและตอบความรู้เสริมการเรียน
ความสนใจก่อนการเรยี น อบต. ย่อมาจาก องคก์ ารบริหารสว่ นต�าบล เปน็ องคก์ ร
ดว้ ยคาํ ถามและภาพท่ี
น่าสนใจ คําถามปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งในระดับต�าบล ซึ่งมีสมาชิก
ภาพประกอบเนอ้ื หา สภาองค์การบริหารส่วนต�าบล มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของ
เพอ่ื เพ่มิ ความน่าสนใจ ประชาชน จ�านวนหมู่บ้านละ 2 คน โดยมีนายกองค์การบริหาร
และกระตุน้ ให้เกดิ ส่วนต�าบล (นายก อบต.) เป็นผู้บริหาร
การเรยี นรู้ อบจ. ยอ่ มาจาก องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เปน็ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ รปู แบบ
หนงึ่ ในระดับจังหวัด ซึง่ มสี มาชกิ สภาองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั มาจากการเลอื กตงั้ โดยตรง
ของประชาชน โดยมีนายกองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั (นายก อบจ.) เปน็ ผู้บรหิ าร สังกัดกรม
สง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

สรุป

การมีส่วนร่วมในกิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตย คอื การ
ปฏิบัติตนตามบทบาทและหน้าที่ของตนในฐานะเป็นสมาชิกในช้ันเรียน
โรงเรียน และชุมชนนั้นๆ ได้ถูกต้องและเหมาะสม รวมถึงการเข้าไป
มีส่วนร่วมในการท�ากิจกรรมต่างๆ เช่น การแสดงความคิดเห็นอย่างมี
เหตุผล การยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของผอู้ นื่ การเหน็ ประโยชนส์ ว่ นรวม
ส�าคัญกว่าประโยชน์ส่วนตน ตลอดจนการใช้สิทธิหน้าท่ีในการออกเสียง
โดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง เพ่ือให้ได้ผู้น�าหรือตัวแทนที่ดี
มาทา� หนา้ ทดี่ แู ลทกุ ขส์ ขุ ของสมาชกิ ในชนั้ เรยี น โรงเรยี น และชมุ ชน ใหเ้ กดิ
การพัฒนาและเกดิ ความสงบสุข

9966 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๓

ปจั จัยใดจำ� เป็นท่ีสดุ กิจกรรมการเรยี นรู้เชงิ รุก
ในกำรดำ� รงชีวิตของมนษุ ย์

เปนกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน
มีบทบาท มีส่วนริเริ่ม และดําเนิน
๑ การใชส้ นิ คา้ และบรกิ ารในการด�ารงชวี ติ การเรียนรู้ ทําให้ผู้เรียนได้ความรู้
และพัฒนาความสามารถจากเอพย่ือ่าจงตะกไ่อดาเนว้รใา่ือชงง้สแไนิผมนค่จา้ก�าแกาลรัดใะหชบรจ้ รือ่ากิ สยา้ินทรสีถ่ในุดกู กตาเ้อรรงาดแคา�ลวระรงเรชหู้หวี มติลาขักะอกสงามมรซน้ือษุ สยินเ์ .บปSครน็R้าิษAแสัทNลง่ิ ทGะสบSเ่ี กAรริดNาิกขงSาึน้สUรEรPรHคUสA่อื KเพAR่ือNกRาIรAเNรRยี UนUรู
(สสร.) จาํ กัด สรุป

(SSR.) CO.,LTD

๑.๑ ความหมายของสินคา้ และบรกิ าร ประสบการณ์ตรงสงิ่ แวดลอ มประกอบดว ยสงิ่ แวดลอ มทางธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ มทม่ี นษุ ย
สรางขนึ้ ซึ่งมกี ารเปลย่ี นแปลงทั้งทางธรรมชาตแิ ละการกระทาํ ของมนษุ ย
สินค้าและบริการ คือ ส่ิงท่ีใช้ตอบสนองความต้องการและ การเพ่ิมขึ้นของประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และความกาวหนา
ความจา� เปน็ ของคนเรา รวมถงึ การใหค้ วามสะดวกสบายตา่ งๆ แกผ่ บู้ รโิ ภค ทางเทคโนโลยี และการขาดความตระหนกั รใู นการรกั ษาสง่ิ แวดลอ ม สง ผลใหเ กดิ
มลพษิ แกส ง่ิ แวดลอ ม เชน มลพษิ จากฝนุ ควนั มลพษิ ทางนา้ํ มลพษิ ทางดนิ มลพษิ
สนิ คา้ คอื สงิ่ ของทซี่ อื้ ขายกนั เชน่ อาหาร ผกั ผลไม้ เสอ้ื ผา้ ของเลน่ ทางเสียง และมลพิษทางอาหาร
โดยมเี งนิ เปน็ สอื่ กลางใชใ้ นการแลกเปลยี่ น ซงึ่ แตกตา่ งจากอดตี ทใี่ ชส้ ง่ิ ของ การจัดการส่ิงแวดลอมในชุมชน ทุกคนสามารถมีสวนรวมไดดวยการ
แลกเปลี่ยนส่งิ ของ เชน่ นา� ข้าวมาเเลกไข่ เขา รว มกจิ กรรมใหค วามรใู นโอกาสตา งๆ การชว ยกนั ดแู ลและจดั การสงิ่ แวดลอ ม
ภายในชุมชนถอื เปน การจดั การปญ หาทม่ี ีประสทิ ธภิ าพและมีความยัง่ ยนื

u ขา้ วคอื สนิ คา้ ท่ีจ�าเปน็ ต่อการดา� รงชวี ิต u สนิ คา้ จากร้านสะดวกซอื้ กิจกรรมการเรียนรเู ชงิ รุก
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๓ 99 ๑. ใหนักเรียนสํารวจสิ่งแวดลอมในชุมชนท้ังส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอมท่ีมนุษยสรางข้ึน จากนั้นเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง
ส่ิงแวดลอมในอดีตกับปจจุบัน โดยอาจสอบถามขอมูลเพ่ิมเติมจาก
ผปู กครองหรือคนในชมุ ชน
๒. ใหนักเรียนแบงกลุมตามความเหมาะสม รวมกันอธิบายสาเหตุท่ีทําให
เกดิ มลพิษโดยมนุษย จากน้นั สรปุ สาเหตุดงั กลาวเปน แผนผังความคิด
๓. นักเรียนแบงกลุม ๕ - ๖ คน หรือตามความเหมาะสม วาดภาพแนวคิด
ที่แสดงถึงการมสี วนรว มในการจดั การส่งิ แวดลอมในชมุ ชนของตน

