The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanutchaphon1985, 2022-05-26 02:43:52

an_super_2019

an_super_2019

รูปแบบเทคโนโลยีกงั หนั ลม 7. ระบบเบรค เป็นระบบกลไกเพ่ือใชค้ วบคมุ การหยุด 49
หมนุ ของใบพดั และเพลาแกนหมนุ ของกงั หนั เม่ือไดร้ บั ความเร็ว
บรษิ ัทใชก้ งั หนั ลมแบบแนวแกนนอน (Horizontal Axis ลม เกินความสามารถของกังหนั ท่ีจะรบั ได้ และในระหว่างการ
Turbine (HAWT)) เป็นกงั หนั ลมท่ีมีแกนหมนุ ขนานกบั ทิศทาง ซอ่ มบารุงรกั ษา
ของลมโดยมีใบพัดเป็นตัวตงั้ ฉากรบั แรงลม มีอุปกรณ์ควบคุม
กงั หนั ใหห้ นั ไปตามทศิ ทางของกระแสลม เรียกวา่ หางเสือ และมี 8. แกนคอหมนุ รบั ทิศทางลม เป็นตวั ควบคุมการหมุน
อปุ กรณ์ปอ้ งกันกังหนั ชารุดเสียหายขณะเกิดลมพัดแรง เช่น ลม หอ้ งเคร่อื ง เพ่ือใหใ้ บพดั รบั ทศิ ทางลมโดยระบบอิเลคทรอนิคส์ ท่ี
พายแุ ละตงั้ อย่บู นเสาท่แี ข็งแรง กงั หนั ลมแบบแกนนอน เช่ือมตอ่ ใหม้ ีความสมั พนั ธ์ กบั หางเสือรบั ทศิ ทางลมท่ีอย่ดู า้ นบน
ส่วนประกอบของกงั หนั ลมเพ่ือผลติ ไฟฟา้ ของเคร่อื ง

1. ใบพดั เป็นตวั รบั พลงั ลมและเปล่ียนใหเ้ ป็นพลงั งาน 9. เคร่ืองวดั ความเร็วลมและทิศทางลม ซ่ึงเช่ือมต่อ
กล ซ่งึ ยดึ ตดิ กบั ชดุ แกนหมุนและส่งแรงจากแกนหมนุ ไปยงั เพลา สายสัญญาณเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เพ่ือเป็นตัวชีข้ นาดของ
แกนหมนุ ความเร็วและทิศทางของลม เพ่ือท่ีคอมพิวเตอรจ์ ะไดค้ วบคุม
กลไกอ่ืนๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง
2. เพลาแกนหมุน ซ่งึ รบั แรงจากแกนหมุนใบพดั และ
สง่ ผ่านระบบกาลงั เพ่ือหมนุ และป่ันเคร่อื งกาเนดิ ไฟฟ้า 10. เสากังหนั ลม เป็นตวั แบกรบั ส่วนท่ีเป็นตวั เคร่ืองท่ี
อย่ขู า้ งบน
3. หอ้ งส่งกาลงั ซ่งึ เป็นระบบปรบั เปล่ียนและควบคมุ
ความเร็วในการหมนุ ระหวา่ งเพลาแกนหมุนกับเพลาของเคร่อิ ง ขอ้ ดี
กาเนิดไฟฟา้
1. เป็นแหล่งพลงั งานท่ไี ดจ้ ากธรรมชาติ ไม่มีตน้ ทนุ
4. หอ้ งเคร่ือง ซ่ึงมีขนาดใหญ่และมีความสาคญั ต่อ
กังหันลม ใช้บรรจุระบบต่างๆ ของกังหันลม เช่น ระบบเกียร์ 2. เป็ นแหล่งพลังงานท่ีไม่มีวันหมดสิ้น และไม่ถูก
เคร่อื งกาเนิดไฟฟ้า เบรก และระบบควบคมุ กระทบโดยราคาของเชือ้ เพลงิ ฟอสซลิ

5. เคร่อื งกาเนิดไฟฟ้า ทาหนา้ ท่ีเปล่ียนพลงั งานกลเป็น 3. เป็ นพลังงานสะอาด เป็ นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม
พลงั งานไฟฟา้ ปราศจากมลพิษอ่ืนๆ ท่ีเกิดจากเชือ้ เพลิงฟอสซิลและโรงไฟฟ้า
นวิ เคลียร์
6. ระบบควบคมุ ไฟฟ้า ซง่ึ ใชร้ ะบบคอมพิวเตอรเ์ ป็นตวั
ควบคมุ การทางาน และจ่ายกระแสไฟฟา้ เขา้ ส่รู ะบบ 4. ไม่กนิ เนือ้ ท่ี โดยท่ดี า้ นล่างยงั ใชพ้ ืน้ ท่ไี ดอ้ ยู่

5. มีแคก่ ารลงทนุ ครงั้ แรก ไมม่ ีคา่ เชือ้ เพลงิ

6. สามารถใชร้ ะบบไฮบริดเพ่ือใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด
คอื กลางคนื ใชพ้ ลงั งานลมกลางวนั ใชพ้ ลงั งานแสงอาทติ ย์

7. ประเทศเวียดนามเป็นประเทศท่ีมีศักยภาพด้าน
พลงั งานทดแทนโดยเฉพาะลม และรฐั บาลสง่ เสรมิ ใหต้ า่ งชาติเขา้
ไปลงทนุ จานวนมาก จึงไดร้ บั สิทธิประโยชนด์ า้ นการลงทนุ เช่น
สิทธิประโยชนด์ า้ นภาษี เป็นตน้

ขอ้ จากดั

1.ขนึ้ อย่กู บั สภาวะอากาศ บางฤดอู าจไม่มีลม

2.ตอ้ งใชแ้ บตเตอร่รี าคาแพงเป็นแหล่งเกบ็ พลงั งาน

2.2.2 การตลาดและการแข่งขัน ยอดการใชใ้ หเ้ พ่ิมขึน้ ของผูใ้ ช้บริการแต่ละรายไดเ้ ช่นเดียวกับ
สินคา้ อุปโภคบริโภคท่วั ไป ในทางตรงกนั ขา้ มกลบั เป็นสินคา้ ท่ีมี
การประกอบธุรกิจผลิตและจาหน่ายกระแสไฟฟ้าจาก การรณรงค์ใหม้ ีการประหยัดการใชม้ ากขึน้ และประกอบกับ
พลงั งานทดแทนถือไดว้ ่าเป็นธุรกิจท่ีไม่มีการแข่งขนั ทางตรงกับ ลักษณะการประกอบธุรกิจการผลิตและจาหน่ายกระแสไฟฟ้า
ผู้ประกอบการรายใด เน่ืองจากปัจจุบนั การผลิตและจาหน่าย ใหก้ บั กฟผ. หรือ กฟภ. หรือ กฟน. จะมีการทาสัญญาซือ้ ขาย
กระแสไฟฟ้านั้น ผู้ประกอบการท่ีได้รับอนุญาตให้ผลิตและ ไฟฟ้าระยะยาว ซง่ึ ภายใตส้ ญั ญาดงั กล่าวไดม้ ีการกาหนดจานวน
จาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากพลงั งานทดแทน ไม่ว่าจะใชเ้ ชือ้ เพลิง หรอื ปรมิ าณและราคารบั ซอื้ ไวอ้ ย่างแน่นอนในแตล่ ะช่วงเวลา ทา
ชนิดใดในแต่ละประเภท จะต้องจาหน่ายใหแ้ ก่หน่วยงานการ ใหผ้ ผู้ ลิตแตล่ ะรายมีรายไดท้ ่ีแน่นอน จึงทาใหไ้ ม่มีการแข่งขนั กนั
ไฟฟ้าของภาครฐั ตามราคาและเง่ือนไขท่ไี ดร้ บั ตามสญั ญาซือ้ ขาย ระหว่างผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายอ่ืนๆอย่างมีนัยสาคัญ แต่ทงั้ นี้
ไฟฟ้าท่ีไดย้ ่ืนขออนุญาตไว้ ซ่ึงมีระบุจานวน ราคารับซือ้ และ ทงั้ นัน้ อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจึงนับเป็นตวั ชีว้ ัดท่ี
ระยะเวลาท่ีชัดเจน ทงั้ นี้ ผูป้ ระกอบธุรกิจท่ีจะเขา้ มาลงทุนใน สาคญั ของอัตราการเติบโตการใชไ้ ฟฟ้าในประเทศใหเ้ พ่ิมสูงขึน้
ธุรกิจผลิตและจาหน่ายกระแสไฟฟ้าได้ ตอ้ งมีคณุ สมบตั ิตามท่ี ดงั นนั้ บริษัทจึงไดก้ าหนดกลยุทธใ์ นการดาเนินงาน โดยม่งุ เนน้
หน่วยงานการไฟฟ้าและกระทรวงพลังงานไดก้ าหนดไว้ และ การผลิตไฟฟ้าใหเ้ ป็นไปตามเง่ือนไขในสญั ญาซือ้ ขายไฟฟ้าท่ีทา
จะตอ้ งมีการพิจารณาขอ้ มลู ในเชิงเทคนิคเพ่ืออนุมตั ิการเขา้ ทา ไวก้ บั กฟภ. และขยายการลงทนุ ตามนโยบายภาครฐั ท่ีส่งเสรมิ ให้
สัญญากับหน่วยงานการไฟฟ้าท่ีเก่ียวขอ้ ง ส่งผลใหก้ ารแข่งขัน หันมาใชพ้ ลังงานท่ีสะอาดและเป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ มในการ
ของตลาดการประกอบธุรกิจผลิตและจาหน่ายกระแสไฟฟ้า ผลิตและจดั จาหน่ายกระแสไฟฟ้าตอ่ ไป โดยบรษิ ัทไดก้ าหนดกล
พลงั งานทดแทนไม่รุนแรงมากนกั นอกจากนี้ การเขา้ มาในธุรกิจ ยทุ ธใ์ นการแข่งขนั ดงั นี้
นีจ้ ะตอ้ งผา่ นขนั้ ตอนอีกหลายประการซง่ึ อาจตอ้ งใชร้ ะยะเวลาใน
การดาเนินการค่อนขา้ งนาน อาทิเช่น การศกึ ษาความเป็นไปได้ 1. คุณภาพของไฟฟ้าใหค้ วามสาคญั กับการควบคุม
ของโครงการ การไดร้ บั ใบอนญุ าตต่างๆในการผลิตกระแสไฟฟ้า คณุ ภาพของไฟฟ้าท่ีผลิตได้ น่นั คือความมีเสถียรภาพของระบบ
ความพรอ้ มทางดา้ นเทคโนโลยี และการไดร้ ับการส่งเสริมการ จาหนา่ ยไฟฟา้ โดยในการผลิตไฟฟ้าของบริษัทจะมีผเู้ ช่ียวชาญท่ี
ลงทนุ ในกจิ การผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลงั งานทดแทน เป็นตน้ มีความรูค้ วามชานาญทางดา้ นการผลิตไฟฟ้าในแต่ละดา้ นมา
เป็ นผู้ผลิตและทาการควบคุมการผลิตให้มีคุณภาพ และมี
อย่างไรก็ดี การเติบโตในธุรกิจดังกล่าว และการ อปุ กรณก์ ารผลติ ไฟฟ้าท่มี ีเทคโนโลยีท่ที นั สมยั ควบคมุ การทางาน
สง่ เสรมิ จากภาครฐั ในหลายประเทศ ส่งผลใหก้ ารแข่งขนั และการ ดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ จึงทาใหส้ ามารถควบคมุ การผลิตไฟฟ้า
เตบิ โตของผปู้ ระกอบการท่ผี ลิตวสั ดอุ ปุ กรณท์ ่ีจาเป็นตอ่ โรงไฟฟ้า ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือใหก้ ารผลิตไฟฟ้าได้คุณภาพตรง
พลงั งานทดแทน มีการพฒั นาเทคโนโลยีใหม้ ีประสิทธิภาพและมี ตามท่กี าหนดไวใ้ นสญั ญาซอื้ ขายไฟฟ้าดงั กล่าว
ราคาท่ีถูกลง มีผลใหร้ าคารบั ซือ้ ไฟฟ้ามีราคาถูกลง และรูปแบบ
การ ย่ื นข้อ เ ส นอ เ พ่ื อ ให้ได้สิ ทธิ เ ป็ นผู้ปร ะ กอ บธุ ร กิจผ ลิ ตแ ล ะ 2. การส่งมอบไฟฟ้าใหค้ วามสาคญั กับการส่งมอบ
จาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากพลงั งานทดแทน เปล่ียนแปลงไป อาทิ ไฟฟ้าใหเ้ ป็นไปตามปริมาณและเวลาท่ีกาหนดไวใ้ นสัญญาซือ้
เช่น การเสนอราคาส่วนลดจากราคารบั ซือ้ คา่ ไฟฟ้า เป็นตน้ ทา ขายไฟฟ้าดงั กล่าว เพ่ือเป็นการสรา้ งความเช่ือม่นั ในการทางาน
ใหก้ ารแข่งขนั ของภาคเอกชนท่ีจะเขา้ มาย่ืนขออนญุ าตประกอบ ของบรษิ ทั
ธุรกิจผลิตและจาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน มี
แนวโนม้ กลบั มาเป็นท่สี นใจอีกครงั้ 3. ความม่ันคงในการผลิตจะต้องผลิตไฟฟ้าให้มี
คณุ ภาพ มีความม่ันคงและมีเสถียรภาพสูงเป็นไปตามเง่ือนไข
(ก) กลยทุ ธก์ ารแข่งขัน และขอ้ กาหนดในสญั ญาซอื้ ขายไฟฟ้า

50 ไฟฟ้าถูกจัดใหเ้ ป็นสินคา้ เพ่ือการอุปโภคบริโภคขั้น (ข) ลักษณะลูกค้าและช่องทางการจาหน่าย
ปัจจุบนั บริษัทมีลกู คา้ ทงั้ กฟภ. กฟน. และ กฟผ. ซ่งึ
พื้นฐานท่ีจาเป็นอย่างย่ิงต่อการดารงชีวิตของประชาชน แต่
เน่ืองจากไฟฟ้าเป็นสินคา้ ท่ีไม่สามารถท่ีจะผลกั ดนั และส่งเสริม ไฟฟ้าท่ีผลิตไดจ้ ากโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนของกลุ่มบริษัท จะ

ต่อเช่ือมกับสถานีไฟฟ้าของ กฟภ.และ/หรือ กฟน. และ/หรือ ตารางแสดงการใชไ้ ฟฟ้าแยกตามประเภทสาขาเศรษฐกิจ
กฟผ. ณ จุดท่ีตงั้ ของโรงไฟฟ้าดงั กล่าว ก่อนจาหน่ายไฟฟ้าท่ีซือ้
จากบริษัทไปใหก้ ับประชาชนต่อไป โดยปริมาณไฟฟ้าท่ีบริษัท การใช้ไฟฟ้า
จาหน่ายใหแ้ ก่ กฟภ. และ/หรือ กฟน. และ/หรือ กฟผ. จะถูกคิด
จากมาตรวัดไฟฟ้า ณ จุดจ่ายไฟฟ้า ซ่ึงตงั้ อยู่ภายในโรงผลิต ประเภทผ้ใู ช้ 2560 GWh 2562 2562 (ม.ค.-พ.ย.)
ไฟฟา้ พลงั งานทดแทนของบรษิ ัท ไฟฟ้า 2561 (ม.ค.- Growth Share
44,374 พ.ย.) (%) YoY (%)
วธิ ีการคิดค่าไฟฟ้าท่ีบรษิ ัทจาหน่ายใหแ้ ก่ กฟภ. และ/ ครวั เรือน 45,100 45,205 45,763
หรอื กฟน. และ/หรือ กฟผ. ในแตล่ ะเดือนจะคานวณจากปรมิ าณ ธุรกิจ 87,772 46,764 45,472 10.1 26
ไฟฟา้ ท่จี าหน่ายใหแ้ ก่สถานีจ่ายไฟฟ้า โดยทกุ สิน้ เดือนเจา้ หนา้ ท่ี 87,829 79,532 6.0 25
ของบริษัทและเจา้ หน้าท่ีของ กฟภ. และ/หรือ กฟน. และ/หรือ อุตสาหกรรม 198 -1.7 45
กฟผ. จะบนั ทกึ ตวั เลขปรมิ าณไฟฟ้าท่ีบริษัทส่งใหแ้ ก่ กฟภ. และ/ NGOs 298 204 195 3.9 0.1
หรอื กฟน. และ/หรือ กฟผ. เม่ือตรวจสอบตวั เลขปรมิ าณส่งไฟฟ้า 4,247 365 434 30.3 0.3
ท่ีจ่ายใหแ้ ก่ กฟภ.และ/หรือ กฟน. และ/หรือ กฟผ. ของเดือนนนั้ เกษตรกรรม 3,135 4,210 6.3 2
แลว้ บริษัทจะนาปริมาณไฟฟ้าดงั กล่าวมาคานวณมูลค่าในการ อืน่ ๆ 185,124 3,255 4,109 4.4 2
ซือ้ ขายรายเดือน ตามราคาท่ีตกลงกันในสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า 187,832 3,096 4.3 100
พรอ้ มทั้งส่งใบแจ้งหนีใ้ ห้แก่ กฟภ. และ/หรือ กฟน. และ/หรือ การใช้ไฟฟรี 178,602
กฟผ. จากนั้น กฟภ. และ/หรือ กฟน. และ/หรือ กฟผ. จะจ่าย รวม
ชาระคา่ ไฟฟา้ ใหแ้ กบ่ รษิ ทั ตอ่ ไป
ความตอ้ งการพลงั ไฟฟ้าสงู สดุ ในระบบ 3 การไฟฟ้า
(ค) ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน
สภาวะอปุ สงคก์ ารใชไ้ ฟฟา้ สภาวะอปุ ทาน 51
ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ ไ ฟ ฟ้ า ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี อั ต ร า เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการไฟฟ้าท่ีเพ่ิมสงู ขนึ้ ในช่วง

เจรญิ เตบิ โตสงู ขนึ้ ตามการเตบิ โตของเศรษฐกิจ และการขยายตวั 20-30 ปีท่ีผ่านมา ประเทศไทยไดเ้ ร่มิ ใหภ้ าคเอกชนมีส่วนรว่ มใน
ข อ ง สั ง ค ม ทั้ง นี้ก า ร ใ ช้ไ ฟ ฟ้ า ทั้ง ใ น ภ า ค เ ก ษ ต ร ก ร ร ม
ภาคอุตสาหกรรม และภาคครัวเรือน ปรับตัวสูงขึน้ ในทุกๆปี กิจการพลังงาน ซ่ึงไดแ้ ก่ การรบั ซือ้ ไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าราย
รวมทงั้ การพฒั นาประเทศในดา้ นตา่ งๆของภาครฐั ทงั้ ในส่วนของ ใหญ่ (IPP) ผผู้ ลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) และผผู้ ลิตไฟฟ้ารายเล็ก
สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน อันไดแ้ ก่ พลังงานไฟฟ้า นา้ ระบบการ มาก (VSPP) ความตอ้ งการท่ีจะใหภ้ าคเอกชนเขา้ รว่ ม ในกิจการ
ส่ือสาร เช่ือเพลงิ มีความจาเป็นมากย่ิงขนึ้ อย่างต่อเน่ืองทุกปี ทา ไฟฟ้า การผลักดนั ประสิทธิภาพพลังงาน และการใชพ้ ลังงาน
ใหค้ วามตอ้ งการใชพ้ ลังงานไฟฟ้าจากดา้ นต่างๆ เพ่ือสูงขึน้ ใน ทางเลือก เช่น พลังงานหมุนเวียน (renewable energy) เช่น
เกือบทกุ สาขาเศรษฐกิจ โดยความตอ้ งการพลงั ไฟฟ้าสูงสดุ ของ พลงั งานลม พลงั งานชีวมวล พลงั งานแสงอาทติ ย์ พลงั นา้ ขนาด
ประเทศ เกิดขึน้ เม่ือ 3 พฤษภาคม เวลา 14.27 น. อยู่ในระดบั
32,272.8 MW ซ่งึ สูงขนึ้ เม่ือเทียบกบั ปีก่อนหนา้ ท่ีอย่ทู ่ี 34,317 เล็ก ทงั้ นีเ้ พ่ือเป็นการเตรียมความพรอ้ มในการรองรบั วิกฤตดา้ น
MW โดยความตอ้ งการใชฟ้ ฟ้าของประเทศอย่ทู ่ี 178,602 GWh พลงั งานไฟฟา้ ของประเทศไทยในอนาคต
เพ่ิมขึน้ 3.4% โดยภาคครัวเรือนยังคงเติบโตสูงสุดท่ี 10.1%
ขณะท่ภี าคอตุ สาหกรรมลดลง 1.7% ปัจจุบัน มีการแปรรูปโดยให้ภาคเอกชนเข้ามาร่วม
ผลิตไฟฟ้า ก่อให้เกิดการแข่งขันกันด้านความม่ันคงทางดา้ น
พลงั งานไฟฟ้า ซง่ึ การจะไดม้ าของพลงั งานไฟฟ้านนั้ ก็ตอ้ งมีแหล่ง

เชือ้ เพลิงในการผลิตและเทคโนโลยีท่ีทนั สมยั เพ่ือตอบ สนองความ

ต้องการจากภาคประชาชน และภาคอุตสาหกรรม รวมถึง ทัง้ นี้ทางกระทรวงพลังงานได้วางกรอบแผนบูรณา
ประสทิ ธิภาพท่สี งู ขนึ้ การพลงั งานแหง่ ชาติ ไดม้ ีการจดั ทาแผนแม่บทสาหรบั การลงทนุ
และพฒั นากาลงั การผลิตไฟฟา้ ในประเทศ ตามแผนพฒั นากาลงั
กาลงั การผลิตตามสญั ญาในระบบไฟฟ้า ณ สิน้ เดือน
พฤศจิกายน 2562 อย่ทู ่ี 48,450 MW โดยสดั ส่วนกาลงั การผลิต ผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ.2561-2580 เป็นแผนหลกั ในการ
สูงสุดคือ IPP31% รองลงมาคือ กฟผ. 30% SPP20% นา้ เขา้ / จดั หาพลงั งานไฟฟ้าของประเทศใหเ้ พียงพอกบั ความตอ้ งการใช้
แลกเปล่ียนไฟฟา้ จากตา่ งประเทศ 11% และ VSPP 8% กฟภ. เพ่ือรองรบั การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศรวมถึงจานวน
กาลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญาในระบบไฟฟ้าปี พ.ศ. 2559- ประชากรท่ีเพ่ิมขึน้ ซ่ึงได้มีการปรับปรุงจากแผนเดิม เพ่ือให้
2562 เหมาะสมกบั ความตอ้ งการไฟฟ้าและศกั ยภาพการผลิตในแต่ละ
ภมู ิภาค
กาลงั การผลิตตามสญั ญาในระบบไฟฟา้ ณ สิน้ เดอื น
พฤศจกิ ายน 2562 จุดเด่นของแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ
ไทย พ.ศ. 2561-2580 (PDP2018) ท่สี าคญั ๆ ไดแ้ ก่
หมายเหตุ :
(1) กาลงั ผลติ ตามสญั ญาในระบบไฟฟา้ ไม่รวมขอ้ มลู ของผผู้ ลติ ไฟฟ้าใชเ้ อง (1) ระบบผลิตไฟฟ้า ระบบส่งไฟฟ้า และระบบจาหน่าย
(IPS) ไฟฟ้า มีความม่ันคงรายพืน้ ท่ี สรา้ งสมดลุ ระบบไฟฟ้าตามราย
ภมู ภิ าค
52 (2) VSPP เป็นขอ้ มลู ณ เม.ย. 62
(2) มีการพิจารณาโรงไฟฟ้าเพ่ือความม่นั คงในระดบั ท่ี
ท่มี า : สานกั งานนโยบายและแผนพฒั นากระทรวงพลงั งาน เหมาะสม เพ่ือรองรบั กรณีเกิดเหตุวิกฤตดา้ นพลงั งาน รวมถึงมี
การเพ่ิมความยืดหยนุ่ ของระบบไฟฟา้ (Grid Flexibility)

(3) ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าตน้ ทุนต่า เพ่ือลดภาระผูใ้ ช้
ไฟฟา้ และไม่เป็นอปุ สรรคต่อการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของ
ประเทศในระยะยาว

(4) เตรียมความพรอ้ มของระบบไฟฟ้าเพ่ือใหเ้ กิดการ
แข่งขนั ดา้ นการผลิตไฟฟ้า ซง่ึ จะช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต
ไฟฟ้าในภาพรวมของประเทศ การผลิตไฟฟ้าสะทอ้ นตน้ ทุนท่ี
แทจ้ รงิ

(5) ตอ้ งลดผลกระทบดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม
(6) ส่งเสรมิ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนและการ

เพ่ิมประสิทธิภาพในระบบไฟฟ้า (Efficiency) ทงั้ ดา้ นการผลิต
ไฟฟ้าและดา้ นการใชไ้ ฟฟา้

(7) พัฒนาระบบโครงข่ายไฟฟ้าสมาร์ทกริด (Smart
grid) รองรับแนวโน้มการเปล่ียนแปลงของผู้ใช้ไฟฟ้าแบบ
Prosumer

สาหรบั การคาดการณป์ ริมาณความตอ้ งการใชไ้ ฟฟ้า
มีอตั ราการเจริญเติบโตของความตอ้ งการใชไ้ ฟฟ้า จึงตอ้ งมีการ
เพ่ิมระดบั การผลิตไฟฟ้าใหเ้ พียงพอต่อความตอ้ งการท่ีเพ่ิมมาก
ขึ้น โดยเพ่ิมสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนในการผลิต
กระแสไฟฟ้า เพ่ือลดการพ่ึงพิงจากแหล่งพลังงานฟอสซิล และ

การนา้ เขา้ ไฟฟ้าจากประเทศเพ่ือนบา้ น อย่างไรก็ตามในอนาคต ข. การขออนุญาตก่อสร้าง
มีความพยายามเพ่ิมสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนมากขึน้ ในการขออนุญาตก่อสรา้ งโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทนแต่
โดยให้มีการพัฒนาพลังงานอย่างย่ังยืนและเป็ นมิตรต่อ
ส่ิงแวดลอ้ ม เพียงพอตอ่ ความตอ้ งการของประชาชน และเขา้ ถึง ละโครงการ จะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนดงั ตอ่ ไปนี้
ราคาท่เี หมาะสม ทาใหภ้ าคเอกชนไดใ้ หค้ วามสาคญั และเล็งเห็น  จดั ทาประชาคมรบั ฟังความคดิ เหน็ ในรศั มีท่ีกาหนด และ
ถงึ ประโยชนใ์ นเชงิ รุกจากากรใชพ้ ลงั งานทดแทนมากขนึ้ และเป็น จัดทารายงานผลกระทบส่ิงแวดล้อม / รายงานหลัก
โอกาศท่ดี ใี นการขยายการลงทนุ ตอ่ ไปในอนาคต ปฏิบตั ดิ า้ นส่ิงแวดลอ้ ม
 ขออนญุ าตก่อสรา้ งโรงไฟฟ้าฯ จากคณะกรรมการกากับ
กาลังผลิตไฟฟ้าตามสัญญาและความตอ้ งการใช้ไฟฟ้า กิจการพลงั งาน เพ่ือขอใบอนุญาตก่อสรา้ ง (อ.1) (ถา้ มี)
สูงสุดของระบบตามแผน PDP2018 โดยพิจารณาจากกฎหมาย พรบ.ผงั เมือง ท่มี ีผลบงั คบั ใช้
 นาใบอนุญาตก่อสร้าง(อ.1) ไปย่ืนขอรับใบอนุญาต
2.2.3 การจัดหาผลิตภัณฑห์ รือบริการ ประกอบกิจการโรงงานจากสานักงานอุตสาหกรรม
จงั หวดั เพ่ือขอรบั ใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงาน (รง.
ก. การจัดหาทดี่ นิ 3 และ รง.4)
บริษัท และ/หรือ บริษัทย่อย จะเลือกทาเลท่ีตงั้ ของ  นาใบอนุญาต รง.4 ไปย่ืนขออนุญาตประกอบกิจการ
ผลิตไฟฟ้า และผลิตพลังงานควบคุม จากสานักงาน
โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน ดงั นี้ คณะกรรมการกากบั กิจการพลงั งาน
• ท่ีดนิ ท่ีไม่ติดปัญหาขอ้ กฎหมาย ปัญหาขอ้ พิพาท และ/  เม่ือไดร้ บั ใบอนญุ าตดงั กล่าวทงั้ หมดแลว้ จึงจะสามารถ
เร่มิ ก่อสรา้ งโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทนได้
หรือ ไม่อย่ใู นเขตป่าสงวนแหง่ ชาติ ซ่งึ แตล่ ะโครงการท่ีบริษัทเขา้ ลงทนุ และพฒั นาโรงไฟฟ้า
• ท่ีดินติดถนนใหญ่ และอยู่ใกล้กับจุดเช่ือมต่อระบบ
พลังงานทดแทน ไดป้ ฏิบตั ติ ามขนั้ ตอนขา้ งตน้ อย่างถูกตอ้ งและ
ไฟฟ้าของ กฟภ. และ/หรือ กฟน. และ/หรือ กฟผ. เพ่ือประหยดั เคร่งครัด โดยในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนทุก
ค่าสายไฟ และลดอตั ราการสูญเสียไฟฟ้าจากระยะทางท่ีใชใ้ น โครงการของบรษิ ัท ไดร้ บั ใบอนญุ าตจากหน่วยงานต่างๆขา้ งตน้
การเช่ือมต่อไฟฟ้ากบั ระบบของกฟภ. และ/หรือ กฟน. และ/หรือ อย่างถกู ตอ้ ง และครบถว้ น
กฟผ.
จดั ทาประชาคม และจดั ทาประเมิน/
• ท่ีดินท่ีอย่ใู นท่ีสงู ไม่มีประวตั นิ า้ ทว่ ม และมีรูปรา่ งท่ีดิน รายงานแบบประมวลผลกระทบดา้ น
ท่เี หมาะสมตอ่ การกอ่ สรา้ งโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์ สิง่ แวดลอ้ ม และการบรหิ ารจดั การ

• ท่ีดินมีราคาท่ีไม่สูงมากนัก เน่ืองจากจะมีผลต่อ จากคณะกรรมการกากบั กิจการ
ระยะเวลาในการคนื ทนุ ของโครงการ พลงั งาน

ขออนญุ าตก่อสรา้ ง อ.1, อ.6 และใบ
ประกอบกิจการโรงงาน รง.4

ขออนญุ าตประกอบกิจการผลิต 53
ไฟฟา้ และผลิตพลงั งานควบคมุ

จาก กกพ.

