The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงร่างงานวิจัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sitthikorn5773, 2022-12-12 03:04:38

โครงร่างงานวิจัย

โครงร่างงานวิจัย

Keywords: โครงร่างงานวิจัย

45

เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย

เครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ยั ครง้ั นี้ ประกอบด้วย
1. แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา

ประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการ
เรยี นรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ จำนวน 6 แผนการเรยี นรู้ รวม 12 คาบ คาบละ 50 นาที

2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของ
อาณาจักรอยุธยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ เป็น
แบบทดสอบปรนัยชนดิ 4 ตวั เลอื ก จำนวน 60 ข้อ ใช้ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น

3. แบบประเมินผลงาน/ชิ้นงานเชิงประจักษ์ รายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของ
อาณาจักรอยธุ ยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใชก้ ารจัดการเรยี นรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ

4. แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนทม่ี ตี ่อการจัดการเรียนรู้รปู แบบแสดงบทบาทสมมติ
5. แบบประเมินความพึงพอใจทีม่ ีตอ่ กิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชา
ประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้
รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)
ผวู้ จิ ยั ดำเนินการสร้างและวเิ คราะห์คณุ ภาพของเคร่ืองมือ ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี
แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา
ประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้
รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ จำนวน 6 แผนการเรียนรู้ รวม 12 คาบ คาบละ 50 นาที ผู้วิจัย
ดำเนินการสรา้ ง มขี นั้ ตอน ดงั น้ี
ขัน้ ตอนการสรา้ งเคร่ืองมือ
1. ศึกษาวิธีการสอนโดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ จากเอกสารและ
งานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้อง รวมทัง้ ขอคำแนะนำจากอาจารยผ์ ู้สอนสาขาวิชาหลกั สูตรและการสอน
2. ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จุดมุ่งหมายของ
หลักสูตรมาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นท่ีคาดหวงั และสาระการเรยี นรู้
3. วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น เพื่อกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และกำหนด
สาระการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ความคิดรวบยอด สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ จำนวน 6
แผนการเรยี นรู้ รวม 12 คาบ คาบละ 50 นาที ดงั น้ี

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 พัฒนาการของไทยสมัยอยุธยา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 พฒั นาการทางด้านเศรษฐกิจของอาณาจักรอยธุ ยา
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 การสรา้ งสรรค์ภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยุธยา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 วีรชนและบุคคลสำคัญสมยั อยธุ ยา


46

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 5 การสถาปนาอาณาจักรอยธุ ยา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 การเส่ือมอำนาจของอาณาจกั รอยุธยา
4. กำหนดจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ กระบวนการจดั การเรียนรู้และสื่อ กำหนดขน้ั ตอนการจดั
มการเรียนรู้ โดยใช้การจดั การเรียนรูร้ ูปแบบการแสดงบทบาทสมมติ 4 ข้ันตอน ดังน้ี
1. ขน้ั เตรยี มการ
2. ข้ันแสดง
3. ข้นั วิเคราะห์และอภิปราย
4. ขน้ั แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสรุป
5. นำผลการเรียนรู้ที่คาคหวังและสาระการเรียนรู้ จัดทำเป็นคำอธิบายรายวิชา จัดหน่วย
การเรียนรู้แล้วสร้างแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้รปู แบบการแสดงบทบาท
สมมติ สาระประวัติศาสตร์ จำนวน 6 แผนการเรียนรู้ รวม 12 คาบ คาบละ 50 นาที การเขียน
แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบการแสดงบทบาทสมมติ ประกอบด้วย
หัวขอ้ ดงั ตอ่ ไปนี้
1) มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั
2) จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวช้ีวดั
3) สาระสำคญั
4) สาระการเรียนรู้
5) ชิน้ งานหรือภาระงาน
6) การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
7) สื่อการเรียนรู้
8) การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้
6. นำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น ให้อาจารย์นิเทศก์ตรวจสอบความ
ถกู ต้อง จากนั้นผู้วจิ ัยไดน้ ำข้อเสนอแนะมาปรบั ปรุงแก้ไขตามข้อเสนอ
7. นำแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะของอาจารย์นิเทศก์ ไปให้
ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ที่มีประสบการณ์ ตรวจสอบคุณภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พิจารณาตรวจสอบความสอดคล้องของผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลแล้วนำมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC : (Index of
Item Objectives Congruence) จากนน้ั ผู้วิจัยไดน้ ำข้อเสนอแนะมาปรบั ปรุงแก้ไขตามข้อเสนอ
8. นำแผนการสอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปใช้ทดลองสอนกับ
นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ซ่งึ เป็นกลมุ่ ตวั อยา่ ง ในภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2566