คา� ถามพัฒนาผเู้ รยี น คําถามพฒั นาผเู รียน
๑. ส่ิงแวดลอมในชุมชนของนักเรียนในอดีตมีความแตกตางกับปจจุบัน

อยางไรบา ง อธบิ ายพอสังเขป
๒. มลพษิ ในชุมชนของนักเรียนทเี่ กดิ จากมนษุ ยม อี ะไรบาง เพราะเหตใุ ด
๓. จากขอ ๒ นกั เรยี นสามารถมสี ว นรว มในการจดั การสง่ิ แวดลอ มใหด ขี นึ้ ไดอ ยา งไร

เปนคําถามพัฒนาผู้เรียน เพ่ือวัด ๑๑๙๙๒๒ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.๓
และประเมินความเข้าใจของผู้เรียน
ให้สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้

คาํ นาํ

หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓
จดั ทาํ ขนึ้ ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา
ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูและนักเรียนได้ใช้เปน
ส่ือการเรียนการสอน พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนให้มีคุณภาพ และเกิด
ประสิทธภิ าพอยา่ งหลากหลาย

บรษิ ทั สรางสรรคส ื่อเพือ่ การเรียนรู (สสร.) จํากดั

เน้อื หาสาระของหนงั สอื เรยี นเลม่ น้ี แบง่ เปน ๕ สาระ.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU(SSR.)CO.,LTD ไดแ้ ก่
๑. สาระศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
๒. สาระหนา้ ที่พลเมือง วฒั นธรรม และการด�าเนินชีวิตในสงั คม
๓. สาระเศรษฐศาสตร์
๔. สาระประวัติศาสตร์
๕. สาระภูมศิ าสตร์
โดยเนือ้ หาสาระเหล่าน้มี เี นื้อหาม่งุ ใหน้ ักเรียนไดเ้ รียนรู้ และเขา้ ใจในการอยู่รว่ มกนั
ในสังคมท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงอย่างเท่าทันและรอบด้าน มีความศรัทธาต่อศาสนา
และวัฒนธรรม รักและภูมิใจในความเปนชาติไทย และความเปนสากลของประเทศ
เพือ่ นบ้าน ปลกู ฝงและบม่ เพาะคุณธรรม จริยธรรมทด่ี ีให้กบั นกั เรียน สามารถดํารงชีวิต
ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ และเปนพลเมืองดีของประเทศอยา่ งมคี ณุ ภาพ
บริษัท สรา้ งสรรค์สอ่ื เพอ่ื การเรยี นรู้ (สสร.) จาํ กัดบรษิ ัท สรางสรรคส อื่ เพือ่ การเรยี นรู (สสร.) จาํหกัด วังเปนอย่างย่งิ วา่ หนังสือเรียน

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

เล่มนี้จะช่วยให้ครูและนักเรียนได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตรงตามเจตนารมณ์
ที่มุ่งหวัง และได้รับประโยชน์ท่ีพอจะเปนพื้นฐานหรือแนวทางการต่อยอดองค์ความรู้
เพ่อื สร้างเปนความคดิ รวบยอดให้แกผ่ ้เู รียนไดอ้ ย่างครบถ้วนและสมบรู ณ์

บรษิ ทั สร้างสรรค์สอื่ เพือ่ การเรยี นรู้ (สสร.) จ�ากดั

สารบัญ หนา้

สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๑
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ ศาสนาในสังคมไทย

๑. ความส�าคญั ของพระพุทธศาสนา ๕
๒. พทุ ธประวัติ ๑๐
๓. ศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคล
๑๔
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๒ หลักธรรมนา� ชีวิตบริษัท สรา งสรรคส ่ือเพือ่ การเรียนรู (สสร.) จาํ กัด
.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD ๑๕
๑๖
๑. พระไตรปฎ ก ๑๗
๒. พระรตั นตรยั ๒๓
๓. หลักธรรมโอวาท ๓
๔. พุทธศาสนสภุ าษติ ๒๖

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ ชาดกและชาวพุทธตวั อยาง ๒๗
๒๙
๑. พทุ ธสาวก ๓๓
๒. ชาดก
๓. พทุ ธศาสนกิ ชนตัวอย่าง

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ ชาวพทุ ธทด่ี ี ๓๘

๑. มรรยาทชาวพุทธ ๓๙
๒. การปฏบิ ัตติ นในศาสนพิธีบรษิ ัท สรางสรรคสอ่ื เพอ่ื การเรยี นรู (สสร.) จํากดั ๔๓
๔๘
.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD ๕๑

๓. การแสดงตนเปนพทุ ธมามกะ ๖๒
๔. การสวดมนตไ์ หวพ้ ระและแผ่เมตตา
๖๓
สาระหน้าทีพ่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และการด�าเนินชวี ติ ในสงั คม ๖๙
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๕ การปฏบิ ัติตนตามประเพณีและ ๗๒
๗๗
วฒั นธรรม
๑. ประเพณีและวัฒนธรรม
๒. การดา� เนนิ ชวี ติ ในวฒั นธรรมทีห่ ลากหลาย
๓. วันหยดุ ราชการทส่ี �าคญั
๔. บุคคลตัวอย่าง