ค. การจัดหาอุปกรณต์ ่างๆ ชนิดผลึกรวม Polycrystalline Silicon Solar Cell ซ่งึ เทคโนโลยี
อปุ กรณท์ ่สี าคญั ในการผลิตกระแสไฟฟ้า จากพลงั งาน แผงพลงั งานแสงอาทติ ยป์ ระเภทดงั กล่าว เป็นเทคโนโลยีท่ีใชม้ า
เป็นระยะเวลานานกว่า 40 ปี และเป็นเทคโนโลยีท่ีไดร้ ับการ
แสงอาทติ ย์ ไดแ้ ก่
อุ ป ก ร ณ์ ห ลั ก ท่ี ใ ช้ ใ น ก า ร ผ ลิ ต ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า แ บ บ ยอมรบั จากท่วั โลก
• ฟิ ลมบ์ าง (Thin Film) ซ่งึ แบ่งเป็นประเภทย่อยๆ ได้ 2
PHOTOVOLTAICS คือ แผงพลังงานแสงอาทิตย์ และเคร่ือง
แปลงกระแสไฟฟ้า (Inverter) เน่ืองจากอุปกรณข์ องโรงไฟฟ้า ประเภท ไดแ้ กแ่ ผงพลงั งานแสงอาทติ ยท์ ่ีทาจากซลิ ิกอน และแผง
พลงั งานแสงอาทิตยโ์ ดยท่วั ไปจะมีอายุการใชง้ านยาวนานกว่า พลังงานแสงอาทิตย์ท่ีทาจากสารก่ึงตวั นาชนิดอ่ืนๆ เช่น แกล
30 ปี บริษัทจึงไดค้ ัดเลือกอุปกรณ์การผลิตไฟฟ้าท่ีมีคุณภาพ เล่ียม อารเ์ ซไนด์ แคดเมียม เทลเลอไรด์ และคอปเปอร์ อินเดียม
เป็นไปตามมาตรฐานของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โดย ไดเซเลไนด์ เป็นต้น ซ่ึงเทคโนโลยีแผงพลังงานแสงอาทิตย์
เลือกใชอ้ ปุ กรณก์ ารผลติ ดงั นี้
ประเภทดงั กล่าวจะมีราคาถกู กวา่ Crystalline แตเ่ ป็นเทคโนโลยี
1) แผงเซลลแ์ สงอาทติ ย์ ใหม่ ซ่ึงยังไม่สามารถพิสูจน์ถึงประสิทธิภาพของแผงพลังงาน
เทคโนโลยีของแผงพลังงานแสงอาทิตยท์ ่ีถูกนามาใชใ้ น แสงอาทติ ยช์ นิดนีไ้ ดใ้ นระยะยาว รวมทงั้ อาจตอ้ งใชเ้ นือ้ ท่ีในการ
วางแผงมากกว่าเม่ือเทียบกบั เทคโนโลยีอ่ืน และฟิ ลม์ บาง (Thin
โรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ยร์ ะบบ Photovoltaic สามารถแบ่ง Film) บางประเภทเช่น แคดเมียม เทลเลอไรด์ ยงั มีส่วนประกอบ
ไดเ้ ป็น 2 ประเภทหลกั ดงั ตอ่ ไปนี้
ท่มี ีสารพิษผสมอยดู่ ว้ ย
• Crystalline ซ่งึ แบ่งเป็นประเภทย่อยๆ ได้ 2 ประเภท
ไดแ้ ก่ แผงพลังงานแสงอาทิตย์ท่ีทาจากซิลิคอนชนิดผลึกเด่ียว
หรือท่ีรูจ้ กั กนั ในช่ือ Monocrystalline Silicon Solar Cell และ

Monocrystalline Silicon Solar Cell Polycrystalline Silicon Thin Film

Solar Cell

ขอ้ ดี - มีประสิทธิภาพสูงเน่ืองจากผลิตจาก - ราคาถูกกว่าแผงพลังงาน - ราคาถูกกว่าแผงพลงั งานแสงอาทิตย์

ซลิ ิคอนคณุ ภาพสงู แสงอาทิตย์แบบซิลิคอน ประเภทคริสตอลไลน์ เน่ืองจาก

- มี ประสิทธิ ภาพต่อพื้นท่ีสูงกว่าแผ ง ชนิดผลึกเด่ียวเน่ืองจากมี สามารถผลติ ไดง้ า่ ยกวา่

พลังงานแสงอาทิตย์แบบซิลิคอนชนิด ขั้ น ต อ น ก า ร ผ ลิ ต ท่ี ไ ม่ - มีความยืดหยนุ่ กวา่

ผลกึ รวม และอะมอรฟ์ ัสซลิ ิคอน ซบั ซอ้ น - ประสทิ ธิภาพการทางานยงั อย่ใู นระดบั

54 - ทางานไดด้ ีแมใ้ นสภาวะท่มี ีแสงนอ้ ย ดีแม้อยู่ในสภาวะท่ีมีอุณหภูมิสูงและ

สภาวะท่มี ีแสงนอ้ ย

Monocrystalline Silicon Solar Cell Polycrystalline Silicon Thin Film

Solar Cell

ขอ้ เสีย - ราคาสูงกว่าเม่ือเปรียบเทียบกับซิลิคอน - มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ต่ า ก ว่ า - มีประสิทธิภาพต่อพื้นท่ีต่ากว่าแผง

ชนิดผลึกรวมและ ออมอร์ฟัสซิลิคอน ซิ ลิ ค อ น ช นิ ด ผ ลึ ก เ ด่ี ย ว พลงั งานแสงอาทิตยป์ ระเภทคริสตอล

เน่ืองจากมีขนั้ ตอนการผลิตท่ซี บั ซอ้ น เลก็ นอ้ ย ไลน์

- มีประสิทธิภาพต่ากว่าอะมอรฟ์ ัสซิลิคอน - มีอัตราการถดถอยของประสิทธิภาพ

แต่สูงกว่า ซิลิคอนชนิดผลึกรวม ใน (Degradation Rate) สูงในช่วง 6

สภาวะท่มี ีอณุ หภมู สิ งู เดอื นแรกท่ไี ดร้ บั แสง

2) เครอ่ื งแปลงกระแสไฟฟ้า (Inverter) อุปกรณ์ท่ีสาคัญในการผลิตกระแสไฟฟ้า จากพลังงาน 55
นอกจากแผงพลังงานแสงอาทิตย์แล้ว เคร่ืองแปลง ความร้อนจากขยะ

กระแสไฟฟ้า (Inverter) ก็เป็นอุปกรณท์ ่ีสาคญั สาหรบั โรงไฟฟ้า กระบวนการผลติ ไฟฟ้าดว้ ยไอนา้ ท่เี กิดจากการเผาไหม้
พลังงานแสงอาทิตย์อีกอย่างหน่ึง บริษัทเลือกใช้เคร่ืองแปลง เชือ้ เพลิงขยะของบริษัทนัน้ บริษัทเลือกใช้อุปกรณ์จากผู้ผลิต
กระแสไฟฟ้า (Inverter) ท่ีมีคุณภาพและเช่ือถือได้ มีการ เทคโนโลยีท่ีไดร้ บั การยอมรบั และใชก้ ันอย่างแพร่หลาย รวมถึง
รบั ประกันเคร่ืองแปลงกระแสไฟฟ้าเป็นเวลา 5 ปี โดยหากเกิด การพจิ ารณาการรบั ประกนั ความเหมาะสมกบั ลกั ษณะเชือ้ เพลิง
การขดั ขอ้ ง ทางผผู้ ลิตจะดาเนินการแกไ้ ขหรือเปล่ียนเคร่ืองแปลง และผลกระทบดา้ นส่ิงแวดล้อม เป็นตน้ ทงั้ นี้ ในกระบวนการท่ี
กระแสไฟฟา้ ใหภ้ ายในระยะเวลาท่รี บั ประกนั
ผลิตไฟฟ้าจากไอนา้ ท่ีไดจ้ ากหม้อไอนา้ จะถูกส่งเข้าสู่เคร่ือง
การผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตยข์ อง กาเนิดไฟฟ้าแบบกังหันไอนา้ ซ่งึ ทาหนา้ ท่ีเปล่ียนพลังงานท่ีได้
บรษิ ัท จะถูกควบคมุ และดาเนินการโดยผเู้ ช่ียวชาญและชานาญ จากไอนา้ ใหก้ ลายเป็นพลงั งานไฟฟา้ โดยไอนา้ ท่ีผลิตไดจ้ ากหมอ้
การทางดา้ นการผลิตไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทิตย์ ซง่ึ ทีมวศิ วกรท่ีมี ไอนา้ จะถกู สง่ ไปขบั เคล่ือนกงั หนั ไอนา้ ซง่ึ มีแกนหมนุ เดียวกนั กบั
ประสบการณ์ของบริษัทเป็ นผู้ดาเนินการในการผลิตและ เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า ทาใหเ้ กิดการหมนุ ตดั กนั ของสนามแม่เหล็ก
บารุงรกั ษาเคร่อื งจกั รดงั กล่าว เพ่ือใหก้ ารผลิตไฟฟ้าของบรษิ ัท มี ภายในเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า และก่อให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น
คณุ ภาพและมีเสถียรภาพ สามารถส่งมอบไฟฟ้าไดต้ ามปรมิ าณ
และเวลาท่กี าหนดไวใ้ นสญั ญาซอื้ ขายไฟฟก้ บั กฟภ. โดยท่ัวไประบบการผลิตไฟฟ้าดว้ ยกังหันไอนา้ จะมีอุปกรณ์ท่ี
สาคญั ดงั นี้
3) วสั ดอุ ุปกรณอ์ ่นื ๆ
สาหรับวัสดุอุปกรณ์อ่ืนๆ เช่น หม้อแปลงไฟฟ้า 1) หมอ้ ตม้ ไอนา้ (Steam Boiler) เป็นอุปกรณ์ตน้
กาเนิดของกระบวนการ แบบของหมอ้ ตม้ ไอนา้ ท่ีใชใ้ นโครงการ
(Transformer) บรษิ ัทฯไดด้ าเนินการเลือกสรรเป็นอย่างดี โดยใช้ เป็นแบบหลอดนา้ โดยนา้ ท่จี ะตม้ ใหก้ ลายเป็นไอ จะอย่ใู นทอ่ หรือ
หมอ้ แปลงไฟฟ้าจากผู้ผลิตและจัดจาหน่ายหม้อแปลงไฟฟ้าท่ี
ไดร้ ับการยอมรบั มายาวนานและเป็นผูผ้ ลิตหมอ้ แปลงไฟฟ้าท่ี หลอดนา้ ท่ีจะรบั ความรอ้ นจากการนา การพา และการแผ่รงั สี
ไดร้ ับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม มอก.384-2524 ความรอ้ นจากหอ้ งเผาไหมท้ ่ที าการเผาไหมเ้ ชือ้ เพลิงท่ีถกู ป้อนเขา้
นอกจากนีบ้ รษิ ัทฯยงั เลือกใชส้ ายไฟฟา้ คณุ ภาพดหี ลายขนาดเพ่ือ มาจากยุง้ เชือ้ เพลิงท่ีอยู่หนา้ หมอ้ ตม้ ไอนา้ ซ่งึ มีการควบคุมการ
การใช้งานท่ีเหมาะสมและสูญเสียปริมาณไฟฟ้าน้อยท่ีสุด ปอ้ นใหม้ ีปรมิ าณสม่าเสมอตามความตอ้ งการพลงั งานของระบบ
นอกจากหมอ้ แปลงไฟฟ้าและสายไฟฟ้าแล้ว ในการคัดเลือก ไอนา้ ไอนา้ ท่เี กดิ จากการรบั ความรอ้ นจากหอ้ งเผาไหมจ้ ะถกู แยก
อุปกรณ์อ่ืนๆท่ีใช้ในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ บริษัทจะ ออกจากนา้ และจะรบั ความรอ้ นอีกครงั้ หน่งึ จนกลายเป็นไอแหง้
คานึงถึงประสิทธิภาพในการใชง้ านและความสมเหตุสมผลเป็น
สาคญั ท่อี ณุ หภมู ิสงู กอ่ นท่จี ะถกู สง่ เขา้ ไปยงั กงั หนั ไอนา้
2) กงั หนั ไอนา้ (Steam Turbine) เป็นอุปกรณท์ ่ีจะ

เปล่ียนพลงั งานความรอ้ นใหเ้ ป็นพลงั งานกล โดยไอนา้ ท่ีไดจ้ าก
หมอ้ ตม้ ไอนา้ ซง่ึ เป็นไอนา้ แรงดนั สงู จะถกู ส่งเขา้ มายงั กงั หนั ไอนา้

ทางทอ่ และจะถูกฉีดเขา้ ไปยงั กงั หนั ไอนา้ ดว้ ยหวั ฉีดท่ีจะไปทาให้ 2.3 ธุรกจิ ผลิตและจาหน่ายนา้ เพอ่ื การอุปโภคบริโภค
ตัวกังหันหมุนรอบตัวเอง การหมุนของกังหันไอน้า นี้จะถูก
ควบคุมความเร็วตามตอ้ งการได้ โดยอุปกรณ์ควบคมุ ท่ีมีความ บริษัทถือหุ้นโดยตรงผ่านบริษัท ซุปเปอร์ วอเตอร์
เท่ียงตรงสูงมาก กังหันไอน้านี้จะมีกาลังขับตามขนาดและ จากดั (“SW”) และถือหนุ้ ทางออ้ มใน บริษัท กิจการร่วมคา้ ไทย
ขอ้ กาหนดท่ีระบุไวส้ าหรบั การทางานท่ีตอ้ งการ เพ่ือการส่งกาลงั พานิชนาวาก่อสร้าง และแหล่งนา้ ไทย จากัด เพ่ือลงทุนและ
ไปยงั เคร่อื งกาเนิดไฟฟา้ พฒั นาธุรกิจผลิตและจาหน่ายนา้ เพ่ืออุปโภค บริโภค ไดแ้ ก่ นา้
ดิบ น้าเพ่ืออุตสาหกรรม และน้าประปา เพ่ือรองรับความ
3) เคร่ืองควบแน่นไอนา้ (Condenser) เป็นอุปกรณท์ ่ี ตอ้ งการใชน้ า้ ของชุมชนและกิจกรรมในภาคส่วนต่างๆ ทงั้ ภาค
ใชร้ บั ไอนา้ ท่ีออกจากกงั หนั ไอนา้ ซง่ึ เป็นไอนา้ แรงดนั ต่า หมอ้ ดบั อุปโภคบริโภคและภาคอุตสากรรม ปัจจุบนั ใหบ้ ริการจาหน่าย
ไอจะมีท่อนา้ เย็นผ่านเพ่ือลดอุณหภูมิและทาการเปล่ียนสถานะ นา้ รายหลกั ๆ แยกตามประเภทดงั นี้
ของไอนา้ ใหก้ ลบั เป็นนา้ (การควบแน่น) ดงั เดิม นา้ นีเ้ รียกว่านา้
คอนเดน็ เสท (Condensate Water) และจะถกู สบู กลับไปยงั ถงั 1. จาหน่ายนา้ ดิบ ให้แก่ นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร
นา้ เตมิ หมอ้ ไอนา้ เพ่ือเร่มิ กระบวนการใหม่อีกครงั้ หน่งึ เป็นเช่นนี้ (ชลบรุ )ี Capacity 18,500 ลบ.ม./วนั
เสมอไป
2. จาหน่ายน้าประปา ใหแ้ ก่ การประปาส่วนภูมิภาค
4) เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า (Generator) เป็นอปุ กรณท์ ่ีจะ สาขาภเู กต็ Capacity 12,000 ลบ./วนั
เปล่ียนพลงั งานกลเป็นพลงั งานไฟฟ้า เป็นอุปกรณส์ าคญั สาหรบั
โครงการท่จี ะผลติ ไฟฟา้ จาหน่ายตามแผนของโครงการ 3. จาหน่ายนา้ ประปาและนา้ เพ่ืออุตสาหกรรม ในพืน้ ท่ี
ตาบลชัยมงคล และในพื้นท่ีจังหวัดสมุทรสาคร Capacity
ง. ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม 29,000 ลบ.ม./วนั
SUPER ให้ความตระหนักในเร่ืองผลกระทบต่อ
2.3.1 ลักษณะผลติ ภณั ฑแ์ ละบริการ
ส่ิงแวดลอ้ ม จึงไดด้ าเนินการจดั การส่ิงแวดลอ้ มตงั้ แต่เร่มิ ดาเนิน
โครงการ โดยให้ความสาคัญกับการจัดทาหลักปฏิบัติด้าน 1) การผลิตและจาหนา่ ยนา้ ดบิ
ส่ิงแวดลอ้ ม (Code of Practice: COP) เพ่ือใหม้ ีหลกั ปฏิบตั ิท่ี บริษัทผลิตและจาหน่ายนา้ ดบิ ในนามบริษัท ซุปเปอร์
ถูกต้อง และยังมุ่งดาเนินงานตามมาตรฐานการจัดการด้าน
ส่ิงแวดลอ้ มท่เี ป็นสากลตามมาตรฐาน ISO 14001:2004 วอเตอร์ จากดั ใหแ้ ก่ นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ตงั้ อย่บู รเิ วณ
จังหวัดชลบุรี ซ่ึงเป็นนิคมอุตสาหกรรมท่ีสาคัญแห่งหน่ึงของ
ปัจจบุ นั โรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทิตย์ เป็นท่ีไดร้ บั การ ประเทศไทย มีเนือ้ ท่ี 15,567 ไร่ ส่งผลใหน้ ิคมอุตสาหกรรมอมตะ
ยอมรบั จากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องว่ามีผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม นครมีความตอ้ งการใชน้ า้ ในปริมาณมาก ซ่ึงบรษิ ัทไดท้ าสญั ญา
นอ้ ยมาก หรอื ไมก่ อ่ ใหเ้ กิดมลภาวะ ทงั้ เร่ืองเสียง ความรอ้ น และ ซอื้ ขายนา้ ดบิ กบั บรษิ ัท อมตะ วอเตอร์ จากดั ในปรมิ าณขนั้ ต่า 5
อากาศ ซ่ึงจะไม่กระทบต่อส่ิงแวดล้อมโดยรวมของประเทศ ลา้ นลูกบาศกเ์ มตรต่อปี ( 2 ปีแรกไม่คิดขัน้ ต่า) เป็นระยะเวลา
อย่างไรก็ดี บริษัทอยู่ระหว่างการสรรหาผูท้ ่ีจะเขา้ มาใหบ้ ริการ สญั ญา 25 ปี ซ่งึ บริษัท ซุปเปอร์ วอเตอร์ จากดั ไดล้ งทนุ จัดซือ้
การตรวจรบั รองระบบ ISO 14001:2004 ภายหลงั จากท่ีบรษิ ัทได้ บ่อนา้ เพ่ือใหส้ าหรบั เก็บนา้ ดิบ และไดก้ ่อส้างระบบชักนา้ จาก
มีการประกาศใช้ระเบียบปฏิบัติต่างๆ ไปเป็นท่ีเรียบรอ้ ยแล้ว คลองธรรมชาติ รวมถงึ ก่อสรา้ งระบบสบู นา้ และทอ่ สง่ นา้ ดบิ ไปยงั
เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั ขอ้ กาหนดของมาตรฐาน ISO 14001:2004 นิคมอตุ สาหกรรมอมตะนคร
และคาดว่าจะไดร้ ับการพิจารณาผ่านการตรวจรับรองระบบ
ตอ่ ไป

56

ทงั้ นีแ้ หล่งนา้ ตน้ ทนุ ของโครงการใชน้ า้ จากคลองมาบ แล้ง ทาให้ประสบปัญหาการขาดแคลนน้าในช่วงหน้าแล้ง 57
ไผ่ ซ่ึงมีพืน้ ท่ีรบั นา้ 47.27 ตร.กม. และดึงนา้ เข้าสระพักนา้ ดิบ เน่ืองจากมีปริมาณฝนตกนอ้ ยกว่าเกณฑเ์ ฉล่ีย จึงส่งผลกระทบ
หนองตาลึง (สระ 98 ไร่) ซ่ึงมีความจุประมาณ 4 ล้าน ลบ.ม. ต่อการผลิตนา้ ประปาใหก้ ับผูใ้ ช้ ซ่ึงก็คาดว่าสถานการณ์นา้ ใน
โดยมีระบบส่งนา้ ดิบสาหรบั นิคมอตุ สาหกรรมอมตะนครผ่านท่อ อ่างเก็บนา้ หลกั จะไม่เพียงพอตอ่ การผลิตนา้ ประปา ดงั นนั้ บริษัท
HDPE ขนาด 630 มม. ยาว 2,154 เมตรและทอ่ เหล็กชนิดวางใต้ ไดเ้ ล็งเหน็ ถงึ ความสาคญั จงึ เขา้ ประมลู โครงการและชนะการมลู
ดนิ ขนาด 600 มม. ยาว 5,036 เมตร เป็นระยะทางประมาณ 7.2 ในปี 2562 และปัจจุบันได้เร่ิมจาหน่ายน้าประปาให้แค่ การ
กิโลเมตร โดยส่งนา้ ดบิ ไปยงั สระเก็บนา้ ของลูกคา้ โดยใชร้ ะบบ ประปานครหลวงไปแล้วเม่ือเดือนตุลาคม 2562 และทยอย
สูบนา้ ดิบแบบแพลอย เคร่ืองสูบนา้ ขนาด 750 ลบ.ม./ช่ัวโมง จาหนา่ ยนา้ ประปาจนครบทงั้ 4 โครงการในเดอื น ธนั วาคม 2562
แรงดนั 50 เมตร จานวน 2 ตวั ระบบทอ่ ส่งนา้ สายหลกั เช่ือมโยง
กันเป็ นโครงข่ายท่อส่งน้า การสูบส่งน้าดิบของบริษัทจะ ขนั้ ตอนการผลิตนา้ ประปา โรงสบู นา้ จะสูบนา้ ดิบจาก
ดาเนินการสูบนา้ จากแหล่งนา้ หลกั คือบอ่ 98 ไร่ เป็นหลกั ตลอด แหล่งนา้ ท่ีทางบริษัทไดเ้ ช่าพืน้ ท่ี ไดแ้ ก่ ขุมนา้ ตลาดนา้ ขุมนา้ ส่ี
ทงั้ ปี และไดม้ ีการจัดซือ้ นา้ ดิบเพ่ือเติมอีกส่วนหน่งึ จากแหล่งนา้ กอ และขุมนา้ โกยสมบูรณ์ โดยมีความจรุ วม 2,700,000 ลบ.ม.
เอกชนในพืน้ ท่ีใกล้เคียง เพ่ือสารองในช่วงฤดูแล้ง เพ่ือบริหาร ขนึ้ มาโดยจะกาจดั เศษวชั พืชหรือส่ิงแขวงลอย ก่อนนานา้ ดิบเขา้
ความเส่ียงจากการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ สู่กระบวนการผลิตนา้ ประปา โดยเติมสารเคมีเพ่ือปรับสภาพ
ความเป็นกรดด่างและช่วยใหเ้ กิดการตกตะกอนท่ีเร็วขึน้ ผ่าน
2) การผลติ และจาหนา่ ยนา้ ประปา กระบวนการกรองและการเติมคลอรีนเพ่ือฆ่าเชื้อโรคก่อน
บริษัทผลิตและจาหน่ายน้าประปา ในนามบริษัท ตรวจสอบคณุ ภาพและส่งจ่ายเป็นนา้ ประปาตอ่ ไป

ซุปเปอร์ วอเตอร์ จากัด ใหแ้ ก่ การประปาส่วนภูมิภาค ในพืน้ ท่ี 3) การผลิตและจาหนา่ ยนา้ เพ่ืออตุ สาหกรรม
จงั หวดั ภเู ก็ต ไดแ้ ก่ ต.ฉลอง และต.กระทู้ รวมทงั้ หมด 4 โครงการ
โดยมีอายสุ ัญญา 5 ปี ปริมาณนา้ ขนั้ ต่า 10,200 ลบ.ม.วนั และ บริษัทผลิตและจาหน่ายนา้ เพ่ืออุตสาหกรรม ในนาม
จาหน่ายใหแ้ ก่ครวั เรือนในพืน้ ท่ีตาบลชัยมงคล จ.สมทุ รสาครอีก บริษัท กิจการรว่ มคา้ ไทยพานิชนาวาก่อสรา้ ง และแหล่งนา้ ไทย
บางสว่ น ทงั้ นี้ พืน้ ท่ีในจงั หวดั ภเู ก็ตท่ีผ่านมาไดป้ ระสบปัญหาภยั จากดั ซง่ึ ถือหนุ้ โดย บริษัท ซุปเปอร์ วอเตอร์ จากดั โดยผลิตและ
จาหน่ายนา้ เพ่ืออุตสาหกรรม ให้แก่ พื้นท่ีจังหวัดสมุทรสาคร
รวมถึงนา้ ประปา ใหแ้ ก่พืน้ ท่ีตาบลชัยมงคล จงั หวดั สมุทรสาคร
ตงั้ อย่ทู างภาคกลาง ติดกบั ทะเลอ่าวไทย เป็นจงั หวดั ท่ีมีจานวน
โรงงานอุตสาหกรรมมากถึง 5,585 แห่ง ซ่ึงนับว่ามากท่ีสุดใน
ประเทศไทย ซ่ึงส่งผลใหจ้ ังหวดั สมุทรสาครประสบปัญหาการ
ขาดแคลนน้าเพ่ือใช้ในการอุตสาหกรรม บริษัทจึงได้เข้า
ดาเนินการผลิตนา้ ประปาเพ่ือจาหน่ายในพืน้ ท่ีองคก์ ารบริหาร
ส่วนตาบลชัยมงคล จังหวัดสมุทรสาคร โดยได้รับสัมปทาน
ประกอบกิจการประปาจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ ม และพรอ้ มกันนีบ้ ริษัทยังไดข้ ยายการจาหน่ายนา้
เพ่ืออตุ สาหกรรมไปยงั นคิ มอตุ สาหกรรมสมทุ รสาคร และพืน้ ท่ีฝ่ัง
ตะวนั ตกของแม่นา้ ท่าจีนเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการใชน้ า้ เพ่ือ
อุตสาหกรรม และทดแทนการใชน้ า้ บาดาลของภาคอุตสากรรม
ในจังหวดั สมทุ รสาคม โดยกลุ่มลูกคา้ ปัจจุบนั มีทงั้ รายใหญ่และ

รายยอ่ ย มีความตอ้ งการใชน้ า้ รวม 14,000 ลบ.ม./วนั นอกจากนี้ ปอ้ งการการตกคา้ งและสะสมในเย่ือเมมเบรน ทงั้ นีม้ ีระบบทอ่ ส่ง
ยังมีลูกคา้ ในบริเวณพืน้ ท่ีให้บริการท่ีมีความตอ้ งการใช้นา้ ใน นา้ เพ่ือระบบประปาและอุตสาหกรรม ส่งนา้ ผ่านท่อ PE 4 ขนาด
อนาคตอีก 4,000 ลบ.ม./วนั ไดแ้ ก่ ขนาด 630 มม. 315 มม. 225 มม. และ 160 มม. เป็น
ระยะทางประมาณ 11 กโิ ลเมตร
แหล่งน้าดิบ ได้รับอนุญาติให้สูบน้าจากทางน้า
ชลประทานของโครงการสบู เพ่ือนานา้ ไปใหใ้ นการผลิตนา้ ประปา ระบบ RO ผ่านกระบวนการกรอง 4 ข้ันตอน ดังนี้
โดยใหส้ บู นา้ หรือชกั นา้ วนั ประมาณ 100,000 ลกู บาศกเ์ มตรต่อ
วนั โดยสง่ นา้ และบารุงรกั ษาดาเนนิ สะดวก ท่ีเช่ือมระหวางแม่นา้ 1. Sediment Filter เป็นการกรองตะกอนหยาบขนั้ ตน้
แม่กลองและแมน่ า้ ทา่ จีน คลองดงั กล่าวรบั นา้ จากแม่นา้ แม่กลอง โดยตะกอนหยาบส่ิงสกปรกท่ีปะปนมากบั นา้ ทกุ ชนิด เช่น ทราย
ซง่ึ มีแหล่งเก็บกกั ขนาดใหญ่ จึงมีความม่นั คงของแหล่งนา้ สูง ไม่ ละเอียด สนิมเหล็ก เศษผง จุลินทรีย์ และสามารถกรองส่ิงเล็ก
มีปัญหาขาดแคลนนา้ กวา่ เสน้ ผมไดถ้ งึ 5 เท่า โดยเย่ือกรองเป็น Polypropylene Filter
ขนาด 5 ไมครอน เป็นการปรบั สภาพนา้ ระดบั หน่ึง เพ่ือยืดอายุ
ระบบผลิตน้าเพ่ืออุตสาหกรรมแบบ Reverse การใชง้ านของเย่ือกรองเมมเบรน
Osmosis สาหรบั ระบบผลิตนา้ เพ่ืออุตสหกรรม บริษัทใชร้ ะบบ
Reverse Osmosis ท่ีมีกาลงั การผลิต 13,000 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ 2. Pre-Carbon Filter สารกรองจะเป็นถ่านกมั มันต์
วนั แบ่งเป็น 2 Phase คือ Phase 1 มีกาลงั การผลิต 5,000 ลบ. (Activated carbon) ซ่งึ จะลดปริมาณคลอรีนในนา้ ท่ีจะทาลาย
ม./วนั และ Phase 2 มีกาลงการผลิต 8,000 ลบ.ม./วนั ซ่งึ เป็น เย่ือเมมเบรนนอกจากนีย้ งั สามารถปรบั ปรุง สี กล่ิน และรสชาด
ระบบการกรองท่ีใช้เย่ือกรองท่ีมีความละเอี ยดสูง ทาให้ ของนา้
สารละลาย ส่ินปนเปื้อน รวมทงั้ เชือ้ โรคต่างๆ ท่ีมีขนาดใหญ่กว่า
3. RO Membrane จะสามารถขจัดส่ิงปนเปื้อนในนา้
58 เย่ือกรอง ไม่สามารถแทรกตวั ผ่านไปได้ โดยสารละลายและส่ิง เป็นกระบวนการท่ีใชแ้ รงดนั นา้ ผ่านเย่ือกรอง ซ่งึ เป็นเย่ือกรองท่ี
สามารถใหน้ า้ ซมึ ผ่านได้ มีรูขนาด 0.0001 ไมครอน มีสดั ส่วนใน
ปนเปื้อนจะถูกแยกออกจากนา้ ดี และกาจัดออกจากระบบ เพ่ือ การแยกสารละลาย (Salt Rejection) สามารถแยก สารเคมีโลหะ
หนกั เช่น ตะก่ัว ปรอท แคดเม่ียม ฯลฯ และเชือ้ โรคต่างๆ ออก
จากนา้ ไดม้ ากถงึ 95%-99.8%

4. Post – carbon Filter สารกรองจะเป็นถ่านกมั มนั ต์
(Activated carbon) เป็นขั้นตอนสุดทา้ ยของระบบการกรอง
ขจัดกล่ิน หรือก๊าซท่ียงั คงเหลือในนา้ และปรบั รสชาดของนา้ ให้
เป็นธรรมชาติ

ผงั การทางานของระบบผลิตน้า กาลงั ผลิต 5,000 ลบ.ม./วนั

59

2.3.2 การตลาดและการแข่งขัน ความพรอ้ มสงู ทงั้ ดา้ นการลงทนุ และการบรหิ ารจดั การ ท่ีจะทาให้
เกิดเสถียรภาพท่คี รอบคลมุ พืน้ ท่ตี ามขา้ งตน้
บริษัท เป็นผูป้ ระกอบการธุรกิจผลิตและจาหน่ายนา้ กลยทุ ธ์
ดบิ นา้ เพ่ืออตุ สาหกรรม และนา้ ประปา ใหแ้ กน่ คิ มอตุ สาหกรรมท่ี
สาคญั ของประเทศ รวมทงั้ การประปาส่วนภูมิภาค โดยสภาพ 1. การตรวจวดั คณุ ภาพของนา้ ประปา ณ จดุ รบั นา้ ของ
การแข่งขันในพื้นท่ี ณ ปัจจุบันยังมีผู้แข่งขันน้อยราย อีกทั้ง ลกู คา้ ทกุ สปั ดาห์
โอกาสท่ีจะเกิดคู่แข่งเป็นไปได้ค่อนข้างน้อย ทั้งนี้ทางสภา
อุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรสาครยังแนะนาการซื้อนา้ ให้กับ 2. ส่งผลตรวจวดั คณุ ภาพนา้ จาก LAB ทกุ เดือน
โรงงานในพืน้ ท่สี มทุ รสาคร เพ่ือเป็นการลดตน้ ทนุ ในกระบวนการ 3. ความรวดเรว็ ในการใหบ้ รกิ าร
ผลิตภาคอุตสาหกรรมของผู้ประกอบการ และเป็นแหล่งนา้ 4. การแกไ้ ขปัญหาทกุ ปัญหาท่ลี ูกคา้ รอ้ งขอ แมจ้ ะมิใช่
สารองสาหรับแผนความต่อเน่ืองทางธุรกิจ แต่อย่างไรก็ตาม ขอบเขตของการใหบ้ รกิ าร
สาหรบั พืน้ ท่ีใหม่ ยังคงมีการแข่งขันท่ีเปิดกวา้ งทกุ รายท่ีจะตอ้ ง
ทาการประมลู โครงการกจิ การประปาใหม่ 5. การรกั ษาความสมั พนั ธอ์ นั ดีอย่างตอ่ เน่ือง

กล่มุ ประเภทลกู คา้ และชอ่ งทางการจดั จาหน่าย

บรษิ ัท มีการจดั แบง่ ประเภทของลกู คา้ ออกเป็น 3 กล่มุ

เ พ่ื อ ใ ห้ค ร อ บค ลุม ก ลุ่ม เ ป้ าหม าย หลัก ข อ ง แ ต่ ล ะ พื้น ท่ี

ประกอบดว้ ย

1. กล่มุ นิคมอตุ สาหกรรม

2. การประปาสว่ นภมู ภิ าค

3. กล่มุ ผบู้ รโิ ภคครวั เรอื น

บรษิ ัท มีชอ่ งทางจดั จาหนา่ ยทงั้ นา้ ดิบ นา้ ประปา และ

นา้ เพ่ืออุตสหกรรม ให้แก่ลูกคา้ ทั้งในลักษณะผู้ค้าส่ง และผู้

อปุ โภคบรโิ ภคโดยตรง

60 นอกจากนีบ้ ริษัทมีเป้าหมายในการขยายฐานลูกค้า
เพ่ิมเติม ทงั้ ในพืน้ ท่ีใกลเ้ คียงกับจุดจาหน่ายเดิม และทงั้ ในพืน้

จงั หวดั ๆอ่ืน ทงั้ ในโซนภาคใตแ้ ละภาคกลาง ทงั้ นีถ้ ือว่าบริษัทมี

2.4 ธุรกิจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บริษัทฯ ยังได้พัฒนาระบบงาน เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการ
(Information & Communications Technology) Manage Services ผ่าน Cloud เพ่ือใหเ้ กิดประสิทธิภาพ และ
ความคล่องตวั และรวดเรว็ ในการใหบ้ รกิ ารลกู คา้
สาหรบั เป้าหมายทางธุรกิจของบริษัทในช่วงของการ
เปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีซง่ึ เป็นไปอยา่ งรวดเรว็ บริษัทไดม้ ีการ โครงสรา้ งรายได้
วางแผนในการดาเนินการเพ่ิมศักยภาพใหแ้ ก่บุคคลากรของ โครงสรา้ งรายไดร้ วมของ OPEN ในช่วง 3 ปีท่ผี ่านมา
บริษัทเพ่ือเตรียมความพรอ้ มในการใหบ้ ริการทั้งในด้านการ
ส่ือสาร การบริการและท่ีสาคัญอย่างย่ิงคือความสามารถเชิง แยกตามประเภทของผลิตภณั ฑแ์ ละบรกิ ารดงั นี้
เทคนิคเพ่ือรองรับการให้บริการกลุ่มลูกค้าทั้งภาครัฐ และ
ภาคเอกชนท่ีมีการจดั กระบวนการ และโครงสรา้ งพืน้ ฐานทางไอ ผลติ ภณั ฑ์ ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560
ทีเพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั ยคุ เศรษฐกจิ ดจิ ิตอล ลา้ นบาท รอ้ ยละ ลา้ นบาท รอ้ ยละ ลา้ นบาท รอ้ ยละ