47

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของ
อาณาจักรอยุธยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ เป็น
แบบทดสอบปรนัยชนดิ 4 ตัวเลือก จำนวน 60 ข้อ ใช้ทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี นผูว้ จิ ัยดำเนินการ
สร้าง มีขั้นตอน ดังน้ี

ขน้ั ตอนการสรา้ งเครอ่ื งมือ
1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องและทฤษฎีเกี่ยวกับหลักการวิธีการสร้างแบบทดสอบวัด
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน เทคนิควิธกี ารสร้างแบบทดสอบและวธิ ีการวิเคราะห์ข้อสอบ
2. ศึกษารายละเอียดของเนื้อหา และจุดประสงค์การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 4 : ประวัติศาสตร์ จากหนังสือคู่มือครูสาระการเรียนรู้
ประวตั ศิ าสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 เพอื่ สร้างตารางวิเคราะห์เน้อื หา ซึง่ มเี นอื้ หาย่อย คอื

1) พฒั นาการของไทยสมยั อยธุ ยา
2) พฒั นาการทางดา้ นเศรษฐกจิ ของอาณาจักรอยุธยา
3) การสร้างสรรคภ์ ูมปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยุธยา
4) วรี ชนและบคุ คลสำคญั สมัยอยุธยา
5) การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา
6) การเสอ่ื มอำนาจของอาณาจักรอยุธยา
3. สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน รายวชิ าประวัติศาสตร์ สำหรับนกั เรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิด
เลือกตอบ 4 ตวั เลือก จำนวน 77 ขอ้ แต่ต้องใชจ้ ริง 60 ขอ้ โดยให้สอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรียนรู้
และครอบคลมุ เน้ือหาของบทเรยี น
4. นำแบบทดสอบที่สร้างขึ้นไปให้อาจารย์นิเทศตรวจสอบความถูกต้อง แล้วนำมาให้
ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) โดยหาดัชนีความสอดคล้องระหว่าง
ข้อสอบกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ IOC : (Index of Item Objectives Congruence) คัดเลอื กขอ้ สอบ
ทผี่ ่านเกณฑ์ ทมี่ คี ่าดชั นคี วามสอดคลอ้ งต้งั แต่ 0.50 ขนึ้ แลว้ นำข้อบกพรอ่ งต่าง ๆ ไปปรบั ปรุงแกไ้ ข
การพิจารณาความเที่ยงตรงด้านเน้ือหาของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้
คะแนนของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดหาค่าเฉลี่ยแล้วเทียบเกณฑ์ โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน IOC : (Index
of Item Objectives Congruence) ดังนี้
ให้ +1 คะแนน เม่อื แนใ่ จว่าขอ้ สอบนั้นวดั ตามผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวงั
ให้ 0 คะแนน เมอื่ ไมแ่ นใ่ จว่าขอ้ สอบน้ันวดั ตามผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวัง
ให้ -1 คะแนน เมอื่ แน่ใจว่าขอ้ สอบน้ันไมว่ ัดตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง


48

7. นำแบบทดสอบท่ีผ่านการตรวจสอบจากผ้เู ชย่ี วชาญ ไปทดลองใช้ (Try out) กับนักเรยี น
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนปัญญาวรคุณ ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2566 จำนวน 35 คน ที่ผ่าน
การเรยี น เรอ่ื ง พัฒนาการของอาณาจกั รอยธุ ยามาแล้ว

8. นำผลการทดสอบที่ได้มาวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบรายข้อทั้งฉบับ โดย
คำนวณหาค่าความยากงา่ ย (p) และคา่ อำนาจจำแนก (r) ของแบบทดสอบ

9. นำผลคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์แบบทดสอบรายข้อ เพื่อหาค่าความยากง่าย โดยใช้วิธี
ของ Brennan.1955 (อ้างถึงใน ไพศาล วรคำ, 2558,หน้า 306) และทำการเลือกข้อสอบที่มีค่า
อำนาจจำแนก (B) อยู่ระหว่าง 0.20 ขึ้นไป โดยคัดเลือกข้อสอบทเ่ี ขา้ เกณฑ์เหลือ 60 ขอ้

10. นำแบบทดสอบที่ผา่ นการตรวจสอบค่าอำนาจจำแนก มาวิเคราะห์คา่ ความเช่ือมันของ
แบบทดสอบท้ังฉบับแบบอิงเกณฑ์ที่อาศัยแนวคิดการวัดความสอดคล้องภายในของแบบสอบ โดยใช้
สตู รของ Lovett Method (อา้ งถึงใน ไพศาล วรคำ, 2558,หนา้ 292)