หนา้

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๖ สมาชกิ ที่ดีในระบอบประชาธปิ ไตย ๘๒

๑. บทบาทหนา้ ที่ของสมาชิกในชุมชน ๘๓
๒. การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตามกระบวนการประชาธปิ ไตย ๘๔
๓. การออกเสยี งโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง ๘๗
๔. ยกตัวอย่างการเปลยี่ นแปลงในชั้นเรยี น โรงเรียน และชมุ ชน ๙๐
ทเ่ี ปนผลจากการตดั สนิ ใจของบุคคลและกลุ่ม
สาระเศรษฐศาสตร์
บริษทั สรา งสรรคส ่อื เพื่อการเรยี นรู (สสร.) จํากดั ๙๖
.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๗ การผลติ และการบริโภค

๑. การใชส้ ินค้าและบรกิ ารในการดา� รงชวี ติ ๙๗
๒. การใชจ้ ่ายของตนเอง ๑๐๓
๓. การผลติ และการบรโิ ภคสินค้าและบรกิ าร ๑๐๗

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๘ ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกิจ ๑๑๒

๑. สินค้าและบรกิ ารของภาครฐั ๑๑๓
๒. บทบาทของประชาชนในการเสียภาษี ๑๑๕
๓. การแข่งขนั ทางการค้า ๑๑๘

สาระประวตั ิศาสตร์ ๑๒๒

บรษิ ทั สรางสรรคส ่อื เพือ่ การเรียนรู (สสร.) จาํ กดั ๑๒๓
๑๒๘
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๙ ศเหักตรุกาชารใณนป์สฏา� คทิ ญัินและการล�าดบั.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU(SSR.)CO.,LTD

๑. ศกั ราชท่สี า� คัญตามปฏทิ นิ ทใ่ี ช้ในชวี ิตประจ�าวัน
๒. เหตกุ ารณ์ส�าคัญของโรงเรียนและชุมชน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๐ ชุมชนของเรา ๑๓๔

๑. ปจั จัยท่ีมอี ิทธิพลต่อการตง้ั ถิ่นฐานและพัฒนาการ ๑๓๕
ของชมุ ชน
๑๔๐
๒. ลักษณะส�าคญั ของขนบธรรมเนยี ม ประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชน ๑๔๔

๓. ความเหมอื นและความแตกตา่ งทางวฒั นธรรมของชมุ ชน
ตนเองกบั ชมุ ชนอืน่ ๆ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๑ บคุ คลสา� คญั ของไทย หน้า

๑. พระมหากษตั รยิ ผ์ สู้ ถาปนาอาณาจกั รไทย ๑๔๘
๒. พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว
๓. วีรกรรมของบรรพบรุ ุษไทย ๑๔๙
๑๕๔
๑๕๙

สาระภมู ิศาสตร์ ๑๖๖

บรษิ ทั สรางสรรคสือ่ เพอ่ื การเรียนรู (สสร.) จาํ กัด ๑๖๗
๑๗๔
๑๒ ขอ้ มลู ทางภมู ศิ าสตร์ในหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี .SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

โรงเรยี นและชมุ ชนของเรา

๑. ขอ้ มลู ทางภูมิศาสตร์ในโรงเรยี นและชมุ ชน
๒. ต�าแหนง่ ท่ตี งั้ ของสถานทส่ี า� คัญบริเวณโรงเรยี น

และชุมชน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๓ การเปล่ียนแปลงและการจดั การ ๑๘๐

สงิ่ แวดล้อมในชุมชน ๑๘๑
๑. ส่งิ แวดล้อมของชมุ ชนในอดตี กบั ปัจจบุ ัน ๑๘๔
๒. มลพษิ ที่เกิดจากมนษุ ย์ ๑๙๐
๓. การมสี ่วนร่วมในการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มในชุมชน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๔ ส่ิงแวดลอ้ มกับการดา� เนินชีวติบริษัท สรา งสรรคสื่อเพ่อื การเรียนรู (สสร.) จํากดั ๑๙๓
.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD
๑๙๔
ของมนุษย์ ๑๙๖
๑. ภูมิประเทศและภูมิอากาศท่มี ีผลตอ่ การด�าเนนิ ชีวติ ๑๙๙

ของคนในชุมชน
๒. การใชป้ ระโยชนจ์ ากสิ่งแวดล้อมในการดา� เนนิ ชีวิต

ของมนุษย์
๓. ลักษณะของเมืองและชนบท

บรรณานกุ รม ๒๐๒

๑หนว ยการเรยี นรทู ่ี ศาสนาในสังคมไทย

มาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ชวี้ ัด

๑. อธิบายความสําคัญของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะท่ีเปนรากฐาน
สาํ คญั ของวัฒนธรรมไทย (มฐ. ส ๑.๑ ป.๓/๑)
๒. สรุปพุทธประวัติต้ังแตการบําเพ็ญเพียรบริษทั สรา งสรรคสือ่ เพอ่ื การเรียนรู (สสร.) จํากัด

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

จนถึงปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดาท่ีตน
นบั ถอื ตามทกี่ าํ หนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๓/๒)

๓. บอกชื่อ ความสําคัญและปฏิบัติตนได
อยางเหมาะสมตอศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และ
ศาสนบคุ คลของศาสนาอน่ื ๆ (มฐ. ส ๑.๑ ป.๓/๗)

สาระสําคญั

พระพทุ ธศาสนามคี วามสาํ คญั ตอ สงั คมไทยเพราะมคี วามสมั พนั ธก บั วถิ ชี วี ติ และเปน รากฐาน
ของวฒั นธรรมไทย การศกึ ษาพทุ ธประวตั แิ ละนาํ แบบอยา งความดมี าปฏบิ ตั จิ ะทาํ ใหช วี ติ มคี วามสงบสขุ

การศึกษาศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคล จะทําใหเกิดความเขาใจและสามารถบรษิ ทั สรา งสรรคส อ่ื เพอ่ื การเรียนรู (สสร.) จาํ กดั
ปฏิบัติตนตอศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคล ทั้งในพระพุทธศาสนาและศาสนาอ่ืนๆ.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU(SSR.)CO.,LTD ได
อยางเหมาะสม

๑ แผนผงั สาระการเรยี นรู ๒

ความสาํ คัญของ พทุ ธประวัติ
พระพุทธศาสนา

ศาสนาในสังคมไทย



ศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคล

นักเรียนคิดวา การไหวพระ
ในพระพุทธศาสนาเกี่ยวขอ ง
กบั การไหวในวฒั นธรรมไทย
อยางไร

บรษิ ทั สรางสรรคส ่ือเพ่ือการเรียนรู (สสร.) จาํ กัด

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

๑ ความสาํ คัญของพระพทุ ธศาสนา
พระพุทธศาสนา เปน ศาสนาทคี่ นไทยสว นใหญน บั ถอื มาตง้ั แตอ ดตี
จนถงึ ปจ จบุ นั มบี ทบาททง้ั ดา นการดาํ เนนิ ชวี ติ ประจาํ วนั และการสรา งสรรค
ผลงานทางวัฒนธรรม พระพุทธศาสนาจึงมีความสําคัญในฐานะที่เปน
รากฐานสาํ คญั ของวฒั นธรรมไทย ดงั นี้

๑.๑ ความสัมพันธของพระพุทธศาสนากับการดําเนิน
ชีวิตประจําวนั
บรษิ ทั สรา งสรรคส ่อื เพอื่ การเรยี นรู (สสร.) จํากดั

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

การดําเนินชีวิตประจําวันของคนไทยมีความผูกพันเก่ียวของกับ
พระพุทธศาสนามาชานาน กลายเปนสวนหน่ึงในวิถีชีวิตของคนไทย
เรียกวา วัฒนธรรมชาวพุทธ เชน การสวดมนต การทําบุญใสบาตร
การแสดงความเคารพ และการใชภาษา จึงกลาวไดวาพระพุทธศาสนา
มอี ิทธพิ ลตอวถิ ชี วี ิตคนไทยเปน อยางมาก ดังน้ี

๑) การสวดมนต เปนกิจวัตรสําคัญของชาวพุทธกิจกรรมหนึ่ง
ชาวพทุ ธนยิ มสวดมนตว นั ละ ๒ ครง้ั คอื ในตอนเชา เรยี กวา ทาํ วตั รเชา และ

๒ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๓

ในตอนเยน็ เรยี กวา ทาํ วตั รเยน็ เพอื่
ทําใหจิตใจไดระลึกนึกถึงคุณของ
พระรัตนตรัย อีกทั้งเปนการสราง
กาํ ลงั ใจอนั เขม แขง็ ในการทาํ ความดี
ตามหลักปฏบิ ตั ขิ องชาวพทุ ธ

 การสวดมนตเ ปน การระลกึ ถงึ คณุ พระรตั นตรยั

บริษทั สรา งสรรคสอื่ เพื่อการเรยี นรู (สสร.) จํากดั

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

๒) การทาํ บญุ ใสบ าตร เปน
การถวายภตั ตาหารแดพ ระภกิ ษสุ งฆ
ในตอนเชา ซงึ่ ปฏบิ ตั สิ บื ตอ กนั มานาน
ซงึ่ จะสง ผลใหผ กู ระทาํ ความดมี จี ติ ใจ
ผองใสและมีความสุข

 การทาํ บญุ ใสบาตรตอนเชา ของชาวพทุ ธ

๓) การแสดงความเคารพ ถือเปนมารยาทไทยท่ีไดรับอิทธิพล
มาจากการแสดงความเคารพและบชู าจากพระพทุ ธศาสนา เพอื่ แสดงความบรษิ ัท สรา งสรรคสอื่ เพ่ือการเรยี นรู (สสร.) จํากดั

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

ออนนอมถอมตน เชน การกราบ
และการไหว ชาวไทยนาํ มาปรบั ปรงุ
จนเกิดเปน วัฒนธรรมการไหว
ซงึ่ เปนเอกลกั ษณของไทย

 การไหวเปนการแสดงความเคารพนอบนอม
ตอ ผูอาวุโสกวา

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.๓ ๓

๔) การใชภ าษา ภาษาไทยนอกจากจะเปน ภาษาประจาํ ชาตแิ ลว ยงั ใช
บนั ทกึ คาํ สอนในพระพทุ ธศาสนา ไดร บั ตัวอยางคาํ ภาษาบาลใี นภาษาไทย
อิทธิพลมาจากภาษาบาลีสันสกฤต บาป บุปผา ปญ ญา
และไดรับการถายทอดสืบตอกันมา ปฏิบัติ มงคล
รส

โดยพระภกิ ษสุ งฆ เพราะในสมยั โบราณ ลัทธิ โลภ วิชา
วัดเปนเสมือนโรงเรยี นสอนหนังสอื สติ สนทนา สาหัส
อเนจอนาถ อวสาน
อดีต

บรษิ ัท สรา งสรรคสือ่ เพ่อื การเรยี นรู (สสร.) จาํ กัด

ตัวอยางคาํ ภาษาบาลีในภาษาไทย.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD


๑.๒ พระพุทธศาสนามีอิทธิพลตอการสรางสรรคผลงาน

ทางวัฒนธรรมไทย

พระพทุ ธศาสนามอี ทิ ธพิ ลตอ การสรา งสรรคผ ลงานทางวฒั นธรรมไทย
อนั เกดิ จากความศรทั ธา ซงึ่ แสดงในรปู แบบงานจติ รกรรม งานประตมิ ากรรม
และสถาปต ยกรรมไทย เชน วดั โบสถ วหิ าร พระสถปู เจดยี  พระพทุ ธรปู
ปางตา งๆ รวมถึงวรรณคดีทมี่ ีเนื้อหาอา งองิ เกย่ี วกบั คาํ สอนในพระพทุ ธ-
ศาสนา ซึ่งผลงานเหลานี้ถูกสรางสรรคขึ้นอยางสวยงาม ประณีต และ
มีคุณคาตอสังคมไทย จนกลายเปนสมบัติอันล้ําคาของประเทศชาติ
มาถึงปจ จบุ ัน
บริษัท สรา งสรรคส่อื เพ่อื การเรยี นรู (สสร.) จํากัด

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

 สถาปตยกรรมไทย วัดไชยวัฒนาราม  จิตรกรรมฝาผนังพระพทุ ธประวัติ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วัดพระยืนพุทธบาทยคุ ล จังหวัดอุตรดติ ถ

๔ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๓

๒ พุทธประวตั ิ
พระพทุ ธเจา มพี ระนามเดมิ วา สทิ ธตั ถะ เปน พระราชโอรสของพระเจา
สุทโธทนะ กษัตริยผูครองกรุงกบิลพัสดุ และพระนางสิริมหามายา
แหง ราชสกลุ โกลยิ วงศ กรงุ เทวทหะ เจา ชายสทิ ธตั ถะประสตู ิ ณ ลมุ พนิ วี นั
ใตตนสาละระหวางพรมแดนกรุงกบิลพัสดุและกรุงเทวทหะ เน่ืองจาก
พระองคเปนผูที่มีบุญบารมีมาก ตอนประสูติจึงเดินดวยพระบาทได
๗ กาว แตล ะกา วมดี อกบวั ผุดขน้ึ มารองพระบาทไวและทรงเปลง วาจาวาบรษิ ัท สรา งสรรคส่อื เพ่ือการเรยี นรู (สสร.) จํากดั

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

“เราเปนผูเลิศที่สุดในโลก ประเสริฐที่สุดในโลก การเกิดครั้งน้ีเปนชาติ
สดุ ทาย ภพใหมของเราไมมอี กี ตอไป”

เจาชายสิทธัตถะพร่ังพรอมไปดวยสิริราชสมบัติ เมื่อมีพระชนมายุ
๑๖ พรรษา ไดอ ภเิ ษกสมรสกบั พระนางยโสธรา (พมิ พา) พระราชธดิ าของ
พระเจากรุงเทวทหะ เม่ือเจาชายสิทธัตถะมีพระชนมายุ ๒๙ พรรษา
ไดเสด็จออกประพาสนอกพระราชวังและทอดพระเนตรเห็นคนชรา
คนเจบ็ ปว ยหนกั คนตาย และนกั บวช จงึ นาํ สงิ่ ทท่ี รงเหน็ มาพจิ ารณากพ็ บวา
มนุษยทกุ คนยอ มมเี กิด แก เจ็บ ตาย เปน ความทกุ ขท ไี่ มมีใครหลีกหนไี ด
พระองคจึงตัดสินพระทัยแนว แนท ี่จะเสด็จออกผนวช เพื่อหาหนทาง
พนทุกข ในคืนที่พระนางยโสธรา

บรษิ ทั สรา งสรรคส ือ่ เพือ่ การเรียนรู (สสร.) จาํ กดั

ประสูติพระโอรส พระองคจึงทรง.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU(SSR.)CO.,LTD
มากัณฐกะ โดยมีนายฉันนะ ตาม
เสดจ็ ออกจากพระราชวงั เมอื่ เสดจ็
มาถึงริมฝงแมนํ้าอโนมาก็ทรงใช
พระขรรคตัดพระเมาลี เปลี่ยน
เคร่ืองทรงมาครองผากาสาวพัสตร
และทรงอธษิ ฐานเปน นกั บวชนบั แตน น้ั  เจาชายสิทธัตถะทอดพระเนตรเห็นคนแก

คนเจบ็ คนตาย และนกั บวช (เทวทตู ๔)
ขณะเสด็จประพาสนอกพระราชวงั
สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.๓ ๕

๒.๑ การบําเพ็ญเพยี ร

หลังจากออกผนวชแลว พระองคไดศึกษาในสํานักอาจารย

อาฬารดาบสและอทุ ทกดาบส จนสาํ เรจ็ ความรขู นั้ สงู สดุ ของอาจารยท งั้ สอง

แตก็ยังไมสามารถตรัสรูได จึงหันมาบําเพ็ญเพียรดวยการทรมานตนเอง

ท่ีเรียกวา การบําเพ็ญทุกรกิริยา เปนระยะเวลา ๖ ป เพื่อจะไดตรัสรู

แตไ มส าํ เรจ็ ในทส่ี ดุ ทรงคน พบวา บรษิ ัท สรา งสรรคส ่อื เพอ่ื การเรยี นรู (สสร.) จาํ กดั

นน่ั ไมใ ชห นทางทถ่ี กู ตอ ง จงึ หนั มา .SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

ปฏบิ ตั ติ ามทางสายกลาง เรยี กวา

มชั ฌมิ าปฏปิ ทา เปน การบาํ เพญ็

เพยี รทไ่ี มเ ครง ครดั และไมย อ หยอ น

จนเกินไป

 ภาพจติ รกรรมฝาผนงั การบาํ เพญ็ ทกุ รกริ ยิ า
วัดพระยนื พทุ ธบาทยคุ ล จงั หวดั อุตรดติ ถ