2.4.1 ลักษณะผลิตภัณฑห์ รอื บริการ รายไดจ้ ากการบริการฯ1/ 79.49 91.95 126.09 92.69 100.21 89.76

บริษัท โอเพ่น เทคโนโลย่ี จากัด (มหาชน) ประกอบ รายไดจ้ ากการขายฯ2/ 1.47 1.70 3.22 2.37 5.97 5.35
ธุรกิจดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Information & 5.37 6.21 5.30 3.89 5.16 4.62
Communications Technology) โดยบริษัทดาเนินธุรกิจเน้น รายไดจ้ ากการบรหิ าร
รูปแบบท่ีเอือ้ อานวยใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของลูกคา้ ใน อสงั หารมิ ทรพั ย์ 0.12 0.14 1.43 1.05 0.30 0.27
แต่ละกลุ่มเป็ นปัจจัยหลัก ตั้งแต่การคัดสรรผลิตภัณฑ์และ รายไดอ้ ่นื /3
ระบบงาน ซง่ึ บริษัทเป็นผจู้ ดั จาหน่ายผลิตภณั ฑด์ า้ นเทคโนโลยีท่ี
มีช่ือเสียง โดยผ่านตวั แทน หรือค่คู า้ (Distributors / Partners) รายไดร้ วม 86.45 100.00 136.04 100.00 111.64 100.00
เพ่ือจดั หาผลติ ภณั ฑด์ า้ นเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั รูปแบบการใช้
งานและลักษณะการดาเนินธุรกิจของลูกคา้ ในกลุ่มต่างๆ ทัง้ หมายเหตุ :
ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน และองค์กรอิสระ เพ่ือให้เกิด /1 รายได้จากธุรกิจบริการส่วนใหญ่มาจากธุรกิจการให้บริการ
ประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรและธุรกิจของลูกคา้ ทั้งนี้บริษัทให้ บารุงรกั ษาอปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ ระบบสารสนเทศและจดั หาบคุ คลากร
ความสาคญั ในเร่ืองการใหบ้ ริการแบบ Manage Services โดย แบบใหบ้ ริการครบวงจร (Maintenance Services and Outsourcing
การใหบ้ ริการจดั หาบคุ คลากรเจา้ หนา้ ท่ีเพ่ือใหป้ ฏิบตั ิงานประจา Services)
ณ จุดท่ีลูกคา้ ตอ้ งการ (Outsourcing Services) โดยทีมวิศวกร /2 รายไดจ้ ากการขายอปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ และ
ผู้เช่ียวชาญเฉพาะทาง ทางานร่วมกับ ทีมวิศวกรของลูกค้า อปุ กรณต์ ่อพ่วง จะถกู บนั ทกึ รบั รูเ้ ป็นรายไดจ้ ากการขายคอมพิวเตอร์
เสมือนเป็นทีมงานเดียวกันเพ่ือใหเ้ กิดความคล่องตัว และมี และซอฟตแ์ วร์ ขณะที่รายไดใ้ นส่วนค่าติดตงั้ อุปกรณด์ งั กล่าวจะถูก
ประสิทธิภาพสูงสุด ภายใตเ้ ง่ือนไข ขอ้ ตกลงของการใหบ้ ริการ บนั ทึกรบั รูเ้ ป็นรายไดใ้ นส่วนค่าบรกิ ารพฒั นาและบารุงรกั ษาอปุ กรณ์
(Services Level Agreement) นอกจากนีบ้ รษิ ัทยงั ใหบ้ ริการใน และระบบ
แบบ On-Demand เช่น การให้บริการบารุงรักษาอุปกรณ์ /3 รายไดอ้ นื่ ประกอบดว้ ย ดอกเบีย้ รบั และรายไดเ้ บด็ เตล็ดอ่ืนๆ
คอมพิวเตอร์ ( Maintenance Services) เม่ืออุปกรณ์เกิดขัด
คล่อง หรือระบบมีปัญหา รวมถึงการใหบ้ ริการดา้ นการพัฒนา 1) งานพัฒนาและวางระบบสารสนเทศ (System 61
และดูแลรกั ษาระบบซอฟแวร์ (Application Software) โดยมี
ทีมงานผูเ้ ช่ียวชาญการพฒั นาระบบทงั้ ภาครฐั และ เอกชน เพ่ือ Integration: SI)
ตอบสนองความตอ้ งการของลูกคา้ ในทุกภาคส่วน นอกจากนี้ งานพัฒนาและวางระบบสารสนเทศ หรือธุรกิจการ

เช่ือมตอ่ ระบบ (System Integration) เป็นธุรกิจการใหบ้ ริการ

แบบครบวงจรตงั้ แตก่ ารออกแบบระบบ การจดั หาฮารด์ แวรแ์ ละ
ซอฟตแ์ วร์ การพฒั นาระบบและใหค้ าปรกึ ษาในการติดตงั้ ระบบ
คอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศท่ีเหมาะสม เพ่ือตอบสนองความ
ตอ้ งการของลูกคา้ ภายใตง้ บประมาณท่ีกาหนด การใหบ้ ริการ
เช่ือมต่อระบบ เช่น ระบบการจัดเก็บข้อมูล ระบบรกั ษาความ

ปลอดภยั ของขอ้ มลู ระบบเช่ือมตอ่ เครือข่ายภายในองคก์ ร ระบบ 3) บริการด้านการบริหารงานและให้คาปรึกษา
เช่ือมตอ่ เครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ เป็นตน้ ดา้ นธุรกิจ (Business Commercial)

2) งานด้านการบริการบารุงรักษาอุปกรณค์ อมพิวเตอร์ บรกิ ารดา้ นการบริหารงานและใหค้ าปรกึ ษาดา้ นธุรกิจ
และจดั หาบุคลากรแบบให้บรกิ ารครบวงจร ซ่ึงเป็นธุรกิจตั้งแต่แรกเร่ิมของบริษัท เช่น การบริหารอาคาร
(Maintenance Services and Outsourcing Services) (Property Management) นอกจากนี้ บริษัทรบั บรหิ ารงานดา้ น
บรษิ ทั มีรูปแบบในการใหบ้ รกิ ารดา้ นซอ่ มบารุงหรือการ สารสนเทศ (IT) และงานท่ีปรึกษาในการวางระบบสารสนเทศ
โดยบริษัทเป็ นท่ีปรึกษาด้านการส่ือสารโทรคมนาคม ท่ีจด
บารุงรกั ษาระบบงานของลูกคา้ ยืดหยุ่นตามความตอ้ งการของ ทะเบยี นกบั ศนู ยข์ อ้ มลู ท่ปี รกึ ษาไทย กระทรวงการคลงั
ลกู คา้ ตงั้ แตก่ ารส่งพนกั งานของบรษิ ัทไปท่ีบรษิ ัทลกู คา้ เพ่ือแกไ้ ข
ปัญหาใหก้ บั ลกู คา้ (On-Site Service หรือ On-Demand) และ 2.4.2 การจัดหาผลติ ภัณฑห์ รอื บรกิ าร
ในรูปแบบการ Manage Services โดยส่งพนกั งานไปประจา ณ
จุดท่ีลูกคา้ ตอ้ งการ (Outsourcing Services)และปฏิบัติงาน กลยทุ ธใ์ นการดาเนินธรุ กิจ
เสมือนเป็นทีมงานเดยี วกบั ลกู คา้ ภายใตเ้ ง่ือนไขขอ้ ตกลงระหว่าง การดาเนินธุรกิจดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศใหป้ ระสบ
กนั ( Service Level Agreement) รวมถึงการจดั พนกั งานคอย
ตอบคาถามเพ่ือแกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดขึน้ ทางโทรศพั ท์ (IT Help ความสาเรจ็ นนั้ จาเป็นตอ้ งสรา้ งจุดแข็งขององคก์ ร เป็นแนวทาง
Desk) และประสานงานกรณีตอ้ งใชผ้ ู้เช่ียวชาญในการแกป้ ัญหา ท่ีบริษัทฯ ยดึ ม่นั มาตลอด เน่ืองจากเป็นตลาดท่ีมีการแข่งขนั สูง
เพ่ือความสะดวกและรวดเร็ว ครอบคลมุ ถึงการแกไ้ ขพฒั นาและ และมีการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลา ซ่ึงบริษัทได้
บารุ งรักษาระบบงาน หรือโปรแกรมประยุกต์ (System เล็งเห็นและตระหนกั ถึงขอ้ สาคญั ดงั กล่าว จึงมีการวางนโยบาย
Application )ในการใหบ้ ริการแก่ลูกคา้ ทงั้ ภาครฐั รฐั วิสาหกิจ และเปา้ หมายท่ชี ดั เจนในการดาเนินธุรกิจ จงึ ทาใหบ้ ริษัทฯ ยงั คง
และเอกชน ดาเนินธุรกิจไดอ้ ย่างย่ังยืน โดยยังคงเนน้ กลยุทธ์ในการดาเนิน
ธุรกิจดา้ นต่างๆเหมือนเช่นท่ีผ่านมา แต่จะปรับเปล่ียนเนือ้ หา
รูปแบบการใหบ้ ริการบารุงรกั ษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ขนั้ ตอนและ แนวทาง ไปตามยุคสมัย และการเปล่ียนแปลงของ
และจัดหาบุคลากรแบบให้บริการครบวงจร (Maintenance เทคโนโลยี
Services and Outsourcing Services)
ความชดั เจนในการดาเนนิ ธุรกิจ
การใหบ้ ริการตลอดเวลา 24 ช่วั โมง ทกุ วนั โดยไม่มี ดังท่ีกล่าวไวข้ า้ งตน้ การดาเนินธุรกิจนัน้ จาเป็นตอ้ ง
วนั หยดุ
สรา้ งจุดแข็งใหก้ บั องคก์ รเพ่ือพัฒนาใหส้ ามารถแข่งขนั กบั ค่แู ข่ง
การใหบ้ รกิ าร 8 ช่วั โมงตอ่ วนั ใน 5 วนั ทาการ
การจดั ส่งพนกั งานไปประจา ณ จุดท่ีลูกคา้ ตอ้ งการซ่งึ
ใหบ้ รกิ ารตาม รูปแบบท่ไี ดต้ กลงกนั

62

ขนั ในตลาดไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ซง่ึ ในชว่ งระยะเวลาท่ีผ่านมา เดิมให้ยังคงพึงพอใจในการใช้บริการของบริษัทฯ เสมอมา 63
บรษิ ทั ฯ ไดว้ างแผนงานและนโยบายท่ีชดั เจนในการพฒั นาธุรกิจ นอกจากนี้ยังจัดให้มีวิศวกรผู้บริหารงานโครงการ (Project
ในด้านการให้บริการ Maintenance Services and Manager) คอยให้คาปรึกษาและประสานงานระหว่างลูกค้า
Outsourcing Services เป็นหลัก นอกจากการใหบ้ ริการกับ
องคก์ รภายนอกแลว้ ภารกิจอีกส่วนหน่งึ คือการเพ่ิมศกั ยภาพใน ทีมงานและสานักงานเพ่ือใหเ้ กิดความคล่องตวั และรวดเร็วใน
ดา้ นเทคโนโลยีใหแ้ ก่องคก์ รภายใน เพ่ือใหม้ ีความคล่องตวั สอด การดแู ลลกู คา้ แต่ละโครงการ รวมถงึ การจดั ใหม้ ี IT Help Desk
รบั กบั การเปล่ียนแปลงในยคุ Digital Transformer ในส่วนกลางเพ่ือคอยแกป้ ัญหาเบือ้ งตน้ และคอยประสานงาน
กบั หน่วยงานต่างๆ เพ่ือความสะดวกรวดเร็วในการใหบ้ ริการแก่
ทงั้ นีใ้ นปีท่ผี า่ นมาบรษิ ทั ฯ ไดพ้ ฒั นาระบบงานท่ีจะช่วย ลกู คา้
ให้การบริหารจัดการระบบเครือข่ายขององค์กร และการ การรกั ษาฐานลกู คา้ เดมิ และการตอ่ ยอดธุรกิจ
ใหบ้ ริการลูกคา้ ในรูปแบบออนไลน์ ผ่าน Cloud เพ่ือเพ่ิมความ
รวดเรว็ และมีประสิทธิภาพในการบรหิ ารจดั การ จากกลยทุ ธข์ า้ งตน้ ทาให้ บรษิ ทั ฯยงั คงรกั ษาฐานลกู คา้
เดมิ ไวไ้ ดอ้ ย่างเหนียวแน่น ในปีท่ผี า่ นมาบรษิ ัทฯ ไดข้ ยายประเภท
การสรรหาบคุ ลากรท่มี ีคณุ ภาพ ธรุ กิจท่เี ก่ียวเน่ืองกบั งานไอทีในการใหบ้ รกิ ารดา้ น Maintenance
จากความชดั เจนในการบรหิ ารธุรกิจ จงึ ทาให้ บริษัทฯ Services and Outsourcing Services โดยเฉพาะกลมุ่ ภาครฐั
ลกั ษณะลกู คา้ และกลมุ่ ลกู คา้ เปา้ หมาย
สามารถวางแผนการดาเนินการในดา้ นต่างๆ ใหส้ อดคล้องกับ
นโยบายหลักได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงในการเพ่ิมศกั ยภาพ บรษิ ัทมีฐานลกู คา้ จานวนมากในแต่ละกล่มุ ธุรกิจ ทงั้ นี้
ใหแ้ ก่องคก์ รภายใน และลกู คา้ ในยุค Digital Transformer นี้ สามารถแบง่ กล่มุ ลกู คา้ เปา้ หมายของบรษิ ัทเป็น 4 กล่มุ หลกั คือ
จาเป็ นต้องคัดสรรบุคลากรท่ีมีคุณภาพและเหมาะสมกับ กลุ่มหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ กลุ่มหน่วยงาน
Function งาน จึงจะทาใหก้ ารดาเนินธุรกิจดา้ น Maintenance ภาคเอกชนและการค้าระหว่างประเทศ กลุ่มสถาบันการเงิน
Services and Outsourcing Services เกิดประสิทธิภาพอย่าง หลกั ทรพั ย์ และประกนั ภยั กล่มุ องคก์ รและหน่วยงานอิสระ และ
สูงสุด บริษัทมีนโยบายท่ีรัดกุมในการสรรหาบุคลากรผู้มี อ่ืนๆ
คณุ ภาพเพ่ือเขา้ ร่วมงานในองคก์ ร พรอ้ มทงั้ จดั ใหม้ ีการอบรมทงั้
ภายในและภายนอกองคก์ รทงั้ ในเชิงเทคนิคและทกั ษะในดา้ น กลุ่มหน่วยงานรฐั บาลและรฐั วิสาหกิจ ยังคงถือเป็น
อ่ืนๆ (Soft Skill) รวมถึงมีการทบทวนและปรบั ปรุงผลประโยชน์ กล่มุ ลกู คา้ หลกั ในการดาเนินธุรกิจของ บรษิ ัท ในปี 2562 บริษัท
และสวสั ดกิ ารตา่ งๆของพนกั งานอยา่ งสม่าเสมอ เพ่ือใหบ้ คุ ลากร มีสัดส่วนของรายไดใ้ นกลุ่มดงั กล่าวคิดเป็นอัตรา 62.45% ของ
ท่ีคัดสรรมานัน้ มีคุณภาพชีวิตท่ีดี และ มีความพรอ้ มท่ีจะ รายไดร้ วม
ใหบ้ ริการเพ่ือสรา้ งความพึงพอใจ และมลู ค่าเพ่ิมทางธุรกิจแก่
กล่มุ บรษิ ทั และลกู คา้ กลมุ่ หน่วยงานภาคเอกชนและการคา้ ระหว่างประเทศ
ประกอบด้วย ธุรกิจทางด้านเทคโนโลยี และ บริการทาง
การพฒั นาคณุ ภาพและความสม่าเสมอในการใหบ้ รกิ าร
ส่วนสาคัญในการดาเนินธุรกิจการให้บริการท่ีดีนั้น การแพทย์ กล่มุ อตุ สาหกรรมและคา้ ปลีก กล่มุ ธุรกิจการบนิ และ
กลุ่มธุรกิจรถยนต์ เป็นตน้ ถือเป็นกลุ่มลูกคา้ หลกั อีกกลุ่มหน่ึง
จาเป็นตอ้ งใหค้ วามใสใ่ จและใหบ้ ริการแก่ลกู คา้ อย่างใกลช้ ิดและ ซ่ึงบริษัท ได้ให้บริการมาอย่างต่อเน่ือง และยังคงให้ความ
สม่าเสมอ นอกจากนีย้ งั ตอ้ งมีการพฒั นาคุณภาพการใหบ้ รกิ าร ไว้วางใจในการใช้บริการ โดยท่ีทีมงานของ บริษัทมีการ
เพ่ือประโยชน์เพ่ิมของลูกค้า โดยร่วมกับลูกค้าในการให้ ปฏิบตั ิงานรว่ มกนั กบั ลูกคา้ ในลักษณะ Partner ship มีการรว่ ม
คาปรกึ ษาและสนบั สนนุ ในดา้ นเทคนิค และ Man Powerในการ
พัฒนาองคก์ รของลูกคา้ ซ่งึ เป็นกลยุทธ์ในการรกั ษาฐานลูกคา้ วางแผนงานการประชุมหารือร่วมกันอย่างต่อเน่ือง ทาใหเ้ ขา้ ใจ
ถงึ ลกั ษณะงาน ปัญหาตา่ งๆ และเกิดความรวดเร็วและคล่องตวั
ในการบริหารโครงการ ซ่ึงในปี 2562 บริษัทมีรายได้จากกลุ่ม
หน่วยงานภาคเอกชนและการคา้ ระหว่างประเทศ คิดเป็นอัตรา
28.92% ของรายไดร้ วม

กลุ่มสถาบันการเงิน หลักทรพั ย์ และประกันภัย เป็น ซ่งึ จากการคาดการณข์ อง IDC ภายในปี 2563 20%
กลุ่มลูกคา้ ซ่ึงบริษัท ไดใ้ ห้บริการมาอย่างต่อเน่ืองเช่นกัน มี ขององคก์ รขนาดใหญ่ในประเทศไทยจะมีการกาหนดกลยุทธก์ าร
สดั ส่วนรายไดใ้ นกลุ่มดังกล่าวคิดเป็นอัตรา 8.63% ของรายได้ สรา้ ง “แพลตฟอรม์ ดจิ ิทลั ทรานสฟ์ อรเ์ มชนั ” ท่ชี ดั เจน และ จะเร่มิ
ทงั้ หมด ดาเนินการติดตั้งแพลตฟอร์มนีเ้ พ่ือเป็นเคร่ืองมือหลักในการ
แข่งขันในเศรษฐกิจดิจิทัล อีกส่วนหน่ึงท่ีไม่พูดถึงไม่ได้คือ
ก ลุ่ ม อ ง ค์ก ร แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น อิ ส ร ะ แ ล ะ อ่ื น ๆ เทคโนโลยี 5G ซ่งึ จะเขา้ มามีบทบาทอย่างมากและเป็น กุญแจ
ประกอบดว้ ยองคก์ รสาธารณะกศุ ล และหนว่ ยงานเพ่ือสาธารณะ สาคญั ในการผลักดนั ใหเ้ กิดการปฏิรูปเศรษฐกิจและพลิกโฉม
ทงั้ ในประเทศและระหว่างประเทศ ซ่ึงบริษัทไดใ้ หบ้ ริการ โดย ภาคอตุ สาหกรรมไทยในยคุ ดจิ ิทลั
มิได้มุ่งคา้ กาไร เพ่ือเป็นการช่วยเหลือองคก์ รและหน่วยงาน 2.4.4 ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม / งานทางดา้ น CSR
สาธารณะดงั กล่าว ถือเป็นการทาประโยชนต์ อ่ สงั คมในทางออ้ ม
บรษิ ัทตระหนกั ดีว่าการสรา้ งมลู ค่าสูงสุดใหแ้ ก่องคก์ ร
2.4.3 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน นนั้ ไม่เพียงแต่แค่สรา้ งผลตอบแทนสูงสุดของธุรกิจ แต่ยังตอ้ ง
คานงึ ถงึ ความเป็นอยขู่ องพนกั งานและการมีสว่ นรว่ มตอ่ สงั คมทงั้
ในปีท่ผี า่ นมาจะเหน็ ไดช้ ดั เจนกบั การเปล่ียนแปลงของ ภายในและภายนอกองคก์ ร ซ่งึ ยังจาเป็นตอ้ งสรา้ งความเขา้ ใจ
การเข้าสู่ยุค Digital Transformation ทงั้ ดา้ นการเมือง การ ถึงความสาคญั ของการทา CSR เพ่ือปลูกฝังใหบ้ ุคคลากรของ
พาณิชย์ และ life style ของผคู้ นท่วั โลก รวมถึงประเทศไทยท่ีได้ บรษิ ทั มีความตระหนกั ถงึ การมีส่วนรว่ มตอ่ สงั คม ทาใหเ้ กิดความ
นาเทคโนโลยี ต่างๆเข้ามาใช้ในการดาเนินธุรกิจ เพ่ือเพ่ิม ผกู พนั ในองคก์ รนาไปสคู่ วามย่งั ยืนของธุรกิจตอ่ ไป
ความสามารถขององคก์ รทางดา้ นดิจิทลั ทั้งรูปแบบการทางาน
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการปฏิสัมพันธ์กับคู่คา้ และลูกคา้ 2.4.5 งานทยี่ ังไม่ได้ส่งมอบ
เพ่ือกา้ วเขา้ ส่เู ศรษฐกิจดจิ ิทลั อย่างเต็มตวั แมว้ า่ ความผนั ผวน บรษิ ัทมีสญั ญาขายสนิ คา้ และสญั ญาบริการกบั ลูกคา้
ทางการเมืองจะส่งผลใหเ้ ศรษฐกิจท่วั โลกเขา้ ส่ภู าวะถดถอย แต่
จากการคาดการณ์การใชจ้ ่ายดา้ นไอทีท่วั โลกในปี 2563 ของ ในลกั ษณะส่งมอบเป็นครงั้ เดียวหรือตามงวดงาน หรือเป็นประจา
การท์ เนอร์ อิงค์ (บริษัทผูใ้ หบ้ ริการดา้ นการวิจัยตลาดและการ ตามระยะเวลาท่ีระบุในสญั ญา ซ่ึง ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2562
วเิ คราะหส์ าหรบั อตุ สาหกรรม IT) ยงั คาดการณว์ า่ จะเติบโตสูงถึง และ 2561 มีจานวนทงั้ สิน้ 47.99 ลา้ นบาท และ 49.40 ลา้ นบาท
3.9 ลา้ นลา้ นดอลลารส์ หรฐั โดยเพ่ิมขึน้ 3.4% จากปี 2562 ใน ตามลาดบั
ส่วนของประเทศไทยถึงจะมีกระแสเร่ืองการเมือง ก็ยังมีการ
คาดการณ์ว่าจะเพ่ิมขึน้ 2.4 % หรือมีมูลค่าการลงทุนสูงกว่า
7.52 พันล้านบาท การใช้จ่ายด้านไอทีองค์กรท่ีใช้บริการ
ผ่าน ระบบคลาวด์ (Cloud) จะมีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว
และตอ่ เน่ือง

64

3. ปัจจยั ความเสี่ยง ซง่ึ อาจส่งผลกระทบต่อผลการดาเนินงานของบริษัท แมว้ ่าธุรกิจ 65
โรงไฟฟา้ พลงั งานทดแทนจะถือเป็นธุรกิจท่ีมีความเส่ียงต่า แตใ่ น
SUPER ไดต้ ระหนกั และใหค้ วามสาคญั ในการบริหาร ขั้นตอนการจัดหาท่ีดิน การดาเนินการก่อสร้าง รวมถึงการ
จัดการความเส่ียง เล็งเห็นถึงการบริหารจดั การความเส่ียงเป็น ดาเนินการขายไฟฟ้านั้น อาจมีปัจจัยความเส่ียงดังท่ีจะกล่าว
เคร่อื งมือและแนวทางในการบรหิ ารจดั การดาเนินธุรกิจใหเ้ ป็นไป ต่อไปนี้เกิดขึ้นได้ อย่างไรก็ดี บริษัทได้ตระหนักและให้
ตามเปา้ หมายอย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพ โดยถือว่าการ ความสาคญั ตอ่ การกาหนดแนวทางการบรหิ ารจดั การความเส่ียง
บริหารความเส่ียงเป็ นองค์ประกอบหน่ึงท่ีสาคัญของทุก ท่อี าจจะเกดิ ขนึ้ ดว้ ยการตดิ ตามและประเมนิ ผลกระทบ รวมทงั้ ได้
กระบวนการดาเนินงาน บริษัทจึงตอ้ งมีแผนในหารบรหิ ารความ กาหนดมาตราการปอ้ งกนั ความเส่ียงท่จี ะเกิดขนึ้ ดงั นี้
เส่ียง และมีการตรวจสอบเป็ นอย่าง ตลอดจนแนวทางการ
ป้องกันความสูญเสียต่างๆ ท่ีอาจเกิดขึน้ ทั้งในปัจจุบันและ 1) ความเสีย่ งจากการเปลี่ยนแปลงด้านสภาพภมู อิ ากาศ
อนาคต เน่ืองจากบริษัทลงทุนและพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงาน

3.1 ธุรกิจให้บริการด้านการปฏิบัติการดูแลบารุงรักษา ทดแทน ไดแ้ ก่ โรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทิตย์ โรงไฟฟ้าพลังงาน
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทติ ย์ ความรอ้ นจากขยะ และโรงไฟฟ้าพลงั งานลมท่ีกาลงั ดาเนินงานท่ี
ประเทศเวียดนาม ซง่ึ โครงการดงั กล่าวอาจไดร้ บั ผลกระทบจาก
1) ความเสี่ยงจากการเสื่อมสภาพของเคร่ืองจักรและ การเปล่ียนแปลงหรือความผันผวนของสภาพภูมิอากาศ เช่น
อุปกรณ์ ความเขม้ ของแสงอาทิตย์ การเกิดภัยพิบตั ิต่างๆ ซ่ึงการลงทุน
ส่วนใหญ่ของบริษัทคือโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงทิตย์ใน
ในการดาเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ประเทศ ดังนั้นในการดาเนินโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน
ประกอบไปดว้ ยเคร่ืองจักรและอุปกรณ์หลักๆ อย่างแผงเซลล์ แสงอาทิตย์จึงต้องพ่ึงพิงแสงอาทิตย์เป็ นอย่างมาก หาก
แสงอาทิตย์ อินเวอรเ์ ตอร์ และหมอ้ แปลงไฟฟ้า มาต่อเขา้ เป็น แสงอาทิตยม์ ีความเขม้ แสงนอ้ ยกวา่ ปกติ หรือในบางปี ประเทศ
ระบบเพ่ือผลิตกระแสไฟฟ้าและจดั จาหน่ายใหแ้ ก่หน่วยงานการ ไทยมีเมฆปกคลมุ เป็นจานวนมาก อาจจะส่งผลใหโ้ ซล่าร์ ฟารม์
ไฟฟา้ นนั้ โดยมาตรฐานของอุปกรณด์ งั กล่าวจะมีอายกุ ารใชง้ าน ของบรษิ ัทไมส่ ามารถผลติ ไฟฟา้ ไดเ้ ตม็ ท่ี และอาจส่งผลถงึ รายได้
ท่ยี าวนาน และมีการรบั ประกนั จากทางผผู้ ลิตโดยตรง อย่างไรก็ดี จากการขายไฟฟา้ ของบรษิ ัทฯ
หากอุปกรณ์ใดมีการเส่ือมสภาพเร็วกว่าท่ีระบุไว้ หรือเกิดจาก
การดาเนินงาน ย่อมมีผลกระทบต่อกระบวนการการผลิตไฟฟ้า อย่างไรก็ดี เน่ืองจากประเทศไทยมีท่ีตงั้ อย่ใู กลก้ บั เสน้
และเป็ นความเส่ียงท่ีทางบริษัทจะต้องรีบดาเนินการแก้ไข ศนู ย์สูตร จึงทาใหม้ ีความเข้มของแสงสูง นอกจากนี้ บริษัทได้
นอกเหนือจากการเลือกใชเ้ คร่ืองจักรและอุปกรณ์ท่ีมีคุณภาพ ทาการศกึ ษาความเขม้ ของแสงในแต่ละพืน้ ท่ีโดยใชข้ อ้ มลู ความ
และเป็นท่ยี อมรบั แลว้ การตดิ ตามดแู ลบารุงรกั ษาเคร่ืองจกั รและ เข้มของแสงย้อนหลัง 10 ปี ขององค์การบริหารการบินและ
อุป กร ณ์ท่ีเ ก่ี ย วข้อ ง ทุก ตัวก็ มี ค วาม จาเ ป็ น แล ะ สาคัญ ต่อก าร อวกาศแห่งชาติ หรือ องคก์ ารนาซ่า (NASA) และปัจจยั แนวโนม้
ดาเนนิ งาน ทงั้ นี้ กเ็ พ่ือใหเ้ คร่อื งจกั รและอปุ กรณด์ งั กล่าวสามารถ ของการเกิดเหตกุ ารณต์ ่างๆอย่างละเอียด เช่นการศกึ ษาขอ้ มูล
ดาเนนิ การไดอ้ ย่างเตม็ ประสิทธิภาพ ตอ่ ไป ส ถิ ติ ใ น อ ดี ต แ ล ะ แ น ว โ น้ ม อ น า ค ต เ ก่ี ย ว กั บ ค ว า ม เ ข้ ม ข อ ง
แสงอาทิตย์ในพืน้ ท่ีดาเนินโครงการโรงฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
3.2 ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน เพ่ือใหแ้ น่ใจว่าบริเวณท่ีสรา้ งโซล่าร์ ฟารม์ ของบริษัทฯ มีความ
เข้มแสงอยู่ในระดับสูง รวมถึงการศึกษาและเลือกพื้นท่ีจัด
การดาเนินธรุ กิจผลติ กระแสจากโครงการโรงไฟฟ้าจาก โครงการเพ่ือพฒั นาโครงการโรงไฟฟา้ โดยศกึ ษาจากสถิติการเกิด
พลงั งานแสงอาทิตย์ และโรงไฟฟ้าจากพลังงานความรอ้ นจาก นา้ ท่วม รวมถึงการออกแบบการวางรากฐานของแผงพลังงาน
ขยะของบรษิ ัท ท่ผี า่ นมาอาจตอ้ งเผชญิ กบั ปัจจยั ความเส่ียงต่างๆ แสงอาทิตยใ์ หม้ ีความทนทานตามมาตรฐานวิศวกรรมสามารถ
ทนแรงลมไดไ้ ม่ต่ากวา่ 80 กิโลเมตรตอ่ ช่วั โมง และไดม้ ีการเช่ือม

ร ะ บ บ ส าย ดิน ท่ี เ ป็ น อิ ส ร ะ อ อ ก จ า กกัน ร ะ หว่า ง แ ผ ง พ ลัง ง า น จานวน (Fully Hedged) โดยบริษัทจะดาเนินการซือ้ สญั ญาซือ้
แสงอาทิตย์ ซ่งึ จะช่วยลดความเสียหายท่ีอาจเกิดจากฟ้าผ่าได้ ขายเงินตราตา่ งประเทศล่วงหนา้ (FX Forward) หรือสิทธิในการ
นอกจากนีบ้ ริษัทยงั ไดท้ าประกันความเส่ียงทกุ ชนิด (All risks) ซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศ (FX Option) เต็มจานวนเม่ือแผง
พลงั งานแสงอาทติ ยแ์ ละเคร่ืองแปลงกระแสไฟฟ้า (Inverter) ถกู
ใหก้ บั โซลา่ ร์ ฟารม์ ทกุ โครงการอีกดว้ ย บนั ทกึ เป็นสนิ ทรพั ยข์ องบรษิ ทั

2) ความเส่ียงจากแผงพลังงานแสงอาทิตยเ์ สื่อมสภาพเร็ว 4) ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบยี้
กวา่ กาหนด แหล่งเงินทุนทางเลือกหน่ึงท่ีบริษัทใชล้ งทุนในธุรกิจ