11. นําแบบทดสอบไปเก็บข้อมูลกับกลุ่มตวั อย่างในการวิจัย ซง่ึ ข้อสอบเป็นแบบปรนัยชนิด
เลอื กตอบ 4 ตัวเลอื ก จํานวน 1 ชุด จํานวน 60 ขอ้ โดยมีเกณฑ์การใหค้ ะแนน ดังน้ี

ตอบถกู ให้ 1 คะแนน ตอบผดิ ให้ 0 คะแนน

แบบประเมินผลงาน/ชิ้นงานเชิงประจักษ์ รายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของ
อาณาจักรอยุธยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ ผู้วิจัย
ดำเนินการสรา้ ง มีขัน้ ตอน ดังนี้

ขน้ั ตอนการสร้างเครอื่ งมอื
1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบประเมินผลงาน/ชิ้นงานเชิง
ประจักษ์
2. กำหนดรายการประเมนิ ทค่ี รอบคลุมผลงานในทกุ ๆ ด้าน
3. นำแบบประเมินผลงาน/ชิ้นงานเชิงประจักษ์ให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่านตรวจสอบ
คณุ ภาพของเคร่ืองมือ และทำการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหวา่ งเน้ือหากับจุดประสงค์ (Index of
Item-Objective Congruence หรือ IOC) ได้ค่าอยู่ระหว่าง 0.80 – 1.00 แสดงว่าเครื่องมือมีความ
ถกู ต้อง เหมาะสมทางภาษา รายการประเมินครอบคลุมผลงานในทุก ๆ ดา้ น
4. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขขอ้ คำถามตามท่ีผ้เู ชี่ยวชาญเสนอแนะ
5. นำแบบประเมนิ ผลงาน/ชิ้นงานเชงิ ประจักษ์ทป่ี รบั ปรุงแลว้ จดั พิมพ์ทำเปน็ ฉบับสมบูรณ์
และนำไปใช้ เพอ่ื เก็บรวบรวมขอ้ มูลต่อไป


49

แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ มี
ลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยสังเกตพฤติกรรม
ของนักเรียน จำนวน 1 ฉบบั ผู้วจิ ัยดำเนินการสรา้ งดังมีข้นั ตอน ดงั นี้

ขนั้ ตอนการสรา้ งเครอ่ื งมือ
1. ศึกษาหลักการสร้างแบบแบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน จากเอกสารการวัดและ
ประเมินผลตา่ ง ๆ
2. สร้างแบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 4
ระดบั ข้อคำถามจำนวน 5 ข้อ โดยกำหนดค่าระดับความพึงพอใจ/ความคิดเหน็ แตล่ ะช่วงคะแนนและ
ความหมาย ดังนี้
ระดับ 1 หมายถงึ พฤติกรรมอยู่ในระดบั ควรปรบั ปรงุ
ระดับ 2 หมายถงึ พฤติกรรมอย่ใู นระดบั ปานกลาง
ระดับ 3 หมายถงึ พฤติกรรมอยู่ในระดับสงู
ระดับ 4 หมายถงึ พฤติกรรมอยู่ในระดับสูงมาก
3. นำแบบสังเกตพฤติกรรมให้ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา
(Content Validity) ภาษาที่ใช้และการประเมินที่ถูกต้อง และนำมาหาค่าดัชนีความสอดคล้องของ
เครือ่ งมอื IOC : (Index of Item Objectives Congruence) โดยกำหนดเกณฑก์ ารพจิ ารณา คอื
ใหค้ ะแนน = + 1 หมายถงึ เหมาะสม สอดคล้องตรงกบั วตั ถุประสงค์
ให้คะแนน = 0 หมายถงึ ไม่แน่ใจ มคี วามสอดคล้องวัตถปุ ระสงค์
ให้คะแนน = -1 หมายถึง ไม่สอดคล้องไมต่ รงกับวัตถปุ ระสงค์
การวิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมสอดคล้องของแบบสอบถามความคิดเห็น โดยใช้ดัชนี
ความสอดคล้อง IOC : (Index of Item Objective Congruence) นำข้อมูลที่รวบรวมจากความ
คิดเห็นของผ้เู ช่ยี วชาญ มาคำนวณหาค่า IOC โดยใชด้ ัชนีความสอดคลอ้ ง (Index of Item Objective
Congruence) ของผู้เชี่ยวชาญ มาคำนวณค่าดัชนีความสอดคล้อง แล้วเลือกค่าดัชนีความสอดคล้อง
ตง้ั แต่ 0.5 ขึน้ ไป
4. นำแบบสังเกตพฤติกรรมที่ปรับปรุงแล้ว นำเสนอผู้เชี่ยวชาญ เพื่อใช้ในการสังเกต
พฤติกรรมการเรียนของนกั เรียน ในระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนปัญญาวรคุณ ภาคเรยี นที่ 1 ปี
การศึกษา 2566 จำนวน 35 คน