๒.๒ ผจญมาร

เมอ่ื พระสทิ ธตั ถะทรงมพี ระชนมายไุ ด ๓๕ พรรษา ขณะทปี่ ระทบั
ใตต น พระศรมี หาโพธ์ิ ณ ริมฝงแมน้ําเนรัญชรา ตําบลอุรุเวลาเสนานิคมบริษัท สรางสรรคส่อื เพอื่ การเรียนรู (สสร.) จาํ กัด

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

(ปจ จบุ นั คอื พทุ ธคยา อาํ เภอคยา รฐั พหิ าร ประเทศอนิ เดยี ) พระองคท รง
ต้ังพระทัยแนวแนวาจะบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณในครั้งนี้ จึงไดต้ัง
สตั ยาธษิ ฐานวา “แมเ นอ้ื และเลอื ดในสรรี ะเราจะแหง เหอื ดไปหมดสนิ้ จะเหลอื
แตห นัง เอ็น กระดูกกต็ ามที หากเรายงั ไมบ รรลุพระสัมมาสัมโพธญิ าณ
ก็จักไมทําลายบัลลังกน ี้” หมายความวา พระองคจะไมลกุ จากทเ่ี ด็ดขาด

ฝา ยพญามารวสวตั ตลี ว งรถู งึ ความคดิ นน้ั จงึ คดิ ทจ่ี ะขดั ขวางทาํ ลาย
ความตงั้ ใจของพระองค และขณะทพ่ี ระองคป ระทบั นงั่ บาํ เพญ็ เพยี รทางจติ

๖๖ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.๓

ณ โพธบิ ลั ลงั กน นั้ พญามารไดน าํ กองทพั พญามารพรอ มดว ยศาสตราวธุ

จํานวนมากมุงหนามาขัดขวางไมใหพระองคไดตรัสรู และกลาวทวงวา

พระสิทธัตถะแยงบัลลังกที่ใตตนพระศรีมหาโพธิ์ของตนไป จึงเรียกรอง

ขอคนื แตพ ระองคไ มท รงหวน่ั ไหวในกองทพั พญามารแตอ ยา งใด กลบั ตรสั วา

บลั ลงั กน เ้ี กดิ ขน้ึ ดว ยบญุ ทที่ รงบาํ เพญ็ เพยี รมาตลอดเวลาอนั ยาวนาน โดย

มีพระแมธรณีเปนพยาน แลวทรงชี้นิ้วพระหัตถขวาลงพื้นดิน ทันใดนั้น

พระแมธรณีก็ผุดขึ้นมาจากผืน บริษทั สรางสรรคส่ือเพื่อการเรยี นรู (สสร.) จํากัด
แผน ดนิ เปน พยาน และบบี มวยผม
.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

จนเกดิ นาํ้ ไหลทว มเขา ใสก องทพั

พญามารจนพา ยแพ พระองคจ งึ

ไดพ ระนามวา พระผพู ชิ ติ มาร

 พระแมธ รณบี บี มวยผม ทาํ ใหเ กดิ นาํ้ ทว มกองทพั
พญามารพินาศไป

๒.๓ ตรสั รู

เมอื่ กองทพั พญามารไดพ า ยไปบรษิ ัท สรางสรรคส่อื เพ่ือการเรยี นรู (สสร.) จาํ กัด
.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

พระองคจึงบําเพ็ญเพียรตอจนกระทั่ง

ทรงบรรลธุ รรม รแู จง ในสจั ธรรมทง้ั ปวง

เปน พระสัมมาสัมพุทธเจา ผูตรัสรู

ไดดวยพระองคเองในตอนเชามืด

ตรงกบั วนั ข้นึ ๑๕ ค่าํ เดือน ๖ ประกา

กอ นพทุ ธศกั ราช ๔๕ ป  พระพทุ ธเจา ตรสั รใู ตต น พระศรมี หาโพธ์ิ
ณ ริมฝง แมน ํ้าเนรัญชรา

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๓ ๗

๒.๔ ปฐมเทศนา

เมอื่ พระองคไ ดต รสั รเู ปน พระพทุ ธเจา พระองคท รงตงั้ พระทยั ทจ่ี ะ

แสดงธรรมโปรดสตั วโ ลก ทรงพจิ ารณาถงึ ผทู จี่ ะเสดจ็ ไปโปรด โดยไดเ สดจ็ ไปยงั

อสิ ปิ ตนมฤคทายวนั เพอื่ แสดงพระธรรมเทศนา คอื ธมั มจกั กปั ปวตั นสตู ร

ซ่ึงกลาวถึงอริยสัจ ๔ ใหแกเหลาปญจวัคคียท้ัง ๕ คือ โกณฑญั ญะ

วปั ปะ ภทั ทยิ ะ มหานามะ และอัสสชิ ครั้งน้ันโกณฑัญญะไดบรรลุเปน
บริษัท สรา งสรรคส ่อื เพอ่ื การเรยี นรู (สสร.) จํากัด
พระโสดาบัน จึงทูลขออุปสมบท
.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

กับพระพุทธเจาเปนพระภิกษุ

รปู แรกในพระพทุ ธศาสนา ทําใหมี

พระรตั นตรัยครบ ๓ ประการ คอื

พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ

ในวนั เพญ็ ขน้ึ ๑๕ คา่ํ เดอื น ๘ และ

ในเวลาตอมาปญจวัคคียท่ีเหลือ

จึงไดทูลขออุปสมบทและบรรลุ

ธรรมเปน พระอรหนั ต  พระพุทธเจา แสดงพระธรรมเทศนา
แกเ หลา ปญจวคั คยี บรษิ ัท สรางสรรคสื่อเพ่ือการเรียนรู (สสร.) จํากดั

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

¤íÒÈѾ·¹ ‹ÒÃŒÙ
• ธมั มจักกปั ปวตั นสตู ร (ทาํ - มะ - จัก - กบั - ปะ - วดั - ตะ - นะ - สดู ) แปลวา พระสตู ร