ปริมาณไฟฟ้าท่ีไดจ้ ากโซล่าร์ ฟาร์มขึน้ อยู่กับหลาย โรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน คือ แหล่งเงินทนุ จากสถาบนั การเงิน
ปัจจยั ซง่ึ หนง่ึ ในปัจจยั ท่มี ีผลตอ่ ปรมิ าณไฟฟ้าคือการเส่ือมสภาพ ซ่งึ บริษัทไดใ้ ชค้ วามระมัดระวงั ในการบริหารจดั การดา้ นเงินทุน
ของแผงพลงั งานแสงอาทิตย์ ซง่ึ หากแผงพลังงานแสงอาทิตยม์ ี ใหม้ ีความเหมาะสม เน่ืองจาก บริษัทมีวงเงินสินเช่ือจากสถาบนั
การเส่ือมสภาพเรว็ กวา่ ปกติ อาจส่งผลตอ่ ปรมิ าณไฟฟ้าท่ีผลิตได้ การเงินในประเทศ โดยสถาบนั การเงินดงั กล่าวไดก้ าหนดอัตรา
โดยอาจทาใหผ้ ลิตไฟฟ้าไดน้ อ้ ยลง และจะส่งผลกระทบทาใหม้ ี ดอกเบี้ยตามลักษณะและวัตถุประสงค์ของการใช้เงินกู้ยืม
ดงั กล่าว อาทิเช่น เงินกูย้ ืมเพ่ือการลงทนุ ในโครงการโรงไฟฟ้า
รายไดล้ ดลงจากท่ปี ระมาณการไว้ พลงั งานแสงอาทติ ย์ มกั ใชอ้ ตั ราดอกเบีย้ อา้ งอิง MLR การเปิดใช้
อย่างไรก็ดี โครงการโซล่าร์ ฟาร์มของบริษัทท่ีเปิด วงเงินเลตเตอร์ออฟเครดิต หรือ ทรัสต์รีซีทส์ ซ่ึงเป็นธุรกรรม
ระหวา่ งประเทศ มกั ใชอ้ ตั ราดอกเบยี้ อา้ งองิ LIBOR
ดาเนินการเชิงพาณิชย์แล้วทุกโครงการ บริษัทได้รับการ
รบั ประกนั การเส่ือมสภาพของแผงพลงั งานแสงอาทติ ยจ์ ากผผู้ ลิต ดงั นนั้ หากพิจารณาแลว้ บรษิ ทั จะมีความเส่ียงจากการ
เป็นระยะเวลา 25 ปี นอกจากนีบ้ ริษัทยงั ไดท้ าประกันภยั ความ เคล่ือนไหวขนึ้ /ลง ของอตั ราดอกเบีย้ ดงั กล่าว อย่างไรก็ตามการ
เคล่ือนไหวในอตั ราดอกเบีย้ อา้ งอิงแต่ละชนิดนนั้ จะเปล่ียนแปลง
เส่ียงทกุ ชนิด (All risks) เพ่มิ เตมิ หากเกิดกรณีเสียหายขนึ้ บรษิ ัท อยา่ งไม่มีนยั สาคญั เพราะฉะนนั้ การเลือกใชต้ ราสารทางการเงิน
สามารถเรยี กรบั ความคมุ้ ครองไดท้ นั ที ตา่ งๆเพ่ือท่จี ะมาปอ้ งกนั การเคล่ือนไหวของอตั ราดอกเบีย้ นนั้ จึง
ไม่จาเป็น อย่างไรก็ดี การอนุมัติวงเงินสินเช่ือเพ่ือสนับสนุน
3) ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปล่ียน โครงการในปัจจุบนั ของบรษิ ัทไดร้ บั การสนบั สนนุ วงเงิน Interest
เงนิ ตราตา่ งประเทศ Rate Swap เพ่ือใชบ้ ริหารความเส่ียงดา้ นอัตราดอกเบี้ยดว้ ย
เช่นกัน ดังนั้น บริษัทจะได้ใช้ความระมัดระวังในการบริหาร
ในการก่อสรา้ งโซล่าร์ ฟารม์ งบประมาณการลงทุน การเงินของบริษัทใหม้ ีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนส์ ูงสุดต่อ
บริษัท หรือหากมีการเปล่ียนแปลงของอตั ราดอกเบีย้ อย่างมีนบั
ประมาณรอ้ ยละ 60 ของโครงการ จะใชใ้ นการจดั ซอื้ แผงพลงั งาน สาคัญ บริษัทจะได้พิจารณาเลือกใช้เคร่ืองมือตราสารทาง
การเงินเพ่ือปิดความเส่ียงอย่างเหมาะสมในลาดบั ตอ่ ไป
แสงอาทติ ย์ และเคร่ืองแปลงกระแสไฟฟ้า (Inverter) ซ่งึ ไดม้ ีการ
5) ความเสี่ยงด้านการจดั หาเชอื้ เพลงิ
นาเขา้ แผงพลงั งานแสงอาทติ ยแ์ ละ Inverter จากตา่ งประเทศ ซง่ึ การดาเนินโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความรอ้ นจาก

จะตอ้ งชาระค่าแผงพลงั งานแสงอาทติ ย์ และ Inverter เป็นสกุล ขยะอุตสาหกรรม ปัจจัยสาคัญของการดาเนินงานปัจจัยหน่ึง
ไดแ้ กค่ วามสามารถในการจดั หาเชือ้ เพลิงท่ีเพียงพอและในราคา
เงินตราต่างประเทศ ทาใหบ้ ริษัทอาจไดร้ บั ความเส่ียงจากความ ท่เี หมาะสม เพ่ือใหโ้ ครงการสามารถบรหิ ารจดั การตน้ ทนุ ไดอ้ ย่าง
มีประสทิ ธิภาพ
ผนั ผวนของอตั ราแลกเปล่ียนเม่ือถงึ กาหนดชาระคา่ แผงพลงั งาน

แสงอาทิตย์ และ Inverter ซง่ึ อาจทาใหค้ ่าใชจ้ ่ายในการลงทนุ โซ

ลา่ ร์ ฟารม์ ตา่ งไปจากงบประมาณท่ตี งั้ ไวไ้ ด้

อย่างไรก็ดี ในการการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงาน

แสงอาทิตยข์ องบรษิ ัท มีนโยบายท่ีจะพิจารณาอตั ราคา่ เงินและ

ดาเนินการป้องกนั ความเส่ียงดว้ ยการใชส้ ัญญาซือ้ ขายเงินตรา

66 ต่างประเทศล่วงหน้า (FX Forward) และสิทธิในการซือ้ ขาย
เงินตราต่างประเทศ (FX Option) เพ่ือป้องกันความเส่ียงจาก

ความผันผวนของอัตราแลกเปล่ียนเงินตราต่างประเทศเต็ม

ทงั้ นี้ โครงการของบรษิ ัทไดม้ ีการติดตอ่ ผขู้ ายเชือ้ เพลิง 3.3 ธุรกจิ จาหน่ายน้าเพอื่ อุปโภคบรโิ ภค 67
มากกว่า 1 ราย และอยู่ในพืน้ ท่ีใกลเ้ คียงกบั ท่ีตงั้ โรงไฟฟ้าฯของ
บริษัท เพ่ือเป็นการกระจายความเส่ียงและลดภาระค่าใชจ้ ่าย เพ่ือสรา้ งความเช่ือม่นั ใหแ้ ก่ผูเ้ ก่ียวขอ้ ง บริษัทไดต้ ะ
ดา้ นการขนส่ง โดยมีอายุสญั ญาระยะกลางถงึ ระยะยาว เพ่ือลด หนกั ถงึ ความสาคญั ของการบรหิ ารความเส่ียง ท่อี าจจะเกิดขนึ้ ทงั้
ความผนั ผวนดา้ นราคาเชือ้ เพลิง รวมไปถึงการมีสารองเชือ้ เพลิง ในระยะสั้นและในระยะยาว โดยไดศ้ ึกษาถึงผลกระทบท่ีอาจ
ไวส้ าหรบั รองรบั กระบวนการผลิตเป็นระยะเวลา 6 เดือน หาก เกิดขนึ้ โดยเร่มิ จากวิเคราะหป์ ัจจยั สภาพแวดลอ้ มทงั้ ภายในและ
เกิดกรณีผู้ขายเชือ้ เพลิงไม่สามารถจัดส่งเชือ้ เพลิงใหบ้ ริษัทได้ ภายนอก และการดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยประเมินระดบั
ตามกาหนด บริษัทก็จะสามารถดาเนินการจดั หาผูข้ ายรายใหม่ ความเส่ียงจากความถ่ีท่ีจะเกิดหรือโอกาสท่ีเกิดความเส่ียง
ได้ในระยะเวลาดังกล่าว นอกจากนี้โครงการของบริษัทยัง (Likelihood) และผลกระทบของความเส่ียง รวมถงึ ความรุนแรง
สามารถใชเ้ ชือ้ เพลิงท่ีเป็น RDF รวมกบั เชือ้ เพลิงหลกั ท่ีเป็นขยะ ของเหตกุ ารณต์ า่ งๆ ท่จี ะเกิดผลกระทบตอ่ บรษิ ัท
อุตสาหกรรมไดถ้ ึง 25% ซ่งึ ช่วยใหบ้ ริษัทมีความยืดหยุ่นในการ
จดั หาเชือ้ เพลิง ขณะท่ีกลุ่มบริษัทเองไดม้ ีการลงทุนในส่วนของ 1) ความเสีย่ งด้านสภาวะภยั แล้ง
การผลิตเชือ้ เพลิงจาก RDF เพ่ือรองรบั การขยายตวั และความ ดงั เชน่ ในปี 2563 พบวา่ อาจเกิดปัญญาสภาวะภยั แลง้
ตอ้ งการใช้ RDF ท่เี พ่ิมสงู ขนึ้ เพราะฉะนนั้ บรษิ ัทจงึ ม่นั ใจไดว้ า่ จะ
ไม่เกิดปัญหาเร่อื งการจดั หาเชือ้ เพลิงท่ไี มเ่ พียงพอ โดยเฉพาะในพื้นท่ีจังหวัดภูเก็ต บริษัทมีแผนรับมือโดยเพ่ิม
ปรมิ าณบอ่ นา้ โดยไดท้ าสญั ญาซือ้ นา้ กบั บมจ.เอ็ม บี เค รีสอรท์
6) ความเสีย่ งเร่อื งการเสือ่ มสภาพของเครอ่ื งจกั รอุปกรณ์ เพ่ือใหม้ ่ันใจได้ว่า บริษัทสามารถจาหน่ายนา้ ไดเ้ พียงพอตาม
โครงการโรงไฟฟ้าฯของบริษัท โดยเฉพาะโรงไฟฟ้า ปริมาณนา้ ขั้นต่าตามสัญญาซือ้ ขายนา้ ประปากับการประปา
สว่ นภมู ภิ าคภเู ก็ต
พลงั งานความรอ้ นจากขยะอตุ สาหกรรม เป็นโครงการท่ีมีขนั้ ตอน
การผลิตท่ีซบั ซอ้ นกว่าโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และมีการ 2) ความเสีย่ งด้านอุทกภัย
เปิ ดดาเนินการ 24 ช่ัวโมง ทาให้บริษัทมีความจาเป็ นต้อง ทางบริษัทไดศ้ กึ ษารวบรวมขอ้ มลู ทางด้านภูมิศาสตร์
บารุงรักษาเคร่ืองจักรอุปกรณ์อย่างสม่าเสมอ เพ่ือไม้ให้เกิด
เหตกุ ารณค์ วามชารุดเสียหายหรือขดั ขอ้ งของเคร่ืองจกั รอุปกรณ์ ซ่งึ พืน้ ท่ีบรเิ วณท่ีตงั้ โครงการผลิตนา้ นนั้ อยู่นอกพืน้ ท่ีเกิดนา้ ท่วม
การเส่ือมสภาพเรว็ กวา่ ท่คี วรจะเป็น เป็นตน้ อย่างไรก็ดี ท่ีผ่านมา และพื้นท่ีโครงการอยู่สูงกว่าพื้นดินเดิม ซ่ึงเพียงพอต่อการ
บรษิ ทั ไดล้ งทนุ ในสว่ นเคร่อื งจกั รอปุ กรณท์ ่ีไดม้ าตรฐานและไดร้ บั หลีกเล่ียงความเส่ียงจากอทุ กภยั และพืน้ ท่ีโครงการตงั้ อย่ใู นพืน้ ท่ี
การรบั ประกนั จากทางผผู้ ลิต รวมถงึ การจดั ใหม้ ีช่วงหยดุ การผลิต ท่ีมีการออกแบบการระบายนา้ ในพืน้ ท่ีไว้ ดงั นนั้ จึงมีความเส่ียง
เพ่ือการดแู ลบารุงรกั ษาเคร่ืองจกั รอุปกรณห์ ลกั รวมไปถงึ การทา นอ้ ยมากตอ่ การเกดิ นา้ ทว่ ม
ประกนั ภยั เป็นตน้
3.4 ปัจจัยความเสี่ยงธุรกิจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
7) ความเสี่ยงจากการพง่ึ พงิ การรับซอื้ ไฟฟ้าจาก กฟผ. การสือ่ สาร
ปัจจจุ นั กฟผ. เป็นผรู้ บั ซือ้ ไฟฟ้ารายใหญ่ของโครงการ
ในปีท่ีผ่านมาถือเป็นการปรับเปล่ียนครัง้ สาคัญทาง
โรงไฟฟ้า ดงั นนั้ ธุรกิจผลิตและจาหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มบริษัทจึง อตุ สาหกรรมไอที ในการเขา้ สู่ยุค Digital Transformer ซ่งึ ทุก
ตอ้ งพง่ึ พงิ กฟผ.เป็นหลกั อยา่ งไรกต็ าม ท่ีผ่านมา บริษัทสามารถ บริษัทไดม้ ีการเตรียมความพรอ้ ม และมีการลงทนุ ในเทคโนโลย่ี
ดาเนินงานโครงการโรงไฟฟ้าไดต้ ามเง่ือนไขตามสญั ญาซือ้ ขาย ดิจิทลั ทงั้ นีใ้ นส่วนของบริษัทฯ ก็ไดน้ าเทคโนโลย่ี ทงั้ Cloud /
ไฟฟ้า (PPA) มาโดยตลอด และมีการวางแผนจัดการป้องกัน Mobility / Social network รวมถงึ การพฒั นา Application เพ่ือ
ปัญหาตา่ งๆ ท่ีอาจเกิดขึน้ จากการปฏิบตั งิ าน เพ่ือป้องกนั ความ เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจดั การธุรกิจ อย่างไรก็ตามยังมี
เส่ียงจากการปฏิบตั ติ ามสญั ญา ปัจจยั เส่ียงในดา้ นต่างๆ ท่ีตอ้ งคานึงถึงและตอ้ งบริหารจัดการ
เพ่ือลดความเส่ียงในดา้ นตา่ งๆ

1) ความเสีย่ งจากการพงึ่ พาดา้ นบุคลากร การไมส่ ามารถดาเนินการส่งมอบงานไดต้ ามระยะเวลาท่ีกาหนด
การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์นัน้ มีส่วนสาคัญ ไวใ้ นสญั ญา ซ่งึ ทาใหบ้ ริษัทมีความเส่ียงท่ีจะถกู ปรบั คา่ เสียหาย
จากลูกคา้ โดยสาเหตุหลักในการล่าชา้ อาจมาจากการส่งสินคา้
อย่างย่ิงเพ่ือให้ก้าวทันและสอดคล้องกับเทคโนโลยี ท่ี
เปล่ียนแปลงทงั้ ในการคัดสรรบุคลากร การฝึกอบรม และการ ของผูผ้ ลิตหรือผู้จดั จาหน่ายหรือการเปล่ียนแปลงประเภทหรือ
รกั ษาบุคลากรท่ีมีคณุ ภาพ โดยเฉพาะบริษัท ท่ีปัจจัยหลักของ คุณสมบัติของระบบท่ีจะติดตัง้ ซ่ึงการดาเนินงานในลักษณะ
องคก์ รคือทพั ยากรมนุษย์ ซ่งึ ในการดาเนินธุรกิจนนั้ จาเป็นตอ้ ง โครงการนนั้ ส่วนใหญ่จะเป็นการใหบ้ ริการแก่ลูกคา้ ท่ีมีองคก์ ร
อาศัยบุคลากรท่ีมีความสามารถ และมีความรูค้ วามเช่ียวชาญ ขนาดใหญ่ เช่น ภาครฐั รฐั วสิ าหกจิ และสถาบนั การเงนิ
ในเทคโนโลยี ในด้านต่างๆ รวม ถึงต้องเพ่ิ มพูนความ รู้
ความสามารถให้ทันต่อการให้บริการลูกคา้ ตามเทคโนโลยีท่ี ทงั้ นี้ เพ่ือป้องกันความเส่ียงจากการส่งมอบโครงการ
เปล่ียนแปลงไป ทงั้ นีบ้ ริษัทเล็งเห็นความสาคญั ของการพฒั นา ล่าช้า OPEN จะจัดให้มีผู้จัดการโครงการเพ่ือดูแลและ
บคุ ลากร โดยการจดั ใหม้ ีหน่วยงานการจดั สัมมนาและท่ีปรึกษา
วางแผนการจดั สมั มนาอย่างตอ่ เน่ือง ทงั้ ในดา้ น Soft Skill และ ประสานงานระหวา่ งบรษิ ทั กบั ลกู คา้ และเจา้ ของผลิตภณั ฑห์ รือ
Technical Skill เพ่ือก่อใหเ้ กิดความสัมพันธอ์ นั ดีภายในองคก์ ร ตวั แทนจาหน่าย เพ่ือวางแผนดาเนินโครงการล่วงหนา้ และใน
และเพ่มิ ทกั ษะใหแ้ กพ่ นกั งาน นอกเหนือจากสวสั ดิการต่างๆ ของ ระหว่างการดาเนินโครงการ ผูจ้ ัดการโครงการจะเป็นผู้ติดตาม
บรษิ ัท และตรวจสอบแผนงาน เพ่ือทาการปรับปรุ งแผนงานให้
สอดคลอ้ งกบั ระยะเวลากาหนดส่งมอบงานอย่างต่อเน่ือง ซ่งึ จะ
2) ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี
ในปีท่ีผ่านมา จะเห็นไดว้ ่า เทรนดเ์ ทคโนโลยี ท่ีมาแรง ทาให้สามารถแก้ไขปัญหาท่ีอาจเกิดขึน้ ได้อย่างรวดเร็วและ
ทนั เวลาโดยไมก่ ระทบตอ่ โครงการโดยรวม
ท่ีทุกองคก์ รทงั้ ภาครัฐ และภาคเอกชน ตอ้ งลงทุนคงหนีไม่พน้
Could computing ไม่ใช่แค่เป็นการ upgradeระบบไอที แต่เป็น
การพลิกโฉมธุรกิจเพ่ือเขา้ สู่ยุคดิจิทลั เพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการ
ดาเนินงานขององคก์ รทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชน ในเร่ืองความ
แม่นยา ความรวดเร็ว ถือเป็นการยกระดับประสิทธิภาพของ
องคก์ ร หากธุรกิจใดไม่ปรับตัว หรือปรับเปล่ียนไม่ทันต่อการ
เปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีท่เี ปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ทา้ ยท่ีสดุ
ก็คงไม่สามารถดาเนินธุรกจิ ไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง

3) ความเสี่ยงในการดาเนินงานในโครงการต่างๆ
การให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร ท่ีมีลักษณะเป็นโครงการ ซ่ึงต้องใช้ระยะเวลาในการ
ดาเนินการนาน การใหบ้ ริการของOPEN อาจมีความเส่ียงจาก

68

4. ทรพั ยส์ นิ ที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ

4.1 สินทรัพยถ์ าวรหลักของบรษิ ัทและบริษัทย่อย
ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2562 ลักษณะสาคญั ของสินทรพั ยห์ ลกั ท่ีใชใ้ นการประกอบธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากพลงั งานทดแทน ท่ีผ่านมา

ของบรษิ ัทและบรษิ ทั ยอ่ ย ประกอบไปดว้ ยรายการสินทรพั ยห์ ลกั อยู่ 3 ประเภท คอื

1. ท่ดี นิ และส่วนปรบั ปรุงท่ดี นิ ท่ใี ชเ้ ป็นท่ตี งั้ โรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน
2. เคร่อื งจกั รผลติ ไฟฟา้ (พลงั งานแสงอาทติ ย)์ ไดแ้ ก่ แผงโซลา่ รเ์ ซลล์ อินเวอรเ์ ตอร์ หมอ้ แปลงไฟฟ้า เป็นตน้

3. เคร่อื งจกั รผลิตไฟฟา้ (พลงั งานขยะ) ไดแ้ ก่ เคร่อื งกงั หนั ไอนา้ และเคร่อื งกาเนดิ ไฟฟ้า เป็นตน้

ตารางแสดงลกั ษณะสินทรพั ยท์ ่ีใชใ้ นการดาเนินงาน

ประเภท / ลักษณะทรัพยส์ ิน ลักษณะกรรมสทิ ธิ์ มูลค่าสุทธิ ภาระผูกพัน
(ล้านบาท)
ท่ดี นิ และส่วนปรบั ปรุงท่ดี นิ บรษิ ัทและบรษิ ทั ยอ่ ย 5,680.25 ตดิ ภาระจานองกบั สถาบนั การเงิน
อาคารและสว่ นปรบั ปรุงอาคาร บรษิ ัทและบรษิ ัทย่อย 3,427.93 ตดิ ภาระจานองกบั สถาบนั การเงนิ
หอ้ งชดุ สานกั งานและสว่ นปรบั ปรุง บรษิ ทั และบรษิ ทั ยอ่ ย 30.97 ตดิ ภาระจานองกบั สถาบนั การเงิน
งานระหวา่ งก่อสรา้ ง บรษิ ทั และบรษิ ทั ย่อย 1,806.47 ไมม่ ีภาระผกู ผนั
เคร่อื งจกั รและอปุ กรณ์ บรษิ ทั และบรษิ ทั ย่อย 26,323.35 ตดิ ภาระจานองกบั สถาบนั การเงิน
ระบบสาธารณปู โภค บรษิ ัทและบรษิ ทั ยอ่ ย 1,022.58 ตดิ ภาระจานองกบั สถาบนั การเงนิ
เคร่อื งตกแตง่ และอปุ กรณส์ านกั งาน บรษิ ทั และบรษิ ทั ยอ่ ย 222.91 ไมม่ ีภาระผกู ผนั
ยานพาหนะ บรษิ ทั และบรษิ ทั ย่อย 43.40 ตดิ ภาระสญั ญาเช่าซอื้

รวม 38,557.85

ทงั้ นี้ การดาเนนิ ธุรกจิ ผลติ ไฟฟ้าจากพลงั งานทดแทน มีความจาเป็นตอ้ งลงนามในสญั ญาซือ้ ขายไฟฟ้า ซง่ึ เป็นสญั ญาสิทธิในการ

ดาเนินธุรกจิ ผลติ และจาหน่ายไฟฟา้ ซง่ึ มีลกั ษณะผกู ผนั ระยะยาว โดยมีสาระสาคญั ณ วนั ท่ี 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ดงั นี้
ประเภทและลกั ษณะสญั ญาซอื้ ขายไฟฟ้าในประเทศของบรษิ ัท ณ วนั ท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2563

ลาดบั ปรมิ าณพลังงานไฟฟ้ารวมสูงสุดตามสัญญาซอื้ ขายไฟฟ้า(MW) พลังงานไฟฟ้ารวม COD แล้ว ระยะเวลา
(MW) (ปี )
1 กล่มุ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟา้ ท่ไี ดร้ บั การสนบั สนนุ สว่ นเพ่มิ รบั ซอื้ ไฟฟ้า 7.00 7.00 10
โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
ในรูปแบบ Adder 8.00 บาท/หนว่ ย
2 กล่มุ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟา้ ท่ไี ดร้ บั การสนบั สนนุ สว่ นเพ่ิมรบั ซอื้ ไฟฟ้า 5.95 5.95 10
โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
ในรูปแบบ Adder 6.50 บาท/หนว่ ย
3 กลมุ่ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟ้าท่ไี ดร้ บั การสนบั สนนุ ส่วนเพ่มิ รบั ซอื้ ไฟฟา้ 524.15 522.65 25
โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ย์
ในรูปแบบ Feed-in Tariff 5.66 บาท/หน่วย
4 กล่มุ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟ้าท่ไี ดร้ บั การสนบั สนนุ ส่วนเพ่มิ รบั ซอื้ ไฟฟา้ 28.00 28.00 25
โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
ในรูปแบบ Feed-in Tariff 4.12 บาท/หนว่ ย 69

5 กล่มุ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟ้าท่ไี ดร้ บั การสนบั สนนุ สว่ นเพ่ิมรบั ซอื้ ไฟฟ้า 26.00 97
โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานความรอ้ น(จากขยะ)
ในรูปแบบ Adder 3.50 บาท/หนว่ ย

ลาดบั ปรมิ าณพลังงานไฟฟ้ารวมสูงสุดตามสัญญาซอื้ ขายไฟฟ้า(MW) พลังงานไฟฟ้ารวม COD แล้ว ระยะเวลา
(MW) (ปี )
6 กล่มุ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟ้าท่ไี ดร้ บั การสนบั สนนุ ส่วนเพ่มิ รบั ซอื้ ไฟฟา้ 6 - 20
โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานความรอ้ น(จากขยะ)
ในรูปแบบ FiT 5.08 บาท/หน่วย
รวม 597.10 572.60

ประเภทและลกั ษณะสญั ญาซอื้ ขายไฟฟา้ ในตา่ งประเทศของบรษิ ทั ณ วนั ท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2563

ลาดับ ปริมาณพลังงานไฟฟ้ารวมสูงสุดตามสัญญาซอื้ ขายไฟฟ้า(MW) พลังงานไฟฟ้ารวม COD แล้ว ระยะเวลา
(MW) (ปี )
1 กลมุ่ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟ้าโครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ย์ 286.72 286.72 20
ในรูปแบบ Feed-in Tariff 9.35 UScents/kWh
2 กลมุ่ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟา้ โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานลม 171.00 - 20
ในรูปแบบ Feed-in Tariff 9.8 UScents/kWh
รวม 457.72 286.72

4.2 นโยบายการลงทุนในบริษัทยอ่ ย บริษัทร่วม และบริษัท 1. การเพ่มิ ขอบเขตการขยายการดาเนินธรุ กิจ
ทเี่ ก่ยี วข้อง
บรษิ ทั มีนโยบายท่จี ะขยายงานดา้ นการปฏิบตั กิ ารดแู ล บริษัทสามารถขยายขอบเขตการดาเนินธุรกิจไปยัง
ธุรกิจผลิตและจดั จาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากพลงั งานทดแทนใน
บารุงรักษาโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ (Operation and รูปแบบอ่ืนๆได้นอกเหนือจากพลังงานแสงอาทิตย์ เน่ืองดว้ ย
พลังงานไฟฟ้าจดั เป็นสินคา้ เพ่ือการอุปโภคบริโภคขนั้ พืน้ ฐาน ท่ี
Maintenance services) โดยใหค้ วามสาคญั ในการติดตามการ จาเป็นอย่างย่งิ ตอ่ การดารงชีวติ ของประชาชน

ดาเนินงานของโรงไฟฟ้าและการดแู ลบารุงรกั ษาเคร่ืองจกั รและ นอกจากนี้ บริษัทยังสามารถขยายงานด้านการ
ปฏิบัติการดแู ลบารุงรักษาโรงไฟฟ้าฯ ไดเ้ พ่ิมเติม ทงั้ ท่ีเป็นของ
อุปกรณ์ เพ่ือใหโ้ รงไฟฟ้าดงั กล่าวสามารถผลิตและจัดจาหน่าย กล่มุ บรษิ ทั และ/หรือ บรษิ ัทอ่ืนภายนอกท่จี ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต ซ่งึ
หากหน่วยงานภาครัฐท่ีเก่ียวขอ้ งมีการเปิดรับคาขอจาหน่าย
กระแสไฟฟ้าไดเ้ ต็มประสิทธิภาพ รวมทงั้ บริการใหค้ าปรึกษาท่ี ไฟฟา้ จากโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน บรษิ ัท และ/หรือ บรษิ ัทย่อย
จะไดด้ าเนนิ การย่ืนคาขอดงั กล่าว ในรูปแบบพลงั งานแสงอาทิตย์
เก่ียวข้องกับธุรกิจพลังงานทดแทน ประกอบด้วยพลังงาน พลังงานขยะ และพลังงานลม ซ่ึงบริษัทมีความพร้อมและ
ประสบการณ์จากการดาเนินงานท่ีผ่านมา รวมถึงการรับซือ้
แสงอาทิตย์ (“Solar Energy”) พลงั งานขยะ (“Waste Energy”) กิจการจากเอกชนรายอ่ืน หากมีผูม้ าเสนอและบริษัทพิจารณา
แลว้ วา่ โครงการดงั กล่าวนนั้ เหมาะสมและเขา้ เง่ือนไขการลงทนุ ท่ี
และพลงั งานลม (“Wind Energy”) ทงั้ นี้ บริษัทมีนโยบายชดั เจน บริษัทกาหนด บริษัทก็จะลงทุนเพ่ิมเติม โดยอาจเป็นการลงทุน
โดยบริษัท และ/หรือ บริษัย่อยของบริษัท ทงั้ นี้ เพ่ือเป็นการเพ่ิม
ท่จี ะดาเนินธรุ กิจดา้ นการปฏบิ ตั กิ ารดแู ลบารุงรกั ษาโรงไฟฟ้าฯทงั้ โอกาส และขยายงานในด้านการปฏิบัติการดูแลบารุงรักษา
โรงไฟฟา้ ฯ ของบรษิ ัท รวมถึงขยายโรงไฟฟ้าฯในกล่มุ บริษัทย่อย
ท่เี ป็นของกลมุ่ บริษัท และ/หรือ บริษัทอ่ืนภายนอกท่ีจะเกิดขนึ้ ใน ใหเ้ พ่มิ สงู ขนึ้ ตอ่ ไป

อนาคต และมีวัตถุประสงคท์ ่ีจะขยายขอบเขตธุรกิจไปยงั ธุรกิจ

รบั เหมาก่อสรา้ งและการประมวลผลโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทนท่ี

จะเกิดขึ้นในอนาคตต่อไป รวมถึงการขยายธุรกิจผลิต

กระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนในทกุ รูปแบบท่ีบริษัทมีความ

พรอ้ มและสามารถเขา้ ไปดาเนินการได้ โดยมีเป้าหมายในการ

เป็นผนู้ าในธุรกิจผลิตและจดั จาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้า

70 พลังงานแสงอาทิตย์ ส่งผลใหท้ ่ีผ่านมาบริษัทมีการรับรูร้ ายได้
จากธุรกิจผลิตและจัดจาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากพลังงาน

แสงอาทติ ย์ (Solar Energy)เพ่มิ สงู ขนึ้ ในทกุ ปี ทงั้ นี้ บรษิ ัทคาดว่า

จะไดร้ บั ประโยชนใ์ นการช่วยเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขนั

และศกั ยภาพในการทากาไรของบรษิ ัท ดงั นี้

2. การเพ่ิมรายไดแ้ ละผลการดาเนินงานท่ดี ีขนึ้ ของบรษิ ทั เพ่ิมทนุ ดงั กล่าวจากท่ีประชุมคณะกรรมการ และท่ีประชุมผูถ้ ือ
หนุ้ ของบรษิ ทั ตอ่ ไป
ช่วยให้บริษัทมีรายได้ท่ีเติบโตมากขึ้น โดยการ
ประกอบธุรกิจดา้ นการปฏิบตั ิการดแู ลบารุงรกั ษาโรงไฟฟ้าฯ ซ่งึ 5. ขอ้ พพิ าททางกฎหมาย
เป็นลกั ษณะงานตอ่ เน่ืองท่ีตอ้ งดาเนินการภายหลงั จากโรงไฟฟ้า
ไดด้ าเนินการเชิงพาณิชยเ์ ป็นท่ีเรียบรอ้ ย โดยมีการจดั ทาสญั ญา ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562 บริษัทไม่มีขอ้ พิพาททาง
จ้างท่ีชัดเจน รวมถึงการผลิตและจาหน่ายไฟฟ้าใหก้ ับ กฟผ. กฏหมายหรือถูกฟ้องรอ้ งดาเนินคดีเรียกค่าเสียหายต่อสินทรพั ย์
กฟน. และ กฟภ. จะมีการทาสญั ญาซือ้ ขายไฟฟ้าระยะยาว ซ่งึ และผลการดาเนนิ งานของบรษิ ทั
ภายใตส้ ัญญาดงั กล่าวไดม้ ีการกาหนดจานวนหรือปริมาณและ
ราคารบั ซือ้ ไวอ้ ย่างแน่นอนในแต่ละช่วงเวลา ทาใหผ้ ูผ้ ลิตแต่ละ 71
รายมีรายไดท้ ่ีแน่นอน ดังนั้น การเขา้ ลงทุนในธุรกิจโรงไฟฟ้า
พลังงานแสงอาทิตย์ครั้งนี้ จึงจะส่งผลต่อรายไดแ้ ละกาไรให้
SUPER มีโอกาสเพ่มิ สงู ขนึ้ ไดใ้ นอนาคต

บริษัทมีนโยบายท่ีจะลงทนุ ในธุรกิจโรงไฟฟ้าพลงั งาน
ทดแทน ท่ีมีศักยภาพในการเติบโต และให้ผลตอบแทนท่ี
เหมาะสมในระยะยาว รวมทั้งจะส่งกรรมการของบริษัทหรือ
คดั เลือกผบู้ ริหารท่ีมีคุณสมบตั ิและประสบการณท์ ่ีเหมาะสมกับ
การดาเนินธุรกิจเข้าเป็นกรรมการของบริษัทในเครือ เพ่ือเป็น
ตวั แทนในการบริหารงานและกาหนดนโยบายท่ีสาคัญในการ
ควบคมุ การดาเนินธุรกจิ ของบรษิ ัทย่อย นอกจากธุรกิจลงทนุ และ
พัฒนาโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทิตยแ์ ลว้ บริษัทยงั มีนโยบายท่ี
ขยายไปยังธุรกิจบริการรับเหมาก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงาน
แสงอาทิตยแ์ บบครบวงจร (“EPC”) และ ธุรกิจบรกิ ารดา้ นการ
ปฏบิ ตั กิ าร การบารุงรกั ษา และการประมวลผลโรงไฟฟ้าพลงั งาน
แสงอาทติ ย์ (“OMM”) อีกดว้ ย