50

แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา
ประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้
รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ผู้วิจัยดำเนินการสร้าง มี
ข้นั ตอน ดงั น้ี

ขน้ั ตอนการสร้างเครือ่ งมือ
1. ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ จากตำรา และเอกสารต่าง ๆ เพ่ือเป็น
แนวทางในการสรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจผู้วจิ ัยเลือกแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตาม
วิธีของลิเคิร์ท (Likert) (อ้างถึงใน บุญชม ศรีสะอาด.2556) ระดับความพึงพอใจของแบบสอบถาม มี
ดังน้ี
5 คะแนน หมายถึง มคี วามพึงพอใจในระดบั มากทสี่ ุด
4 คะแนน หมายถงึ มคี วามพึงพอใจในระดับมาก
3 คะแนน หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดับปานกลาง
2 คะแนน หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดับนอ้ ย
1 คะแนน หมายถึง มคี วามพงึ พอใจในระดับน้อยทสี่ ดุ
2. สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา
ประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้
รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ แบบมาตรส่วนประมาณคา่ 5 ระดบั จำนวน 10 ข้อ
3. นำแบบสอบถามความพึงพอใจที่สร้างเสร็จแล้วไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน
ตรวจสอบความถูกต้อง ความชัดเจนของข้อความ ภาษาและประเมินคุณภาพ โดยใช้มาตรประมาณ
ค่า 5 ระดบั ของลิเคริ ์ท (Likert) (อา้ งถงึ ใน บุญชม ศรสี ะอาด.2556) ระดับคุณภาพของแบบสอบถาม
ความพึงพอใจ มีดงั น้ี
5 คะแนน หมายถงึ แบบสอบถามความพึงพอใจมคี วามเหมาะสมมากท่สี ดุ
4 คะแนน หมายถึง แบบสอบถามความพงึ พอใจมคี วามเหมาะสมมาก
3 คะแนน หมายถงึ แบบสอบถามความพงึ พอใจมคี วามเหมาะสมปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง แบบสอบถามความพึงพอใจมคี วามเหมาะสมนอ้ ย
1 คะแนน หมายถึง แบบสอบถามความพึงพอใจมีความเหมาะสมนอ้ ยทส่ี ุด
4. นำแบบสอบถามความพึงพอใจที่ปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้ (Try out) กับนักเรียนท่ี
เรียนรายวิชาประวัติศาสตร์ ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย จำนวน 30 คน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนปัญญาวรคุณ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566
5. หาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการการการเรียนรู้ตาม
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา โดยใช้การ


51

จัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท้ังฉบับคำนวณ โดยใช้สูตร
สัมประสิทธ์ิ แอล ฟา (บุญชม ศรีสะอาด.2556: 99-101)

6. นำแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการการการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา โดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดง
บทบาทสมมติ ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ฉบับท่ีสมบูรณ์ไปใช้กับกลุ่มตวั อย่างจรงิ

การเก็บรวบรวมขอ้ มลู

แบบแผนท่ีใช้ในการวจิ ยั ในคร้ังน้ี คอื แบบกลุ่มเดย่ี วมีการวัดก่อนและหลังใช้ทดลอง (One
Group Pretest – Posttest Design) รายละเอียด ดงั ตารางท่ี 3.2

ตารางท่ี 3.2 แบบแผนของการวจิ ัยแบบ One-Group Pretest-Posttest Design
ทดสอบกอ่ นเรยี น การจดั การเรยี นร้แู บบแสดง ทดสอบหลงั เรียน
บทบาทสมมติ
T1 X T2

ผวู้ ิจัยดำเนนิ การเก็บขอ้ มูล โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ ดงั นี้
1. ระยะกอ่ นการทดลอง

ในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา
ประวัติศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปญั ญาวรคุณ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โดยใช้ระยะเวลาในช่วง 1
– 31 พฤษภาคม 2566 ในการศึกษาข้อมลู ปัญหาทต่ี ้องการวจิ ัย ผวู้ จิ ัยดำเนนิ การ ดังนี้

1.1 มีหนังสือขออนุญาตผู้อำนวยการโรงเรียนในการดำเนินการวิจัยกับนักเรียน
มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรยี นปญั ญาวรคณุ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566

1.2 ขออนุญาตผู้ปกครอง เพื่อใหน้ ักเรยี นเข้าร่วมเป็นกลุ่มตวั อย่าง
1.3 ชแ้ี จงวัตถปุ ระสงค์ ระยะเวลา และเตรียมตัวในการเขา้ รว่ มเปน็ กลุ่มตวั อยา่ ง
1.4 ทดสอบก่อนเรียนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาประวัติศาสตร์ จำนวน 60
ขอ้ ใช้เวลา 1 คาบเรียน จำนวน 50 นาที
2. ระยะทดลอง
ในงานวิจัยนี้ใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน
ปัญญาวรคุณ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 35 คน ซึ่งได้มาโดยกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม
เด่ียว (One Group Pretest – Posttest Design) เพื่อดำเนินการจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาท


52

สมมติ (Role Playing) ใช้ระยะเวลาในการทดลอง 1 สิงหาคม – 16 กนั ยายน 2566 ผวู้ ิจัยดำเนนิ การ
ดงั นี้

2.1 ช้ีแจงใหน้ กั เรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ของการทดลอง และขอความร่วมมือในการ
ทดลอง เพื่อให้ได้ผลตามสภาพความเป็นจริงจากนั้นอธิบายถึงข้อตกลงในการจัดการเรียนรู้รูปแบบ
แสดงบทบาทสมมติ (Role Playing)

2.2 ดำเนนิ การจัดการเรียนรู้ตามแผนจัดการเรียนรู้รปู แบบแสดงบทบาทสมมติ (Role
Playing) สำหรับนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2566

2.4 ระหว่างนักเรียนกำลังศกึ ษาและทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามขนั้ ตอน และกระบวนการ
เรียนการจัดการเรียนรู้ตามแผนจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) ผู้วิจัยจะ
ดำเนินการสังเกตทักษะการปฏิบัติของผู้เรียน เพื่อศึกษาความสามรถด้านทักษะ โดยใช้แบบประเมนิ
ด้านทักษะ กำหนดประเด็นตา่ ง ๆ ทต่ี อ้ งการวดั อยา่ งชดั เจน พร้อมทง้ั หลังจากท่ีนักเรียนได้ศึกษาและ
ทำกิจกรรมตามดำเนินการจัดการเรียนรู้ตามแผนจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role
Playing) แล้วประมาณ 3 ชั่วโมง

2.5 จากน้ันผู้วิจัยได้ให้เวลาแก่นักเรียนได้ศึกษาและทำกิจกรรมต่าง ๆ ตามขั้นตอน
และกระบวนการเรียนการจัดการเรียนรู้ตามแผนจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role
Playing) โดยใช้เวลาประมาณ 3 สัปดาห์ ซ่ึงผู้วิจัยกำหนดให้นักเรียนส่งชิ้นงานที่ได้จากการ
ดำเนินการจัดการเรียนรู้ตามแผนจดั การเรยี นรู้รปู แบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing)

2.6 ผู้วิจัยได้ตรวจสอบและประเมินผลการส่งชิ้นงานของนักเรียน และประเมินชิ้นงาน
ตามแบบประเมินท่ีได้ออกแบบไว้

3. ระยะหลังการทดลอง
เมื่อสิ้นสุดการจัดการเรียนรู้ตามแผนจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role

Playing) ผู้วิจัยไดท้ ําการทดสอบ และประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจดั การเรียนรู้ (Post Test)
นักเรียนกลุ่มตัวอย่างอีกครั้ง โดยใช้ระยะเวลาในการทดลอง 16 - 27 กันยายน 2566 ผู้วิจัย
ดำเนนิ การ ดงั นี้

3.1 เมื่อดำเนินการจัดการเรยี นร้ตู ามแผนการจัดการเรียนรู้รปู แบบแสดงบทบาทสมมติ
(Role Playing) เรียบร้อยแล้วทำการประเมินด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งเป็นชุด
เดยี วกนั กบั แบบทดสอบก่อนเรยี น ใชร้ ะยะเวลา 1 สปั ดาห์

3.2 นำผลที่ได้จากการทำแบบทดสอบหลังเรียน ไปวิเคราะห์ข้อมูล และพร้อมทั้งนำ
แบบประเมินด้านทกั ษะ และดา้ นเจตคติไปวิเคราะห์ เพอ่ื ศึกษาและมาวิเคราะหผ์ ลท้ัง 3 ด้าน

3.3 เก็บข้อมูลจากการประเมินคุณภาพแบบการจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาท
สมมติ (Role Playing) ประเมินคณุ ภาพ โดยผเู้ ช่ยี วชาญและนำขอ้ มลู ทีไ่ ด้มาวิเคราะหผ์ ล


53

3.4 เก็บคะแนนจากการวัดคุณลักษณะทั้ง 3 ด้านของนักเรียนจากการใช้การจัดการ
เรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา
ประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน
ปัญญาวรคณุ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2566

3.3 เกบ็ ข้อมลู จากการประเมินผลงานของนักเรียนทีผ่ ่านการจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดง
บทบาทสมมติ (Role Playing) ซ่งึ ผลการประเมินผลงานอยู่นดลุ พินิจของอาจารย์ผสู้ อนและผู้วจิ ยั