วา ดวยการหมุนกงลอ คอื พระธรรม
• อริยสจั ๔ (อะ - ริ - ยะ - สดั - ส)่ี แปลวา ความจริงอนั ประเสริฐ ๔ ประการ ไดแ ก

ทุกข สมุทัย นโิ รธ มรรค
• มชั ฌมิ าปฏปิ ทา (มัด - ชิ - มา - ปะ - ติ - ปะ - ทา) แปลวา ทางสายกลาง

๘๘ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๓

๒.๕ ปรินพิ พาน

ปรินิพพาน หมายถึง การดับสนิท ดับจากกิเลสและกองทุกข
ทงั้ ปวง ซงึ่ เปน เหตกุ ารณส าํ คญั ทางพระพทุ ธศาสนาอกี วาระหนง่ึ คอื วนั ท่ี
พระพุทธเจา ไดเ สด็จดบั ขันธปรินพิ พานหรอื ละสังขารเขา สนู ิพพาน
หลังจากที่พระพุทธเจาไดเผยแผห ลักธรรมแกประชาชนเปน
เวลา ๔๕ ป เมอ่ื ถึงเวลาใกลจ ะเสดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ พิ พาน พระองคต รสั สงั่
ใหพ ระอานนทไ ปแจง ขา วปรนิ พิ พานบรษิ ทั สรางสรรคสอ่ื เพือ่ การเรยี นรู (สสร.) จาํ กัด
.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD
ใหเหลามัลลกษตั รยิ แ ละประชาชน
เมอื งกสุ นิ าราไดท ราบขา ว เมอ่ื ทกุ คน
ท ร า บ ขาวก า ร ป ริ นิ พ พ า น จ า ก
พระอานนทแ ลว เกดิ ความเศรา โศก
พ า กั น ม า เ ข  า เฝาที่ ด ง ไ ม  ส า ล ะ
สถานที่ที่พระองคไดประทับอยใู น
ขณะนน้ั
 พระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพานในเวลาใกลรุง
ของคืนวนั เพ็ญขึน้ ๑๕ คา่ํ เดือน ๖

ครง้ั นนั้ พระพทุ ธเจา จงึ ทรงแสดงปจ ฉมิ โอวาท คอื แสดงพระโอวาท
เปน ครั้งสดุ ทายวา “ภกิ ษุทงั้ หลาย บดั น้เี ราขอเตอื นทานทั้งหลาย สงั ขารบริษทั สรา งสรรคส ่ือเพอ่ื การเรียนรู (สสร.) จาํ กดั

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

ทงั้ หลายมคี วามเสอื่ มความสนิ้ ไปเปน ธรรมดา ทา นทงั้ หลายจงยงั กจิ ทง้ั ปวง
ทั้งประโยชนตนและประโยชนผูอ ื่น ใหบ ริบรู ณดวยความไมประมาทเถดิ ”

พระองคทรงมุงหมายใหทุกคนไมประมาทในการดํารงชีวิต ใหรีบ
ฝก ฝนอบรมตนเองสงั่ สมความดใี หไ ดม ากทส่ี ดุ กอ นทจ่ี ะหมดเวลาของชวี ติ
เมื่อพระองคตรัสโอวาทสุดทายแลวก็เสด็จดับขันธปรินิพพานในเวลา
ใกลรงุ ของคืนวนั เพญ็ ขึ้น ๑๕ คา่ํ เดอื น ๖ เม่อื พระชนมายุ ๘๐ พรรษา

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๓ ๙

๓ ศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบคุ คล
ทุกศาสนาลวนมีองคประกอบท่ีสงเสริมการดํารงอยูของศาสนา
ไดแก ศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคล ในแตละศาสนาลวนมี
ช่ือเรียกและใหความสําคัญแตกตางกันออกไป ศาสนิกชนควรรูจักทั้งชื่อ
และความสาํ คัญเพ่ือการปฏบิ ัตติ นท่ีถกู ตอ งเหมาะสม

๓.๑ ศาสนวตั ถุ บริษทั สรางสรรคส อ่ื เพือ่ การเรียนรู (สสร.) จํากดั
.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD
ศาสนวัตถุ หมายถงึ มกั เปนสง่ิ ท่ี
เคารพบชู า เชน วัตถทุ ีเ่ ก่ยี วขอ งกับศาสนาตางๆ

พระพทุ ธศาสนา ศาสนาครสิ ต ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาฮนิ ดู

 พระพุทธรปู  ไมก างเขน  หนิ ดําเมอื งมกั กะฮ  เทวรปู

๓.๒ ศาสนสถาน
บรษิ ัท สรางสรรคส อ่ื เพ่ือการเรยี นรู (สสร.) จาํ กัด

ศาสนสถาน หมายถึง สถานที่ที่สรางข้ึนเพื่อใชในการประกอบ.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU(SSR.)CO.,LTD
กจิ กรรมทางศาสนา เชน

พระพทุ ธศาสนา ศาสนาครสิ ต ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาฮนิ ดู

 วดั พระอุโบสถ  โบสถ  มัสยิด สุเหรา  เทวสถาน

๑๑๐๐ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.๓

๓.๓ ศาสนบคุ คล

ศาสนบคุ คล หมายถงึ ผเู ผยแผห ลกั ธรรมในศาสนาตอ จากพระศาสดา
หรอื นกั บวชในศาสนา เชน

พระพุทธศาสนา ศาสนาคริสต ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาฮนิ ดู

บรษิ ัท สรางสรรคสอื่ เพือ่ การเรียนรู (สสร.) จํากัด

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

 พระสงฆ  บาทหลวง  อิหมาม  พราหมณ

๓.๔ การปฏิบัติตนท่ีเหมาะสมตอศาสนวัตถุ ศาสนสถาน

และศาสนบคุ คล

ศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน และศาสนบคุ คล เปนส่งิ ทส่ี าํ คัญสาํ หรบั
ศาสนา นกั เรยี นควรประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นใหเ หมาะสม ทงั้ ศาสนาทตี่ นนบั ถอื
และศาสนาอ่ืน ดังนี้