ทงั้ นี้ บริษัทมีผู้สนับสนุนทางการเงินท่ีสาคญั ได้แก่
ธนาคารกรุ งเทพ จากัด (มหาชน) ธนาคารธนชาต จากัด
(มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยธุ ยา จากดั (มหาชน) ธนาคารเพ่ือการ
ส่งออกและนาเขา้ แหง่ ประเทศไทย ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จากดั
(มหาชน) เป็ นต้น และสถาบันการเงินอ่ืนท่ีพร้อมจะให้การ
สนบั สนนุ แกบ่ รษิ ทั หรือแมแ้ ตก่ ารระดมทนุ ในช่องทางต่างๆ อาทิ
เชน่ จากการเพ่ิมทนุ การออกตราสารทางการเงินตา่ งๆ การระดม
ทุนในรูปแบบกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure
Fund) การออกและเสนอขายหนุ้ กู้ เป็นตน้ ทงั้ นีห้ ากบริษัทฯ มี
ความจาเป็นท่ีจะตอ้ งเพ่ิมทนุ บริษัทจะตอ้ งไดร้ บั การอนุมตั ิการ

6. ข้อมลู ท่ัวไปและข้อมูลสาคัญอื่น

ช่ือบริษทั รายละเอยี ด

ช่ือภาษาองั กฤษ SUPER ENERGY CORPORATION PUBLIC COMPANY LIMITED
ชื่อย่อหลกั ทรพั ยบ์ ริษทั “SUPER”
เลขทะเบยี นบริษทั 0107547000958
ทุนจดทะเบยี น 3,281,935,872.80 บาท
ทนุ จดทะเบยี นชาระ 2,734,946,560.70 บาท
ประเภทธรุ กิจ ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นในบริษัทย่อย และ/หรือบริษัทร่วม ( Holding
Company) ทป่ี ระกอบธุรกจิ ผลติ และจดั จาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากพลงั งานทดแทน
อนั ดบั เครดิตองคก์ ร ประกอบดว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ย์ (“Solar Energy”) พลงั งานขยะ (“Waste Energy”)
ท่ีตงั้ สานักงานใหญ่ และพลงั งานลม (“Wind Energy”) รวมถึงธุรกิจอ่ืนๆ เช่น ธุรกิจเทคโนโลยี
Home Page สารสนเทศและการสอ่ื สาร, ธรุ กจิ น้าเพอ่ื การอุปโภคบรโิ ภค
โทรศพั ท์
โทรสาร BBB- แนวโน้มเป็นบวก
นายทะเบยี นหลกั ทรพั ย์ โดยบรษิ ทั ทรสิ เรทตง้ิ จากดั เม่อื วนั ท่ี 6 ธนั วาคม 2562
223/61 ชนั้ 14 คนั ทรค่ี อมเพลก็ ซ์ อาคารเอ ถนนสรรพาวุธ แขวงบางนาใต้ เขตบาง
ผสู้ อบบญั ชีของบริษทั นา กรงุ เทพฯ 10260
www.supercorp.co.th
72 (662) 361-5599
(662) 361-5036

บรษิ ทั ศูนยร์ บั ฝากหลกั ทรพั ย์ (ประเทศไทย) จากดั
สานกั งานใหญ่ตงั้ อยเู่ ลขท่ี 62 ถนนรชั ดาภเิ ษก ชนั้ 4 และ ชนั้ 7 แขวงคลองเตย เขต
คลองเตย กรงุ เทพมหานคร 10110
โทรศพั ท์ (662) 229-2800 โทรสาร (662) 832-4994-5

นายชวาลา เทยี นประเสรฐิ กจิ ผสู้ อบบญั ชรี บั อนุญาตเลขทะเบยี นท่ี 4301
บรษิ ทั ดลี อยท์ ทชู้ โธมทั สุ ไชยยศ สอบบญั ชี จากดั
11/1 อาคารเอไอเอ สาทร ทาวเวอร์ ชนั้ 22-27 ซอยเซนตห์ ลยุ ส์ 3 (สาทร 11) ถนน
สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรงุ เทพมหานคร 10120
โทรศพั ท์ (662)-034-0000 โทรสาร (662)-034-0100
www.deloitte.com

ส่วนท่ี 2
การจัดการและการกากบั ดแู ลกจิ การ

73

7. ขอ้ มูลหลกั ทรัพยแ์ ละผถู้ อื หุ้น ทงั้ นี้ รำยช่ือผูถ้ ือหุน้ ท่ีถือหนุ้ สูงสุด1 10 รำยแรก ตำม

7.1 จานวนทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้ว ณ วนั ที่ 28 บญั ชีรำยช่ือผถู้ ือหนุ้ ขำ้ งตน้ มีดงั ตอ่ ไปนี้ % การ
กุมภาพันธ์ 2563 ถอื หนุ้
บรษิ ทั มีทนุ จดทะเบียนจำนวน 3,281,935,872.80 บำท ลาดบั รายช่อื ผูถ้ อื หุน้ จานวนหุน้
แบง่ ออกเป็นหนุ้ สำมญั จำนวน 32,819,358,728 หนุ้ 1 บจ.สวุ ินทวงศ์ โกลด์ แอสเซท็ จำกดั 5,471,494,736 20.01%
(มลู คำ่ ท่ตี รำไวห้ นุ้ ละ 0.10 บำท)
2 กลมุ่ คณุ จอมทรพั ย์ โลจำยะ

2.1 นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ 4,785,505,523 17.50%

2.2 บจ. แอด็ วำนซ์ แอสเซท แมเนจ 354,023,754 1.29%
เมนท์ เซอรว์ สิ

รวมกลมุ่ คณุ จอมทรพั ย์ โลจำยะ 5,139,529,277 18.79%

เป็นทนุ จดทะเบียนชำระแลว้ จำนวน 2,734,946,560.70 บำท 3 บจ. ไทยเอน็ วดี ีอำร์ 798,335,397 2.92%

แบง่ ออกเป็นหนุ้ สำมญั จำนวน 27,349,465,607 หนุ้ 4 นำยกลุ ทปี พิชิตสงิ ห์ 685,000,000 2.50%
(มลู คำ่ ท่ตี รำไวห้ นุ้ ละ 0.10 บำท)
5 BANK OF SINGAPORE LIMITED 546,222,241 2.00%

6 SOUTH EAST ASIA UK (TYPE C) 403,983,700 1.48%
NOMINEES LIMITED

7.2 ผู้ถอื หุ้น 7 นำยจตพุ ล เกรยี งไชยกจิ กลุ 380,000,000 1.39%
7.2.1 ผู้ถอื หนุ้ บริษัท
บริษัทมีโครงสรำ้ งกำรกระจำยกำรถือหนุ้ ทงั้ นักลงทุน 8 นำยดิเรก วนิ ชิ บตุ ร 234,566,000 0.86%

รำยใหญ่ นักลงทุนรำยย่อย ท่ีเป็นนักลงทนุ สถำบัน และบุคคล 9 นำงฐิตพิ ร เอ่ยี มสทิ ธิพนั ธุ์ 230,178,800 0.84%
ธรรมดำเพ่ือเสริมสรำ้ งสภำพคล่องในกำรซือ้ ขำยหนุ้ ของบริษัท
ซ่งึ จะเป็นประโยชนต์ ่อผู้ถือหุน้ โดย ณ วนั ปิดสมุดทะเบียนพัก 10 นำยวรี ะเดช เตชะไพบลู ย์ 188,939,459 0.69%
กำรโอนหนุ้ วนั ท่ี 30 ธนั วำคม 2562 บริษัทมีสัดส่วนกำรกระจำย
หนุ้ แยกตำมประเภทนกั ลงทนุ ได้ ดงั นี้ 11 ผถู้ ือหนุ้ รำยอ่นื ๆ 13,271,215,997 48.52%

หมำยเหตุ 27,349,465,607 100.00%

1. กำรเปิดเผยขอ้ มลู ขำ้ งตน้ ตำมที่ปรำกฏในเอกสำรฉบบั นี้
เพือ่ ใหส้ ะทอ้ นถึงควำมสมั พนั ธท์ ำงครอบครวั ของกลมุ่ ผถู้ ือ

หนุ้ โดยไม่จัดเป็นกำรเปิดเผยข้อมลู ของกล่มุ ผูถ้ ือหุน้ ท่ี

เกี่ยวขอ้ งกนั ตำมมำตรำ 258 แตอ่ ยำ่ งใด
2. บริษัท สวุ ินทวงศ์ โกลด์ แอสเซ็ท จำกัด ถือหุน้ รอ้ ยละ
ประเภทนักลงทนุ จานวนหุ้น สัดส่วน %
ผถู้ ือหนุ้ รำยใหญ่ (ถือหนุ้ เกินรอ้ ยละ 99.99 โดย บรษิ ัท นิว ฮำรเ์ บอรว์ ลิ ล์ จำกดั ซง่ึ มี
0.05 ของจำนวนหนุ้ ทงั้ หมด)
- นกั ลงทนุ สถำบนั และนิตบิ คุ คล 7,716,953,228 28.22 ม.ร.ว.ศศจิ ฑุ ำภำ วรวรรณ เป็นผถู้ ือหนุ้ รำยใหญ่ในสดั ส่วน
- บคุ คลธรรมดำ 7,002,102,006 25.60 รอ้ ยละ 99 ของจำนวนหนุ้ ท่ีออกและชำระแลว้ ทงั้ หมดของ
14,719,055,234 53.82
รวมผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บรษิ ัท นิว ฮำรเ์ บอรว์ ิลล์ จำกัด ทงั้ นี้ ม.ร.ว.ศศิจฑุ ำภำ วรว
ผถู้ ือหนุ้ รำยยอ่ ย รรณ เป็นคณุ แมข่ องนำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ
- นกั ลงทนุ สถำบนั และนติ บิ คุ คล
- บคุ คลธรรมดำ 3. บรษิ ัท แอ็ดวำนซ์ แอสเซท แมนเนจเมนท์ จำกัด ถือหนุ้

รวมผู้ถือหุ้นรายย่อย 725,314,596 2.65 โดยบริษัท สำนักงำนที่ปรึกษำกฎหมำยมีชัยไทยแลนด์
11,905,080,760 43.53 จำกัด ในสัดส่วนรอ้ ยละ 99.99 ซึ่งบริษัท สำนักงำนท่ี
รวมจานวนหุ้นทั้งหมด 12,630,395,356 46.18
ปรึกษำกฎหมำยมีชัยไทยแลนด์ จำกัด ถือหุน้ โดยบริษัท
27,349,465,607 100.00
สำนักงำนท่ีปรกึ ษำกฎหมำยโลจำยะ จำกัด และนำยจอม
ทรัพย์ โลจำยะ ในสัดส่วนร้อยละ 99.99 ซึ่งบริษัท

สำนกั งำนท่ีปรกึ ษำกฎหมำยโลจำยะ จำกดั ถือหนุ้ โดยนำย
จอมทรพั ย์ โลจำยะ ในสดั สว่ นรอ้ ยละ 99.99

74

7.2.2 ผู้ถอื หนุ้ ของบริษัทยอ่ ยทส่ี าคัญ

บรษิ ัท ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ี คอรเ์ ปอเรช่นั จำกดั (มหำชน) มีกำรถือหนุ้ ในบริษัทย่อยตำมประเภทธุรกิจท่ีดำเนินงำน ไดแ้ ก่ ธุรกิจ
ผลติ และจำหน่ำยกระแสไฟฟ้ำจำกพลงั งำนทดแทน ดำเนินงำนผำ่ นบรษิ ทั ซปุ เปอร์ เอนเนอรย์ ี กรุ๊ป จำกดั ธุรกิจผลิตและจำหน่ำยนำ้ อปุ โภค
บรโิ ภค ดำเนนิ งำนผำ่ นบรษิ ัท ซปุ เปอร์ วอเตอร์ จำกดั และธรุ กจิ เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรส่ือสำร ดำเนินงำนผ่ำนบรษิ ัท โอเพ่น เทคโนโล
ย่ี จำกดั (มหำชน) โดยมีโครงสรำ้ งกำรถือหนุ้ ในบรษิ ัทยอ่ ยขำ้ งตน้ ดงั นี้

บจ.ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ี กรุ๊ป บจ.ซุปเปอร์ วอเตอร์ (“SW”) บมจ.โอเพ่น เทคโนโลย่ี (“OPEN”)
(“SEG”)

ลำดบั รำยชื่อผถู้ ือหนุ้ จำนวนหนุ้ (หนุ้ ) สดั สว่ น จำนวนหนุ้ (หนุ้ ) สดั สว่ น จำนวนหนุ้ (หนุ้ ) สดั สว่ น
(รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ)
1 บมจ. ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ีฯ 99,999,997
2 นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ 1 100.00 9,999,998 100.00 30,499,994 76.25
3 นำงสำววรนิ ทรท์ ิพย์ ชยั สงั ฆะ 1 1 นอ้ ยกวำ่ 0.01 1
4 นำยทศั นยั สทุ ศั น์ ณ อยธุ ยำ 1 นอ้ ยกวำ่ 0.01 นอ้ ยกวำ่ 0.01
5 บจ.สนง.ท่ีปรกึ ษำกฎหมำยโลจำยะ นอ้ ยกวำ่ 0.01 1
6 นำงสำวชตุ ิมำ เหลำ่ จินดำ นอ้ ยกวำ่ 0.01 23.75
7 บรษิ ัท ไอ.ที. อี-คอมเมริ ซ์ จำกดั นอ้ ยกวำ่ 0.01
8 นำงสำวกรกมล หลวงวิรญั 100,000,000 100.00 10,000,000 นอ้ ยกวำ่ 0.01 9,500,000 นอ้ ยกวำ่ 0.01
9 นำงสำวอภิสรำ สะอำด 100.00 1 นอ้ ยกวำ่ 0.01
10 นำงสำวเขมจิรำ สธุ นผำติกลุ 1 นอ้ ยกวำ่ 0.01
11 นำงพศิ มยั บกแกว้ 1 นอ้ ยกวำ่ 0.01
1
รวม 1 100.00

40,000,000

ทงั้ นี้ ธุรกิจผลิตและจำหน่ำยกระแสไฟฟ้ำจำกพลงั งำนทดแทน ดำเนินกำรภำยใต้ 3 พลังงำนหลัก ไดแ้ ก่ ธุรกิจกำรลงทุนและ
พฒั นำโรงไฟฟำ้ พลงั งำนแสงอำทติ ย์ (Solar Energy) ประกอบดว้ ย 3 กลมุ่ ธรุ กิจหลกั ไดแ้ ก่ บรษิ ทั ซปุ เปอร์ โซล่ำร์ เอนเนอรย์ ี จำกดั (“SSE”)
ธุรกจิ กำรลงทนุ และพฒั นำโรงไฟฟ้ำพลงั งำนขยะ (Waste Energy) ดำเนินกำรภำยใตบ้ รษิ ัท ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี จำกัด (“SEE”) ธุรกิจ
กำรลงทุนและพัฒนำโรงไฟฟ้ำพลังงำนลม (Wind Energy) ดำเนินกำรภำยใตบ้ ริษัท ซุปเปอร์ วินด์ เอนเนอรย์ ี จำกดั (“SWE”) โดยมี
โครงสรำ้ งกำรถือหนุ้ ในบรษิ ทั ยอ่ ยขำ้ งตน้ ดงั นี้

บจ.ซุปเปอร์ โซลำ่ ร์ เอนเนอรย์ ี บจ.ซปุ เปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี (“SEE”) บจ.ซปุ เปอร์ วินด์ เอนเนอรย์ ี
(“SSE”) (“SWE”)

สดั สว่ นกำรถือ สดั สว่ นกำร สดั สว่ นกำรถือ
ถือหนุ้ หนุ้
ลำดบั ชื่อผถู้ ือหนุ้ จำนวนหนุ้ (หนุ้ ) หนุ้ จำนวนหนุ้ (หนุ้ ) (รอ้ ยละ) จำนวนหนุ้ (หนุ้ )
100.00 (รอ้ ยละ)
1 บมจ. ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ี กรุ๊ป 99,999,998 (รอ้ ยละ) นอ้ ยกวำ่ 0.01 499,999,998 100.00
2 นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ 1 1
3 บจ.สนง.ท่ีปรกึ ษำกฎหมำยโลจำยะ 1 100.00 9,999,998 นอ้ ยกวำ่ 0.01 1 นอ้ ยกวำ่ 0.01
4 นำงสำววนิดำ มชั ฉิมำนนท์ 100.00 นอ้ ยกวำ่ 0.01
100,000,000 นอ้ ยกวำ่ 0.01 1 500,000,000
รวม 100.00
นอ้ ยกวำ่ 0.01

1

100.00 10,000,000 75

7.3 การออกหลักทรัพยอ์ ื่น ระยะเวลำกำรใชส้ ิทธิ อตั รำกำรใชส้ ิทธิ จะมีผลบงั คบั
7.3.1 การออกหลักทรัพยแ์ ปลงสภาพ ตงั้ แตว่ นั ท่ี 27 พฤศจกิ ำยน 2562
บริษัทมีกำรออกหลักทรัพย์แปลงสภำพตำมมติท่ี
วนั ทำกำรสดุ ทำ้ ยของเดอื น
ประชุมวิสำมญั ผถู้ ือหนุ้ ครงั้ ท่ี 1/2560 เม่ือวนั ท่ี 31 กรกฎำคม กมุ ภำพนั ธ์ เดอื นพฤษภำคม เดอื น
2560 ในกำรออกใบสำคญั แสดงสทิ ธิท่จี ะซอื้ หนุ้ สำมญั ของบริษัท สิงหำคม เดือนพฟศจิกำยน ของทกุ
รุ่นท่ี 4 (“ใบสำคัญแสดงสิทธิ” หรือ “SUPER-W4”) จำนวน ปี สิน้ สุดเดอื นสิงหาคม 2563
5,469,893,121 หน่วย ใหแ้ ก่ผถู้ ือหนุ้ เดมิ ตำมสดั ส่วนกำรถือหนุ้
(Rights Offering) ในอตั รำสว่ นหนุ้ สำมญั เดมิ 5 หนุ้ ตอ่ ใบสำคญั 7.3.2 การออกหลักทรัพยต์ ราสารหนี้ ประเภทหุ้นกู้
แสดงสิทธิ 1 หนว่ ย (5: 1) บรษิ ทั ไดม้ ีกำรออกและเสนอขำยหนุ้ กมู้ ำอย่ำงตอ่ เน่ือง

นับตงั้ แต่ปี 2560 โดยกำรออกหนุ้ กูแ้ ต่ละครงั้ มีวงเงินเสนอขำย

เฉล่ียประมำณ 500 ถงึ 1,000 ลำ้ นบำท เพ่ือใชเ้ ป็นทนุ หมนุ เวียน

ประเภทหลกั ทรพั ย์ ใบสำคญั แสดงสิทธิท่ีจะซอื้ หนุ้ ในบริษัท ซ่ึงเป็นไปเพ่ือประโยชน์ทำงกำรค้ำปกติของบริษัท

สำมญั เพ่มิ ทนุ ของบรษิ ัท ซุปเปอร์ นอกจำกนีย้ ังเป็นกำรเพ่ิมโอกำสในกำรระดมทุนท่ีหลำกหลำย

เอนเนอรย์ ี คอรเ์ ปอเรช่นั จำกดั และมีประสทิ ธิภำพไดใ้ นอนำคต โดย ณ วนั ท่ี 31 ธนั วำคม 2562

(มหำชน) รุน่ ท่ี 4 (“SUPER-W4”) บริษัทมีกำรออกหุน้ กูท้ ่ียังไม่ถึงกำหนดชำระ รวมเป็นจำนวน 4

วนั ออกและเสนอขำย วนั ท่ี 1 กนั ยำยน 2560 รุน่ ดงั นี้ วนั ท่ี วนั ท่ี อตั รำ จำนวน
ลำดั เสนอขำย ครบกำหนด ดอกเบีย้ / ปี (บำท)
ใบสำคญั แสดงสทิ ธิ บ รุน่ ท่ี
อำยใุ บสำคญั แสดงสิทธิ ไม่เกิน 3 ปี (ครบกาหนดวนั ที่ 1
กันยายน 2563) 1 1-2561 5 เม.ย. 2561 5 เม.ย. 2563 5.50% 340.10

อตั รำกำรใชส้ ทิ ธิ 1 : 1 (ไม่เปลี่ยนแปลง) 2 2-2561 9 ส.ค. 2561 9 ส.ค. 2563 5.50% 383.20

รำคำใชส้ ิทธิ 2.49 บาทต่อหุ้น 3 1-2562 17 พ.ค. 2562 17 พ.ค. 2564 5.50% 456.80

ทงั้ นี้ เดมิ รำคำใชส้ ิทธิ เทำ่ กบั 2.50 4 2-2562 20 พ.ย. 2562 20 พ.ย. 2564 5.50% 600.00

บำทตอ่ หนุ้ ตอ่ มำบรษิ ทั ไดม้ ีมติ 1,780.1
0

คณะกรรมกำรบรษิ ทั ครงั้ ท่ี 6/2562 7.4 นโยบายการจา่ ยเงนิ ปันผล

เม่ือวนั ท่ี 13 พฤศจิกำยน 2562 บริษัทและบริษัทย่อยมีนโยบำยกำรจ่ำยเงินปันผล
ใหแ้ ก่ผูถ้ ือหนุ้ ไม่ต่ำกว่ำรอ้ ยละ 50 ของกำไรสุทธิของงบกำรเงิน
อนมุ ตั กิ ำรจ่ำยปันผลระหวำ่ งกำล เฉพำะกิจกำรในแต่ละงวดบญั ชี หลงั จำกหกั ทุนสำรองต่ำงๆทกุ
ประเภทตำมท่ีได้กำหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัท และตำม
จำกกำไรสะสมใหแ้ กผ่ ถู้ ือหนุ้ สำมญั กฎหมำย และภำยหลงั กำรตงั้ สำรองรอ้ ยละ 5 ของกำไรสุทธิจน

ทงั้ หมดในอตั รำหนุ้ ละ 0.011 บำท จำนวนเงินท่ีตัง้ สำรองมีมูลค่ำเท่ำกับรอ้ ยละ 10 ของทุนจด
ทะเบียนของบริษัท หำกไม่มีเหตุจำเป็นอ่ืนใด และกำรจ่ำยเงิน
ทำใหบ้ รษิ ัทตอ้ งดำเนินกำรปรบั ปันผลนนั้ จะตอ้ งไม่มีผลกระทบตอ่ กำรดำเนินงำนปกติของบริษัท
และบรษิ ัทย่อยอย่ำงมีนัยสำคญั ตำมท่ีคณะกรรมกำรของบรษิ ัท
อตั รำกำรใชส้ ิทธิและรำคำกำรใช้ และบริษัทย่อยพิจำรณำเห็นสมควรหรือเหมำะสม และกำร

สทิ ธิของใบสำคญั แสดงกำรใชส้ ิทธิ ดำเนินกำรดงั กล่ำวจะตอ้ งก่อใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดต่อผูถ้ ือหนุ้

ฯ ตำมควำมในขอ้ (จ) ของ

ขอ้ กำหนดสิทธิว่ำดว้ ยสิทธิและ

76 หนำ้ ท่ขี องผอู้ อกใบสำคญั แสดง
สทิ ธิ (“ขอ้ กำหนดสิทธิฯ”)

ทงั้ นี้ กำรเปล่ียนแปลงรำคำและ

โดยมติคณะกรรมกำรบริษัทและบริษัทย่อยท่ีพิจำรณำเร่ือง
ดงั กล่ำวนนั้ ตอ้ งนำเสนอเพ่ือขออนมุ ตั ิจำกท่ีประชุมผูถ้ ือหนุ้ ของ
บรษิ ัทและบรษิ ัทย่อยดว้ ย เวน้ แตเ่ ป็นกำรจ่ำยเงินปันผลระหวำ่ ง
กำลซ่ึงคณะกรรมกำรบริษัท มีอำนำจอนุมัติใหจ้ ่ำยเงินปันผล
ระหว่ำงกำลได้ แลว้ ใหร้ ำยงำนใหท้ ่ีประชุมผูถ้ ือหนุ้ ทรำบในกำร
ประชมุ ครำวตอ่ ไป

อย่ำงไรก็ดี กำรจ่ำยเงินปันผลจะขึน้ อยู่กับแผนกำร
ลงทนุ ควำมจำเป็น และควำมเหมำะสมดำ้ นอ่ืนๆในอนำคต โดย
คำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดท่ีผู้ถือหุน้ จะได้รับและเป็นไปตำม
นโยบำยของบรษิ ัท

77

8. โครงสร้างการจดั การ

8.1 คณะกรรมการบริษัท
8.1.1 คณะกรรมการบรษิ ัท ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ี คอรเ์ ปอเรช่ัน จากัด (มหาชน)

โดยตำแหนง่ คณะกรรมกำรทงั้ 7 ทำ่ น มีดงั นี้

รายชอ่ื กรรมการ ประเภท ตาแหน่งในคณะกรรมการ
กรรมการ
1.นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ กรรมกำรบรหิ ำร ประธำนคณะกรรมกำรบรษิ ัท / กรรมกำรบรหิ ำรควำมเส่ียง
2.นำยกำธร อดุ มฤทธิรุจ กรรมกำรอสิ ระ ประธำนคณะกรรมกำรตรวจสอบ / รองประธำนคณะกรรมกำรบรษิ ทั
3.นำงไตรทพิ ย์ ศวิ ะกฤษณก์ ลุ กรรมกำรอสิ ระ
4.นำงสำววนดิ ำ มชั ฉิมำนนท์ รองประธำนกรรมกำรตรวจสอบ / กรรมกำรบรษิ ทั
5.นำงสำววรนิ ทรท์ พิ ย์ ชยั สงั ฆะ กรรมกำรอสิ ระ กรรมกำรตรวจสอบ / กรรมกำรบรษิ ัท
6.นำงสำวสรรสริ ิ ชยั เจรญิ พฒั น์ กรรมกำรบรหิ ำร กรรมกำรบรษิ ทั
7.พล.ต.ท. ปิยะ สอนตระกลู กรรมกำรอสิ ระ
กรรมกำรอิสระ รองประธำนคณะกรรมกำรบรหิ ำรควำมเส่ียง / กรรมกำรบรษิ ทั
ประธำนคณะกรรมกำรควำมเส่ียง / กรรมกำรบรษิ ทั

โครงสร้ำงกำรบริหำรงำนของบริษัท ประกอบด้วย ทงั้ นี้ ในปีท่ีผ่ำนมำกรรมกำรแต่ละท่ำนมีสัดส่วนกำร
คณะกรรมกำรบรษิ ทั คณะกรรมกำรตรวจสอบ และคณะกรรมกำร เข้ำร่วมประชุมคณะกรรมกำรบริษัท คณะกรรมกำรตรวจสอบ
บริหำรควำมเส่ียง โดยท่ีคณะกรรมกำรบริษัทประกอบด้วย และคณะกรรมกำรบรหิ ำรควำมเส่ียง ไม่นอ้ ยกว่ำรอ้ ยละ 80 ของ
กรรมกำรอสิ ระ กรรมกำรท่เี ป็นผบู้ รหิ ำร โดยกำหนดใหม้ ีกรรมกำร กำรประชมุ ทงั้ หมด ดงั นี้
อิสระอย่ำงนอ้ ย 1 ใน 3 ของคณะกรรมกำรบริษัททงั้ หมด ดงั นนั้
จึงม่ันใจไดว้ ่ำคณะกรรมกำรบริษัทจะปฏิบตั ิหนำ้ ท่ีไดอ้ ย่ำงเป็น

อิสระ ปรำศจำกกำรชีน้ ำ และเป็นไปอย่ำงมีประสทิ ธิภำพ

คณะกรรมกำรบรษิ ทั ณ ปัจจุบนั มีจำนวน 7 ทำ่ น ซง่ึ

ประกอบดว้ ยกรรมกำรตรวจสอบและกรรมกำรอิสระ 5 ทำ่ น คดิ

เป็นรอ้ ยละ 70 ของกรรมกำรในคณะกรรมกำรบรษิ ัท ดงั นี้

กรรมกำรท่เี ป็นผบู้ รหิ ำร 1 ทำ่ น

กรรมกำรท่เี ป็นผบู้ รหิ ำรของบรษิ ัทยอ่ ย 1 ทำ่ น

กรรมกำรท่เี ป็นกรรมกำรตรวจสอบ 3 ทำ่ น

กรรมกำรอสิ ระ 2 ทำ่ น

การประชุมของคณะกรรมการ บรษิ ัทมีกำรประชุม

คณะกรรมกำรอย่ำงสม่ำเสมอ และมีกำรแจ้งใหท้ รำบล่วงหนำ้

เพ่ือให้กรรมกำรสำมำรถจัดสรรเวลำเข้ำร่วมประชุมได้อย่ำง

สะดวก โดยปีท่ผี ่ำนมำบรษิ ัทไดจ้ ดั ใหม้ ีกำรประชุมคณะกรรมกำร

78 บริษัทฯ จำนวน 7 ครงั้ กำรประชุมคณะกรรมกำรตรวจสอบ 5
ครงั้ และกำรประชมุ คณะกรรมกำรบรหิ ำรควำมเส่ียง 5 ครงั้

กำรเขำ้ รว่ มประชมุ ในคณะกรรมกำร

รำยชื่อ ตำแหน่งในคณะกรรมกำร คณะกรรมกำร คณะกรรมกำร คณะกรรมกำร

บริษทั ตรวจสอบ บริหำรควำมเสย่ี ง

1.นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ ประธำนคณะกรรมกำรบริษทั จำนวนครงั้ ที่เขำ้ รว่ ม / จำนวนครง้ั ท่ีเขำ้ รว่ ม / จำนวนครง้ั ท่ีเขำ้
2.นำยกำธร อดุ มฤทธิรุจ กรรมกำรบริหำรควำมเสยี่ ง จำนวนครงั้ ท่ีประชมุ จำนวนครงั้ ที่ประชมุ รว่ ม / จำนวน
3.นำงสำววนิดำ มชั ฉิมำนนท์ ครงั้ ท่ีประชมุ
4.นำงสำวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณก์ ลุ ประธำนคณะกรรมกำรตรวจสอบ 7/7 -
5.พล.ต.ท.ปิยะ สอนตระกลู รองประธำนคณะกรรมกำรบริษัท 5/5
6.นำงสำวสรรสริ ิ ชยั เจรญิ พฒั น์ 7/6 5/5
7.นำงสำววรนิ ทรท์ ิพย์ ชยั สงั ฆะ กรรมกำรตรวจสอบ และกรรมกำรบริษัท -
7/7 5/5
หมำยเหตุ รองประธำนกรรมกำรตรวจสอบ 7/3 5/2 -
กรรมกำรบริษทั -
7/7 -
ประธำนคณะกรรมกำรบรหิ ำรควำมเสยี่ ง 5/5
กรรมกำรบริษทั 7/4 -
5/3
รองประธำนคณะกรรมกำรบริหำรควำมเสยี่ ง 7/7 -
กรรมกำรบริษัท -

กรรมกำรบริษัท

1. กรรมกำรผมู้ ีอำนำจลงนำมในแต่ละคณะกรรมกำร ไดแ้ ก่

คณะกรรมกำรตรวจสอบ คอื นำยกำธร อดุ มฤทธิรุจ

คณะกรรมกำรบรหิ ำร คอื นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ ลงลำยมือช่ือ และประทบั ตรำสำคญั ของบรษิ ัท

คณะกรรมกำรบรหิ ำรควำมเส่ียง คอื พล.ต.ท.ปิยะ สอนตระกลู

2. นำงสำวไตรทิพย์ ศวิ ะกฤษณก์ ลุ ตดิ ภำระกิจเรง่ ดว่ นสำคญั จงึ ทำใหไ้ ม่สำมำรถเขำ้ รว่ มประชมุ คณะกรรมกำรบรษิ ัทได้ 4 ครงั้ และ

คณะกรรมกำรตรวจสอบได้ 3 ครงั้

3. นำงสำวสรรสิริ ชยั เจรญิ พฒั น์ ตดิ ภำระกิจเรง่ ดว่ นสำคญั จงึ ทำใหไ้ มส่ ำมำรถเขำ้ รว่ มประชมุ คณะกรรมกำรบรษิ ัทได้ 3 ครงั้ และ

คณะกรรมกำรบรหิ ำรควำมเส่ียงได้ 2 ครงั้

8.1.2 คณะกรรมการบริษัทยอ่ ยทสี่ าคัญ
บริษัท ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ี คอรเ์ ปอเรช่ัน จำกัด (มหำชน) มีบริษัทย่อยท่ีเป็นแกนหลักในกำรดำเนินธุรกิจประเภทต่ำงๆ โดยท่ี

คณะกรรมกำรบรษิ ัทจงึ ไดม้ อบหมำยให้ กรรมกำรและผบู้ รหิ ำรของบรษิ ทั เขำ้ ดำรงตำแหน่งกรรมกำรในบรษิ ัทย่อยท่ีเป็นแกนหลกั เพ่ือควบคมุ
และตดิ ตำมกำรดำเนินงำนอย่ำงใกลช้ ดิ

ณ วนั ท่ี 31 ธนั วำคม 2562 โครงสรำ้ งคณะกรรมกำรของบรษิ ัทยอ่ ยท่สี ำคญั มีดงั นี้

79

รายชือ่ กรรมการ บจ.ซปุ เปอร์ เอน บจ.ซุปเปอร์ โซ บจ.ซุปเปอร์ บจ. ซปุ เปอร์ บจ. ซุปเปอร์ บมจ.โอเพน่ เทค
เนอรย์ ี กรุ๊ป ลำ่ ร์ เอนเนอรย์ ี เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี วนิ ด์ เอนเนอรย์ ี วอเตอร์ โนโลยี่
1.นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ (“SEG”)
2.นำงสำววนิดำ มชั ฉิมำนนท์ (“SSE”) (“SEE”) (“SWE”) (“SUPERW”) (“OPEN”)
3.นำงสำววรินทรท์ ิพย์ ชยั สงั ฆะ
4.นำยอำคม มำนะแกว้ 
5.นำยชพั มนต์ จนั ทรพงศพ์ นั ธุ์
6.นำยปิติพงษ์ ชีรำนนท์ - - - -
7.นำงธีรำวดี เสนีเศรษฐ
8.นำงสำวสมสขุ ตงั้ สถิตธรรม -- -