3.4 ให้นักเรียนทำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ด้วยการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) นำขอ้ มูลทไี่ ด้มาวเิ คราะหผ์ ล

การวิเคราะห์ขอ้ มูล

ในการวิเคราะห์ข้อมูลการจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปัญญาวรคุณ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้วิจัย
ดำเนนิ การ โดยใช้โปรแกรมสาํ เรจ็ รปู ทางสถิตสิ ำหรบั ข้อมลู ทางสงั คมศาสตร์ ตามขัน้ ตอน ดงั น้ี

1. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางเรียนในรายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของ
อาณาจักรอยุธยา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาท
สมมติ (Role Playing)

2. นำคะแนนจากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้การ
จัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) รายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการ
ของอาณาจักรอยุธยา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มาหาค่าเฉลี่ย ( x̅) และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.)

3. นำคะแนนค่าเฉล่ียมาเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้การจดั การ
เรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) รายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่องพัฒนาการของ
อาณาจักรอยุธยา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ไปทำการทดสอบค่า (t-test Dependent
Samples) (ไพศาล วรคำ, 2558, น. 349)

4. หาประสทิ ธภิ าพของการจัดการเรยี นรู้รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) ตาม
เกณฑม์ าตรฐาน ซึ่งกำหนดไว้ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 70

5. การทดสอบสมมติฐานจุดประสงค์การเรียนรู้ทั้ง 3 ด้านหลังการใช้การจัดการเรียนรู้
รูปแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา
ประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา วิเคราะห์โดยการใช้ค่าเฉลี่ย ( x̅) และค่า
เบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)


54

6. ประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการเรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบแสดงบทบาท
สมมติ (Role Playing) รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ เรอ่ื ง พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 ใช้การแปลค่าแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหา
ค่าเฉล่ีย ( x̅) และคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.)


55

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรงุ เทพมหานคร: ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

กรรณิการ์ ถีราวุฒิ. (2560). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจในการจัดการ
เรียนการสอน รายวิชา 0109431 นิทานสุภาษิตจีน โดยใช้บทบาทสมมุติ ของนิสิต
หลักสูตรวิชาภาษาจีน ช้ันปที ่ี 3. มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ อินทนิลทักษณิ สาร.

กันต์กนิษฐ์ พลพิพัฒน์. (2560). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการแก้โจทย์ปัญหา

คณิตศาสตรข์ องนกั เรียนโดยใช้กลวิธี STAR. วิทยานพิ นธ์ ปรญิ ญาครศุ าสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั ราํ ไพพรรณี.
กาญจนา คณุ ารกั ษ.์ (2558). พน้ื ฐานการพฒั นาหลกั สตู ร. นครปฐม: โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั ศิลปากร.
จันทิมา เมยประโคน. (2555). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจในการเรียน
วชิ าศลิ ปะ เรอื่ ง การสรา้ งสรรค์จากเศษวัสดุ ของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 ที่เรียน
ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (ศิลปศึกษา). กรุงเทพฯ:
บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร.
ชญาภา ลอื วรรณ. (2560). การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน โดยใชก้ ารแสดงบทบาทสมมติ
เรื่อง การเสนอขายและการสาธิต ในรายวิชาการขาย 2 รหัสวิชา 2200 – 1005 ของ
นักศึกษาสาขาวิชาพณิชยกรรม ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ห้อง 2.
ปริญญาตรี บริหารธรุ กจิ บัญฑติ มหาวทิ ยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
ณฐมน จันทร์เพ็งเพ็ญ. (2560). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาจีน โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติ.
วิทยานพิ นธ์ ปริญญาครศุ าสตรม์ หาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ณัฐชญา บุปผาชาติ. (2561). การใช้กิจกรรมบทบาทสมมติเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ
เพื่อการสื่อสารสำหรับนักเรยี น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ อำเภอ
สามพราน จังหวัดนครปฐม. การค้นคว้าอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
สอนภาษาองั กฤษ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ณฐั สดุ า สภุ ารตั น์. (2562). ความสามารถในการพูดภาษาญ่ีป่นุ และเจตคตติ ่อการจัดการเรยี นรู้ด้วย
วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสาร
บัณฑิตศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร.
ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิภาพ. (พิมพ์คร้ังท่ี 18). กรงุ เทพมหานคร: สานกั พิมพ์จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.