๑) แสดงความเคารพตอ ศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบคุ คล
ของทกุ ศาสนา
บรษิ ทั สรางสรรคส ื่อเพอ่ื การเรียนรู (สสร.) จาํ กัด

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

๒) แตงกายใหสะอาด เรียบรอย และสวมใสเส้ือผาท่ีมีสีสุภาพ
เมอ่ื เขาไปในศาสนสถาน
๓) ปฏิบัติตนตามขอควรปฏิบัติ กฎระเบียบ หรือขอหามของ
ศาสนสถานแตล ะแหง อยางเครงครดั
๔) สาํ รวมกริ ยิ าวาจา ไมส ง เสยี งดงั ไมแ สดงอาการลบหลเู มอื่ เขา ไป
ในเขตศาสนสถาน
๕) ทาํ นบุ าํ รงุ ศาสนวตั ถแุ ละศาสนสถานใหอ ยใู นสภาพดอี ยูเสมอ

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๓ ๑๑

สรุป

พระพทุ ธศาสนามคี วามสาํ คญั ตอ คนไทยมาตง้ั แตอ ดตี ทงั้ ดา นการดาํ เนนิ
ชีวิตประจําวัน เชน การสวดมนตระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย การทําบุญ
ใสบาตร การแสดงความเคารพ และการใชภาษา ตลอดจนมีอิทธิพลตอการ
สรา งสรรคผ ลงานทางวฒั นธรรมทเี่ กดิ จากแรงศรทั ธา เชน วดั โบสถ พระพทุ ธรปู
ภาพวาด และรปู ปน ตา งๆ สะทอ นใหเ หน็ วา พระพทุ ธศาสนาเปน รากฐานสาํ คญั
ของวัฒนธรรมไทย

พระพทุ ธเจาเปนศาสดาของพระพทุ ธศาสนา มพี ระนามเดมิ วา สทิ ธตั ถะบริษัท สรา งสรรคส ่อื เพ่ือการเรียนรู (สสร.) จํากัด
.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

เม่ือทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ๔ ทรงตัดสินใจออกผนวช บําเพ็ญทุกรกิริยา
แลวยังไมสามารถตรัสรูได จึงกลับมาปฏิบัติตามทางสายกลาง ทําใหตรัสรูเปน
พระสัมมาสัมพุทธเจาไดในที่สุด เมื่อตรัสรูแลวก็ทรงเผยแผหลักธรรมคําสอน
อยา งตอเน่อื งจนกระท่ังเสดจ็ ดับขันธปรินิพพาน

ทุกศาสนาลวนมีศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคล มีช่ือเรียกที่
แตกตางกัน มีความสําคัญเปนองคประกอบท่ีสงเสริมการดํารงอยูของศาสนา
เราควรใหค วามเคารพและปฏบิ ตั ติ นอยา งเหมาะสมตอ ทกุ ๆ ศาสนา

กจิ กรรมการเรยี นรูเชิงรุก

บรษิ ทั สรางสรรคสื่อเพือ่ การเรยี นรู (สสร.) จํากดั

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

๑. ใหน กั เรยี นแบง กลมุ ยอ ยเพอื่ อธบิ ายความสาํ คญั ของพระพทุ ธศาสนาในฐานะ
ท่ีเปน รากฐานสําคัญของวฒั นธรรมไทย

๒. ใหนักเรียนจับคูเพื่อรวมกันสรุปพุทธประวัติตั้งเเตการบําเพ็ญเพียรจนถึง
ปรินพิ พานโดยสรปุ เปน เเผนผงั เเสดงลาํ ดับเหตกุ ารณ

๓. ใหน กั เรยี นชว ยกนั บอกชอ่ื ศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน และศาสนบคุ คลของศาสนา
ในสังคมไทย พรอมทั้งบอกความสําคัญเเละการปฏิบัติตนตอศาสนวัตถุ
ศาสนสถาน และศาสนบุคคลอยา งเหมาะสม

๑๑๒๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๓

คาํ ถามพัฒนาผเู รียน

๑. พระพทุ ธศาสนามอี ทิ ธพิ ลตอ การสรา งสรรคผ ลงานทางวฒั นธรรมไทยอยา งไร
๒. พระพทุ ธเจา ทรงเปน แบบอยา งในการดาํ เนนิ ชวี ติ ใหแ กน กั เรยี นไดอ ยา งไรบา ง
๓. เพราะเหตใุ ดนกั เรยี นจงึ ควรเรยี นรเู รอื่ งราว ศาสนสถาน ศาสนวตั ถุ และศาสนบคุ คล

ของศาสนาอน่ื ๆ
๔. หากนกั เรยี นไมป ฏบิ ตั ติ ามขอ ควรปฏบิ ตั ิ กฎระเบยี บบรษิ ทั สรางสรรคสอื่ เพอ่ื การเรยี นรู (สสร.) จํากัด หรอื ขอ หา มของศาสนสถาน

นักเรยี นคดิ วา จะเกิดผลดีหรือผล.เSRสANGSียANSUอEPHUยAKARาNRIงANRไUUร(SSRต.)COอ.,LTDตัวนักเรียนเอง
๕. นกั เรยี นคดิ วา ตนเองจะมสี ว นชว ยในการดแู ลศาสนวตั ถแุ ละศาสนสถานตา งๆ

ไดอ ยา งไรบาง

บริษทั สรางสรรคสอ่ื เพอ่ื การเรียนรู (สสร.) จาํ กดั

.SRANGSANSUEPHUAKARNRIANRUU (SSR.) CO.,LTD

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๓ ๑๓


Click to View FlipBook Version