--- -

--- -

- - - --

- - - - -

- - - - -

กรรมกำรผมู้ ีอำนำจลงนำมแทนบรษิ ทั ไดแ้ ก่
บจ.ซปุ เปอร์ เอนเนอรย์ ี กรุ๊ป (“SEG”) ไดแ้ ก่ นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ ลงลำยมือช่ือ และประทบั ตรำสำคญั บรษิ ัท

บจ.ซุปเปอร์ โซล่าร์ เอนเนอรย์ ี (“SSE”) ไดแ้ ก่ นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ ลงลำยมือช่ือ และประทบั ตรำสำคญั บริษัท หรือ นำย
อำคม มำนะแกว้ ลงลำยมือช่ือรว่ มกบั นำยชพั มนต์ จนั ทรพงศพ์ นั ธุ์ และประทบั ตรำสำคญั บรษิ ัท

บจ.ซุปเปอร์ เอริ ธ์ เอนเนอรย์ ี (“SEE”) ไดแ้ ก่ นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ ลงลำยมือช่ือ และประทบั ตรำสำคญั บรษิ ทั

บจ.ซุปเปอร์ วนิ ด์ เอนเนอรย์ ี จากัด (“SWE”) ไดแ้ ก่ นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ ลงลำยมือช่ือ และประทบั ตรำสำคญั บรษิ ัท หรือ
นำยอำคม มำนะแกว้ ลงลำยมือช่ือรว่ มกบั นำยชพั มนต์ จนั ทรพงศพ์ นั ธุ์ และประทบั ตรำสำคญั บรษิ ัท

บจ.ซุปเปอร์ วอเตอร์ (“SW”) ไดแ้ ก่ กรรมกำรหนง่ึ คน ลงลำยมือช่ือ และประทบั ตรำสำคญั บรษิ ทั

บมจ.โอเพ่น เทคโนโลยี่ (“OPEN”) ไดแ้ ก่ นำงสำววรินทรท์ พิ ย์ ชยั สงั ฆะ และ นำงสำววรนิ ทรท์ พิ ย์ ชยั สงั ฆะ คนหน่งึ คนใดลง
ลำยมือช่ือรว่ มกบั นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ และประทบั ตรำสำคญั บรษิ ทั

8.2 ผู้บรหิ าร

8.2.1 โครงสร้างผู้บรหิ ารบริษัท
โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรจดั กำรของ SUPER ณ วนั ท่ี 31 ธนั วำคม 2562 ประกอบดว้ ยผบู้ รหิ ำรทงั้ หมด 11 ทำ่ น ดงั นี้

รำยช่ือผบู้ รหิ ำร ตำแหน่ง

1.นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ กรรมกำรผจู้ ดั กำร (รกั ษำกำร)

2.นำงสำวรุง่ นภำ จนั ทรเ์ ดน่ ดวง ผชู้ ่วยกรรมกำรผจู้ ดั กำรสำยงำนบญั ชีและกำรเงินในประเทศ

3.นำยโกวทิ อคั รอธิมำตร ผชู้ ว่ ยกรรมกำรผจู้ ดั กำรสำยงำนบญั ชีและกำรเงินตำ่ งประเทศ

4.นำยพงศกร แสงหงษำ (รกั ษำกำร) ผอู้ ำนวยกำรฝ่ ำยปฎิบตั กิ ำรและซอ่ มบำรุง

5.นำยวลั ลพ เจรญิ ทรพั ย์ (รกั ษำกำร) ผจู้ ดั กำรฝ่ำยระบบคณุ ภำพ

80 6.นำยอภชิ ำ ศรีพินิจ ผจู้ ดั กำรฝ่ำยทรพั ยำกรบคุ คล

7.นำงพชั มณฑ์ ไชยพนั ธุ์ ผจู้ ดั กำรฝ่ำยบญั ชี

รำยช่ือผบู้ รหิ ำร ตำแหนง่
8.นำยชนนั ท์ ถริ ะนนั ท์ ผจู้ ดั กำรฝ่ำยปฏิบตั ิกำร
9.นำงสำวศภุ ินทรำ คำสวุ รรณ ผจู้ ดั กำรฝ่ำยบรหิ ำรทรพั ยส์ นิ เชิงเทคนิค
10.นำงสำวกณิตำ วทิ ยำรตั น์ ผจู้ ดั กำรฝ่ำยบญั ชี-ตำ่ งประเทศ
11.นำยอำคม มำนะแกว้ (รกั ษำกำร) ผจู้ ดั กำรฝ่ำยจดั ซอื้

อานาจหน้าทข่ี องกรรมการผู้จัดการ
1. รบั ผดิ ชอบในกำรบรหิ ำรงำนทงั้ ปวงของบรษิ ทั ตำมนโยบำยของคณะกรรมกำรบรษิ ทั
2. สรำ้ งวสิ ยั ทศั นแ์ ละกำหนดพนั ธกิจ เพ่ือกำหนดแนวทำงกำรดำเนินงำนและพฒั นำองคก์ รในระยะยำว
3. รบั ผิดชอบผลประกอบกำรทำงธุรกิจและพฒั นำธุรกิจใหค้ รบวงจร เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลตอบแทนทำงเศรษฐศำสตรใ์ นอตั รำท่ี

เหมำะสมเทียบไดก้ บั ธุรกิจท่อี ยใู่ นอตุ สำหกรรมเดียวกนั ในระยะยำว
4. พฒั นำบรษิ ัทใหป้ ระกอบธรุ กิจอยำ่ งมีจรรยำบรรณ ปฏิบตั ติ ำมกฎหมำย ศีลธรรมและวฒั นธรรมอนั ดีงำม
5. พฒั นำองคก์ รและบคุ ลำกรใหม้ ีควำมรูค้ วำมสำมำรถเตม็ ศกั ยภำพ สรำ้ งวฒั นธรรมองคก์ ร จรรยำบรรณ วชิ ำชีพ

โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรจดั กำรของ SSE ณ วนั ท่ี 31 ธนั วำคม 2562 ประกอบดว้ ยผบู้ รหิ ำรทงั้ หมด 11 ทำ่ น ตำมโครงสรำ้ งกำรบงั คบั
บญั ชำ ดงั นี้

81

ทงั้ นี้ อำนำจหนำ้ ท่ีของกรรมกำรผูจ้ ัดกำรขำ้ งตน้ ไม่รวมถึงกำรอนมุ ตั ิรำยกำรระหว่ำงบริษัทกับตนเอง หรือบุคคลท่ีอำจมีควำม
ขดั แยง้ ทำงผลประโยชน์ หรอื บคุ คลท่มี ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย แลว้ นนั้ กรรมกำรผจู้ ดั กำรมีอำนำจหนำ้ ท่ีในกำรดำเนินกำรดำ้ นธุรกรรมท่ีมีคำ่ ใช้จ่ำย
หรือก่อใหเ้ กิดภำระผกู พนั แกบ่ รษิ ทั ได้ ดงั นี้

วงเงนิ (ล้านบาท) ผู้มีอานาจอนุมัติ
1 - 20 กรรมกำรผจู้ ดั กำร
11 - 50 กรรมกำรผจู้ ดั กำร และ กรรมกำรอิสระ 1 ทำ่ น
นำเสนอคณะกรรมกำร
มากกว่า 50

8.2.2 โครงสร้างผู้บริหารบริษัทย่อยทสี่ าคัญ
โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรจดั กำรของ SSE ณ วนั ท่ี 31 ธนั วำคม 2562 ประกอบดว้ ยผบู้ รหิ ำรทงั้ หมด 13 ทำ่ น ตำมโครงสรำ้ งกำรบงั คบั

บญั ชำ ดงั นี้

82

โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรจดั กำรของ SEE ณ วนั ท่ี 31 ธนั วำคม 2562 ประกอบดว้ ยผบู้ รหิ ำรทงั้ หมด 17 ทำ่ น ดงั นี้

83

โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรจดั กำรของ SWE ณ วนั ท่ี 31 ธนั วำคม 2562 ประกอบดว้ ยผบู้ รหิ ำรทงั้ หมด 12 ทำ่ น ดงั นี้

84

โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรจดั กำรของ SUPERW ณ วนั ท่ี 31 ธนั วำคม 2562 ประกอบดว้ ยผบู้ รหิ ำรทงั้ หมด 7 ทำ่ น ดงั นี้

โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรจดั กำรของ OPEN ณ วนั ท่ี 31 ธนั วำคม 2562 ประกอบดว้ ยผบู้ รหิ ำรทงั้ หมด 5 ท่ำน ดงั นี้

คณะกรรมการบรษิ ัท คณะกรรมกำรตรวจสอบ
Board of Director Audit Committee

ประธานคณะกรรมการ ฝ่ ำยตรวจสอบภำยใน
Chairman of the Board Internal Audit
นายจอมทรัพย์ โลจายะ

ผู้อานวยการอาวุโสฝ่ ายขาย ผู้อานวยการอาวุโสฝ่ ายบริหาร ผู้อานวยการฝ่ ายบริหารจดั การ ผู้อานวยการฝ่ ายบญั ชแี ละการเงิน
Senior Vice President Sale Division ลูกค้าและจัดหาบุคลากร ทรัพยส์ ิน Chief Financial Officer
Senior Vice President Client
นางสาวสมสุข ตั้งสถติ ธรรม Property Management Division นางสาววรินทรท์ พิ ย์ ชัยสังฆะ
Services & Outsourcing Division นางสาวจรรยา คงม่ัน
นำงสำวสมสขุ ตง้ั สถิตธรรม

85

8.3 เลขานุการบริษัท บรษิ ัท บรษิ ัทสำนกั งำนท่ีปรกึ ษำ
กฎหมำย มีชยั ไทยแลนด์ จำกดั
เพ่ือใหก้ ำรบรหิ ำรงำนของบรษิ ัทเป็นไปตำมขอ้ กำหนด ประเภทธุรกจิ
ของพระรำชบญั ญัตหิ ลกั ทรพั ยแ์ ละตลำดหลกั ทรพั ย์ (ฉบบั ท่ี 4) วนั เดอื นปี ทจ่ี ด ท่ปี รกึ ษำดำ้ นกฎหมำย
พ.ศ. 2551 มำตรำ 89/15 และมำตรำ 89/16 ท่ีประชุม ทะเบยี น 27 ธนั วำคม 2543
คณะกรรมกำรบริษัท ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ี คอรเ์ ปอรเ์ รช่นั จำกัด ทนุ จดทะเบยี น
(มหำชน) ครงั้ ท่ี 4/2551 เม่ือวนั ท่ี 13 สิงหำคม 2551 ไดม้ ีมติ แบง่ ออกเป็ นหนุ้ สามัญ 16,000,000 บำท
แตง่ ตงั้ บรษิ ทั สำนกั งำนท่ปี รกึ ษำกฎหมำย มีชยั ไทยแลนด์ จำกดั 160,000 หนุ้
เป็นเลขำนกุ ำรบรษิ ัท โดยใหม้ ีผลตงั้ แต่วนั ท่ี 13 สิงหำคม 2551 ทุนทเ่ี รยี กชาระแล้ว (มลู คำ่ ทตี่ รำไวห้ นุ้ ละ 100 บำท)
เป็นตน้ ไป โดยปัจจุบัน นำงสำวดวงดำว ประเสริฐศรี ผูจ้ ัดกำร 16,000,000 บำท
ฝ่ำยนิตกิ รรมและสญั ญำ เป็นผไู้ ดร้ บั กำรมอบหมำยใหป้ ฏิบตั ิงำน ทต่ี งั้ สานักงานใหญ่
เลขำนกุ ำรบรษิ ัท โดยเลขำนกุ ำรบรษิ ัทจะตอ้ งปฏิบตั หิ นำ้ ท่ีตำมท่ี เลขที่ 223/96 ชนั้ 21 อำคำรคนั ท
กำหนดในมำตรำ 89/15 และมำตรำ 89/16 ของพระรำชบญั ญัติ กรรมการผู้มีอานาจ รท่ี ำวเวอร์ อำคำรเอ ถนน
หลกั ทรพั ยแ์ ละตลำดหลกั ทรพั ย์ (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2551 ซ่งึ มีผล เลขทะเบียนบรษิ ัท สรรพำวธุ แขวงบำงนำใต้ เขต
บงั คบั ใชใ้ นวนั ท่ี 31 สิงหำคม 2551 ดว้ ยควำมรบั ผิดชอบ ควำม โทรศัพท์ บำงนำ กรุงเทพฯ 10260
ระมดั ระวงั และควำมซ่ือสัตยส์ ุรจิต รวมทงั้ ตอ้ งปฏิบตั ใิ หเ้ ป็นไป โทรสาร
ตำมกฎหมำย วตั ถุประสงค์ ขอ้ บงั คบั บริษัท มติคณะกรรมกำร โครงสร้างการถอื หนุ้ นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ
ตลอดจนท่ีประชุมผู้ถือหุน้ ทัง้ นี้ หน้ำท่ีควำมรับผิดชอบตำม 0105543117336
กฎหมำยของเลขำนกุ ำรบรษิ ทั มีดงั ตอ่ ไปนี้ (662) 720-7797
(662) 720-7808
หนำ้ ท่คี วำมรบั ผิดชอบของเลขำนกุ ำรบรษิ ัท 1. นำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ
93.75%
1. จดั ทำและเกบ็ รกั ษำเอกสำรดงั ตอ่ ไปนี้ 2. บรษิ ัท สำนกั งำนท่ีปรกึ ษำ
1.1. ทะเบียนกรรมกำร กฎหมำยโลจำยะ จำกดั
1.2. หนังสือนัดประชุมคณะกรรมกำร รำยงำนกำร 6.25%
3. ผถู้ ือหนุ้ อน่ื จำนวน 5 รำย
ประชมุ คณะกรรมกำรและรำยงำนประจำปีของบรษิ ัทฯ นอ้ ยกวำ่ 0.01%
1.3. หนงั สือนดั ประชมุ ผถู้ ือหนุ้ และรำยงำนกำรประชมุ

ผถู้ ือหนุ้
1.4. เอกสำรสำคญั ของบรษิ ัทท่เี ก่ียวเน่ืองกนั

2. เก็บรักษำรำยงำนกำรมีส่วนได้เสียท่ีรำยงำนโดย
กรรมกำรหรือผบู้ รหิ ำร

3. ดำเนินกำรอ่ืนๆ ตำมท่ีคณะกรรมกำรกำกับตลำดทุน
ประกำศกำหนด

86

8.4 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บรหิ าร

8.4.1 ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทและผู้บรหิ าร
ในกำรประชมุ สำมญั ผถู้ ือหนุ้ ประจำปี 2562 เม่ือวนั ท่ี 26 เมษำยน 2562 ไดม้ ีมตอิ นมุ ตั ิกำหนดคำ่ ตอบแทน และเบยี้ ประชมุ

คณะกรรมกำรแตล่ ะคณะ โดยมีรำยละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้

- เบยี้ ประชมุ คณะกรรมกำรบรษิ ทั , คณะกรรมกำรตรวจสอบ และคณะกรรมกำรบรหิ ำรควำมเส่ียง

ตำแหน่ง คณะกรรมกำร คณะกรรมกำร คณะกรรมกำร
ประธำนกรรมกำร บรษิ ัท ตรวจสอบ บรหิ ำรควำมเสีย่ ง
รองประธำนกรรมกำร เบีย้ ประชมุ
เบีย้ ประชมุ (บำท/ครงั้ ) เบีย้ ประชมุ
กรรมกำร (บำท/ครงั้ ) 31,000 (บำท/ครงั้ )
30,000 21,000 31,000
20,000 11,000 21,000
15,000 11,000

ทงั้ นี้ สำหรบั ปี 2562 บรษิ ทั ไดจ้ ำ่ ยคำ่ ตอบแทนกรรมกำรและคำ่ เบยี้ ประชมุ และโบนสั ใหแ้ ก่กรรมกำร มีรำยละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้

คำ่ ตอบแทน (บำท) คำ่ เบีย้ ประชมุ (บำท)

รำยช่ือ ตำแหน่ง คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ คำ่ เบีย้
กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร ประชมุ
บรษิ ัท ตรวจสอบ บรหิ ำร บรษิ ัท ตรวจสอบ บรหิ ำร
ควำมเส่ยี ง ควำมเส่ยี ง อ่ืน

1.นำยจอมทรพั ย์ ประธำนคณะกรรมกำรบรษิ ัท, - - - 210,000 - 55,000 75,000
โลจำยะ กรรมกำรบรหิ ำรควำมเส่ยี ง - -
2.นำยกำธร รองประธำนคณะกรรมกำรบรษิ ัท - -
อดุ มฤทธิรุจ ประธำนคณะกรรมกำรตรวจสอบ 610,000 480,000 - 120,000 155,000 - -
-
3.นำงสำววนดิ ำ กรรมกำรบรษิ ัท 510,000 360,000 - 105,000 55,000 186,000 -
มชั ฉิมำนนท์ กรรมกำรตรวจสอบ 63,000 -
4.นำงสำวไตรทพิ ย์ กรรมกำรบรษิ ัท
ศวิ ะกฤษณก์ ลุ รองประธำนกรรมกำรตรวจสอบ 560,000 360,000 - 45,000 42,000 - 75,000
283,000
5. พล.ต.ท. ปิยะ ประธำนคณะกรรมกำรบรหิ ำร 610,000 - 480,000 105,000 -
สอนตระกลู ควำมเส่ยี ง, กรรมกำรบรษิ ัท
6. นำงสำวสรรสริ ิ กรรมกำรบรษิ ัท, รองประธำน
ชยั เจรญิ พฒั น์ กรรมกำรบรหิ ำรควำมเส่ยี ง 510,000 - 360,000 60,000 -

7.นำงสำววรนิ ทรท์ พิ ย์ กรรมกำรบรษิ ัท - - - 105,000 -
ชยั สงั ฆะ
รวม 2,800,000 1,200,000 840,000 750,000 252,000

หมำยเหตุ

1. คำ่ เบยี้ ประชมุ อ่นื ไดแ้ ก่ คำ่ เบยี้ ประชมุ ทน่ี ำยจอมทรพั ย์ โลจำยะ ไดเ้ ขำ้ รว่ มประชมุ ในคณะกรรมกำรหรอื คณะทำงำนอนื่

87

8.4.2 ค่าตอบแทนผู้บรหิ ารของบริษัทประจาปี 2562

- บรษิ ทั และบรษิ ทั ย่อยท่สี ำคญั ไดจ้ ่ำยคำ่ ตอบแทนผบู้ รหิ ำร ดงั นี้

เงนิ เดือน บรษิ ัท บรษิ ัทยอ่ ย บรษิ ัทยอ่ ย บรษิ ัทยอ่ ย
โบนสั จำนวน 8 ทำ่ น ดำ้ นพลงั งำน ดำ้ นนำ้ ดำ้ น IT
คำ่ ตอบแทนอ่ืน ไดแ้ ก่ คำ่ ใชจ้ ำ่ ยเดินทำง ฯลฯ (ลำ้ นบำท) จำนวน 29 ทำ่ น จำนวน 5 ทำ่ น จำนวน 6 ทำ่ น
(ลำ้ นบำท) (ลำ้ นบำท) (ลำ้ นบำท)
20.20
3.30 41.91 3.86 14.61
0.47 6.31 1.22 0.64
2.35 0.15 0.11
รวม 23.97 50.57 5.22 15.36

8.4.3 ค่าตอบแทนอืน่
บริษัทและบรษิ ัทย่อยไดร้ ว่ มกนั จดทะเบียนจดั ตงั้ กองทนุ ตำมพระรำชบญั ญัตกิ องทนุ สำรองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 โดยบรษิ ัทจ่ำย

สมทบใหใ้ นอตั รำรอ้ ยละ 2 ของเงินเดือน ทงั้ นีเ้ ป็นไปโดยควำมสมตั รใจของกรรมกำร ในปัจจบุ นั กองทนุ สำรองเลีย้ งชีพนี้ บริหำรงำน โดย

บรษิ ทั หลกั ทรพั ยจ์ ดั กำรกองทนุ กสิกรไทย และจะจำ่ ยใหพ้ นกั งำนในกรณีลำออกจำกงำนตำมระเบยี บกองทนุ

8.5 ค่าตอบแทนบุคลากร

8.5.1 จานวนพนักงานทง้ั หมด

จำนวนพนกั งำนทงั้ หมด (รวมกรรมกำรและผูบ้ รหิ ำร แตไ่ ม่รวมกรรมกำรอิสระ) ของบรษิ ัทและบริษัย่อยท่ีไดร้ บั ค่ำตอบแทนจำก
บรษิ ทั ณ วนั ท่ี 31 ธนั วำคม 2562 แบง่ ตำมสำยงำนตำ่ งๆ มีรำยละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้

สำยงำน บรษิ ัท บรษิ ัทยอ่ ย บรษิ ัทยอ่ ย บรษิ ัทยอ่ ย
ดำ้ นพลงั งำน ดำ้ นนำ้ ดำ้ น IT
1. ผบู้ รหิ ำร จำนวนพนกั งำน
2. ฝ่ำยกำรเงินและบญั ชี (คน) จำนวนพนกั งำน จำนวนพนกั งำน จำนวนพนกั งำน
3. ฝ่ำยปฏิบตั กิ ำร 8 (คน) (คน) (คน)
4. ฝ่ำยบคุ คลและธรุ กำร 44 29 5 6
9 14 3 4
รวม 25 147 36 149
86 - 4 9
190 48 168

8.5.2 ข้อพพิ าททางดา้ นแรงงานทส่ี าคัญในระยะ 3 ปี ทผ่ี ่านมา (ปี 2560 – 2562)
บรษิ ัทและบรษิ ัทย่อยไมม่ ีขอ้ พิพำทดำ้ นแรงงำนท่เี ป็นสำระสำคญั ในระยะ 3 ปีท่ผี ำ่ นมำ

8.5.3 ผลตอบแทนรวมและลักษณะผลตอบแทนทีใ่ ห้กับพนักงาน
บรษิ ทั มีกำรจำ่ ยคำ่ ตอบแทนรวมของพนกั งำนในรูปของ เงนิ เดือน คำ่ นำยหนำ้ คำ่ ล่วงเวลำ เบีย้ เลีย้ ง เบีย้ ขยนั โบนสั เบีย้ ประกนั

หมู่ คำ่ อบรม ประกนั สงั คม เงนิ สมทบทนุ ทดแทน กองทนุ สำรองเลีย้ งชีพ และสวสั ดิกำรอ่ืนๆ สำหรบั ในรอบปีสิน้ สุดวนั ท่ี 31 ธนั วำคม 2562

88 มีรำยละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้

ลกั ษณะผลตอบแทน บริษัท บริษัทย่อย บริษัทยอ่ ยดา้ น บรษิ ัทยอ่ ย
เงินเดือน (ลำ้ นบำท) ด้านพลงั งาน นา้ ดา้ น IT
โบนสั (ลำ้ นบำท)
คำ่ ตอบแทนอนื่ ไดแ้ ก่ คำ่ ใชจ้ ำ่ ยในกำรเดินทำง ฯลฯ 24.23 (ลำ้ นบำท) (ลำ้ นบำท) 62.41
2.77 37.43 4.31 3.37
รวม 4.82 4.36 0.64 3.97
31.82 6.73 2.93 69.75
48.52 7.88

8.5.4 ค่าตอบแทนอน่ื 2. บริษัทไดส้ ่งพนักงำนและผูบ้ ริหำรเข้ำอบรมหลักสูตร 89
บริษัทและบริษัทย่อยได้ร่วมกันจดทะเบียนจัดตั้ง ต่ำงๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกับกำรดำเนินธุรกิจ อำทิ กำรอบรม
กองทุนตำมพระรำชบญั ญัติกองทนุ สำรองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 ห ลัก สู ต ร ท ำ ง บัญ ชี ท่ี มี ก ำ ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง / เ พ่ิ ม เ ต่ิ ม
โดยบริษัทจ่ำยสมทบใหใ้ นอัตรำรอ้ ยละ 2 ของเงินเดือน ทงั้ นี้ หลกั สูตรทำงดำ้ นภำษีอำกร หรือ หลกั สูตรกำรบรหิ ำร
เป็นไปโดยควำมสมัตรใจของพนกั งำน ในปัจจุบนั กองทนุ สำรอง กำรขำย โดยใหพ้ นักงำนและผูบ้ ริหำรไดม้ ีโอกำสได้
เลีย้ งชีพนี้ บริหำรงำน โดยบริษัทหลักทรพั ยจ์ ดั กำรกองทุนกสิกร พัฒนำควำมรู้ท่ีทันสมัยอยู่เสมอ ซ่ึงจะนำประโยชน์
ไทย และจะจ่ำยใหพ้ นกั งำนในกรณีลำออกจำกงำนตำมระเบียบ มำยงั บรษิ ทั และผถู้ ือหนุ้ ในระยะยำว
กองทนุ
3. บริษัทมีนโยบำยในกำรรกั ษำบุคลำกร โดยใหโ้ อกำส
8.5.5 นโยบายในการพัฒนาบุคลากร พนักงำนไดแ้ สดงควำมสำมำรถของตนเอง เพ่ือให้
ไ ด้รับ ก ำ ร เ ล่ื อ น ขั้น ต ำ ม ค ว ำ ม เ ห ม ำ ะ ส ม ข อ ง
บรษิ ัท ซปุ เปอร์ เอนเนอรย์ ี คอรเ์ ปอเรช่ัน จากัด ควำมสำมำรถ นอกจำกนี้ บริษัทยงั มีนโยบำยกำรจ่ำย
(มหาชน) และบริษัทย่อย ค่ ำ จ้ำ ง ต ำ ม ค ว ำ ม ส ำ ม ำ ร ถ ข อ ง พ นั ก ง ำ น แ ล ะ ใ ห้
พนักงำนมีโอกำสไดร้ ับค่ำจำ้ งตำมท่ีพนักงำนคิดว่ำ
คณะกรรมกำรบริษัทไดใ้ หค้ วำมสำคญั ในกำรพัฒนำ ควรไดร้ บั ตำมควำมสำมำรถอีกดว้ ย
บคุ ลำกร ซง่ึ เป็นทรพั ยำกรท่มี ีค่ำของบริษัท และตระหนกั ดีวำ่ กำร
พฒั นำบคุ ลำกรเป็นส่ิงท่ีมีควำมสำคญั อย่ำงมำกในกำรพฒั นำขีด บรษิ ัท โอเพน่ เทคโนโลยี่ จากัด (มหาชน)
ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันกับบริษัทอ่ืนๆ โดยบริษัทให้ ในกำรเปล่ียนแปลงเขำ้ สู่ยุค Thailand 4.0 นั้น กำร
ควำมสำคญั ในกำรจดั กำรทรพั ยำกรท่มี ีอยู่ โดยม่งุ เนน้ ในกำรสรำ้ ง บริหำรจัดกำรทรพั ยำกรมนุษยน์ ัน้ มีส่วนสำคญั อย่ำงย่ิงเพ่ือให้
และพัฒนำบุคลำกรให้มี ควำมรู้ มี ทักษะในกำรทำงำน กำ้ วทนั และสอดคลอ้ งกบั เทคโนโลยี ท่ีเปล่ียนแปลงทงั้ ในกำรคดั
ควำมสำมำรถและทัศนคติท่ีดี รวมทั้งมีกำรส่งเสริมให้มี สรรบุคลำกร กำรฝึกอบรม และกำรรกั ษำบุคลำกรท่ีมีคณุ ภำพ
ควำมก้ำวหน้ำในหน้ำท่ีกำรงำนอย่ำงมีคุณภำพ โดยบริษัทมี สำหรบั OPEN นัน้ ปัจจัยหลักในกำรดำเนินธุรกิจนัน้ จำเป็นตอ้ ง
วธิ ีกำรคดั เลือกพนงั ำน พฒั นำพนกั งำน และรกั ษษพนกั งำน ดงั นี้ อำศยั บุคลำกรท่ีมีควำมสำมำรถ และมีควำมรูค้ วำมเช่ียวชำญ
ในเทคโนโลยี ในด้ำนต่ำงๆ รวม ถึงต้องเพ่ิ มพูนควำม รู้
1. บริษัทมีกำรคดั สรรพนักงำนผ่ำนผูใ้ หบ้ ริกำรจดั หำงำน ควำมสำมำรถให้ทันต่อกำรให้บริกำรลูกคำ้ ตำมเทคโนโลยีท่ี
โดยพิจำรณำจำก สำขำท่ีจบกำรศึกษำ ผลกำรศึกษำ เปล่ียนแปลงไป ทงั้ นีบ้ รษิ ทั ฯ ไดใ้ หค้ วำมสำคญั ตอ่ ฝ่ ำยทรพั ยำกร
ประสบกำรณ์ นอกจำกนี้ บริษัทฯ ยังมีนโยบำยให้ บุคคล และฝ่ ำยฝึกอบรมบุคลำกร ของบริษัท ท่ีจะเตรียมควำม
หัวหน้ำงำนประเมินเป็ นประจำตลอดระยะเวลำท่ี พรอ้ มของบุคลำกรใหร้ องรับกำรเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
พนกั งำนใหม่อยู่ในช่วงทดลองงำน เพ่ือใหม้ ่นั ใจไดว้ ่ำ นบั ตงั้ แต่กำรสรรหำ และกำรจัดใหม้ ีกำรอบรมอย่ำงต่อเน่ืองทงั้
บริษัทฯ มีขนั้ ตอนกำรรบั พนกั งำนท่ีมีประสิทธิภำพเพ่ือ ภำยใน และภำยนอกองคก์ ร
เขำ้ มำเป็นสว่ นหนง่ึ ของควำมสำเรจ็ ของบรษิ ทั

9. การกากบั ดแู ลกจิ การ - สรำ้ งระบบงำนใหเ้ ป็นไปเพ่ือประโยชน์สูงสุดของ
บรษิ ัท และเช่ือม่นั ไดว้ ำ่ บริษัทไดม้ ีกำรดำเนินกิจกำรต่ำงๆอย่ำง
9.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ ถกู ตอ้ งตำมวตั ถปุ ระสงคข์ องบรษิ ทั
บรษิ ทั ใหค้ วำมสำคญั ตอ่ กำรเสริมสรำ้ งกำรสรำ้ งควำม
- ปฏิบัติหน้ำท่ีด้วยควำมรับผิดชอบ ระมัดระวัง
เช่ือม่ันและควำมม่ันใจใหแ้ ก่ผู้ถือหุน้ นักลงทุน ผูม้ ีส่วนไดเ้ สีย ซ่ือสัตย์ ภำยใตภ้ ำวะผูน้ ำท่ีดี และเป็นอิสระในกำรดำเนินงำน
ของฝ่ ำยบริหำร และมีควำมรบั ผิดชอบต่อพนกั งำนบริษัท ลูกคำ้
และผทู้ ่เี ก่ียวขอ้ งของบรษิ ทั ผำ่ นนโยบำยกำรกำกบั ดแู ลกิจกำรท่ีดี และผมู้ ีสว่ นไดเ้ สียทกุ ภำคสว่ น
ของคณะกรรมกำรบริษัท โดยยึดหลักควำมสัมพันธ์และแนว
ปฏิบัติเพ่ือสร้ำงควำมโปร่งใส ควำมรับผิดชอบต่อหน้ำท่ีของ หลักปฏบิ ัตทิ ่ี 2
คณะกรรมกำร ผูบ้ ริหำร พนกั งำน ลูกคำ้ สงั คม และผูม้ ีส่วนได้ บริษัทได้มีกำรกำหนดนโยบำย วัตถุประสงค์ และ
เสียทุกฝ่ ำย อย่ำงไรก็ดีในปี 2562 บริษัทได้มีกำรนำหลักกำร เป้ำหมำยทำงธุรกิจ ท่ีสอดคลอ้ งกันกำรดำเนินธุรกิจทงั้ ระยะสนั้
กำกับดูแลกิจกำรท่ีดีสำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560 ระยะกลำง และระยะยำว เพ่ือใหบ้ ริษัทสำมำรถรกั ษำผลกำร
ดำเนินงำนท่ีดีไดอ้ ย่ำงต่อเน่ือง อีกทงั้ เป็นกำรสรำ้ งกำรรบั รูแ้ ละ
(Corporate Governance Code for Listed Companies 2017) ส่ือสำรใหค้ ณะกรรมกำร ผบู้ ริหำร พนกั งำน และผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งทกุ
“CG Code” ท่ีออกโดยคณะกรรมกำรกำกบั หลกั ทรพั ยฯ์ และ ฝ่ ำยไดร้ ่วมมือกันนำพำบริษัทไปสู่เป้ำหมำยอย่ำงมีประสิทธิผล
ตลำดหลกั ทรพั ยฯ์ ในรูปแบบของหลกั ปฏิบตั ิ 8 หลกั มำปรบั ใชใ้ ห้ ดงั นี้
เหมำะสมกับธุรกิจ โดยหลกั ปฏิบตั ิดงั กล่ำวใหค้ วำมสำคัญกับ - กำหนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ และเปำ้ หมำยหลกั
บทบำทหน้ำท่ีของคณะกรรมกำรบริษัท ซ่ึงถือเป็นผู้นำหรือ - กำหนดกลยทุ ธ์ แนวทำงปฏบิ ตั ิ
ผรู้ บั ผิดชอบสูงสุดในกำรนำพำบริษัทไปสู่เป้ำหมำยท่ีกำหนดไว้
หลักปฏบิ ัตทิ ่ี 3
เพ่ือประโยชนใ์ นกำรสรำ้ งคุณค่ำใหก้ ิจกำรเติบโตท่ีม่ันคงและ บริษัทไดม้ ีกำรกำหนดโครงสรำ้ งคณะกรรมกำร และ
ย่งั ยืนต่อไป โดยบริษัทไดป้ ระยุกตน์ ำหลักปฏิบตั ิมำปรบั ใชใ้ น คณะกรรมกำรชุดย่อย ตำมคณุ สมบตั ิ และใหม้ ีควำมเช่ียวชำญ
บรษิ ัท ดงั นี้ ในหลำกหลำยสำชำอำชีพ ควำมรูค้ วำมสำมำรถ ประสบกำรณ์
และควำมเหมำะสมต่อบริษัท ดูแลใหค้ ณะกรรมกำรสำมำรถ
หลักปฏบิ ัตทิ ่ี 1 ปฏิบัติหน้ำท่ีได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ส่งเสริมใหม้ ีวัฒนธรรม
องคก์ รท่ีดี รวมถึงส่งเสริมควำมเป็นอิสระของประธำนจำกฝ่ ำย
บริษัทได้มีกำรกำหนดนโยบำยและโครงสร้ำงกำร จดั กำร ดงั นี้
- มีกำรแต่งตัง้ คณะกรรมกำรชุดย่อยต่ำงๆท่ีจำเป็น
บริหำรธุรกิจของบริษัทในกลุ่ม ให้เข้ำใจถึงบทบำทควำม กำหนดบทบำทหนำ้ ท่ีอย่ำงชัดเจนเพ่ือช่วยกำกับดแู ลระบบงำน
และควบคมุ กำรปฏบิ ตั งิ ำนใหเ้ ป็นไปตำมนโยบำยบรษิ ทั
รบั ผิดชอบของคณะกรรมในฐำนะผู้นำองคก์ ร และกำรบริหำร - กำกบั ดแู ลกระบวนกำรสรรหำและแตง่ ตงั้ กรรมกำร
ให้เป้นไปอย่ำงโปร่งใส และมีกำรกำหนดค่ำตอบแทน ควำม
กจิ กำรเพ่ือสรำ้ งคณุ คำ่ ใหก้ จิ กำรอยำ่ งย่งั ยืน โดยมีคณะกรรมกำร รบั ผดิ ชอบ ไวอ้ ย่ำงชดั เจน
- สรำ้ งกลไกสนบั สนนุ ใหค้ ณะกรรมกำรมีควำมรูค้ วำม
และผู้บริหำรในแต่ละสำยงำน รวมถึงกำรทำควำมเข้ำใจใน เขำ้ ใจในบทบำทหน้ำท่ี และควำมรบั ผิดชอบ รวมทงั้ สละเวลำ
เพ่ือกำรปฏิบตั หิ นำ้ ท่อี ยำ่ งเพียงพอ
หลกั กำรปฏิบตั ิและอำนำจหนำ้ ท่ีท่ีสำคญั โดยบริษัทจะไดม้ ีกำร