56

นงลักษณ์ เขียวมณี. (2562). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยวิธีการจัดการเรียนรู้เเบบใช้
โครงงานเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย
อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

บวั ลักษณ์ เพชรงาม. (2562). การใช้กิจกรรมบทบาทสมมติในวรรณคดี เรอ่ื ง ขุนช้างขุนแผน ตอน
ขนุ ชา้ งถวายฏีกา เพ่อื เสรมิ สรา้ งความสามารถในการเขียนสรุปความตามแนวการสอน
ภาษาแบบองค์รวม. วิทยานิพนธ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงทพฯ: สุรี
วิทยาศาสน.

บุษกร พงษ์ชวลิต. (2538). ความพึงพอใจของผู้บริการต่อบริการทางแพทย์ของโรงพยาบาลพนัส
นิคม จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
บรู พา.

ผุสดี แสงหลอ่ . (2555). ศกึ ษาความพงึ พอใจของผู้ปกครองต่อการบริหารงานของโรงเรียน สวนป่า
อุปถัมภ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. งานนิพนธ์
การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
บูรพา.

พรรณี ช. เจนจติ . (2550). จิตวิทยาการเรยี นการสอน. นนทบรุ ี: ศนู ย์สง่ เสริม วชิ าการ.
พัชริยา แก่นสา. (2555). ความพึงพอใจของผู้ปกครองที่มีการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยใน

โรงเรียน กลุ่มเครือข่าย ตำบลวังทอง สังกัดสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา
สระแก้ว เขต 1. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะ
ศกึ ษาศาสตรม์ หาวิทยาลยั บรู พา.
พัทธนันท์ อึ้งรัก. (2556). ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนปากคลองบางขนาก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ฉะเชงิ เทรา เขต 1. งานนพิ นธก์ ารศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะ
ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา.
ไพโรจน์ คะเชนทร์. (2556). การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก:
http://www.wattoongpel.com/.
ไพศาล วรคำ. (2558). การวจิ ยั ทางการศึกษา. (พิมพ์คร้งั ที่ 7). มหาสารคาม: ตกั สลิ าการพิมพ์.


57

มัสทนา ตุ่มอ่อน. (2557). การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนภูกระดึงวิทยาคม โดยใช้รูปแบบการสอน 4
MAT รายวิชา ส23101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. วิทยานิพนธ์ ปริญญา
มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ .

ยุทธพล เติมสมเกตุ. (2563). การนำนโยบายการเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติ ใน
กองบัญชาการตำรวจนครบาล สายงานป้องกันและปราบปราม. ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญา
ดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราช วิทยาลยั .

รสริน พันธ.ุ (2550). ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ี
ได้รับการสอนตามหลักการเรียนเพ่ือรอบรู้โดยใชข้ องเล่นเชิงวิทยาศาสตร.์ วิทยานิพนธ์
ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม.่

ฤทธิชัย แสนกลาง. (2561). ความพึงพอใจในการเรียนวิชาศิลปะประดิษฐ์ ของนักเรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2561 โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย. รายงาน
การวิจยั โรงเรยี นปิยะมหาราชาลยั .

แววดาว บุญตา. (2558). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนและ

ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 คณะช่าง
อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ ที่จัดกิจกรรมเรียนแบบ
ร่วมมือ. วิจัยในชั้นเรียน ปริญญาตรี ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) สาขาอุตสาหกรรม
ศึกษา สถานศึกษาท่สี งั กดั วิทยาลัยเทคโนโลยพี ายพั และบรหิ ารธุรกิจ.
ศิริชยั กาญจนวาส.ี (2556). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม. (พิมพ์ครง้ั ที่ 7). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.
ศิริพรรณ ประจงกิจ. (2555). ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อการจัดการศึกษาของ
โรงเรยี นอนบุ าลเกาะจันทร์ สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชลบุรี เขต
2. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั บูรพา.
ศุภกร แก้วละเอียด. (2558). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของ
วทิ ยาลยั รัตภูมิ. รายงานการวจิ ัย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั .
สมุทร ชํานาญ. (2556). การวิจัยทางการบริหารการศึกษา. ชลบุรี: ศูนย์นวัตกรรมการบริหารและ
ผูน้ าํ ทางการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา.
สุชาดา เนตรฉัยยา. (2555). ความพงพอใจของผู้ปกครองที่มีต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียน
อนุบาลภาสินี จังหวัดสมุทรปราการ. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชา การ
บริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา.


58

สุวรรณโณ ยอดเทพ. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียน
วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการสอนแบบการสืบเสาะหา
ความรู้แบบ 5 Es. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสตู รและ
การสอน มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่.

อดิศักดิ์ หวังจิตต์. (2556). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ประวัติศาสตร์ไทย ของ
นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 ที่สอนด้วยวิธีการบรรยาย และวิธีการสอน
โดยใชบ้ ทบาทสมมต.ิ รายงานวิจัย วทิ ยาลัยเทคโนโลยปี ญั ญาภวิ ัฒน.์

อรพิน แกน่ บดุ ดี. (2556). ผลการใชว้ ิธสี อนแบบบทบาทสมมติ เรือ่ ง หลักประชาธปิ ไตย กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ที่มีต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3. วารสารราชพฤกษ์.