ทบทวน ติดตำม และประเมินผล ให้มีควำมเหมำะสมกับ

สภำพกำรณท์ ่เี ปล่ียนแปลงไป โดยมีแนวปฏิบตั สิ ำคญั ดงั นี้

- สรำ้ งควำมเข้ำใจในหลักเกณฑ์ ข้อบงั คับ ระบียบ

ปฏบิ ตั ิ ของบรษิ ัท และบรษิ ทั ยอ่ ย

- สรำ้ งควำมเขำ้ ใจบทบำทอำนำจ ขอบเขตหนำ้ ท่ี และ

สถำนภำพของบรษิ ทั และบรษิ ทั ยอ่ ย

90 - จัดโครงสรำ้ งกำรบริหำรให้สำมำรถดำเนินงำนได้
อย่ำงมีประสิทธิภำพ ตำมควำมเหมำะสมของบริษัท และบริษัท

ยอ่ ย

หลักปฏิบัตทิ ่ี 4 หลักปฏิบัตทิ ่ี 6
บ ริ ษั ท ก ำ ห น ด ใ ห้มี ก ำ ร คัด ส ร ร บุ ค ล ำ ก ร ท่ี มี ค ว ำ ม รู ้ บรษิ ัท ใหค้ วำมสำคญั กบั กำรจดั กำรและบริหำรควำม
ควำมสำมำรถ เขำ้ มำบริหำรงำนตำมทศิ ทำงนโยบำยของบริษัท เส่ียง และกำรกำกบั ดแู ลใหม้ ีระบบควบคมุ ภำยในท่ีดี และเป็นไป
ทำหนำ้ ท่ีเหมำะสม ดแู ลโครงสรำ้ งคำ่ ตอบแทน ตดิ ตำมดแู ลใหม้ ี ตำมกฎหมำย มีกำรจัดกำรควำมขดั แยง้ ทำงผลประโยชน์ และ
กำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบคุ คลท่เี หมำะสม เพ่ือสรำ้ งกำรเติบโตอย่ำง กำรจดั กำรขอ้ รอ้ งเรียน นอกจำกกำรจดั ตงั้ คณะกรรมกำรบริหำร
ย่งั ยืน ดงั นี้ ควำมเส่ียงแลว้ บริษัทยงั ไดจ้ ดั ใหม้ ีระบบกำรควบคมุ ภำยในท่ีดี
- กำหนดแผนพัฒนำผูบ้ ริหำรระดบั สูง กำรอบรม อัน เพ่ือบรรเทำควำมเส่ียงท่อี ำจจะเกิดขนึ้ จำกกำรปฏิบตั งิ ำน ดงั นี้
จะเป็นกำรเพ่ิมทักษะ ควำมรูค้ วำมสำมำรถมำประยุกตใ์ ช้กับ - กำหนดนโยบำยจัดกำรและบริหำรควำมเส่ียง โดย
บรษิ ัท กำรติดตำมและประเมินผลเหตุกำรณ์ต่ำงๆท่ีคำดว่ำจะมี
- จำนวนบุคลำกรมีควำมเพียงพอ สอดคล้องกับ ผลกระทบตอ่ กำรเปล่ียนแปลงอย่ำงสม่ำเสมอ
ทศิ ทำงและกลยทุ ธบ์ รษิ ทั เสรมิ สรำ้ งกำรปฏบิ ตั งิ ำนท่เี ป็นธรรม - กำหนดใหม้ ีระบบควบคุมภำยใน ระบบตรวจสอบ
- จดั ใหม้ ีโครงสรำ้ งกำรจดั กำรของบริษัท มีกำรกำหนด ภำยใน กำรดูแลเร่ืองควำมขดั แยง้ ทำงผลประโยชน์ กำรป้องกนั
ขอบเ ขต อำนำจหน้ำท่ีแ ละค วำม รับผิด ชอบ เพ่ื อให้มี กำรกระทำผิด เพ่ือสรำ้ งควำมนำ่ เช่ือถือในระบบขอ้ มลู
ประสทิ ธิภำพในกำรปฏบิ ตั หิ นำ้ ท่ี - ดำเนินกำรใหเ้ ช่ือม่นั ไดว้ ่ำกระบวนกำรทำงำนต่ำงๆ
ของบริษัท ดำเนินไปอย่ำงมีประสิทธิภำพมีควำมโปร่งใส และ
หลักปฏบิ ัตทิ ่ี 5 สำมำรถถ่วงดลุ อำนำจหนำ้ ท่ไี ดอ้ ย่ำงไดอ้ ย่ำงมีประสิทธิผล
บริษัทใหค้ วำมสำคญั กับนวตั กรรมใหม่ๆท่ีก่อใหเ้ กิด
ประโยชนก์ ับบริษัท ส่งเสริมนวัตกรรมและกำรประกอบธุรกิจ หลักปฏบิ ัตทิ ่ี 7
อย่ำงรับผิดชอบ มีนวัตกรรมท่ีสร้ำงคุณค่ำร่วม กำหนดแผน บรษิ ทั จดั ใหม้ ีระบบในกำรจดั ทำขอ้ มลู ทำงกำรเงินตำม
ดำเนินกำรจำกกลยทุ ธท์ ่ีกำหนดไว้ และนำเทคโนโลยีมำใชอ้ ย่ำง กฎเกณฑ์ มำตรฐำน และแนวปฏิบัติท่ีเป็นท่ียอมรบั โดยมีกำร
เหมำะสม ไม่ว่ำจะเป็นกำรส่งเสริมกำรดำเนินงำน หรือเป็นไป เปิดเผยขอ้ มลู อย่ำงถกู ตอ้ ง เพียงพอ และทนั เวลำ ทำงช่องทำงท่ี
เพ่ือสรำ้ งคณุ ค่ำใหแ้ ก่บรษิ ัท เพ่ือเสริมสรำ้ งควำมสำมำรถในกำร สำมำรถเขำ้ ถงึ ไดอ้ ย่ำงสะดวก และมีกำรตดิ ตำม อธิบำยชีแ้ จงต่อ
แขง่ ขนั รวมถงึ สรำ้ งประโยชนร์ ว่ มกนั ในสงั คม ดงั นี้ ขอ้ ซกั ถำมท่ีมีขึน้ อย่ำงสม่ำเสมอ รกั ษำควำมน่ำเช่ือถือทำงกำร
- สนบั สนนุ กำรดำเนินงำนธุรกิจอย่ำงมีจริยธรรม และ เงินและกำรเปิดเผยขอ้ มลู ดูแลใหร้ ำยงำนทำงกำรเงินและกำร
มีควำมรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม เปิ ดเผยข้อมูลถูกต้อง ดูแลสภำพคล่องทำงกำรเงินและ
- เคำรพสิทธิของผมู้ ีส่วนไดเ้ สียทกุ กล่มุ และสนบั สนุน ควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้ โดยคำนึงถึงควำมเป็นธรรมต่อ
กลไกกำรมีส่วนร่วม เพ่ือสรำ้ งสัมพันธ์และควำมร่วมมือท่ีดีต่อ เจำ้ หนีแ้ ละผถู้ ือหนุ้ ตำมหลกั ปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
สงั คม - จดั ใหม้ ีระบบงำนจดั ทำรำยงำนทำงกำรเงินท่ีมีควำม
- ตอ่ ตำ้ นกำรทจุ ริตคอรร์ ปั ช่นั โดยสรำ้ งกำรรบั รูถ้ งึ กำร ถูกตอ้ ง และเป็นท่ีเช่ือถือ รวมถึงกำรติดตำมดูแลสภำพคล่อง
กระทำท่กี อ่ ใหเ้ กิดควำมเส่ียงดำ้ นคอรร์ ปั ช่นั บริษัทใหอ้ ยู่ในระดับท่ีเหมำะสมและเพียงพอต่อเน่ืองในกำร
- ดแู ลและตดิ ตำมกำรใชท้ รัพยำกรอย่ำงรูค้ ุณค่ำ และ ดำเนนิ ธุรกิจ
เป็นไปอยำ่ งมีประสทิ ธิผล โดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบอยำ่ งรอบดำ้ น - จดั ใหม้ ีกำรเปิดเผยขอ้ มลู และคำอธิบำยของฝ่ ำย
- สรำ้ งจิตสำนึกและควำมม่งุ ม่ัน ต่อหนำ้ ท่ีและควำม จดั กำร ผ่ำนช่องทำงของตลำดหลกั ทรพั ยฯ์ และเวป็ ไซตบ์ รษิ ทั
รบั ผิดชอบรว่ มกนั - ดแู ลขอ้ มลู โดยกำรเก็บรกั ษำ ปกป้องขอ้ มูลภำยใน
ระมดั ระวงั กำรเปิดเผยขอ้ มลู ชดั เจนอย่ำงเพียงพอและเหมำะสม
- ส่งเสรมิ กำรปฏบิ ตั หิ นำ้ ท่ดี ว้ ยควำมซ่อื สตั ยส์ จุ รติ 91

- สรำ้ งควำมเช่ือม่นั ตอ่ ฐำนะทำงกำรเงินและผลกำร 1. เผยแพรข่ อ้ มลู ขำ่ วสำรท่ีสำคญั และจำเป็นสำหรบั ผู้
ดำเนนิ งำนใหอ้ ย่ใู นระดบั ท่เี หมำะสม ถือหนุ้ อยำ่ งสม่ำเสมอ โดยผ่ำนทำงเว็บไซตข์ องบรษิ ัท และระบบ
ข่ำวของตลำดหลกั ทรพั ยฯ์
หลักปฏบิ ัตทิ ่ี 8
บริษัทสนับสนุนกำรมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนไดเ้ สียทุก 2. จดั ส่งหนงั สือนดั ประชมุ ท่ีระบวุ นั เวลำ สถำนท่ีจัด
ภำคสว่ น รวมทงั้ กำรส่ือสำรขอ้ มลู ท่ีจำเป็นต่อกำรตดั สินใจใหน้ กั ประชมุ และวำระกำรประชุมพรอ้ มเอกสำรท่ีเก่ียวขอ้ งใหผ้ ถู้ ือหนุ้
ลงทนุ และผูท้ ่ีสนใจ โดยยึดหลักควำมเป็นธรรมอย่ำงเท่ำเทียม อย่ำงครบถว้ น ไดแ้ ก่ แผนท่ีของสถำนท่ีจดั ประชุม รำยละเอียด
กัน สนบั สนุนกำรมีส่วนร่วมและกำรส่ือสำรกับผูถ้ ือหนุ้ ใหผ้ ูถ้ ือ ของขอ้ มลู แต่ละวำระกำรประชุม รำยงำนประจำปี แบบหนังสือ
หนุ้ มีส่วนร่วมในกำรตดั สินใจในเร่ืองสำคญั ดแู ลใหว้ นั ประชุมผู้ มอบฉันทะ และขอ้ มูลเก่ียวกับกรรมกำรอิสระ เพ่ือใหผ้ ูถ้ ือหุน้
ถือหุน้ เป็นไปดว้ ยควำมเรียบรอ้ ย กำรเปิดเผยมติท่ีประชุมและ สำมำรถเลือกท่ีจะมอบฉันทะใหเ้ ขำ้ ประชุมแทนได้ ซง่ึ ในหนงั สือ
รำยงำนกำรประชมุ ผถู้ ือหนุ้ เป็นไปอยำ่ งถกู ตอ้ ง ครบถว้ น ดงั นี้
- เคำรพสิทธิขนั้ พืน้ ฐำนของผูถ้ ือหนุ้ ทุกรำยอย่ำงเท่ำ นดั ประชมุ จะแจง้ รำยละเอียดของเอกสำรท่ีผถู้ ือหนุ้ จะตอ้ งนำมำ
เทยี ม กำรใหผ้ ถู้ ือหนุ้ ใชส้ ทิ ธิของตนในกำรติดตำมกำรดำเนินงำน แสดงในวันประชุมด้วย รวมถึงข้อบังคับบริษัทฯ ในส่วนท่ี
ของบรษิ ัท ไมว่ ำ่ จะเป็นกำรจดั ประชมุ กำรรบั ฟังขอ้ ซกั ถำมตำ่ งๆ เก่ียวขอ้ งกับกำรประชุมผู้ถือหุน้ ทงั้ นี้ บริษัทฯ จะจัดส่งหนังสือ
- กำหนดชอ่ งทำงกำรส่ือสำรท่แี น่นอน และเพียงพอตอ่ เชิญประชุมผูถ้ ือหนุ้ ดังกล่ำวภำยในระยะเวลำท่ีกฎหมำย หรือ
ผมู้ ีสว่ นไดเ้ สีย รวมทงั้ รบั ฟังขอ้ เสนอแนะ ควำมคดิ เหน็ เพ่ือควำม ประกำศท่เี ก่ียวขอ้ งกำหนด
โปร่งใสและสรำ้ งกระบวนกำรมีส่วนร่วมในกำรดำเนินงำนของ
บรษิ ัท 3. ก่อนเร่มิ กำรประชมุ ประธำนกรรมกำรแจง้ จำนวน/
สดั ส่วนผถู้ ือหนุ้ ท่เี ขำ้ ประชมุ ทงั้ ท่มี ำดว้ ยตนเองและรบั มอบฉนั ทะ
ดังนั้น คณะกรรมกำรบริษัท ได้พิจำรณำปรับใช้ จำกนนั้ ชีแ้ จงวิธีกำรลงคะแนนเสียงและนบั คะแนนเสียง โดยจดั
หลักกำรดงั กล่ำวร่วมกับ “หลกั กำรกำกบั ดแู ลกิจกำรท่ีดีสำหรบั ใหม้ ีคณะกรรมกำรตรวจนับคะแนน ซ่งึ ประกอบดว้ ย กรรมกำร
บริษัทจดทะเบียน ปี 2555” ของ ตลำดหลกั ทรพั ยแ์ ห่งประเทศ อสิ ระ ผสู้ อบบญั ชี และเจำ้ หนำ้ ท่ขี องบรษิ ทั ฯ ดำเนินกำรตรวจนบั
ไทย ซง่ึ ครอบคลมุ หลกั กำรของ OECD ทงั้ 5 หมวด ดงั นี้ คะแนนเพ่ือควำมโปร่งใส และแสดงผลสรุปของคะแนนเสียงทุก

1. สิทธิของผู้ถอื หุ้น วำระในหอ้ งประชมุ
บริษัทไดก้ ำหนดนโยบำยในกำรกำกบั ดูแลกิจกำรโดย 4. เปิดโอกำสใหผ้ ู้ถือหุน้ มีส่วนร่วมในระหว่ำงกำร

คำนึงถึงสิทธิของผูถ้ ือหุ้น เพ่ือสรำ้ งควำมม่ันใจว่ำผู้ถือหุ้นทุก ประชมุ โดยใหผ้ ถู้ ือหนุ้ ไดซ้ กั ถำมในประเดน็ ต่ำงๆ ท่ีเป็นขอ้ สงสยั
รำยไดร้ บั สทิ ธิพืน้ ฐำนตำ่ งๆ อนั ไดแ้ ก่ กำรซือ้ ขำยหรือโอนหนุ้ กำร หรอื แสดงขอ้ คดิ เหน็ เพ่ิมเตมิ ได้ กอ่ นท่ีจะลงคะแนนและสรุปมติท่ี
ไดร้ บั ส่วนแบ่งผลกำไรจำกบริษัทฯ กำรไดร้ บั ขอ้ มูลของบริษัทฯ ประชุมของแต่ละวำระ โดยท่ีกรรมกำร และกรรมกำรบริหำรท่ี
อย่ำงเพียงพอ กำรเขำ้ รว่ มประชมุ ผูถ้ ือหนุ้ กำรแสดงควำมคดิ เห็น ดำรงตำแหน่งเฉพำะเร่ืองต่ำงๆ จะร่วมชีแ้ จงรำยละเอียด และ
ในท่ปี ระชมุ อยำ่ งเป็นอสิ ระ กำรมีส่วนรว่ มในกำรตดั สินใจในเร่ือง
สำคัญของบริษัทฯ ทั้งนี้ ผู้ถือหุน้ ทุกรำยมีสิทธิออกเสียงตำม ตอบขอ้ ซกั ถำมของผถู้ ือหนุ้ ดว้ ย
จำนวนหุน้ ท่ีถืออยู่ แต่ละหุน้ มีสิทธิออกเสียงหน่ึงเสียง โดยได้ 5. ใหส้ ิทธิผถู้ ือหนุ้ ท่มี ำรว่ มประชมุ ผถู้ ือหนุ้ ภำยหลงั เร่มิ
ดำเนินกำรดงั ตอ่ ไปนี้
กำรประชุมแลว้ มีสิทธิออกเสียงหรือลงคะแนนในระเบียบวำระท่ี
92 อย่รู ะหวำ่ งกำรพิจำรณำและยงั ไม่ไดล้ งมติ

6. จัดใหม้ ีกรรมกำรเขำ้ ร่วมประชุมผูถ้ ือหุน้ ทุกครงั้

เพ่ือใหผ้ ถู้ ือหนุ้ สำมำรถซกั ถำมในประเดน็ ตำ่ งๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งได้
7. ดำเนินงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพในกำรสรำ้ งควำม

เจริญเติบโตอย่ำงย่ังยืนแก่องค์กร เพ่ือให้ผู้ถือหุ้นได้รับ
ผลตอบแทนท่เี หมำะสม

นอกจำกนี้ คณะกรรมกำรบริษัทใหค้ วำมสำคญั ในกำร โดยคณะกรรมกำรได้กำหนดให้กรรมกำรและผู้บริหำรต้อง 93
ประชุมผูถ้ ือหนุ้ และเคำรพในสิทธิของผูถ้ ือหุน้ โดยปฏิบตั ิตำม รำยงำนกำรเปล่ียนแปลงกำรถือครองหลักทรัพย์ต่อสำนกั งำน
หลักเกณฑท์ ่ีกฎหมำยกำหนด และให้ฝ่ ำยบริหำรปฏิบัติด้วย คณะกรรมกำรกำกบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลำดหลกั ทรพั ย์ ตำมมำตรำ
ควำมเสมอภำคอย่ำงเครง่ ครดั ตอ่ ผถู้ ือหนุ้ ทกุ รำย 59 แห่งพระรำชบญั ญัติหลักทรพั ยแ์ ละตลำดหลกั ทรพั ย์ รวมทงั้
ไดก้ ำหนดขอ้ หำ้ มไม่ใหม้ ีกำรใชข้ อ้ มูลภำยในท่ีไดร้ บั ทรำบจำก
ในปี 2562 บรษิ ัทไดจ้ ดั ประชุมสำมญั ผถู้ ือหนุ้ เม่ือวนั ท่ี กำรเป็นกรรมกำร ผบู้ รหิ ำร หรอื พนกั งำน เพ่ือประโยชนข์ องตนใน
26 เมษำยน 2562 โดยในกำรประชุมดังกล่ำวโดยมี นำยจอม กำรซอื้ ขำยหนุ้ หรือหลกั ทรพั ยข์ องบรษิ ทั ดงั รำยละเอียดท่ีเปิดเผย
ทรพั ย์ โลจำยะ ประธำนคณะกรรมกำร เป็นประธำนท่ีประชุม ไว้ในหัวข้อกำรดูแลเร่ืองกำรใช้ข้อมูลภำยในหน้ำ 96 ซ่ึงใน
และมีกรรมกำรมำรว่ มประชมุ ดงั นี้ ระหว่ำงปีท่ีผ่ำนมำกรรมกำรและผูบ้ รหิ ำรไดป้ ฏิบตั ติ ำมนโยบำย
อย่ำงเคร่งครดั ไม่ปรำกฎว่ำมีใชข้ อ้ มลู ภำยในเพ่ือประโยชนส์ ่วน
1. นำยกำธร อดุ มฤทธิรุจ ตน
2. นำงสำวไตรทพิ ย์ ศวิ ะกฤษณก์ ลุ
3. นำงสำววนิดำ มชั ฉิมำนนท์ 3.บทบาทของผู้มสี ่วนได้เสยี
4. พล.ต.ท. ปิยะ สอนตระกลู คณะกรรมกำรบริษัทใหค้ วำมสำคัญในสิทธิของผู้มี
5. นำงสำวสรรสิริ ชยั เจรญิ พฒั น์
6. นำงสำววรนิ ทรท์ พิ ย์ ชยั สงั ฆะ ส่วนไดเ้ สียทุกกลุ่ม โดยไดก้ ำหนดนโยบำยใหฝ้ ่ ำยบริหำรวำง
ระบบกำรบริหำรและจดั กำรต่อผมู้ ีส่วนไดเ้ สียทกุ กล่มุ ดว้ ยควำม
ทงั้ นี้ ในกำรประชมุ ผถู้ ือหนุ้ ทกุ ครงั้ บริษัทไดม้ อบหมำย เสมอภำค เพ่ือใหเ้ กิดควำมรว่ มมือกนั ระหวำ่ งบรษิ ัทและผมู้ ีส่วน
ใหบ้ รษิ ัทศนู ยร์ บั ฝำกหลกั ทรพั ย์ (ประเทศไทย) จำกดั ซง่ึ เป็นนำย ไดเ้ สียกลุ่มต่ำงๆ อันจะเป็นกำรสรำ้ งควำมม่นั คงในกำรดำเนิน
ทะเบียนหุน้ ของบริษัท เป็นผูจ้ ัดส่งหนังสือเชิญประชุมผูถ้ ือหุน้ กิจกำรใหแ้ ก่บรษิ ัทในระยะยำว นโยบำยในกำรดูแลสิทธิของผูม้ ี
อนั ประกอบดว้ ยวำระกำรประชมุ และขอ้ มลู ตำ่ งๆ ท่ีเพียงพอต่อ ส่วนไดเ้ สีย มีดงั นี้
กำรตดั สินใจ ใหแ้ ก่ผู้ถือหนุ้ ทุกรำยท่ีมีรำยช่ือปรำกฎอยู่ในสมุด
ทะเบียนผูถ้ ือหนุ้ ณ วนั ปิดสมุดทะเบียนผูถ้ ือ (XM) ล่วงหนำ้ ไม่ 1. บริษัท แบ่งผูม้ ีส่วนไดเ้ สียออกเป็นกลุ่ม ไดแ้ ก่ ผถู้ ือ
นอ้ ยกวำ่ 7 วนั ก่อนวนั ประชุม และไดล้ งประกำศในหนงั สือพิมพ์ หนุ้ รำยย่อย ผถู้ ือหนุ้ ใหญ่และนกั ลงทนุ สถำบนั เจำ้ หนี้ ลูกคำ้ คู่
รำยวนั ตดิ ตอ่ กนั ไม่นอ้ ยกว่ำ 3 วนั ก่อนวนั ประชมุ เพ่ือใหผ้ ถู้ ือหนุ้ คำ้ และบริษัทย่อย/บรษิ ัทร่วมทนุ ชมุ ชนและสงั คม ทงั้ นีใ้ นแตล่ ะ
มีเวลำเพียงพอสำหรบั ศกึ ษำขอ้ มลู และวำระตำ่ งๆ ในกำรประชมุ กลุ่มดงั กล่ำว บริษัทตอ้ งจดั ใหม้ ีช่องทำงในกำรส่ือสำรและกำร
ตอบสนองควำมตอ้ งกำรจำกบรษิ ทั อย่ำงพอเพียงของแตล่ ะกลมุ่
2. การปฏบิ ัตติ อ่ ผู้ถอื หนุ้ อยา่ งเท่าเทยี มกัน
สำหรับผู้ถือหุ้นท่ีไม่สำมำรถเข้ำร่วมประชุมได้ดว้ ย 2. บริษัทจะปฏิบัติต่อลูกค้ำ และคู่ค้ำ โดยมีกำร
กำหนดรำคำสินคำ้ อย่ำงเหมำะสม และจะดำเนินธุรกิจอย่ำงเป็น
ตนเอง บริษัทไดแ้ นบหนังสือมอบฉันทะรูปแบบต่ำงๆ ไปพรอ้ ม กลำงเหมำะสม โดยถือประโยชนข์ องบรษิ ัทฯ เป็นท่ีตงั้ และไม่เอำ
กับหนังสือเชิญประชุม ซ่งึ ผูถ้ ือหนุ้ สำมำรถมอบฉันทะใหบ้ ุคคล เปรียบค่คู ำ้ เกินควำมจำเป็น และมีนโยบำยในกำรพัฒนำสินคำ้
อ่ืน โดยบริษัทเสนอใหม้ อบอำนำจใหก้ รรมกำรอิสระคนใดคน เพ่ือให้สอดคล้องกับควำมตอ้ งกำรของลูกคำ้ ในระดับรำคำท่ี
หนง่ึ เขำ้ ประชมุ แทน เหมำะสม โดยให้ควำม สำคัญในกำรส่งสินค้ำตรงต่อเวลำ
รวมถงึ กำรใหค้ ำแนะนำและบรกิ ำรหลงั กำรขำยอย่ำงตอ่ เน่ือง
สำหรบั มำตรกำรป้องกนั ข้อมลู ภำยใน คณะกรรมกำร
บริษัทกำหนดใหผ้ ู้บริหำร ซ่ึงไดแ้ ก่ คณะกรรมกำร ผู้บริหำร ผู้ 3. บริษัท คำนึงถึงสวสั ดิภำพของบุคลำกรของบริษัท
ดำรงตำแหนง่ สงู สดุ ทำงบญั ชีและกำรเงนิ รวมถงึ เจำ้ หนำ้ ท่ีทกุ รำย โดยไม่เอำเปรยี บในกำรทำสญั ญำจำ้ ง มีกำรกำหนดคำ่ ตอบแทน
ท่ีเก่ียวขอ้ งลงนำมรบั ทรำบมำตรกำรดูแลกำรใช้ขอ้ มูลภำยใน ท่ีเหมำะสมกับศักยภำพเพ่ือกระตุน้ ให้บุคลำกรของบริษัท มี
แรงจูงใจในกำรทำงำน มีกำรฝึกอบรม มีส่ิงแวดล้อมในกำร

ทำงำนท่ีดีมีกำรกำหนดมำตรฐำนควำมปลอดภัยสรำ้ งวินัยใน จะให้ควำมเห็นเก่ียวกับระบบควบคุมภำยในไว้ในรำยงำน
กำรทำงำน ไดร้ บั กำรเอำใจใส่ดแู ลอย่ำงท่วั ถงึ ประจำปีดว้ ย

4. บริษัทมีควำมรับผิดชอบต่อสังคม สนับสนุน 5.ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท
ช่วยเหลือ และสร้ำงประโยชน์ชุมชน และสังคมในภำพรวม คณะกรรมกำรบรษิ ัท ประกอบดว้ ยบุคคลซ่งึ มีควำมรู้
รวมถึงมีนโยบำยในกำรสร้ำงรำยได้และพัฒนำชุมชนอย่ำง
ตอ่ เน่ือง มีแผนกำรในกำรรกั ษำส่ิงแวดลอ้ ม และควำมปลอดภัย ควำมสำมำรถ เป็นผมู้ ีบทบำทสำคญั ในกำรกำหนดนโยบำยของ
โดยเฉพำะอย่ำงย่ิง ผลกระทบทำงส่ิงแวดลอ้ มท่ีเกิดจำกธุรกิจ บริษัท โดยร่วมกบั ผูบ้ ริหำรระดบั สูงวำงแผนกำรดำเนินงำนทงั้
ของบริษัท มีแผนชดเชยท่ีดีหำกมีอุบัติเหตุ และมีกำรวำงแผน ระยะสนั้ ระยะยำว ตลอดจนกำหนดนโยบำยกำรเงิน กำรบริหำร
แก้ไขอย่ำงย่ังยืน ทงั้ นี้เพ่ือเป็นกำรตอบแทนท่ีบริษัทไดร้ บั กำร ควำมเส่ียง และภำพรวมขององค์กร มีบทบำทสำคัญในกำร
ยอมรบั เป็นสว่ นหนง่ึ ของสงั คมในดำ้ นส่ิงแวดลอ้ ม กำกับดแู ล ตรวจสอบ และประเมินผลกำรดำเนินงำนของบริษัท
และผลกำรปฏิบตั งิ ำนของผบู้ รหิ ำรระดบั สูงใหเ้ ป็นไปตำมแผนท่ี
4.การเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่งใส วำงไวอ้ ยำ่ งเป็นอิสระ
คณะกรรมกำรบริษัทให้ควำมสำคัญในเร่ืองกำร
ปั จจุบันคณะกรรมกำรบริษัท มีจำนวน 7 ท่ำน
เปิดเผยข้อมูลท่ีโปร่งใส ถูกต้อง และครบถ้วน โดยบริษัทได้ ประกอบดว้ ยกรรมกำรท่ีเป็นผู้บริหำร 1 ท่ำน กรรมกำรท่ีเป็น
เผยแพร่ขอ้ มูลทำงกำรเงินและขอ้ มลู อ่ืนๆท่ีสำคญั ท่ีเก่ียวขอ้ งกับ ผบู้ รหิ ำรจำกบริษัทย่อย 1 ทำ่ น อีก 5 ท่ำน เป็นกรรมกำรอิสระท่ี
บรษิ ทั เช่น งบกำรเงิน รำยงำนประจำปี นโยบำยกำรกำกบั ดแู ล ไม่เป็นผบู้ รหิ ำร และไม่มีสว่ นไดเ้ สีย ไมม่ ีควำมสมั พนั ธก์ บั ผถู้ ือหนุ้
กิจกำร เป็นตน้ ตำมขอ้ กำหนดของตลำดหลกั ทรพั ยแ์ ห่งประเทศ ใหญ่ ไม่เป็นกรรมกำรหรือผูบ้ ริหำรของผถู้ ือหนุ้ ใหญ่ หรือไม่เป็น
ไทย และสำนักงำน ก.ล.ต. เพ่ือใหน้ ักลงทุนและผู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง ผบู้ รหิ ำรหรือตวั แทนผถู้ ือหนุ้ ของผถู้ ือหนุ้ ใหญ่
ไดร้ บั ทรำบขอ้ มลู
(1) บทบำท และควำมรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมกำรบรษิ ทั
นอกจำกนี้ คณะกรรมกำรใหค้ วำมสำคญั อย่ำงสูงกบั คณะกรรมกำรบริษัทร่วมกบั ผบู้ ริหำรระดบั สูงกำหนด
กำรบริหำรควำมสัมพันธ์กับนักลงทุน ซ่งึ บริษัทอยู่ระหว่ำงกำร
จัดตงั้ หน่วยงำนนกั ลงทุนสมั พันธเ์ พ่ือรับผิดชอบโดยตรงในกำร วตั ถปุ ระสงค์ วสิ ยั ทศั น์ กลยทุ ธ์ เปำ้ หมำย และแผนธุรกิจ ในกำร
เปิดเผยข้อมูลและข่ำวสำรต่ำงๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุน ดำเนินงำนทงั้ ระยะสนั้ และระยะยำว รวมถงึ นโยบำยดำ้ นกำรเงิน
สถำบัน นักลงทุนท่ัวไป ผู้ถือหุ้น และนักวิเครำะห์ รวมถึง กำรบริหำรควำมเส่ียง และภำพรวมของบริษัท เพ่ือใหผ้ ูบ้ ริหำร
หน่วยงำนภำครฐั ท่ีเก่ียวข้อง อย่ำงเท่ำเทียม ถูกตอ้ ง ครบถ้วน ดำเนินธุรกิจอย่ำงมีประสิทธิผลและประสิทธิภำพ ทั้งนี้
และทนั เวลำ ทงั้ นีใ้ นขนั้ เร่มิ ตน้ บรษิ ัทจะเผยแพรข่ อ้ มลู ท่ีสำคญั ทงั้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร บ ริ ษั ท ยั ง มี ห น้ำ ท่ี ส ำ คั ญ ใ น ก ำ ร ก ำ กั บ ดู แ ล
ภำษำไทยและภำษำอังกฤษ ผ่ำนส่ือของตลำดหลักทรัพย์ ตรวจสอบ และประเมินผลกำรปฏิบตั ิงำนของผบู้ รหิ ำรอย่ำงเป็น
(www.set.or.th) อิสระ โดยคำนึงถึงผลประโยชนข์ องบริษัทและผูถ้ ือหนุ้ ในระยะ
ยำว
คณะกรรมกำรบริษัทมีควำมรบั ผิดชอบต่อกำรจดั ทำ
รำยงำนทำงกำรเงินของบรษิ ัท ซ่งึ จะปรำกฏใน รำยงำนประจำปี ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร ไ ด้จั ด ใ ห้มี น โ ย บ ำ ย ก ำ ร ก ำ กั บ ดูแ ล
ทงั้ นี้ คณะกรรมกำรกำหนดใหจ้ ัดทำงบกำรเงินตำมมำตรฐำน กิจกำรของบริษัท โดยคณะกรรมกำรไดม้ ีกำรทบทวนนโยบำย
กำรบญั ชีท่ีรับรองท่วั ไปในประเทศไทย โดยได้เลือกนโยบำย กำรปฏิบัติตำมนโยบำยดงั กล่ำวอย่ำงนอ้ ยปีละ 1 ครงั้ ซ่งึ ในปี
บญั ชีท่ีเหมำะสม ยึดหลักควำมระมัดระวังและถือปฏิบัติอย่ำง 2562 ได้มีกำรทบทวนนโยบำย และมีมติให้ควำมเห็นชอบ
สม่ำเสมอ รวมถงึ ไดเ้ ปิดเผยขอ้ มลู สำคญั อย่ำงเพียงพอในหมำย นโยบำย เม่ือครงั้ ประชุมคณะกรรมกำรครงั้ ท่ี 1/2562 เม่ือวนั ท่ี
27 กมุ ภำพนั ธ์ 2562
94 เหตุประกอบงบกำรเงิน นอกจำกนี้ คณะกรรมกำรบริษัทยงั ได้
คณะกรรมกำรบรษิ ัท ถือวำ่ จรรยำบรรณเป็นส่ิงสำคญั
มอบหมำยใหค้ ณะกรรมกำรตรวจสอบรบั ผดิ ชอบในกำรสอบทำน ท่ีจะต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้พนักงำนถือปฏิบัติอย่ำง
และประเมินระบบควบคมุ ภำยใน โดยคณะกรรมกำรตรวจสอบ