อัจฉรา บุญชุม และ รัฐลักษณ์ พิทักษ์จักรพิภพ. (2559). คู่มือการประเมินความพึงพอใจและไม่พึง
พอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กรมควบคุมโรค. นนทบุรี: สำนักพิมพ์
อักษรกราฟฟิคแอนดด์ ีไซน์.

Bloom, B. S. (1976). Human characteristics and school learning. New York: McGraw-
Hill.

Bonwell, C.C., &Eison, J.A. (1991). Active Learning: Creating excitement in the
classroom, Washington, D.C.: The George Washington University.

Eysenck H.J., W. Arnold and R. Meili. (1 9 7 2 ) . Encyclopedia of Psychology Vol. 1 .
London : Herder And Herder.

Harmer, J. (1984). The Practice of English Language Teaching. London: Longman.
Harper-Whalen, Susan., & Morris, S. (2005). Using a role-play activity in training. In:

Training Solutions 9, 1-4. Journal of Language Teaching and Research( Vol.
8, No. 5, ), 863-870.
Herzberg, F. et al. (1959). The Motivation to work. New York: John Wiley and Sons.
Hopkins and Antes. (1 9 9 0 ) . “ As a tool of curriculum development consisting of
continuous feedback that targets specific problems in a particular school
setting,” International Congress on Mathematics Education. 6(3) : 152-159 ;
October.
Ladousse, Gillian. (1987). Role Play. Oxford : Oxford University Press.
Letheridge, S., and Common, C.R., eds., 1980. Bilingual education: Teaching English
as a second language. New York: Prager.


59

Littlewood (1981) ; Ments (1989). Communicative Teaching. Cambridge: Cambridge
University.

Littlewood, William. (1981). Communication Language Teaching. Cambridge:
Cambridge University Press.

Maslow, Abraham. (1970). Motivation and Personnality. New York: Harper and Row.
McClelland, D. C. (1975). Business drive and national achievement. New York: D.Van

Nostrand.
Ments, Van Morry. (1986). The Effective Use of Role Play : Practical Techniques for

Improving Larning. Londom : Kogan Page.
Millet. (1954). Management in the Public Service. The quest for effective

performance. New York: McGraw-Hill Book.
Morse. N. C. (1953). Satisfactions in the White Collar Job. Michigan : University of

Michigan Press.
Nunan (2003). Nine Steps to Leaner Autonomy. In Nunan, D. [Ed.]. Practical English

Language Teaching. New York. McGraw Hill.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1988). SERVQUAL: A multiple-item

scale for measuring consumer perceptions of service quality. Journal of
marketing 64, Spring: 12-40.
Paulston, C. B., and Bruder M. (1976). Teaching English as a Second Language:
Techniques and Procedure. Massachusetts: Wintrop Publishers.
Pearce, J.A & Robinson, R.B. (2000). Strategic management. NJ : McGraw-Hill.
Prescott, Daniel A. (1961). Education Bullentine. Bangkok: Faculty of Education, 1961.
Revelle, W. (1979). Hierarchical Cluster Analysis And The Internal Structure Of
Tests. Multivariate Behavioral Research, 14(1), 57-74.
Richards (2008). Second Language Teacher Education Today. Bangkok: STOU.
Richards, J. C., & Rodgers, T. S. (2 0 0 2 ) . Approaches and Methods in Language
Teaching. Cambridge: Cambridge University Press.
Skinner, B. F. (1989). The Origins of Cognitive Thought Recent Issues in the Analysis
of Behavior. New York: Merrill Publishing.
Steers, M. R.(1991). Introduction to Organizational Behavior. 4th ed. New York:
Harper.


60

Tayler, John L. and Walford, Rex. ( 1996) . Simulation in the classroom. Middlesex,
Marmonsworth : Penguin book.

Wallerstein, Harvey. (1971). Dictionary of Psychology. Maryland : Penguin Book Ine.
Whitehead, Alfred N. (1967). The Aims of Education and other Essay. New York: The

Free press.
Wolman, B. B. (1973). Dictionary of Behavioral Science. London: Litton Educational.
Woodward, Christel A. and Chamber, Larry W. (1991). Guide to Queastionaire

Construction and Question writing The Canadian Public Health
Association”.
Xiao Haozhanng (1997). "Tape Recorders.Role Play and Turn Takingin Largo EFL
ListeningandSpeakingClass."RetrievedApril25,2018from
http://exchanges.gov/forum/Vols/vol35/no3/p33.html.


Click to View FlipBook Version