สม่ำเสมอ โดยคณะกรรมกำรบรษิ ทั ไดก้ ำหนดจรรยำบรรณธุรกิจ บริษัทไดม้ ีเวลำศกึ ษำและพิจำรณำล่วงหนำ้ กำรพิจำรณำวำระ 95
เพ่ือเป็นแนวทำงในกำรประพฤตปิ ฏิบตั ิ และสนบั สนนุ ใหผ้ บู้ รหิ ำร ต่ำงๆ จะคำนงึ ถึงผลประโยชนข์ องผถู้ ือหนุ้ และผมู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ ง
ระดบั สงู ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นเป็นตวั อย่ำงท่ดี ี อย่ำงเป็นธรรม และเปิดโอกำสใหม้ ีกำรแสดงควำมเห็นอย่ำง
อิสระ ในแต่ละวำระมีกำรแบ่งเวลำไวอ้ ย่ำงเพียงพอเพ่ือกำร
คณะกรรมกำรบรษิ ัทใหค้ วำมสำคญั ในกำรตรวจสอบ อภิปรำยและแสดงควำมเห็นอย่ำงรอบคอบโดยท่ัวกัน และมี
รำยกำรท่ีอำจมีควำมขดั แยง้ ของผล ประโยชนข์ องผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ ง ปร ะ ธ ำนก ร ร ม กำร เ ป็ น ผู้ดูแ ล ให้ใ ช้เ ว ล ำใ นกำ ร ปร ะ ชุม อ ย่ำ ง
โดยกำหนดใหฝ้ ่ ำยบริหำรปฏิบตั ิตำมระเบียบคณะกรรมกำรของ เหมำะสม โดยได้รำยงำนจำนวนครั้งในกำรเข้ำประชุมของ
บริษัท เร่ือง กรอบกำรทำรำยกำรระหว่ำงกันกับบุคคลท่ีอำจมี คณะกรรมกำรไวใ้ นรำยงำนประจำปี
ควำมขัดแย้งกัน ตำมมติคณะกรรมกำรในกำรประชุมครั้งท่ี
1/2548 วันท่ี 21 มกรำคม 2548 ซ่ึงเป็นไปตำมกฎเกณฑข์ อง ในกำรประชมุ คณะกรรมกำรบริษัท ฝ่ ำยบริหำรจดั กำร
ตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และคณะกรรมกำรกำกับ จะเขำ้ ร่วมประชุมดว้ ย เพ่ือรำยงำนผลกำรดำเนินงำน เสนอเร่ือง
หลกั ทรพั ยอ์ ย่ำงเครง่ ครดั ใหข้ อ้ มลู และขอ้ คดิ เหน็ ท่เี ป็นประโยชน์ รบั ทรำบนโยบำยและกำร
ตดั สินใจของคณะกรรมกำรบริษัท เพ่ือใหส้ ำมำรถนำนโยบำย
คณะกรรมกำรบริษัทให้ควำมสำคัญกับระบบกำร และแผนงำนต่ำงๆ ไปดำเนินงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพไดโ้ ดยเร็ว
ควบคุมและกำรตรวจสอบภำยใน ทั้งในระดับบริหำรและใน ยกเว้นกำรประชุมบำงวำระท่ีจะประชุมเฉพำะคณะกรรมกำร
ระดบั ปฏิบตั งิ ำน จงึ ไดก้ ำหนดภำระหนำ้ ท่ี อำนำจกำรดำเนินกำร บริษัทฯ เพ่ือใหม้ ีอิสระในกำรแสดงควำมคิดเห็นเก่ียวกับฝ่ ำย
ของผปู้ ฏบิ ตั งิ ำนผบู้ รหิ ำรไวอ้ ยำ่ งชดั เจน มีกำรควบคมุ ดแู ลกำรใช้ บรหิ ำรจดั กำร
ทรพั ยส์ ินของบริษัทใหเ้ กิดประโยชน์ และมีกำรแบ่งแยกหน้ำท่ี
ผปู้ ฏิบตั งิ ำน ผตู้ ดิ ตำมควบคมุ และประเมินผลออกจำกกนั เพ่ือให้ (3) คำ่ ตอบแทนคณะกรรมกำรบรษิ ทั
เกิดกำรถ่วงดลุ และตรวจสอบระหว่ำงกันอย่ำงเหมำะสม ทงั้ นี้ สำหรับกำรกำหนดค่ำตอบแทน บริษัทยังไม่มี
ผู้ติดตำมควบคุมและประเมินผลจะตอ้ งรำยงำนโดยตรงต่อ
คณะกรรมกำรตรวจสอบ เพ่ือให้คณะกรรมกำรตรวจสอบ คณะอนุกรรมกำรกำหนดค่ำตอบแทนของคณะกรรมกำร และ
สำมำรถเข้ำมำตรวจสอบกำรดำเนินงำนของบริษัทไดใ้ นทุก ผู้บริหำร แต่มีกระบวนกำรพิจำรณำค่ำตอบแทนเบื้องต้นท่ี
ขนั้ ตอน เหมำะสม โดยใชข้ อ้ มูลค่ำตอบแทนของบริษัทในอุตสำหกรรม
เดียวกันและมีขนำดใกล้เคียงกัน รวมทัง้ ผลประกอบกำรของ
คณะกรรมกำรบริษัทไดใ้ หค้ วำมสำคญั เก่ียวกับกำร บริษัทประกอบกำรพิจำรณำกำหนด ก่อนนำเสนอควำมเห็นต่อ
บริหำรควำมเส่ียงเป็นอย่ำงมำก โดยได้กำหนดนโยบำยกำร ประชมุ ผถู้ ือหนุ้ เพ่ือพิจำรณำตดั สินใจขนั้ สดุ ทำ้ ย
บรหิ ำรควำมเส่ียงในกำรดำเนินกิจกำรท่ีรดั กมุ และอย่ใู นระดบั ท่ี
เหมำะสมควบคมุ ได้ ทงั้ นีย้ งั ไดว้ ำงระบบกำรป้องกนั และจดั กำร ในส่วนของคำ่ ตอบแทนกรรมกำร ท่ีประชุมสำมญั ผถู้ ือ
ควำมเส่ียงเพ่ือเป็นแนวทำงในกำรปฏบิ ตั งิ ำนดว้ ย หุ้นประจำปี 2562 เม่ือวันท่ี 26 เมษำยน 2562 ได้กำหนด
คำ่ ตอบแทนกรรมกำรโดยคำนงึ ถึงหนำ้ ท่ีของกรรมกำรแตล่ ะทำ่ น
(2) กำรประชมุ คณะกรรมกำรบรษิ ทั และระดับค่ำตอบแทนกรรมกำรในอุตสำหกรรม โดย
คณะกรรมกำรบริษัทมีกำหนดประชุมตำมปกติอย่ำง ค่ำตอบแทนดังกล่ำวต้องเหมำะสมและเพียงพอท่ีจะรักษำ
กรรมกำรท่ีมีคุณภำพใหเ้ ป็นกรรมกำรของบริษัท เพ่ือประโยชน์
นอ้ ยไตรมำสละ 1 ครงั้ และอำจมีกำรประชุมวำระพิเศษเพ่ิมเติม สงู สดุ ต่อผถู้ ือหนุ้ นอกจำกนี้ หำกกรรมกำรทำ่ นใดทำหน้ำท่ีเกิน
ตำมควำมเหมำะสม โดยบริษัทจะจัดส่งหนังสือนัดประชุม กวำ่ หนำ้ ท่กี รรมกำรท่วั ไป เชน่ กรรมกำรตรวจสอบ หรือกรรมกำร
ล่วงหนำ้ ไม่นอ้ ยกว่ำ 7 วนั ก่อนวนั ประชุม ยกเวน้ เป็นกำรเรียก ผจู้ ดั กำร บรษิ ัทจะพิจำรณำคำ่ ตอบแทนเพ่ิมเติมในกำรทำหนำ้ ท่ี
ประชุมด่วนให้เป็นไปตำมข้อบังคับบริษัท ทั้งนี้ หนังสือเชิญ เพ่มิ เตมิ ทงั้ นี้ นโยบำยคำ่ ตอบแทนกรรมกำรจะนำเขำ้ ท่ีประชุมผู้
ประชมุ แตล่ ะครงั้ จะกำหนดวำระกำรประชุมไวล้ ่วงหนำ้ รวมทงั้ มี ถือหนุ้ อนมุ ตั ิทกุ ปี โดยบรษิ ัทจะเปิดเผยคำ่ ตอบแทนกรรมกำรใน
กำรส่งรำยละเอียดประกอบวำระกำรประชุมใหค้ ณะกรรมกำร

รำยงำนประจำปี (แบบ 56-1 และแบบ 56-2) ข้อ 8.4 เร่ือง ในบำงกรณี อำจตอ้ งมีกำรเลือกสรรกรรมกำรท่ีมีควำม
คำ่ ตอบแทนกรรมกำรและผบู้ รหิ ำร เก่ียวข้องกบั ผูถ้ ือหุน้ ซ่งึ มีส่วนไดเ้ สียอย่ำงมีนัยสำคญั ในบริษัท
เน่ืองจำกเป็นขอ้ ผูกพันตำมสัญญำว่ำผูถ้ ือหนุ้ ดงั กล่ำวจะต้องมี
สำหรบั ค่ำตอบแทนผูบ้ ริหำร ท่ีประชุมสำมญั ผูถ้ ือหุน้ ตวั แทนเขำ้ เป็นกรรมกำรในบริษัท อย่ำงไรก็ตำม นอกเหนือจำก
ครั้งท่ี 1/2547 ณ วันท่ี 29 กันยำยน 2547 มอบอำนำจให้ กรณีดังกล่ำวแล้ว บุคคลผู้ท่ีจะเข้ำรับกำรคัดเลือกเข้ำเป็ น
คณะกรรมกำรเป็นผกู้ ำหนดคำ่ ตอบแทนผบู้ ริหำรทกุ ทำ่ น โดยจะ กรรมกำรบริษัทนั้นจะได้รับกำรคัดเลือกโดยพิจำรณำจำก
พจิ ำรณำจำกผลกำรดำเนนิ งำนของบรษิ ทั ผลกำรดำเนินงำนของ คณุ สมบตั ดิ งั ตอ่ ไปนี้
ผู้บริหำรแต่ละท่ำน และระดับค่ำตอบแทนผู้บริหำรใน - ประสบกำรณ์
อตุ สำหกรรม ทงั้ นี้ ค่ำตอบแทนดงั กล่ำวจะตอ้ งสำมำรถจูงใจให้ - ควำมรู้
ผู้บริหำรท่ีมีศักยภำพสูงให้ทำงำนในบริษัทในระยะยำว โดย - ควำมซ่อื สตั ย์
คณะกรรมกำรจะเป็นผพู้ จิ ำรณำควำมเหมำะสมของคำ่ ตอบแทน - ควำมเขำ้ ใจในภำพรวมอตุ สำหกรรมประเภทนี้
ผูบ้ ริหำร ทงั้ นีบ้ ริษัทจะเปิดเผยค่ำตอบแทนผู้บริหำรในรำยงำน
ประจำปี (แบบ 56-1 และแบบ 56-2) ขอ้ 8.4 เร่ืองค่ำตอบแทน (6) จำนวนบริษัทท่ีกรรมกำรของบริษัทฯ แต่ละคน
กรรมกำรและผบู้ รหิ ำร สำมำรถไปดำรงตำแหนง่
กรรมกำรของบรษิ ัทสำมำรถดำรงตำแหน่งกรรมกำรใน
(4) กำรพฒั นำกรรมกำรและผบู้ รหิ ำร
คณะกรรมกำรบริษัทได้ส่งเสริมและอำนวยควำม บรษิ ทั อ่ืนได้ แตท่ งั้ นี้ กำรดำรงตำแหน่งกรรมกำรในบริษัทอ่ืนตอ้ ง
ไม่เป็ นอุปสรรคต่อกำรปฏิบัติหน้ำท่ีกรรมกำรของบริษัท
สะดวกใหม้ ีกำรฝึกอบรมและกำรใหค้ วำมรูแ้ ก่ผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งในกำร นอกจำกนีบ้ รษิ ทั ยงั มีนโยบำยในกำรจดั ส่งกรรมกำรและผบู้ รหิ ำร
กำกบั ดแู ลกิจกำรของบรษิ ัท เช่น กรรมกำร กรรมกำรตรวจสอบ เข้ำเป็นกรรมกำรและผู้บริหำรในบริษัทย่อย เพ่ือติดตำมกำร
ผู้บริหำร เป็นต้น เพ่ือให้มีกำรปรับปรุงกำรปฏิบัติงำนอย่ำง ดำเนนิ งำนโดยใกลช้ ดิ ดว้ ย
ตอ่ เน่ือง เช่น กำรเขำ้ รบั กำรอบรมตำมหลกั สตู รต่ำงๆของสถำบนั
กรรมกำรไทย (Thai IOD) กำรเขำ้ รว่ มประชมุ สมั มนำ อบรม เพ่ือ 9.2 คณะกรรมการชุดยอ่ ย
แลกเปล่ียนขอ้ คดิ เหน็ ควำมรูแ้ ละประสบกำรณอ์ นั มีประโยชนต์ อ่
กำรพฒั นำกรรมกำรและผบู้ รหิ ำร โครงสรำ้ งคณะกรรมกำรของบริษัท นอกเหนือจำก
คณะกรรมกำรบรษิ ัทแลว้ ยงั มีคณะกรรมกำรชดุ ย่อยอีก 2 ชดุ คือ
ทกุ ครงั้ ท่มี ีกำรเปล่ียนแปลงกรรมกำรใหม่ บรษิ ัทจะจดั คณะกรรมกำรตรวจสอบ และคณะกรรมกำรบริหำรควำมเส่ียง
ใหม้ ีเอกสำรและขอ้ มลู ท่ีเป็นประโยชน์ต่อกำรปฏิบตั ิหนำ้ ท่ีของ รวมเป็นคระกรรมกำรทงั้ สิน้ 3 ชุด โดยมีรำยละเอียดในแต่ละ
กรรมกำรใหม่ รวมถึงกำรจดั ใหม้ ีกำรแนะนำลักษณะธุรกิจและ คณะกรรมกำร ดงั นี้
แนวทำงกำรดำเนนิ ธรุ กิจของบรษิ ทั ฯใหแ้ ก่กรรมกำรใหม่
(1) คณะกรรมการบริษัท (Board of Directors)
(5) กำรเลือกสรรกรรมกำรบรษิ ทั ฯ คณะกรรมกำรบรษิ ัท ประกอบดว้ ยบุคคลซ่งึ มีควำมรู้
คณะกรรมกำรบรษิ ัทหรอื กรรมกำรบรษิ ัทคนใดคนหน่งึ
ควำมสำมำรถ เป็นผมู้ ีบทบำทสำคญั ในกำรกำหนดนโยบำยของ
อำจจะเสนอบุคคลเข้ำรับคัดเลือกเป็ นกรรมกำรบริษัทได้ บริษัท โดยร่วมกบั ผูบ้ ริหำรระดบั สูงวำงแผนกำรดำเนินงำนทงั้
คณะกรรมกำรบรษิ ทั จะเสนอช่ือบคุ คลดงั กลำ่ ว เพ่ือใหท้ ่ีประชมุ ผู้ ระยะสนั้ ระยะยำว ตลอดจนกำหนดนโยบำยกำรเงิน กำรบริหำร
ถือหุ้นพิจำรณำแต่งตั้ง โดยผู้ถือหุ้นจะพิจำรณำเลือกสรรให้ ควำมเส่ียง และภำพรวมขององค์กร มีบทบำทสำคัญในกำร
สอดคลอ้ งกบั ภำระผูกพนั ท่ีบริษัทหรือผูถ้ ือหนุ้ หลักมีต่อบุคคลท่ี กำกับดแู ล ตรวจสอบ และประเมินผลกำรดำเนินงำนของบริษัท

96 จะเขำ้ รบั กำรคดั เลือก รวมทงั้ จะคำนงึ ถงึ สญั ญำท่บี รษิ ัทมีตอ่ ผถู้ ือ

หนุ้ อีกดว้ ย

และผลกำรปฏิบตั ิงำนของผบู้ รหิ ำรระดบั สงู ใหเ้ ป็นไปตำมแผนท่ี 8. ประชมุ คณะกรรมกำร จดั ใหม้ ีและเรียกประชุมผถู้ ือหนุ้ 97
วำงไวอ้ ย่ำงเป็นอิสระ จดั ทำรำยงำนกำรประชมุ คณะกรรมกำร และรำยงำน
กำรประชมุ ผถู้ ือหนุ้
ปั จจุบันคณะกรรมกำรบริษัท มีจำนวน 7 ท่ำน
ประกอบด้วยกรรมกำรท่ีเป็นผู้บริหำร 1 ท่ำน กรรมกำรท่ีเป็น 9. กำหนดช่ือกรรมกำรผู้มีอำนำจลงนำมผูกพันบริษัท
ผบู้ ริหำรจำกบรษิ ัทย่อย 1 ท่ำน อีก 5 ท่ำน เป็นกรรมกำรอิสระท่ี และประทบั ตรำสำคญั ของบรษิ ัท
ไม่เป็นผบู้ รหิ ำร และไมม่ ีสว่ นไดเ้ สีย ไมม่ ีควำมสมั พนั ธก์ บั ผถู้ ือหนุ้
ใหญ่ ไม่เป็นกรรมกำรหรือผูบ้ ริหำรของผถู้ ือหนุ้ ใหญ่ หรือไม่เป็น 10. พิจำรณำให้ควำมเห็นชอบโครงสร้ำงของบริษัท
ผบู้ รหิ ำรหรอื ตวั แทนผถู้ ือหนุ้ ของผถู้ ือหนุ้ ใหญ่ นโยบำยกำรบริหำรทรพั ยำกรบุคคลและแผนพัฒนำ
ผบู้ ริหำร รวมถึงกำรกำหนดค่ำตอบแทน และจัดใหม้ ี
อำนำจหนำ้ ท่ขี องคณะกรรมกำรบรษิ ทั กำรประเมินผลกำรปฏิบตั งิ ำนของกรรมกำรผจู้ ดั กำร
สรุปอำนำจหนำ้ ท่ขี องคณะกรรมกำรบรษิ ัทท่สี ำคญั ไดด้ งั นี้
11. พิจำรณำกำรใหค้ วำมยนิ ยอมกรณีท่กี รรมกำรคนใดซือ้
1. จัดกำรบริษัท ตลอดจนปฏิบัติหน้ำท่ีให้เป็นไปตำม ทรพั ยส์ ินของบรษิ ทั หรอื ขำยทรพั ยส์ ินใหแ้ ก่บริษัทหรือ
กฎหมำย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท กระทำธุรกิจกับบรษิ ัท ไม่วำ่ กระทำในนำมของตนเอง
ต ล อ ด จ น ม ติ ข อ ง ท่ี ป ร ะ ชุ ม ผู้ ถื อ หุ้น เ ห็ น ช อ บ ด้ว ย หรอื ของบคุ คลอ่ืน
กฎหมำย ดว้ ยควำมซ่อื สตั ยส์ จุ รติ และระมดั ระวงั รกั ษำ
ผลประโยชนข์ องบรษิ ทั 12. จดั ทำควำมเหน็ เก่ียวกบั เร่ืองตำ่ งๆ ท่ีเสนอตอ่ ท่ีประชมุ
ผู้ถือหุ้น รวมถึงควำมเห็นเพ่ือเสนอขออนุมัติกำร
2. กำหนดขอ้ บงั คบั ภำยในของบรษิ ัทในเร่อื งตำ่ ง ๆ จดั สรรกำไรสทุ ธิประจำปีเป็นทนุ สำรอง
3. พิจำรณำและอนมุ ตั แิ ผนธรุ กจิ และงบประมำณ รวมทงั้
13. พิจำรณำกำรจ่ำยเงินปันผลระหว่ำงกำล เม่ือบริษัทมี
ตดิ ตำมดแู ลกำรปฏิบตั กิ ำรและผลกำรดำเนินงำนของ กำไรพอสมควร และรำยงำนใหท้ ่ีประชมุ ผถู้ ือหนุ้ ทรำบ
ฝ่ำยจดั กำรใหเ้ ป็นไปตำมแผนธุรกิจและงบประมำณท่ี ในกำรประชมุ ครำวตอ่ ไป
วำงไวอ้ ยำ่ งมีประสทิ ธิผล
4. อนุมัติงบดุลและงบกำไรขำดทุน ณ วันสิน้ สุดรอบ สำหรับกำรพิจำรณำอนุมัติรำยกำรระหว่ำงกันกับ
บัญชีของบริษัท และดูแลใหง้ บกำรเงินเป็นไปตำม บุคคลท่ีอำจมีควำมขัดแย้ง โดยอำศัยอำนำจหน้ำท่ีของ
หลกั กำรบญั ชีรบั รองท่วั ไป คณะกรรมกำรตำมขอ้ 1 และ 2 ขำ้ งตน้ คณะกรรมกำรจะปฏิบตั ิ
5. ดูแลให้มีกำรกำกับตรวจสอบ ทั้งจำกผู้ตรวจสอบ ตำมกรอบกำรทำรำยกำรระหว่ำงกันกับบุคคลท่ีอำจมีควำม
ภำยใน และผูส้ อบบญั ชีภำยนอก ใหท้ ำหนำ้ ท่ีอย่ำงมี ขดั แยง้ กนั ตำมท่ีไดร้ ะบไุ วใ้ นหวั ขอ้ 9 เร่ืองกำรกำกบั ดแู ลกิจกำร
ประสิทธิผล ขอ้ 9.4 ควำมขดั แยง้ ทำงผลประโยชน์
6. มอบหม ำยให้กร รม กำรค นหน่ึง หรื อหลำยค น
ปฏิบตั กิ ำรอยำ่ งใดอยำ่ งหนง่ึ แทนคณะกรรมกำร (2) คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee)
7. แตง่ ตงั้ บคุ คลอ่ืนใดใหด้ ำเนินกิจกำรของบรษิ ัท ภำยใต้ ประกอบดว้ ยกรรมกำรบริษัทท่ีเป็นกรรมกำรอิสระ
กำรควบคมุ ของคณะกรรมกำร หรอื มอบอำนำจเพ่ือให้
บุคคลดังกล่ำวมี อำนำจตำมท่ี คณะกรรมกำร จำนวน 3 ท่ำน โดยองคป์ ระกอบคณะกรรมกำรใหป้ ระกอบดว้ ย
เห็นสม ควรแ ละภำยในเวลำท่ีค ณะกร รมกำร กรรมกำรอิสระอย่ำงนอ้ ย 1 ใน 3 หรือไม่นอ้ ยกว่ำ 3 ท่ำนเสมอ
เห็นสมควร และคณะกรรมกำรอำจยกเลิกเพิกถอน และไดก้ ำหนดคณุ สมบตั ขิ องกรรมกำรอิสระตำมกฎระเบียบของ
เปล่ียนแปลงหรอื แกไ้ ขอำนำจนนั้ ๆ ได้ คณะกรรมกำรกำกบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลำดหลกั ทรพั ยฯ์ กำหนด

กรรมกำรตรวจสอบ 3 ท่ำนเป็ นผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมี
พื้นฐำนและควำมเช่ียวชำญจำกหลำยอำชีพ มีภำวะผู้นำ
วิสัยทศั นก์ วำ้ งไกล เป็นผมู้ ีคณุ ธรรมและจริยธรรม มีประวตั ิกำร
ทำงำนท่ีโปร่งใสไม่ด่ำงพรอ้ ย และมีควำมสำมำรถในกำรแสดง

ควำมคิดเห็นอย่ำงอิสระ นอกจำกนีย้ ังมีกำรกำหนดหน้ำท่ีและ มำรดำ คู่สมรส พ่ีนอ้ ง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของ
บุตรของผบู้ ริหำร ผถู้ ือหนุ้ รำยใหญ่ ผมู้ ีอำนำจควบคมุ
ควำมรบั ผิดชอบของคณะกรรมกำรอย่ำงชดั เจน เพ่ือใหส้ ำมำรถ หรือบคุ คลท่ีจะไดร้ บั กำรเสนอใหเ้ ป็นผูบ้ รหิ ำรหรือผูม้ ี
อำนำจควบคมุ ของ บรษิ ทั ฯ หรือบรษิ ทั ย่อย
ปฏบิ ตั หิ นำ้ ท่ไี ดอ้ ยำ่ งมีประสิทธิภำพ 4. ไม่มีควำมสัมพันธ์ทำงธุรกิจกับ บริษัท บริษัทใหญ่
บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลท่ีอำจมีควำม
ทัง้ นี้ คณะกรรมกำรตรวจสอบมีหน้ำท่ีสอบทำนให้ ขัดแย้ง ในลักษณะท่ีอำจเป็ นกำรขัดขวำงกำรใช้
วจิ ำรณญำณอย่ำงอิสระ
บริษัท มีกำรรำยงำนทำงกำรเงินอย่ำงถูกตอ้ งและเปิดเผยอย่ำง 5. ไม่มีลักษณะอ่ืนใดท่ีทำให้ไม่สำมำรถให้ควำมเห็น
อยำ่ งเป็นอสิ ระเก่ียวกบั กำรดำเนินงำนของบรษิ ัท
เพียงพอ โดยประสำนงำนกบั ผสู้ อบบญั ชีภำยนอกและผบู้ รหิ ำรท่ี
อำนำจหนำ้ ท่ขี องคณะกรรมกำรตรวจสอบ
รบั ผดิ ชอบ รวมทงั้ สอบทำนใหบ้ รษิ ัทฯมีระบบกำรควบคมุ ภำยใน
1. สอบทำนให้บริษัทมีกำรรำยงำนทำงกำรเงินอย่ำง
ระบบตรวจสอบภำยใน และระบบบริหำรควำมเส่ียงท่ีรัดกุม ถกู ตอ้ งและเปิดเผยอยำ่ งเพียงพอ

เหมำะสม ทันสมัย และมีประสิทธิภำพ โดยมีฝ่ ำยตรวจสอบ 2. สอบทำนใหบ้ รษิ ัทมีระบบกำรควบคมุ ภำยใน (internal
control) และกำรตรวจสอบภำยใน (internal audit) ท่ี
ภำยใน ทำหนำ้ ท่ีเป็นหน่วยงำนตรวจสอบภำยในของบริษัท ท่ี เหมำะสมและมีประสทิ ธิผล

รำยงำนตรงตอ่ คณะกรรมกำรตรวจสอบ 3. สอบทำนกำรปฏิบัติงำนของบริษัทให้เป็ นไปตำม
ก ฎ ห ม ำ ย ว่ำ ด้ว ย ห ลัก ท รัพ ย์แ ล ะ ต ล ำ ด ห ลัก ท รัพ ย์
ณ วนั ท่ี 31 ธันวำคม 2562 คณะกรรมกำรตรวจสอบ ข้อกำหนดของตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
รวมถึงกฎหมำยและกฎระเบียบท่ีเก่ียวข้องกับธุรกิจ
ของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมกำรอิสระ จำนวน 3 ท่ำน ของบรษิ ทั

ดงั ตอ่ ไปนี้ 4. พิจำรณำคดั เลือก เสนอแต่งตงั้ และเสนอค่ำตอบแทน
ผสู้ อบบญั ชีของบรษิ ทั
รำยช่ือ ตำแหนง่
1.นำยกำธร อดุ มฤทธิรุจ ประธำคณะกรรมกำร 5. พิจำรณำเก่ียวกบั กำรเปิดเผยขอ้ มูลของบริษัทและ /
2.นำงสำวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณก์ ลุ ตรวจสอบ หรือ พิจำรณำควำมเหมำะสมในกรณีท่ีเกิดรำยกำรท่ี
รองประธำน เก่ียวโยงกันและรำยกำรท่ีอำจมีควำมขัดแย้งทำง
ผลประโยชน์ ใหเ้ ป็นไปตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยหลกั ทรพั ย์
คณะกรรมกำร และตลำดหลกั ทรพั ย์ ขอ้ กำหนดของตลำดหลกั ทรพั ย์
ตรวจสอบ แห่งประเทศไทย รวมถึงกฎหมำยและกฎระเบียบท่ี
เก่ียวข้องกับธุรกิจของบริษัท ทั้งนี้กำรพิจำรณำ
3.นำงสำววนิดำ มชั ฉิมำนนท์ กรรมกำรตรวจสอบ เก่ียวกบั กำรเปิดเผยขอ้ มลู และ / หรือ กำรใหค้ วำมเหน็
หมำยเหตุ: กรรมกำรตรวจสอบลำดับท่ี 2 นำงสำวไตรทิพย์ ตำมขำ้ งตน้ ใหเ้ ป็นไปตำมหลักกำรกำกับดูแลกิจกำร
ของบริษัท (ตำมรำยละเอียดท่ีระบุไวใ้ นหวั ขอ้ 9 เร่ือง
ศิวะกฤษณก์ ุล มีควำมรูแ้ ละประสบกำรณ์เพียงพอท่ีจะสำมำรถ

ทำหนำ้ ท่ใี นกำรสอบทำนควำมน่ำเช่ือถือของงบกำรเงนิ

คณะกรรมกำรตรวจสอบ (Audit Committee) ของ
บรษิ ัท ทงั้ 3 คน มีควำมเป็นอิสระตำมนิยำมควำมเป็นอิสระของ
กรรมกำรอิสระ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. ถือหุน้ ไม่เกินรอ้ ยละหน่ึงของจำนวนหุน้ ท่ีมีสิทธิออก
เสียงทงั้ หมดของ บรษิ ัท บรษิ ัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัท

รว่ ม หรือนิตบิ คุ คลท่อี ำจมีควำมขดั แยง้
2. ไม่เป็นลูกจำ้ ง พนกั งำน ท่ีปรกึ ษำท่ีไดเ้ งินเดือนประจำ

หรือผูม้ ีอำนำจควบคมุ ของ บริษัท บริษัทใหญ่ บริษัท
ยอ่ ย บรษิ ทั รว่ ม หรือนิตบิ คุ คลท่อี ำจมีควำมขดั แยง้

98 3. ไม่เป็นบคุ คลท่ีมีควำมสมั พนั ธท์ ำงสำยโลหิต หรือโดย

กำรจดทะเบียนตำมกฎหมำย ในลักษณะท่ีเป็น บิดำ


Click to View FlipBook Version